006133 Color Theory

Page 1

สีกับการออกแบบ Rearranged by Lect.Pariwit vitayacheeva


เซอร์ ไอแซค นัวตัน พบว่า แสงอาทิตย์มีสี ต่าง ๆ รวมกันอยู่ เมื่อให้ แสงอาทิตย์สอ่ งผ่านแท่งแก้ ว รูปสามเหลี่ยม (Prism) แสงที่ผา่ น ออกมาอีกด้ านหนึง่ จะมี 7 สี ดังที่ เห็นในสีร้ ุงกินน ้า Red, Yellow, Orange, Green, Blue, Indego, Violet หรื อเรี ยกเป็ นชื่อย่อว่า ROY G BIV


• นักออกแบบ ใช้ สี เป็ น”ตัวกลาง” หรื อ “สื่อ”ในการ ถ่ายทอด อารมณ์ ความรู้สกึ สร้ างสรรค์ ออกมา เป็ นงานออกแบบ หรื อศิลปะสาขาใด สาขาหนึง่ แต่สี จะบรรลุถึงอารมณ์ ความรู้สกึ ได้ นนั ้ ต้ องสัมพันธ์ กับ ส่วนประกอบขันมู ้ ลฐานของศิลปะ ด้ านอื่น ๆ ด้ วย ซึง่ ประกอบด้ วย เส้ น รูปร่าง รูปทรง พื ้นผิว เป็ นต้ น


(บน) ภาพเขี ยนของปี กัสโซ ในยุค “ น้าเงิ น” (Blue Period,1901-1904) ภาพด้านซ้ายเป็ นภาพต้นฉบับ อยู่ในโทนสีเย็น (Cool Tone) ทีใ่ ห้ความรู้สึก เศร้า เยือกเย็น และความไม่สบายแต่ในภาพด้านขวา ได้นามาเปลีย่ นโครงสี เป็ นสีโทนร้อน (Warm Tone) อารมณ์ความรู้สึก ในภาพจะเปลีย่ นไปดูอบอุ่น และผ่อนคลาย


สีโทนร้อน (Warm Tone) ทาให้มองดูแล้ว เหมื อนอยู่ใกล้ ใช้สีโทนเย็น (Cool Tone) ทาให้รู้สึกอยู่ไกลออกไป ทาให้เกิ ดเป็ นระยะ


• ด้ านขนาด (Size) สีอ่อน จะให้ ความรู้สกึ ว่ามีขนาดใหญ่ กว้ างขวาง สีเข้ ม จะให้ ความรู้สกึ ว่ามีขนาดเล็ก คับแคบ


• ด้ านนา้ หนัก (Weight) สีอ่อน สีวรรณะเย็น จะให้ ความรู้สกึ ว่ามีน ้าหนักเบา สีเข้ ม สีวรรณะร้ อน จะให้ ความรู้สกึ ว่ามีน ้าหนักมาก


• ด้ านระยะทาง (Perspective) สีอ่อน จะให้ ความรู้สกึ ว่ามีระยะทางไกลสายตา สีเข้ ม จะให้ ความรู้สกึ ว่ามีระยะทางใกล้ สายตา •


• ด้ านอุณหภูมิ (Temperature) • สีวรรณะร้ อน จะให้ ความรู้สกึ เร้ าร้ อน ตื่นเต้ น ไม่สบายตา สีวรรณะเย็น จะให้ ความรู้สกึ สบาย เรี ยบ สงบ


• เรื่องความแข็งแรง สีตามวัตถุในธรรมชาติ ที่มีความแข็งแรงอยูใ่ นตัวเอง หากใช้ สีตามวัตถุในธรรมชาตินนจะให้ ั้ ความรู้สกึ ว่ามีความแข็งแรงกว่า สีอื่น ๆ


• สีคู่ทีต่ ดั กันอย่างรุนแรง จะแยกรู ป และพืน้ ออกจากกัน อย่างชัด


เปรี ยบเทียบรู ปสีเ่ หลีย่ มสีเหลืองทีป่ รากฎบนพืน้ หลัง (Background) ทีม่ ี สีแตกต่างกันมี ผลทาให้ สีเหลือง มี ความอ่อนลง สดใส เข้มขึ้น และมี สีอืน่ มาปะปน


จากผลของสีกบั พื ้นหลัง ได้ นามาเป็ นแนวทาง หนึง่ ในการออกแบบ กราฟฟิ ค โดยเฉพาะ การรออกแบบ ตัวอักษร พื ้นหลัง (Background) มีความสาคัญมาก ที่จะทาให้ ตัวอักษรนัน้ มองเห็นชัด อ่านง่าย




สีจะมี ความสด ความสว่างขึ้นกว่าเดิ ม หากใช้สีเข้ม เช่น สีดาตัดเส้น


เมื่อนาแสงหรื อแม่สีทงสามสี ั้ มาผสมกันเข้ าจะได้ แสงสีขาว สื่อหรื องานออกแบบใด ๆ ก็ตามที่มีการใช้ แสงส่อง ออกมาอย่าง เช่น จอโปรเจคเตอร์ (Movie Projector) ทีวี มอนิเตอร์ สาหรับคอมพิวเตอร์ รวมทังการออกแบบ ้ แสงสี บนเวทีสาหรับการแสดง ละคร ภาพยนตร์ ก็ใช้ กฎของการผสมสีแบบบวกนี ้


• •

แม่สีลบ (Substractive Color) แม่สีของช่างเขียน (Artist Color) หรื อแม่สีวตั ถุธาตุ (Pigmentary color) ประกอบด้ วยสี 3 สี คือ สีเหลือง (Yellow) สีแดง (Red) สีน ้าเงิน (Blue) แม่สีชา่ งเขียน (Artist Color) เมื่อสีทงสามมี ั้ การผสมกันเป็ นคู่ ๆ ก็จะเกิดเป็ นสีตา่ ง ๆ และเมื่อผสมกันไปเรื่ อย ๆ ในขันสุ ้ ดท้ าย ทาให้ ไม่มี แสงสีใด สามารถสะท้ อนออกมาไดั ก็จะเป็ นความมืด หรื อสีดาอาจเรี ยกได้ วา่ เป็ นการผสมสีแบบลบ (Subtractive Mixing)





การใช้ สีเอกรงค์ (Monochromatic Colors)

กลมกลืน ไม่เกินสามสี จืดชืด ผสมคูต่ รงข้ าม


การใช้ สีแบบสี ใกล้ เคียง (Relate Color, Anagolous Colors)



หากต้ องการใช้ สีกลมกลืน ที่ต้องการเน้ นจุดเด่น จุดน่าสนใจ ในงานออกแบบนัน้ ควรเลือกสีกลมกลืนที่มีบางสีที่ไม่อยู่ ในโทนเดียวกัน เช่นมีบางสีอยูใ่ น โทนร้ อน หรื อโทนเย็นหรื อเป็ นสีที่มีคา่ น ้าหนัก แตกต่างกัน และควรให้ ใช้ สีเหล่านี ้ มี ปริมาณที่น้อยกว่า สีสว่ นรวม


การใช้ สีแบบวรรณะ (WarmTone / Cool Tone)



• ใช้ สีตา่ งวรรณะมาร่วมด้ วย • ในอัตราส่วน 90 : 10 ในอัตราส่วน 80 : 20 ในอัตราส่วน 70 : 30



การใช้ สีส่วนรวม (Tonality)



การใช้ สีแบบค่ าของสี (Value of Color) • ค่าของสี หมายถึง ลักษณะความเข้ มหรื อความอ่อน – แก่ ของสีที่ไล่เลีย่ กัน การใช้ สีแบบค่าของสีนี ้ คือ การใช้ สแี ท้ (Hue) ผสมกับสีกลาง คือสีดา สีขาว สีเทา ทาให้ ค่าของสี (Value) นั ้นอ่อน หรือเข้ มขึ ้น



การใช้ สีแบบแตกต่ างกัน • การใช้ สีแบบแตกต่ างกันชนิดตัดกันอย่ างแท้ จริง (True Contrast)


• สีตดั กันนี ้ อาจเรี ยกอีกชื่อหนึง่ ว่า สีค่ ู (Complementary Color) เพราะนอกจาก จะมีทิศทางที่เป็ นสีคตู่ รงกันข้ ามกัน ในวงสีแล้ ว ยังมีอทิ ธิพลซึง่ กันและกัน เช่น ในเงาของสีแต่ละสี จะมีเงา ของ สีคเู่ จือปนอยู่ ทาให้ ยดึ ถือเป็ น ทฤษฎีวา่ หากต้ องการทาให้ สีใด ๆ หม่นลง หรื อเหมือนกับอยูใ่ นเงามืดแล้ ว ให้ ใช้ สีคตู่ รงกันข้ ามนี ้มาผสม จะทาให้ ผลที่ได้ เป็ นธรรมชาติ ที่ถกู ต้ อง แท้ จริง การ ใช้ สีวิธีนี ้ ทาให้ งานออกแบบนัน้ มีความโดดเด่น สะดุดตา น่าสนใจ แต่ควรมี แนวทาง การใช้ ที่ถกู ต้ อง เพราะสีคเู่ หล่านี ้ มีคา่ ของสีที่ตดั กัน อย่างรุนแรง


ในธรรมชาติได้ จัดสั ดส่ วนของสี ตัดกันอย่ างแท้ จริ ง ได้ อย่ างลงตัว


. เมื่อต้ องการใช้ สีค่ตู ดั กัน โดยไม่ผสมสีอื่นใด ให้ ใช้ ในอัตราส่วน แตกต่างกัน เช่น 90 : 10 , 80 : 20 , 70 : 30 เป็ นต้ น ใช้ สีหนักหรื อสีเข้ มตัดเส้ น ในวัตถุที่มีสีสดใส ลดความสดใสของสีใดสีหนึง่ ลง โดยใช้ สีค่ตู รงกันข้ าม ลดความสดใสของสีค่ทู งั ้ 2 สี ลง โดยใช้ สีคตู่ รงกันข้ าม



การใช้ สีแบบแตกต่ างกันชนิดสี ตรงกันข้ ามเยือ้ ง (Split Complementary Colors) • สีตรงกันข้ ามเยื ้อง (Split Complementary Colors) หมายถึงสี คูต่ รงกับข้ าม ที่อยูเ่ ยื ้องมาทางซ้ ายและทางขวาของ สีคปู่ ฏิปักษ์ เช่น สีคตู่ รงกันข้ ามเยื ้องของ สีเหลือง คือ สีมว่ งแดง และม่วงน ้าเงิน สีคตู่ รงกันข้ ามเยื ้องของ สีมว่ ง คือ สีส้มเหลือง และเขียวเหลือง




การใช้ สีแบบแตกต่ างกันชนิดสี ตัดกันโดยนา้ หนัก (Value Contrast) • สีตดั กันโดยน ้าหนัก (Value Contrast) ได้ แก่สีที่มีความแตกต่าง กัน ในเรื่ องความเข้ ม หรื อคุณค่าน ้าหนัก (Value)ของแต่ละสี ซึง่ ไม่ใช้ สีคตู่ รงข้ าม (Complementary Colors) กันในวงสี ความเข้ ม หรื อตัดกันโดยน ้าหนักนี ้ จะมีติดตัวเป็ นลักษณะเฉพาะ ของแต่ละสี ซึง่ จะเห็นได้ ชดั เจน หากปรับค่าสีเหล่านันมาเป็ ้ นค่าน ้าหนัก ขาว ดา •



การใช้ สีแบบแตกต่ างกันชนิดไตรสั มพันธ์ (Triadic Color)



การใช้ สีแบบแตกต่ างกันชนิดจตุสัมพันธ์ (Quadratic Color)




การใช้ สีแบบแตกต่ างกันชนิดสี ปรากฏเด่ นชัด (Intensity) • สีปรากฏเด่นชัด (Intensity) หมายถึง สีที่ดู แล้ ว สะดุดตาโดยมีสีอื่น เป็ น องค์ประกอบ เพื่อ เสริมให้ เกิด ความ เด่นชัดสะดุดตามากขึ ้น กว่าค่า น ้าหนักเดิม • เช่นเดียวกับ ดวงจันทร์ จะเห็นเด่นชัดในเวลา กลางคืน เพราะอยู่ ท่ามกลางท้ องฟ้า ที่มืดหรื อมี ค่าน ้าหนักที่เข้ ม




การใช้ สีแบบแตกต่ างกันชนิดกลับค่ าของสี (Discord) • การใช้ สีโดยการกลับค่าของสี คือ การใช้ สีที่มีน ้าหนักอ่อน ร่วมกับสีที่มี น ้าหนักแก่ แต่กลับน ้าหนักของสีแก่นนให้ ั ้ ออ่ นลงกว่าสีที่มี น ้าหนักอ่อน และใช้ ในปริมาณที่น้อยกว่า



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.