Summary006133 2559

Page 1

Basic Design 006133 2/2559


พื้นที่ว่าง (space) จัดทาโดย น.ส.ฐิติมา ไชยมงคล 590110211 น.ส.ณัฐนันท์ จันทร์นวล 590110214 น.ส.ณัฐรุจา สุริขันธ์ 590110216 น.ส.ธันย์ชนก กัลยาณพิสุทธิ์ 590110222


ความหมาย บริเวณว่างโดยรอบวัตถุ (Object) เรียกว่า พื้นที่ว่างทางลบ (Negative Space) และบริเวณว่างที่ตัว ของวัตถุเรียกว่า พื้นที่ว่างทางบวก (Positive Space) ในการออกแบบงานต่างๆ จะต้องคานึงถึงช่วงระยะ ให้มี ความสัมพันธ์กัน ในการออกแบบงานประเภท 2 มิติ จะต้องกาหนดกรอบพื้นที่ (Space Frame) เป็นรูปสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม หรือรูปร่างอิสระก่อน แล้วจึงจะสร้างรูปร่างรูปทรงตามที่ต้องการลงในกรอบพืน้ ที่อีกทีหนึ่ง

Negative Space

Positive Space


“บริเวณว่าง 3 มิติ(Three Dimension Space)” คือบริเวณว่าง ที่มีทั้ง ความกว้าง ความยาว ความลึก เป็นบริเวณว่างที่มีปริมาตร (Volume) ที่สามารถ สัมผัสได้ด้วยความเป็นจริง ทางกายภาพ (Physical or Actual Space)หรือสามารถสัมผัสได้ทั้งทางกาย และ ทางการมองเห็น พร้อม ๆ กัน

(ซ้าย Michealangelo's Pieta.rome ขวา Izamu Noguchi‘s Cube,New York)


การออกแบบบริเวณว่างในทางทัศนศิลป์ ลักษณะของบริเวณว่างที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์ ซึ่ง ศิลปิน สามารถนาไปใช้ในงานออกแบบ ทัศนศิลป์ ประเภทต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับ จุดมุ่งหมายของการสร้างสรรค์ ดังนี้

ที่ว่างบวกและที่ว่างลบ (Positive Space and Negative Space) • ที่ว่างของเนื้อหา เรียกว่าที่ว่างบวก หรือที่ว่างทางาน (Active Space) • ที่ว่างที่อยู่รอบ ๆหรือส่วนที่เป็นพื้น (Ground) เรียกว่าที่ว่างลบ (Passive Space)


 ที่ว่างสองนัย (Ambiguos Space) • หมายถึงบริเวณว่างที่เกิดขึ้น มีความสาคัญ เท่า ๆ กัน จนไม่สามารถระบุได้ว่าส่วนใดเป็นที่ว่างบวก หรือส่วนใด ที่ว่างลบ ทาให้เป็นได้ทั้งที่ว่างบวก และที่ว่างลบ สลับไป สลับมา เป็นได้สองนัย ตลอดเวลา


บริเวณว่างปิดและบริเวณว่างว่างเปิด (Close Space and Open Space) • บริเวณว่างปิด หมายถึงบริเวณว่างบวกที่มีเส้นรอบนอกบรรจบกัน ทาให้รูปร่างนั้นแยกจากบริเวณว่างลบ โดย สิ้นเชิง ทาให้เกิดมีพลังการเคลื่อนไหวทั้งผลักและดึงกันตลอดเวลา


• บริเวณว่างเปิด หมายถึงบริเวณว่างบวกที่มีเส้นรอบนอกเปิดออก ไม่บรรจบกัน อาจจะมีหน่วยเดียว หรือหลาย หน่วย ทาให้พลังความเคลื่อนไหว เป็นไปอย่างสบาย


บริเวณว่างลวงตา (Illussion Space) 1. การกาหนดขนาดและตาแหน่งในแนวดิ่ง (Size & Vertical Location) วัตถุต่าง ๆ ที่มองเห็นรอบตัวเรา จะมีขนาดเล็ก เมื่ออยู่ไกลออกไป โดยวัตถุที่อยู่ใกล้ ให้มีขนาดใหญ่และอยู่ใน ตาแหน่งต่ากว่า โดยให้วัตถุที่อยู่ไกล มีขนาดเล็กลงเรื่อย ๆ และมีตาแหน่ง ในแนวดิ่ง จึงจะเกิดการลวงตาว่ามีความลึก

(ซ้าย) วัตถุที่มีขนาดใหญ่เล็กลดหลั่นลงไปหากวางตาแหน่งเสมอกัน ในแนวนอนแล้ว_จะเห็นความแตกต่างกันโดยขนาดเท่านัน้ ไม่มรี ะยะความลึก (ขวา) หากนามาจัดวางในตาแหน่งที่มีความสูงขึน้ ไปตามแนวดิง่ แล้ว จะเกิดการลวงตา (Illussion) ดูมีความลึก มีระยะใกล้ ไกล


• การเพิ่มเส้นนอน (Ground Line) เข้าไป ทาให้มีระยะ ความลึกชัดเจนยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังเป็นการแบ่งพื้นที่ ว่างนั้นให้เป็นพื้น และอากาศ และทาให้มองเห็นว่า วัตถุที่อยู่ต่ากว่าเส้นระดับพื้น (Ground Line) ยิ่งต่ามาก เท่าไร ก็จะอยู่ใกล้มากขึ้นเท่านั้น


2. การทับซ้อนกัน (Overlaping) เมื่อมองวัตถุตา่ ง ๆ ทีทบั ซ้ อนกัน โดย วัตถุที่ถกู บัง จะเห็นแต่เพียง บางส่วน โดยมีบางส่วน ได้ หายไป เราจะรู้สกึ ว่า วัตถุที่ถกู บัง จะอยูไ่ กลกว่า มีตาแหน่งในพื ้นที่วา่ ง อยูห่ ลังวัตถุที่ อยู่ข้างหน้ า วิธีการเหลื่อมซ้ อน กัน ของวัตถุนี ้ ทาให้ เกิด การลวงตา ในระนาบ 2 มิติ ให้ ดมู ี ระยะ มีพื ้นที่วา่ ง มีอากาศ ล้ อมรอบระหว่างวัตถุ เหล่านัน้


3. การใช้ทฤษฎีทัศนียภาพเชิงเส้น (Linear Perspective) ทัศนียภาพเชิงเส้ น มาจากพื ้นฐานที่แสดงว่าเส้ นทุกเส้ น จะมุง่ สูจ่ ดุ ๆ เดียว เรี ยกว่า จุดสุดสายตา (Vanishing Point) จะสังเกตเส้ นลักษณะนี ้ ได้ จากปรากฎการณ์ที่เกิดขึ ้นเป็ นจริงรอบตัว เช่น ถนน ทางรถไฟ ที่ ปลายของ เส้ นคู่ขนาน ที่วิ่งไปไกลสุดสายตา จะมองเห็นค่อย ๆ เล็กตีบลง จนบรรจบเข้ าหากัน เป็ นจุด เดียว จึง กลายเป็ นทฤษฎี ทางทัศนียวิทยา ก็คือ วัตถุที่อยู่ใกล้ จะมี ขนาดใหญ่ และวัตถุที่อยูไ่ กลออกไป จะค่อย ๆ เล็กลง เป็ นสัดส่วน ตามเส้ น (Linear)

(ซ้าย) ผลงานของมาแซคซิ โอ (Masaccio) ศิ ลปิ นยุค ฟื ้ นฟูศิลปะวิ ทยา (Ranaisance) ได้นาหลัก ทัศนียภาพ (Linear Perspective) มาใช้ในงานจิ ตรกรรม (ขวา) ทัศนียภาพ ภายในสถาปั ตยกรรม สมัยโกธิ ค


4. การสร้างรายละเอียดและบรรยากาศ (Detail & Atmosphere) การสร้างมิติลวงตาให้มีระยะ มีพื้นที่ว่าง โดยใช้วิธีทาง ทัศนียวิทยา (Linear Perspective) ด้วย การสร้างขนาดใหญ่ เล็ก ไปจนสุดสายตา เพียงส่วนเดียวนั้น แต่จะมีความรู้สึก แข็งกระด้าง เช่น เมื่อมองบรรยากาศ จากมุมสูง (Arial View) จะเห็นระยะ และความลึกได้ จากสีและ ค่าน้าหนัก ที่แตกต่างและรายละเอียดอื่น ๆ โดยวัตถุ ที่อยู่ไกลออกไป จะมีรายละเอียด (Detail) และความคมชัดลดลง รวมทั้งสีและน้าหนัก มักจะค่อย ๆ จางลง (ซ้ายบน) บรรยากาศในธรรมชาติ สี น้าหนักและความคมชัดลดลง เมื่ออยู่ในระยะไกลออกไป ศิลปินได้ศึกษาหลักการนี้ มาใช้ในการ

เขียนภาพ ให้มีระยะ ใกล้ ไกล


5. การใช้ สีกับบริเวณว่ าง (Color and Space) การออกแบบงานศิลปะให้มีระยะและพื้นที่ว่าง ควรนามา พิจารณาประกอบกับ เรื่องเกี่ยวกับสี เพราะ สีมีอิทธิพลเกี่ยวกับระยะทางในพื้นที่ว่าง คือ สีในวรรณะร้อน (Warm Tone) จะดูรู้สึกมีระยะใกล้เข้ามา ขณะที่ สี ในวรรณะเย็น (Cool Toneจะดูมีระยะไกลออกไป ในบรรยากาศธรรมชาติ วัตถุที่อยู่ ไกล ๆ จะดูมีสีฟ้าออกไป ทาง น้าเงิน ห่อหุ้มอยู่ และยิ่งไกลออกไป จะยิ่งมีสีจาง จนแทบไม่มีสีหรือกลายเป็นสีกลาง (Neutral) ต่างกับ วัตถุ ที่อยู่ใกล้ จะมีค่าน้าหนัก และค่าความสดใสของสีสูง มีการตัดกัน อย่างรุนแรง นอกจากนี้สียังมีอิทธิพลเกี่ยวกับ ขนาดในพื้นที่ว่างด้วย

สีแต่ละสีมีค่าความสด ความหม่น ไม่เท่ากันซึ่งจะส่งผลถึงระยะ และขนาดของบริ เวณว่าง เช่น สีวรรณะร้อนสดใส จะดูเหมือน เข้ามาใกล้ กว่าสีวรรณะเย็น


ความสมดุล (Balance)


ความเท่ากันหรือภาวะที่เท่ากันขององค์ประกอบจะทาให้ งานออกแบบมีความ เป็นระเบียบอาศัยความสัมพันธ์มูล ฐานของทัศนธาตุต่างๆมาประกอบกัน

ได้แก่ ขนาดของจุด เส้น รูปร่าง นาหนัก ทิศทางและสี เท่ากัน


หลักของความสมดุลทางการมองเห็น (Visual Balance) หลักของการเกิดความสมดุลทางการมองเห็น ก็คือ จะมีเส้นแกนสมมุติ (Axis) ที่ ไม่มีต้วตน แต่มนุษย์ สามารถสัมผัสได้ โดยยึดไว้เป็นแกนกลาง แล้วสมมุติส่ิงอื่น ๆ ที่ประกอบ ให้อยู่โดยรอบของเส้นแกนสมมุตินัน ถ้าดูแล้วรู้สึกว่าไม่หนัก ไป ข้างใดข้างหนึ่ง นั่นก็คือมีความสมดุลเกิดขึนแล้ว


ความสมดุลมี 2 ลักษณะ

1) ความสมดุลที่สองข้างเท่ากัน (Symmetry Balance) เป็นความสมดุลแบบซ้าย ขวาเหมือนกัน จะมีขนาด รูปร่าง ที่สังเกตเห็นได้ชัดเจนว่าเหมือนกันหรือเท่ากัน ดุลย ภาพแบบนีให้ความรู้สึกมั่นคง เที่ยงตรง สง่า เป็นทางการ เช่น งานสถาปัตยกรรม โบสถ์ วิหาร สถานที่ราชการ เป็น ต้น


ความสมดุลแบบสองข้างเท่ากัน เป็นการเน้น และเป็นการ สร้างความสนใจ ให้ผู้ชม มุ่งเข้าสู่แกนกลาง ได้อย่างรวดเร็วเป็นการสร้างความรู้สึกสมดุล ได้โดยง่าย

Raphael's "School of Athenes"


1.1. แบบใกล้เคียงกัน(Near Symmetry) สิ่งที่อยู่สองข้างของเส้น แกนกลาง จะไม่เหมือน หรือเท่ากัน ทังหมด เช่น เงาสะท้อนในกระจกเงา


1.2. แบบกลับข้าง (Invert Symmetry)

สิ่งที่อยู่สองข้างของเส้น แกนสมมุติ จะกลับค่า เป็นภาพ ตรงกันข้าม เช่นเดียวกับภาพในไพ่ หรือกลับค่านาหนัก ทาให้ ภาพมีความหลากลาย น่าสนใจ แต่บางครังทาให้ดูน่าเบื่อ เพราะมี ความ ซามากไป


1.3. แบบมีสองแกน (Biaxial Symmetry) ความสมดุล ที่มีทังแกน แนวตัง และ แกนตามแนวนอน และส่วนอื่น ๆ ทังหมดจะเหมือนกัน บางครัง อาจมีเส้นแกน มากกว่าสองแกน เช่น ลายของเกร็ดหิมะ (Snowflex) และจากกล้องคาไล โดสโคป (Kaleidoscope) ที่มี 4 และ 3 แกน


1.4. แบบรัศมีโดยรอบ (Radial Symmetry) เป็นแกน ที่พุ่งเป็นรัศมี โดยรอบออกจากศูนย์กลาง ความสมดุลแบบกระจายออกจาก แกนกลาง ได้แก่ โครงสร้างของดอกไม้


2) ความสมดุลที่ทั้งสองข้างไม่เท่ากัน (Asymmetry Balance) เป็นความสมดุลที่จัดให้มี ส่วนประกอบของภาพซ้ายขวาไม่เท่ากัน มักเป็นการจัดสมดุลที่เกิดจากการจัดวางให้ขนาด รูปร่าง สี ให้มีความแตกต่างกันทังสองด้าน แต่ถ้าหากมองในภาพรวมแล้วจะให้ความรู้สึกว่ามีนาหนักเท่ากัน ดุลยภาพแบบนีให้อิสระในการออกแบบ และให้ความรู้สึกน่าสนใจ


2.1. ความสมดุลโดยรูปร่าง (Balance by Shape) รูปร่างที่แปลก แม้มีขนาดเล็กกว่า ก็สามารถสร้างความสมดุลได้


2.2. ความสมดุลโดยตาแหน่ง (Balance by Position) รูปร่างที่มีขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ ถ้าจัดวางตาแหน่ง อยู่สองข้าง ของแกนสมมุติ โดยมี ระยะห่างเท่ากันแล้ว จะทาให้รู้สึกหนักไปในด้านรูปร่างขนาดใหญ่ การสร้าง ความสมดุลให้ เกิดขึนได้


2.3. ความสมดุลโดยสี Balance by Color) โดยจิตวิทยาของสี สิ่งที่มีสีสดใส หรือมีนาหนักเข้ม จะมีพลังดึงดูด สายตาคนเราให้พุ่งเข้าหา มากกว่า สีที่ไม่สดใส หรือสีที่มีนาหนักอ่อนกว่า ฉนัน แม้พืนที่เล็ก ๆ หากมีสีสดใส สามารถ สร้างความรู้สึก สมดุลกับวัตถุขนาดใหญ่ ที่มีสีไม่สดใสได้


2.4. ความสมดุลโดยค่าน้าหนัก (Balance by Value) ค่านาหนักหมายถึง ค่าความอ่อน แก่ เริ่มจากสีดา จะมีนาหนักแก่ที่สุด สีขาว จะมี นาหนัก อ่อนที่สุด และระหว่าง สีดาและสีขาว จะมีนาหนักสีเทา ลดหลั่นกันไป


2.5. ความสมดุลโดยรายละเอียด (Balance by Detail) วัตถุที่มีรายละเอียด มีความชัดเจน แม้มีขนาดเล็ก สามารถสร้าง ความสมดุลกับวัตถุ ขนาด ใหญ่ที่มีความพร่ามัว ไม่มีรายละเอียด ชัดเจนได้


จัดทาโดย นางสาวกนกวรรณ ยาท้วม 590110201 นางสาวณัฐปรียา ศรีมุก 590110215 นางสาวณิชนันท์ เตชนันท์ 590110218 นางสาวธนนันท์ เสริมประชา 590110221 นางสาวสุธิตา สุริเย 590110243 นางสาวอรนุช รัตนตรัยราลึก 590110248


ความแตกต่าง (contrast)


ความหมายของความแตกต่างในทางทัศนศิลป์ • ความแตกต่างเป็นสิ่งที่พบเห็นได้โดยทั่วไป เป็นสิ่งปกติในธรรมชาติ เช่น ความสว่างและความมืด ความใหญ่ และเล็ก ความหนาและบาง เป็นต้น. • แต่ในทางทัศนศิลป์ ความแตกต่าง หมายถึง ความขัดแย้ง (Opposition) ของ ส่วนประกอบมูลฐานที่อยู่ร่วมกัน (Juxtaposition) เช่น ขนาดใหญ่ / เล็ก, รูปร่างเหลี่ยม / มน, พื้นผิวหยาบ / ละเอียด ,น้​้าหนักอ่อน / แก่ , ทิศทางของเส้นตั้ง / นอน ,สีที่แตกต่างในวงล้อสี เช่น เขียว /แดง , น้​้าเงิน / ส้ม เป็นต้น รวมทั้งความแตกต่าง ระหว่างส่วนประกอบมูลฐาน กับหลักการทัศนศิลป์ เพื่อสร้างให้ผลงานนั้น มีความงามเด่นชัด ช่วยเน้นสิ่งใดสิ่ง หนึ่ง ในจุดส้าคัญของการ ออกแบบ ให้เป็นจุดสน ใจขึ้น ท้าให้ งานออกแบบนั้นมองดูไม่น่าเบื่อ ไม่ซ้าซาก ไม่ จ้าเจท้าให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น ในทางตรงกันข้าม ถ้างานออกแบบนั้น ขาดความแตกต่าง หรือ มีความ กลมกลืนกันมากเกินไป ก็จะ ท้าให้การออกแบบนั้นน่าเบื่อ ซ้​้าซากจืดชืด ไม่น่าสนใจ แต่ก็มีข้อควรระวังในการ สร้างความแตกต่างก็คือ หากในงานทัศนศิลป์นนั้ มีความแตกต่างมาก และอยู่อย่าง กระจัดกระจายแล้ว จะ เป็นการท้าลาย เอกภาพของงานศิลปะนั้น ฉะนั้นการสร้างความแตกต่าง ย่อมอยู่ภายใต้ กฎเกณฑ์ ของ เอกภาพ (Unity) ด้วย


แนวทางสร้างความแตกต่างในการออกแบบทัศนศิลป์ • ในงานออกแบบทัศนศิลป์ มักจะสร้างความแตกต่าง ในต้าแหน่ง ที่เป็นจุดสนใจในภาพ (Center of Interest) การสร้างความแตกต่าง กระจายทั่ว ๆ ไป จะเป็นการท้าลาย เอกภาพของงานนั้น และท้าให้เกิดความสับสน ดู ไม่รู้เรื่อง นอกเสียจากว่าจะมีจุดมุ่งหมายที่ ต้องการสร้างความสับสน และความน่าฉงนให้เกิดขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งที่ ศิลปิน หรือนักออกแบบ จะต้องพิจารณาว่าต้องการสร้างความแตกต่าง ให้เกิดขึ้น ตรงใหน แค่ใหน อย่างไร การสร้างความแตกต่างหรือความขัดแย้ง ในงานทัศนศิลป์ที่ส้าคัญ มีแนวทางดังต่อไปนี้


1.การตัดกันด้วยเส้น (Line Contrast)


2.การตัดกันด้วยรูปร่าง (Shape Contrast)


3.การตัดกันด้วยรูปทรง (Form Contrast)


4.การตัดกันด้วยขนาด (Size Contrast)


5.การตัดกันด้วยทิศทาง (Direction Contrast)


6.การตัดกันด้วยสี (Color Contrast)


7.การตัดกันด้วยค่าความเข้ม (Value Contrast)


8.การตัดกันด้วยลักษณะผิวสัมผัส (Texture Contrast)


กลุ่มที่ 6 เพลินจิต นางสาว พรทิพย์ โป๊ะโดย 580110125 นาย ณัฐนนท์ พรมไฉไล 590110212 นางสาว เบญจวรรณ หอมนวล 590110226 นางสาว สิริกมล ประดิษฐ์ด้วง 590110242 นางสาว อริศรา ตั้งประเสริฐ 590110249 นางสาว วรัญญา เวียงค้า 590310290


HARMONY ความกลมกลืน


ความกลมกลืน หมายถึง การใช้จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง สี พื้นผิว หรือน้​้าหนัก มาจัดองค์ประกอบให้เกิดการประสาน เข้าหากันโดยไม่มีความขัดแย้งเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน


แต่… ถ้ากลมกลืนมากเกิน = น่าเบื่อ จึงต้องมีการขัดแย้งหรือ ความแตกต่าง (CONTRAST) เล็กน้อย เพื่อให้เกิดความน่าสนใจ


ความกลมกลืนที่มีต่องานออกแบบทัศนศิลป์ การใช้ความกลมกลืนเป็นตัวกลางหรือตัวประสาน (Transition) ท้าให้สิ่งที่ มีความขัดแย้งกัน หรือสิ่งที่มีความแตกต่างกัน ให้อยู่ร่วมกันได้


ตัว ประ สาน


สีที่ตัดกันอย่างแท้จริง (True Contrast) มีความแตกต่าง กันอย่างรุนแรง หากเพิ่มน้าหนักสีด้าเข้าไปเป็นตัวประสาน ท้าให้ความรุนแรงนั้น ลดลง มีความกลมกลืนเกิดขึ้น


เส้นตั้งและเส้นนอนที่วางตั้งฉากกันเป็นทิศทางของเส้นที่ขัดแย้งกัน อย่างรุนแรง หากเพิ่มเส้นโค้งเข้าไปเป็นตัวประสาน จะท้าให้ความขัดแย้ง ลดลง เกิดความกลมกลืนขึ้นมาทันที


การสร้างความกลมกลืนในงานออกแบบทัศนศิลป์

1.การสร้างความกลมกลืนทางด้านโครงสร้าง หมายถึง ความกลมกลืนทีเ่ กิดจากส่วนประกอบมูลฐานและองค์ประกอบ หรือหลักการทัศนศิลป์


การสร้างความกลมกลืนทางด้านโครงสร้าง

การกลมกลืนด้วยเส้น

การกลมกลืนด้วยรูปร่าง


การสร้างความกลมกลืนทางด้านโครงสร้าง

การกลมกลืนด้วยลักษณะพื้นผิว

การกลมกลืนด้วยสี


การสร้างความกลมกลืนทางด้านโครงสร้าง

การกลมกลืนด้วยสัดส่วน

การกลมกลืนด้วยจังหวะ และบริเวณว่าง


การสร้างความกลมกลืนในงานออกแบบทัศนศิลป์

2 . การสร้างความกลมกลืนทางด้านรูปแบบและแนวคิด หมายถึง ความกลมกลืนที่เกิดจากเรื่องราวเนื้อหาที่ปรากฏในงาน ออกแบบ ทัศนศิลป์ มีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอย่างเด่นชัด ทั้งนี้ รวมถึงผลงาน ที่ มีรูปแบบ แนวคิดที่เป็นแบบอย่างเฉพาะของ แต่ละ บุคคล ลัทธิ เชื้อชาติ ศาสนา เป็นต้น แม้ว่าผลงานเหล่านั้น อาจจะจะมีโครงสร้างที่ไม่กลมกลืนกันก็ตาม


การสร้างความกลมกลืนทางด้านรูปแบบและแนวคิด

ภาพจิตรกรรมลัทธิ Romanticsm นอกจากจะมีความประสานกันของ น้หนั า ก สี และทิศทางของเส้นแล้ว ยังมีความกลมกลืน เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของแนวคิดการสร้างสรรค์


รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 7 1.นางสาวชนม์นิภา 2.นายสุมงคล 3.นางสาวประภาพรรณ 4.นางสาวรุจญาดา 5.นางสาววรวรรณ 6.นางสาวอัยเรศ

ช้อนเขียว 590110208 เสนะสุทธิพันธุ์ 590110224 มาลากุลต๊ะ 590110228 อุ่นตระกูล 590110236 สิงห์เชื้อ 590110237 จันทร์ทอง 590110250


จังหวะ (Rhythm) มีอยู่ทวั่ ไปในธรรมชาติ เช่น การเต้นของหัวใจ การเปลี่ยนแปลงของ ฤดูกาล หรือเสียงที่ต่อเนื่องและขาดหายเป็นช่วงของดนตรี

จังหวะที่ปรากฎในสิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา


แต่ในทางทัศนศิลป์นั้น จังหวะ คือ การซ้​้าที่เป็นระเบียบ จากระเบียบธรรมดาทีม่ ีช่วงห่างเท่าๆกัน มาเป็นระเบียบที่สูงและซับซ้อนขึ้นจนกลายเป็นรูปทรงของศิลปะ

จังหวะเกิดจาก ? • การซ้​้าหรือการสลับกันของหน่วย หรือช่องไฟ • การเลื่อนไหลที่ต่อเนื่องของ เส้น สี น้าหนัก รูปทรง

จังหวะของสถาปัตยกรรมไทย (พระปรางค์วัดอรุณ)


ลักษณะการเกิดของจังหวะ จังหวะทีเ่ กิดจากการซา้ (Repetition Rhythm) เป็นการปรากฏตัวบนที่ว่างของทัศนธาตุตั้งแต่ 2 หน่วยขึ้นไป โดยมีบริเวณว่างคั่นระหว่างหน่วยเพื่อ ก้าหนดความถี่ห่างของจังหวะ

(ซ้าย) รูปร่างที่วางกระจายไม่เป็นระเบียบ จะไม่มีการ เกิดของจังหวะ

(ขวา) การนารูปร่างเหล่านั้นมาจัดวางอย่างเป็นระเบียบ โดยมีช่องว่างคัน่ จะเกิดจังหวะขึ้น


เปรียบเทียบจังหวะแบบต่างๆ

(ซ้าย) วัตถุที่เป็นหน่วยเดียว ยังไม่มีการเกิดของจังหวะ จนกว่าจะมีการซ้าเกิดขึ้น (ขวา)


รูปร่างหลายชนิดที่วางกระจายไม่เป็นระเบียบ จะไม่มีการเกิดของจังหวะ

รูปร่างที่หลากหลายแม้นามาจัดวางอย่างเป็น ระเบียบ แต่จังหวะก็ยังไม่เด่นชัด

จังหวะ ที่เกิดจาก การซ้าในบางลักษณะ ทาให้เกิดภาพลวงตาได้ จังหวะ เกิดจาก การซ้าของรูปร่างวงกลมทีเ่ พิ่มเข้าไป


จังหวะทีเ่ กิดจากการสลับ (Alternating Rhythm)

เปรียบเทียบจังหวะแบบต่างๆ

การสลับโดยใช้สี

เป็นการน้าทัศนธาตุที่เหมือนต่างกันตั้งแต่สองหน่วย ขึ้นไป มาสลับกันอย่างต่อเนื่องไปมาเป็นช่วงๆ ท้าให้ไม่เห็น การซ้​้าเด่นชัดมากเกินไป การสลับโดยใช้รูปทรง


จังหวะเกิดจากการต่อเนื่องก้าวหน้า (Progressive Rhythm) เป็นการจัดจังหวะให้เพิม่ ขึ้นเป็นล้าดับ อาจเกิดขึ้นจากขนาดน้​้าหนักของรูปร่าง รูปทรง เส้น สี พื้นผิว ถูกสร้างสรรค์ระยะให้แปรเปลี่ยน (Gradation) ไปทีละน้อย หรือการซ้​้าของเส้นที่ค่อยๆห่างออกจากกันที ละน้อย หรือความหนาของเส้นที่ค่อยเพิ่มมากขึ้น


จังหวะก้าวหน้า เกิดจากขนาดและทิศทางของรูปร่าง

การขดเป็นวง เหมือนการกาเนิดของพลัง กระจายออกจากศูนย์กลาง ขดเป็นวงออกมา เป็น จังหวะของการก้าวหน้า (Progression) ในอีกลักษณะหนึ่ง เหมือนกับการคานวนหาสัดส่วน สี่เหลี่ยมผืนผ้า ในสมัยกรีก ที่เรียกว่า "สัดส่วนทอง" (Goldenmean Section)


จังหวะเกิดจากการต่อเนื่อง (Continuous Rhythm)

เป็นการเคลื่อนไหวที่มีจังหวะสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน โดยไม่มีบริเวณ ว่างมาคั่น มีความต่อเนื่องของรูปแบบหรือรูปทรงในทิศทาง เดียวกัน

จังหวะที่ต่อเนื่อง เปรียบเหมือนกับการกระเพื่อมของสิ่งใดสิ่งหนึ่งบนพื้นผิวที่ตึงเรียบ


ลักษณะเส้นลูกคลื่นทีเ่ ลือ่ นไหลไปอย่างสม่าเสมอ จะให้จังหวะต่อเนื่องที่ค่อย ๆ บีบเล็กลงเป็นจังหวะที่ถดถอย และเพิม่ ความกว้าง ขึ้นให้จังหวะที่ก้าวหน้าเป็นจังหวะที่ซับซ้อนยิ่งขึน้


จังหวะภายนอกและจังหวะภายใน นอกจากจังหวะที่เกิดจากการวางรูปทรงซ้​้าๆ ก็ยังมีจังหวะซ่อนเร้นที่เคลื่อนไหวตามไปด้วย นั่นคือ จังหวะที่เกิดขึ้นจากช่วงห่างระหว่างรูปทรงที่น้ามาซ้​้ากัน เรียกว่า จังหวะภายนอก และ จังหวะที่เกิดขึ้นในตัวของรูปทรงเอง เรียกว่า จังหวะภายใน จังหวะทั้ง 2 จะอยู่คู่กันเสมอ คล้ายกับ สัมผัสนอกสัมผัสในของโคลงกลอน จังหวะภายใน ภายนอก และพลังกระท้า

รูปทรงแต่ละรูปทรงจะมีจังหวะภายในที่พิเศษแตกต่างกัน เช่น วงกลมวงหนึ่งจะมีจังหวะ แตกต่างไปจาก เส้นดิ่ง หรือรูปสี่เหลี่ยม จังหวะภายในนี้อาจกล่าวได้ว่า เป็นบุคลิกภาพของรูปทรง แต่ละรูปที่มีพลังกระท้าหรือถูกกระท้าจากที่ว่างภายนอก


แม่ลายกับแบบรูป (Motif and Pattern) • จังหวะภายนอกของลวดลายจะด้าเนินซ้​้าๆไปได้ไม่มีวันจบเพราะมีแบบรูปของการซ้​้า การเปลี่ยน แบบรูปจะได้ลวดลายที่แตกต่างกันไปมากมาย โดยที่ตัวแม่ลายยังคงรูปเดิมอยู่ • แม่ลายหนึ่งอาจสร้างแบบรูปหรือลายได้มากมาย เพียงแค่เปลี่ยนจังหวะของการวางแม่ลาย

เส้นคือแม่ลาย รูปร่างคือแบบรูป


การซ้า (Repetition) ของแต่ละหน่วย หรือ แม่ลาย (Motif) ทาให้เกิด ลวดลาย (Pattern) ใหม่ขึ้น จังหวะของแม่ลายนี้จะมีการซ้า ต่อเนื่องไป ไม่มีวัน จบ และมีรูปแบบของการซ้าที่ตายตัว

จังหวะในงานทัศนศิลป์ จะต้องมีการสิ้นสุด จบสมบูรณ์ และมีความหมายในตัว

การใช้จังหวะ ในงานออกแบบนิเทศศิลป์


จังหวะในงานศิลปะ การซ้า (Repetition) ของศิลปะมีความแตกต่างจากจังหวะของแม่ลาย คืองานศิลปะ จะต้องมีการสิน้ สุด จบสมบูรณ์ และมีความหมายในตัว เป็นจังหวะที่น่าสนใจและมีชีวิตชีวา ทาให้เกิดเอกภาพแบบเคลื่อนไหว (Dynamic Unity) ดังเช่นงานจิตรกรรมชื่อ The Birth of Venus โดย Cabanal ใช้จังหวะการเคลื่อนไหวที่ ต่อเนื่องของ เส้น รูปร่าง น้าหนัก สี ประสานกัน กันเส้นของลูกคลื่นที่เลื่อนไหลซ้าอย่างเป็นจังหวะ ให้ความรู้สึก ของการเคลื่อนไหว ที่สงบ ราบเรียบ นุ่มนวล


แต่จังหวะของลายนั้นไร้ความหมาย เป็นจังหวะที่ไม่ซับซ้อน สบายตาแต่เบื่อได้ง่าย เป็น เอกภาพที่เกิดจากการรวมกันของสิ่งที่เหมือนกันแต่ไร้ความหมายในตัวเอง เรียกว่า เอกภาพแบบ นิ่ง (Static Unity)


การแปรเปลี่ยน (Gradation) โดย กลุ่มที่ 5 Moist Cake


ความหมายของการแปรเปลี่ยน (Gradation) การเปลี่ยนแปลง การกระจาย หรือการ ลดหลั่นของส่วนประกอบ มูลฐานของทัศนศิลป์ ได้แก่ เส้น รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว ขนาด น้​้าหนักอ่อนแก่ สี จากสภาพหนึ่ง ไปสู่อีกสภาพ หนึ่ง และระหว่างสภาพทั้งสองนี้ มี การแปรเปลี่ยนที่ต่อเนื่อง สัมพันธ์กัน ลักษณะของการแปรเปลี่ยน ของส่วนประกอบมูลฐาน ของทัศนศิลป์ มีผลทางจิตวิทยาและการมองเห็น จากสภาพเดิม เปลี่ยนมาสู่สภาพใหม่ โดยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีความส้าคัญต่อการน้าไปเป็น แนวทางหนึ่งในการออกแบบทัศนศิลป์ให้ได้รูปลักษณ์ใหม่ และได้อารมณ์ความรู้สึกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่าง หลากหลาย สนองตาบตามจุดประสงค์ที่ต้องการ


ลักษณะของการแปรเปลี่ยน (Gradation) การแปรเปลี่ยนในทางทัศนศิลป์มี 9 แบบ ได้แก่ 1. การแปรเปลี่ยนของเส้น 2 . การแปรเปลีย่ นของรูปร่าง 3 . การแปรเปลีย่ นของพื้นผิว 4 . การแปรเปลีย่ นของน้​้าหนักอ่อนแก่ 6 . การแปรเปลีย่ นของทิศทาง 7 . การแปรเปลีย่ นของบริเวณว่างหรือจังหวะ 8 . การแปรเปลีย่ นของสี 9 . การแปรเปลีย่ นแบบผสม


ตัวอย่างลักษณะของการแปรเปลี่ยน (Gradation) 1.การแปรเปลี่ยนของเส้น จากสภาพเส้นตรงค่อยๆ เปลี่ยนเป็นโค้ง จน กลายสภาพเป็นเส้นซิกแซก

2.การแปรเปลี่ยนของเส้น จากสภาพเส้นตรงค่อย ๆ เพิ่มความหนาจน กลายสภาพเป็นรูปร่าง แต่ยังคงเว้นระยะของต้าแหน่ง เท่าเดิม


ตัวอย่างลักษณะของการแปรเปลี่ยน (Gradation) 3.การแปรเปลี่ยนของเส้น จากสภาพเส้นตรงที่มีความหนาเท่าเดิมแต่ เปลี่ยนแปลงด้านความยาวที่ค่อย ๆ เพิ่มขึ้น

4.การแปรเปลี่ยนของเส้น จากสภาพเส้นตรงในทิศทางตั้ง แต่ เปลี่ยนแปลงทิศทาง ให้เอนลงมา เป็นล้าดับ


ตัวอย่างลักษณะของการแปรเปลี่ยน (Gradation) 5.การแปรเปลี่ยนระยะช่องว่าง ของเส้นตั้ง ที่มีขนาดเท่าเดิม แต่มีระยะ ช่องว่างแคบลง

6.การแปรเปลี่ยนของรูปร่าง จากสภาพวงรีค่อยๆ เปลี่ยนจนกลายสภาพ เป็นรูปวงกลม


ตัวอย่างลักษณะของการแปรเปลี่ยน (Gradation) 7.การแปรเปลี่ยน (Gradation) ด้านขนาด

8.การแปรเปลี่ยนด้านช่องว่างและรูปร่าง โดยการเพิ่มช่องว่างเข้าไปในกรอบภาพ จะ ท้าให้รูปร่างภายในมีการเปลี่ยนแปลง


ตัวอย่างลักษณะของการแปรเปลี่ยน (Gradation) 9.การแปรเปลี่ยนด้านพื้นผิว

10.การแปรเปลีย่ นด้านขนาดและจังหวะ


ตัวอย่างลักษณะของการแปรเปลี่ยน (Gradation) 11.การแปรเปลีย่ นด้านรูปร่างและขนาด

12.การแปรเปลีย่ นด้านรูปร่าง ขนาดและจังหวะ


ตัวอย่างลักษณะของการแปรเปลี่ยน (Gradation) 13.การแปรเปลีย่ นของน้​้าหนักอ่อน แก่

14.การแปรเปลีย่ นของสี โดยค่าน้​้าหนัก และ / หรือ Hue


ตัวอย่างผลงานของการแปรเปลี่ยน (Gradation)


ตัวอย่างลักษณะของการแปรเปลี่ยน (Gradation)


ตัวอย่างลักษณะของการแปรเปลี่ยน (Gradation)


อ้างอิง http://watkadarin.com/E-(new)1/02studio2classrm/unit3/chapt3.6gradation/gradation.htm


จัดทาโดย


Movement


การเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นในงาน ทัศนศิลป์ เป็นอารมณ์ที่ให้ความรู้สึกแก่ผดู้ ูได้โดย การรับรู้จากสิ่งที่อยู่นิ่ง (Static) แล้วรู้สึกว่าสิ่ง นั้นมีการเคลื่อนไหว แต่การเคลื่อนไหวนั้นไม่ใช่ การเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นจริง เพราะงานทัศนศิลป์ โดยทั่วไป จะไม่มีการเคลื่อนไหว แต่ลักษณะของ ทัศนะธาตุ รวมทั้งองค์ประกอบทางศิลปะ ทาให้ รู้สึกว่ามีการเคลื่อนไหว


การเคลื่อนไหวที่ถ่วงดุลซึ่งกัน

และกัน เป็ นการเคลื่อนไหวมีการผลักและต้ านพร้ อม ๆ กัน เหมือนเรื อกาลัง โต้ กบั คลื่นลม ในมหาสมุทร เป็ นการถ่วงดุลไม่ ล้ มไปข้ างใดข้ างหนึง่ การเคลื่อนไหวลักษณะนี ้ ให้ ความรู้สกึ เคลื่อนไหวที่รุนแรง กดดัน ตึงเครี ยด แต่หยุดนิ่งอยูก่ บั ที่


การเคลื่อนไหวที่ไม่มีแรงต้านทาน

เป็นการเคลื่อนไหวที่ไม่มีการต้านทาน ทาให้มีการเคลื่อนไหวผ่าน ไปได้โดยตลอด เช่นเดียวกับการวิง่ ของรถ ที่ผ่านไปอย่างรวดเร็ว การ เคลื่อนไหวลักษณะนี้ ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวที่รวดเร็ว รุนแรง ไม่หยุดนิ่ง มีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา


การเคลื่อนไหวที่ซา้ และผ่ อนคลาย

เป็นการเคลื่อนไหวที่มีพลังน้อย เฉื่อย ผ่อนคลาย มีลักษณะเป็น การซ้า เป็นลาดับ อย่างต่อเนื่อง เหมือนเมื่อเขื่อนพัง ในช่วงแรกน้าจะไหล อย่างรวดเร็วลงไปสู่ระดับน้าที่ต่ากว่า แต่เมื่อระดับน้าสองข้างอยู่ใน ระดับ ที่ใกล้เคียงกันแล้ว จังหวะการไหลของน้าก็เฉื่อยลง จังหวะของคลืน่ มีการ ซ้า อย่างเป็นระเบียบ


หลักการในการออกแบบทัศนศิลป์ ให้มีความรู้สึก เคลื่อนไหว ทัง้ ๆ ที่ภาพนั้นอยู่นิ่ง (Static) ซึ่งจะทาให้งาน ออกแบบนั้น มีความน่าสนใจแต่ละแนวทางต่อไปนี้ ก็ให้ พลังของ การเคลื่อนไหวแตกต่างกันออกไป ตามลักษณะ การเคลื่อนไหว


หลักการเคลื่อนไหวแบบคาดล่วงหน้า รูปร่างมีการจัดวางตาแหน่ง หรือมี กริยาท่าทางไม่คงที่ เหมือนกาลังจะ ไปทางใด ทางหนึ่ง จะเป็นการชี้นาให้เรา รู้สึกเคลื่อนไหว ติดตามและ คาดเดา สิ่งทีกาลังจะปรากฏต่อมา หรือกาลังจะเป็นไป ความรู้สึกเช่นนี้ เกิดจาก ประสบการณ์ ที่เคยเห็นกริยาอาการ เหล่านี้ มาแล้ว


การเคลื่อนไหวของเส้นทีพ่ ุ่งเป็นทาง

ในสิ่งแวดล้อมรอบตัว เมื่อเรามองเห็น รูปร่าง หรือวัตถุใด ๆ เคลื่อนไหว ผ่านหน้าไป อย่างรวดเร็วเราจะเห็น รูปร่างนัน้ ไม่ชัดเจน ความรู้สึกนี้ได้ สั่งสมจนเป็นประสบการณ์ ที่บ่ง บอกแทนความหมายว่า รูปร่าง ที่ไม่ชัด โดยเฉพาะเส้นขอบทีพ่ ร่ามัวพุ่งเป็นทางจะ เป็น ลักษณะ ของการเคลื่อนไหว ในทางทัศนศิลป์ จึงได้ใช้แนวทางดังกล่าว เป็นแนวทางหนึง่ สาหรับ สร้างความ เคลื่อนไหว


ภาพทีเ่ หลื่อมซ้อนหลาย ๆภาพ สิ่งทีเ่ หมือนกัน ที่มีการจัดวางต่อเนื่อง ซ้อน ๆ กัน หลักการนี้ เหมือนกับการนาแผ่น ระนาบหลาย ๆ แผ่นมาซ้อนต่อเนื่องกันไป ก็ จะสร้างความรู้สึกเคลื่อนไหว ต่อเนื่อง จาก ระนาบด้านหน้า (Foreground) เข้าไปยัง ระนาบที่อยู่ดา้ นหลังสุด และถ้าระนาบที่ เหลื่อมซ้อนกันนั้น มีขนาดเล็กลงเรื่อย ๆ ก็จะ สร้างความรู้สกึ เคลื่อนไหว ในทางลึกที่ชัดเจน ขึ้น


การเคลื่อนไหวทางสายตา โดยธรรมชาติ สายตาของ คนเรามักจะเคลื่อนไหวติดตาม องค์ประกอบ ของภาพ เช่น เส้น รูปร่าง น้าหนัก สี ทิศทาง ที่มลี ักษณะ ของการ เคลื่อนไหว เช่น รูปร่างที่มี ส่วนประกอบของเส้นโค้ง ซึง่ เส้นโค้ง เป็นเส้นการเคลื่อนไหวไม่หยุดนิ่ง จะทา ให้สายตาเราเคลื่อนไหว เลื่อนไหลไป ตาม แนวของ เส้นโค้งนั้น


การเคลื่อนไหวโดยภาพลวงตา ภาพลวงตา เช่นศิลปะแบบอ้อปอาร์ท (Op Art) เป็นการ ลวงตา ที่เกิดจากการซ้าของเส้น รูปร่าง หรือน้าหนัก จะทาให้สายตา มองเห็นมี การเคลื่อนไหวเกิดขึ้นตลอดเวลาในภาพนั้น


การเคลื่อนไหวโดยการกระจายหรือลดหลั่น

การลดหลัน่ หรือการ กระจายของส่วนประกอบศิลปะ จะสร้างระยะ ความลึก เช่น การ ลดหลั่น ของขนาด และทิศทาง ทาให้เกิดทัศนียภาพ (Linear Perspective)


การลดหลั่นของสี จากสีโทนร้อนมาโทนเย็น และจากสีเข้ม มายังสีอ่อน สร้างระยะความลึก ของบรรยากาศ (Arial Perspective) การลดหลัน่ ยังสามารถสร้างความสนใจ และความรู้สึกของการเคลื่อนไหว ได้ เช่น การลดหลั่น หรือการไล่น้าหนักแก่ มายังน้าหนักอ่อน ทาให้สายตา เคลื่อนไหว ไล่ตามน้าหนักสีนั้น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.