006330

Page 1

[DESIGN FOR HOME ECONOMICS : 006330] 24 พฤศจิกายน 2559

การออกแบบในงานคหกรรมศาสตร อาจารยปริวิทย ไวทยาชีวะ

1. ประมวลเนื้อหาคําบรรยาย - ความสําคัญของศิลปะกับชีวิตประจําวัน - องคประกอบของศิลปะ - การออกแบบคืออะไร - แนวคิดทีน่ ํามาประยุกตใชในการออกแบบ - การประยุกตศิลปะและการออกแบบ เพือ่ ใชในชีวิตประจําวัน - ความสําคัญของการพัฒนาทักษะดานการออกแบบกับคหกรรมศาสตรรวมสมัย 2. รายการสื่อการเรียนการสอน - นิตยสาร “คิด” Creative Thailand

- www.tcdc.or.th - Power Point ประจําบทเรียน


[DESIGN FOR HOME ECONOMICS : 006330] 24 พฤศจิกายน 2559

1. ความสําคัญของศิลปะกับชีวิตประจําวัน

ในปจจุบันมนุษยอาศัยอยูในสิ่งแวดลอมที่ถูกสรางขึ้นดวยฝมือของมนุษย เพราะมนุษยมีความตองการ มีความปรารถนา ดังนั้นมนุษยจึงตองแสวงหาสิ่งตาง ๆ เพื่อนํามาบําบัดความอยากหรือความตองการ เพื่อทํา ใหชีวิตมีความสุขและสมหวัง ความตองการตาง ๆ เหลานี้จึงสงผลตอชีวิตและจิตใจของ มนุษยในการดํารงชีวิต การที่มนุษยจะดํารงชีวิตอยูอยางมีความสุขนั้น จะขึ้นอยูกับปจจัย 3 ประการอันไดแก 1). ปจจัยที่สนองความตองการทางกาย ไดแกอาหารเครื่องนุงหม ที่อยูอาศัยและยารักษาโรค ปจจัย ทั้ง 4 นี้ เปนปจจยสําคัญสําหรับชีวิตของมนุษย หากมนุษยขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดแลว ชีวิตจะปราศจากความสุข การสรางสรรคสิ่งตาง ๆ ดวยปจจัยดานนี้จะเปนกระบวนการคิดในการแกปญหา โดยการจัดองคประกอบที่ เกี่ยวของใหเหมาะสม เพื่อสนองความตองการดานกายภาพของมนุษย คํานึงถึงความสะดวกสบาย ความ ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพในการใชงานเปนอยางดี การออกแบบลักษณะนี้นักออกแบบควรคํานึงถึง หนาที่ หรือประโยชนใชสอย (function) ความประหยัด (economy) ความทนทาน (durability) ความงาม (beauty) โครงสราง (construction) 2). ปจจัยที่สนองความตองการทางอารมณ เปนความตองการที่ เกิดขึ้นจากจิตใจของมนุษย ความสุข ความสมหวัง ความรัก หรือความงาม เปนความตองการที่มนุษยทุกคนแสวงหา เปนความตองการที่สนองในดาน อารมณ แ ละความรู  สึ ก ที่ ทํ า ให เ กิ ด ความพึ ง พอใจ ซึ่ ง การออกแบบและ สรางสรรคสิ่งนั้นก็เพื่อความงามและความพอใจ เปนการออกแบบที่นิยมใชกับ งานศิลปกรรมหรืองานวิจิตรศิลปทุกแขนง ไดแก จิตรกรรม ประติมากรรม สถาป ต ยกรรม ดนตรี นาฏศิ ล ป ว รรณกรรม ผลงานเหล า นี้ เ กิ ด จากการ ถายทอด “ความงาม” โดยใชความรูสึกนึกคิด อารมณ ผสมผสานกับความรู ทําไมมนุษยเราจึงตองมีการ มอบช อ ดอกไม ส วยๆ ให แ ก ประสบการณและความชํานาญถายทอดผานสื่อหรือวิธีการนําเสนอ กันและกัน ในโอกาสพิเศษ 3). ปจจัยที่สนองความตองการทางสังคม เปนความตองการที่อยากใหตนเองเปนสวนหนึ่งของสังคม หรือตองการที่จะมีความสัมพันธกับผูอื่น และมีความปรารถนาที่จะทําประโยชนเพื่อสวนรวม เปนตน ซึ่งการ สรางสรรคสิ่งเหลานี้ขึ้นมา เพื่อเชื่อมโยงและปรับทัศนคติ ใหสังคมมีมุมมองไปในทิศทางเดียวกัน อาทิ การ ออกแบบตั ว อั ก ษร สั ญ ลั ก ษณ ต า งๆ สี ข องสถาบั น โลโก ข ององค ก ร ซึ่ ง สิ่ ง เหล า นี้ เ ป น การออกแบบเพื่ อ ตอบสนองการสื่อสารและการสื่อความในสังคมตอกัน การสรางปรากฏการณตาง ๆ ในสังคม เพราะเราอยาลืม วา “เราคือสัตวสังคม” ฉะนั้น การที่เราออกแบบสิ่งตาง ๆ โดยอาศัยปจจัยในดานนี้ นอกจากสนองตอบตอ รางกายและอารมณของตนแลว ยังสนองตอบตอการมี “ตัวตน” ในสังคมอีกดวย


[DESIGN FOR HOME ECONOMICS : 006330] 24 พฤศจิกายน 2559

นักศึกษาลองอานตัวอักษรที่ เ ข ม ที่ สุ ด . . . . . ถ า อ า น ไ ด เหมื อ นกั น ว า เทด-สะ-กาน แสดงวาเราคุยภาษาเดียวกัน

ตัวอยาง “ตัวตน” และ “สัญลักษณ” ทางความคิด ที่เกิดขึ้น เพื่อแสดงมุมมองที่มุงไปในทิศทางเดียวกัน

จากปจจัยทั้ง 3 ประการที่กลาวมา แสดงใหเห็นถึงที่มาของการสรางสรรคหรือประดิษฐคิดคนสรรพ สิ่งใหเกิดขึ้นตามแตและจุดมุงหมายของชีวิต ทั้งเพื่อสนองตอดานกายภาพ ดานอารมณ และดานสังคมแลว หากผูปฏิบัติตองการมีชีวิตอยูอยางมีความสุข ก็ควรจะคํานึงถึงความสุนทรีย (Aesthetic) เพราะความสุนทรีย จะชวยหลอหลอมชีวิตใหมีความรื่นรมยเบิกบาน และมองโลกที่ดํารงชีวิตอยูอยางมีความสุข ทั้งกายและใจ การที่มนุษยยอมรับวา ศิลปะ คือ การแสดงออกของอารมณ ตามความพอใจ ศิลปะก็จะมีประโยชนและเกี่ยว ของกับปจจัยที่สนองความตองการทางอารมณเปนอยางยิ่งเพราะผลงานทางศิลปะจะ ชวยใหมนุษยมีความสุข และรูจักคุณคาของความงามในสิ่งตาง ๆ รอบตัวไดเปนอยางดี เมื่อมนุษยมีความผูกพันอยูในสังคม มนุษยจึง ตองสรางสิ่งตาง ๆ เพื่อประโยชนสุขของสังคม การสรางสรรคผลงาน หรือการออกแบบต าง ๆ จึงทําเพื่อ ประโยชนสุขของสังคม และในขณะเดียวกัน ก็ทําเพื่อประโยชนสุ ขของตนเองการแตงกายอยางเรียบรอย ถูกตองตามกฎ ระเบียบ เปนการสรางระเบียบ วินัย เพื่อตนเองและสังคม การรักษาความสะอาดในบาน หรือ ทิ้งขยะในถังขยะก็เปนการทําเพื่อสังคม เมื่อมนุษยเปน ผูผลิตมนุษยก็เปนผูรับในขณะเดียวกัน ดังนั้นในการ ผลิต ผูผลิตจึงตองคํานึงถึงคุณสมบัติในการออกแบบ และผูรับจะตองคํานึงถึงรสนิยมของการเลือกใชตาม ความเหมาะสม รสนิยมจึงเกี่ยวของกับศิลปะและการออกแบบ หากบุคคลใดสนใจและไดเรียนรูในเรื่องของ ศิลปะ จะทําใหบุคคลนั้นมีรสนิยมที่ดีและรูจักเลือกของใชที่เหมาะสม การแตงกายอยางถูกตามกาลเทศะ หรือ การจัดตกแตงสถานที่อยูอาศัยใหนาอยูจึงเปนสิ่ง สําคัญในชีวิตมนุษยเพราะสิ่งตาง ๆ เหลานี้จะเกี่ยวของกับ ชีวิตประจําวันของมนุษยดังนั้นไมวาจะทําในสิ่งใด ศิลปะจะถูกนํามาเกี่ยวของดวยเสมอไม วาจะเปนทางตรง หรือทางออม ศิลปะจึงมีประโยชนกับวิถีชีวิตมนุษยและมีความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวาเรื่องอื่นใด


[DESIGN FOR HOME ECONOMICS : 006330] 24 พฤศจิกายน 2559

2. องคประกอบของศิลปะ

องคประกอบของศิลปะที่นํามาประยุกตใช ในการออกแบบกับชีวิตประจําวัน ซึ่งกอนที่จะเขาสูเรื่อง ของศิลปะในชีวิตประจําวัน ผูเรียนควรเขาใจถึงองคประกอบของศิลปะที่สําคัญ นั่นก็คือ ทัศนธาตุทางการ ออกแบบ (Element of Design) เสียกอน องคประกอบของศิลปะที่สําคัญ โดยนํามาประยุกตใชในปจจัย 4 ที่ เกี่ยวของกับชีวิต มีดังนี้    

จุด (Dot) เสน (Line) รูปราง (Shape) รูปทรง (Form)

Dot

Line

Shape

Form

ทัศนธาตุ ที่ไดกลาวมาขางตน เปนจุดเริ่มตนในการสรางสรรคผลงานและสิ่งตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน จาก จุด ซึ่งเปนทัศนธาตุเริ่มตน เมื่อจุดหลายจุดลากเรียงรอยตอกัน จึงเกิดเปน เสน เมื่อเสนเรียงรอยหัว ตอทายตอกันเปน รูปราง และเมื่อเกิดมิติเพิ่มในดานความลึก ความหนา จึงเกิดเปน รูปทรง นอกจากนี้ยังมี ลักษณะของทัศนธาตุ ที่ทําใหเห็นถึงลักษณะที่แสดงออกใหเราไดจับตอง ไดสัมผัสรวมถึงการมองเห็น และยัง เปนสิ่งที่เรานํามาจัดการใชปรับปรุงสิ่งตาง ๆ รอบตัวเราไดดังนี้ 1). ขนาดและสัดสวน (Size and Proportion) ในการทํางานศิลปะขนาดและสัดสวน เปนเรื่องที่ ควรใหความสนใจ เพราะขนาดและสัดสวนเปนสวนหนึ่งขององคประกอบที่สัมพันธกัน โดยขนาดจะทําหนาที่ กําหนดขอบเขตของงาน และสัดสวนจะทําหนาที่สรางความสัมพันธขององคประกอบนั้นใหดูสวยงาม 2). ความกลมกลืน (Harmony) ความกลมกลืนเปนการกระทําโดยการจัดองคประกอบของสิ่งตาง ๆ ใหมีความสัมพันธกลมกลืน และนุมนวล ความกลมกลืน สามารถแบงไดหลายประการ เชน ความกลมกลืน ของเสน สี ขนาด หรือรูปทรงการใชความกลมกลืนขึ้นอยูกับความเหมาะสมของงาน 3). การตัดกัน (Contrast) การทํางานศิลปะ หากมีความเรียบงายเกินไปบางครั้งจะทําใหขาดจุดเดน หรือจุดสนใจดังนั้นการตัดกัน จึงมีวัตถุประสงคเพื่อใหผลงานดูโดดเดน นาสนใจและสะดุดตา แตในการตัดกัน ควรพิจารณาถึงปริมาณที่เหมาะสม เชน ตัดกันในปริมาณ 60 – 40 % หรือ 80 – 20 % ซึ่งขึ้นอยูกับ วัตถุประสงคของงาน 4). เอกภาพ (Unity) หากการออกแบบมีความสับสน วุนวาย หรือกระจัดกระจาย ผลงานนั้นจะหา จุดเดนหรือจุดสนใจไมได แตหากนําสิ่งยุงเหยิงนั้นมารวมกันอยางมีเอกภาพ ก็จะเกิดมวลที่ปรากฏชัดเจน เอกภาพจึงเปนการรวบรวมสิ่งตาง ๆ ที่อยูกระจายทั่วไปใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน 5). การซ้ํา (Repetition) การซ้ําสามารถทําไดโดยการซ้ํากันตลอด โดยใชรูปแบบเดิมหรือวัสดุเดิม หรือซ้ําที่เปลี่ยนรูปแบบหรือวัสดุใหม ในการซ้ําวัตถุประสงคเพื่อถายทอดความรูสึก ใหตอเนื่องกันไดเปนอยาง ดี ในการออกแบบ การซ้ําสามารถทําไดโดยการซ้ําที่เหมือนกันตลอดของรูปแบบ เพื่อเกิดความเรียบงาย และ ลดการขัดแยงกับการซ้ําที่แปรเปลี่ยนคือการซ้ํากันที่มีรูปแบบเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เพื่อเพิ่มความ แตกตาง ใหนาสนใจยิ่งขึ้น


[DESIGN FOR HOME ECONOMICS : 006330] 24 พฤศจิกายน 2559

6). จังหวะ (Rhythm) จังหวะกับการซ้ํา มีความคลายคลึงกันมากและทั้งสองประการนี้จะทํา ควบคู กันเสมอ จังหวะเปรียบเสมือนขั้นตอน หรือทวงทํานองของการเกิดการซ้ํากัน คือ รูปแบบของท วงทํานอง จังหวะยังใชในการเชื่อมโยงสายตาไปสูจุดหมายไดเปนอยางดี 7). ความสมดุล (Balance) ความสมดุล หรือดุลยภาพเปนกระบวนการของน้ําหนักที่เกิดจากการถวง น้ําหนักของวัตถุใหเกิดความรูสึกที่ถวงดุลซึ่งกันและกัน สิ่งสําคัญในการถวงดุลคือเสนแกน ดังนั้นในการหา ความสมดุลจะตองรูเสนแกนขององคประกอบทั้งหมดเสียกอน ความสมดุลเปนเรื่องของกฎเกณฑดังนั้น ในการ ใชจะตองศึกษาใหรอบคอบ มิเชนนั้น ผลงานอาจขาดความสมบูรณได 8). สี (Color) สีเปนปจจัยสําคัญในงานศิลปะ เพราะสีมีอิทธิพลตอการมองเห็น และสียังสามารถ กระตุนใหเกิดความรูสึกไดในทันทีที่พบเห็น สี จึงเปนสิ่งสําคัญในงานศิลปะทุกประเภท

3. การออกแบบคืออะไร

• การออกแบบตรงกับภาษาอังกฤษวา “design” • ในภาษากรีก หมายถึง บทกวี (poetry) ต องมี การวางเค าโครงตามจิ น ตนาการของผู ประพั น ธ ผสมผสานกับความรูสึกที่แสดงออกใหผูอื่นเขาใจอยางมีศิลปะและสุนทรียภาพ ตอมามีความหมาย ครอบคลุมถึงงานทุกชนิดที่มีการออกแบบตามกฎเกณฑ การจัดองคประกอบศิลปเพื่อใหบรรลุถึง ความงามอันสมบูรณ โดยไมคํานึงถึงชนิดของงาน • การออกแบบ หมายถึ ง ความคิ ด คํ า นึ ง หรื อ จิ น ตนาการเกี่ ย วกั บ ความสั ม พั น ธ โดยรวมของ องคประกอบยอย กับโครงสรางของแตละเรื่อง โดยการสลับสับเปลี่ยนคุณสมบัติขององคประกอบตาง ๆ เชน ขนาด พื้นผิว ตําแหนง ทิศทาง รูปราง รูปทรง จังหวะ เพื่อใหไดโครงสรางที่เหมาะสมที่สุด • การรูจักวางแผน กอนการลงมือกระทํา โดยสอดคลองกับรูปแบบและวัสดุแตละชนิด ตามความคิด สรางสรรคที่เกิดขึ้น • การปรับปรุงผลงานที่มีอยูแลว ใหเหมาะสมมีความแปลกใหมเพิ่มมากขึ้น โดยที่จะตองคํานึงถึงความ สวยงามและประโยชนใชสอย คุณคาของการออกแบบ จากแนวคิ ดของ ศ.ดร.วิ รุณ ตั้งเจริญ ถื อว า การออกแบบเปน สื่อกลางระหวางมนุษยกับ มนุษยและระหวางมนุษยกับวัตถุ ที่มีคุณคา 3 ประการ คือ .............1. เพื่อประโยชนใชสอย (ทางกายภาพ) .............2. เพื่อคุณคาทางความงาม ซึ่งเกี่ยวของกับทัศนศิลป .............3. เพื่อประโยชนในการติดตอสื่อสาร (สรางทัศนคติ)


[DESIGN FOR HOME ECONOMICS : 006330] 24 พฤศจิกายน 2559

4. แนวคิดที่นํามาประยุกตใชในการออกแบบ

การพัฒนาผลิตภัณฑทอ งถิน่ • โอทอป (OTOP) เปนโครงการกระตุนธุรกิจประกอบการทองถิ่น ซึ่งไดรับการออกแบบโดยทักษิณ ชินวัตร สมัยที่ยังดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีระหวาง พ.ศ. 2544-2549 มีแรงบันดาลใจมากจาก โครงการหนึ่งหมูบานหนึ่งผลิตภัณฑ (OVOP) ทีเ่ มืองฟุกโุ อกะ ที่ประสบความสําเร็จของญี่ปุน • การผลิตหรือจัดการทรัพยากรที่มีอยูในทองถิ่น ใหกลายเปนสินคาที่มีคุณภาพ มีจุดเดนเปนเอกลักษณ ของตนเองที่ สอดคล องกั บ วั ฒ นธรรมในแต ล ะท องถิ่ น สามารถจํ าหน ายในตลาดทั้ ง ภายในและ ตางประเทศ โดยมีหลักการ พื้นฐาน 3 ประการ คือ • ภูมิปญญาทองถิ่นสูสากล (Local Yet Global) • พึ่งตนเองและคิดอยางสรางสรรค (Self-Reliance-Creativity) • การสรางทรัพยากรมนุษย (Human Resource Development) • ผลิตภัณฑ ไมไดหมายถึงตัวสินคาเพียงอยางเดียวแตเปนกระบวนการทางความคิดรวมถึงการบริการ การดูแลการอนุรั กษ ทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล อม การรั กษาภู มิปญญาไทย การทองเที่ย ว ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี การตอยอดภูมิป ญญาท องถิ่ น การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู เพื่อใหกลายเป น ผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ มีจุดเดน จุดขายที่รูจักกันแพรหลายไปทั่วประเทศและทั่วโลก

ทรัพยสนิ ทางปญญา ทรัพยสินทางปญญา หมายถึงผลงานอันเกิดจากการประดิษฐ คิดคน หรือสรางสรรคของมนุษยซึ่งเนน ที่ผลผลิตของสติปญญาและความชํานาญ โดยไมคํานึงถึงชนิดของการสรางสรรคหรือวิธีในการแสดงออก

ที่มา : เอกสารเผยแพร ความรูเบื้องตนดานทรัพยสินทางปญญา โดยกรมทรัพยสินทางปญญา กระทรวงพาณิชย


[DESIGN FOR HOME ECONOMICS : 006330] 24 พฤศจิกายน 2559

5. การประยุกตศิลปะและการออกแบบ ในการชีวิตประจําวัน

เปนที่ทราบกันดีแลววา ปจจัย 4 คือ สิ่งสําคัญในการดํารงชีวิตของมนุษย มนุษยตองการที่อยูอาศัย เพื่อปองกันภัยอันตรายจากภายนอก มนุษยตองการอาหารเพื่อใหรางกายแข็งแรง มนุษยตองการอาหารเพื่อ ใหรางกายแข็งแรง มนุษยยังตองการเสื้อผาหรือเครื่องนุงหมไวปกปดรางกายจากสิ่งแวดลอมรอบตัว และ มนุษยยังตองการยา เพื่อรักษาโรคภัยไขเจ็บ สิ่งตาง ๆ เหลานี้ลวนแลวแตเปนสิ่งสําคัญและ จําเปนสําหรับชีวิต มนุษยอยางยิ่ง เมื่อมนุษยตระหนักถึงความสําคัญ มนุษยจึงตองใหความสนใจและเอา ใจใสดูแลในเรื่องดังกล าว การใหความสําคัญในรายละเอียดตาง ๆ จึงถูกนํามาพิจารณาและปรุงแตง ปจจัยใหสนองความตองการ และแสดงถึงคุณคาของความงาม สิ่งนั้น คือ “ศิลปะ” หากมนุษยยอมรับ วาศิลปะ คือ การแสดงออกของอา รมณตามความพอใจ ศิลปะก็จะมีประโยชนและเกี่ยวของกับปจจัยที่สนองความตองการทางอารมณเปนอยา


[DESIGN FOR HOME ECONOMICS : 006330] 24 พฤศจิกายน 2559

งยิ่ง หากมนุษยเครียด ศิลปะสามารถสรางความเบิกบานให แสดงวาเขาผูนั้นเขาถึงศิลปะ นอกจากนี้การเขาถึง ศิลปะ จะทําใหมนุษยมีรสนิยมที่ดี การมีรสนิยมจะเกี่ยวของกับศิลปะและการออกแบบ รสนิยมเปนความ พอใจของมนุษยที่นําหลักการทางศิลปะมาผสมผสานใหเกิดความพอดี เพราะความพอดีและความพอใจ หาก มนุษยเขาถึงศิลปะไดมากเขาผูนั้นก็จะมีรสนิยมที่ดี ดังนั้น ศิลปะ จึงมีประโยชนตอการดํารงชีวิตในปจจุบัน คหกรรมศาสตร • เปนศาสตรที่มีความสําคัญตอการเปนพื้นฐานของการพัฒนาคน ครอบครัว สังคมและมวลมนุษยชาติ มีความสัมพันธกับศาสตรอื่น ๆ เชน วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ศิลปะ ศาสตร ฯลฯ เปนตน • คหกรรมศาสตร เปนศาสตรที่นําไปปรับปรุงและพัฒนา เติมเต็มคุณภาพชีวิตของคน ครอบครัว ชุมชน สังคม คุณภาพของชาติและสังคมโลก • คหกรรมศาสตรครอบคลุมปจจัย 4 ในการดํารงชีวิตของมนุษยไวทั้งหมด และเสมือนหนึ่งเปนสะพาน แรกในการประสานเชื่อมโยงคน ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศใหรวมกันเปนหนึ่งเดียวอยางมีสุข ภาวะได ในยุคที่วิถีชีวิตและวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะวัฒนธรรมการบริโภคที่ไดรับผลกระทบจาก บริบทการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก จุดมุงหมายในการสรางสุขภาวะเพื่อใหเปนพื้นฐานสําคัญในการ มีคุณภาพชีวิตที่ดีตามปรัชญาของคหกรรมศาสตรก็เปลี่ยนแปลงไป 1). ศิลปะกับที่อยูอาศัย มนุษยเหมือนสัตวทั่วไปที่ตองการสถานที่ปกปองคุมครองจากสิ่งแวดลอมรอบกาย ไมวามนุษยจะอยู แหงใด สถานที่อยางไร ที่อยูอาศัยจะสรางขึ้น เพื่อปองกันภัยอันตรายจากสิ่งแวดลอมภายนอก ที่อยูอาศัยเป นหนึ่งในปจจัยที่มีความสําคัญและจําเปนสําหรับการดํารงชีวิตของมนุษย มนุษยจึงมีการพัฒนาที่อยูอาศัย เพื่อ สนองความตองการและความพอใจของแตละบุคคล มนุษยทุกคนมีการพัฒนาการในชีวิตของตนเอง มนุษยจึง นําพัฒนาการเหลานี้มาใชใหเปนประโยชน การพัฒนาที่อยูอาศัยจึงเปนหนึ่งในปจจัยที่สําคัญสําหรับมนุษย ที่อยูอาศัยในปจจุบันถูกพัฒนาใหทันสมัยกวาในอดีต เนื่องจากตองปรับปรุงใหเหมาะสมกับสภาพการณและสิ่ง แวดลอมของโลกที่เปลี่ยนแปลง แตในการปรับปรุงนั้นควรคํานึงถึงสภาพทางภูมิศาสตรและวัฒนธรรมทองถิ่น ควบคูกันไป การพัฒนาที่อยูอาศัยนั้นจึงจะเหมาะสมและสนองความตองการ อยางแทจริง ที่อยูอาศัยโดยเฉพาะบานในปจจุบัน จะมีรูปแบบที่เรียบงายใกลชิดธรรมชาติและคํานึงถึงประโยชนใช สอยเปนหลัก และเน นในเรื่ องเทคโนโลยีต  าง ๆ เพิ่ มมากขึ้น เพราะเกิ ดการเปลี่ ยนแปลงตามรสนิ ยมการ บริโภค นอกจากนี้ ในการจัดตกแตงภายใน จะมีการผสมผสานการตกแตงแบบตะวันตกและตะวันออกเขาดวย กัน ทําใหเกิดผลงานการตกแตงในรูปแบบ Contemporary และ Oriental ที่ใชงานไดสะดวกตามรูปแบบ ตะวันตก ปจจัยอีกประการหนึ่งในการจัดตกแตงภายในบาน คือ การนําหลักการทางศิลปะมาผสมผสานเขากับ การตกแตง เพื่อใหการดํารงชีวิตภายในบานสะดวกทั้งกายและใจ และแสดงออกถึงความงดงามและมีรสนิยม ของผูเปนเจาของบาน ในการใชสีตกแตงภายใน ควรคํานึงถึงวัตถุประสงคของหองหรือสถานที่ตกแตง เพื่อจะไดใชสีได อยาง เหมาะสม การใชสีตกแตงสถานที่ตาง ๆ ภายในบาน แบงออกเปนหองตางๆ ดังนี้ - หองรับแขก เปนหองที่ใชในการสนทนาหรือตอนรับผูมาเยือน ดังนั้นหองรับแขกควรใชสีอบอุน เชน สีครีม สีสมออน หรือสีเหลืองออน เพื่อกระตุนใหเบิกบาน


[DESIGN FOR HOME ECONOMICS : 006330] 24 พฤศจิกายน 2559

- หองอาหาร ควรมีสีที่ดูสบายตา เพื่อเพิ่มรสชาติอาหาร อาจใชสีที่กลมกลืน นุมนวล เพราะสีนุมนวล จะทําใหเกิดความสบายใจ หองครัวหองควรใชสีที่ดูสะอาดตาและรักษาความสะอาดงาย หองควรเปนหองที่ใช ทํากิจกรรม จึงควรใชสีกระตุนใหเกิดความสนใจในการทํากิจกรรม - หองนอน เปนหองที่พักผอน ควรใชสีที่สบายตาอบอุนหรือนุมนวลแตการใชใน หองนอนควร คํานึงถึงผูใชดวย - หองน้ํา หองน้ําเปนหองที่ใชทํากิจกรรมสวนตัวและตองการความสบาย จึงควรใชสีที่สบายตา เปน ธรรมชาติและสดชื่น เชน สีฟา สีเขียว หรือสีขาวและควรเปนหองที่ควรทําความสะอาดไดงาย นอกจากนี้ การใชสีตกแตงภายในควรคํานึงถึง ทิศทางของหอง หองที่ถูกแสงแดดสองควรใชสีออน เพื่อสะทอนแสงสวาง สวนหองที่อยูในที่มืดหรืออับ ควรใชสีออนเพื่อความสวางเชนกัน เพศและวัย เพศชาย หรือหญิง จะใชสีในการตกแตงไมเหมือนกัน เพศชายจะใชสีเขมกวาเพศหญิง เชน สีเขียวเขม สีฟา หรือเทา สวนเพศหญิงจะใชสีที่ออน และนุมนวลกวา เชน สีครีม สีเหลือง เปนตน ในแตละชวงวัย จะใชสีไมเหมือนกัน เชน หองเด็กจะใชสีออนหวานนุมนวล หองผูใหญจะมีสีที่ อบอุน หองผูสูงอายุจะใชสีที่นุมนวล ดังที่กลาวมา ขางตน ศิลปะ จึงไมไดเกี่ยวของกับการจัดตกแตงที่อยูอาศัยเพียงอยางเดียว แตศิลปะยังชวยจรรโลงใจให สมาชิกในครอบครัวอยูอยางมีความสุข 2). ศิลปะเกี่ยวกับการจัดอาหาร อาหารเปนหนึ่งในปจจัย 4 ที่สําคัญของมนุษย อาหารนอกจากสนองความตองการทางกายของมนุษย แลว อาหารยังสนองความตองการทางดานจิตใจ สังคมและวัฒนธรรม ดังนั้นในการบริโภคอาหารผู จัดอาหาร จึงตองใชศิลปะ ในการสรางสรรคตกแต งอาหาร เพื่อใหอาหารเปนเครื่องจรรโลงใจ ในที่นี้ขอยกตัวอยาง หลักการทางศิลปะมาประยุกตใชกับการจัดอาหาร อาทิ ความกลมกลืน (Harmony) ความกลมกลืนในการจัด อาหาร จะเกี่ยวของกับอาหารและภาชนะ อาหารควรเหมาะสมและกลมกลืนกับภาชนะอาหารประเภททอด ควรใสในจาน หรืออาหารประเภทน้ําควร ใสในชาม นอกจากนี้ผลไมควรใส ตะกราหรือถาดไมจะเหมาะสม กวาใสในถาดโลหะ อาหารบางประเภทควรคํานึงถึงความกลมกลืนของภาชนะเชนกัน เชน อาหารภาคเหนือ อาจเสิรฟในขันโตก หรืออาหารภาคกลางเสิรฟในจานที่ดูดสวยงาม สะอาดหรือมีขอบเปนลวดลายไทย เปนตน นอกจากนี้ยังมีเรื่องของ สีสัน (Color) การใชสีตกแตงอาหารเปนเรื่องงายกวาการใชสีตกแตงในเรื่องอื่น เพราะอาหารใน แตละอยางจะมีสีสันในตัวเอง โดยเฉพาะ อยางยิ่งในอาหารไทย ซึ่งมีมากมายหลายสี แกง เขียวหวานสีเขียวออน แกงเผ็ดสีสม หรือแกงเลียงสีเขียว การใชสีตกแตงอาหารเพียงเพื่อตองการใหอาหารเกิด ความนารับประทาน และสรางจุดเดนของอาหารดังนั้น การใชสีตกแตงอาหาร จึงควรใชสีจากธรรมชาติเพื่อ ความปลอดภัยในการบริโภค เชน สีเขียวจากใบเตย สีมวงหรือสีน้ําเงินจากดอกอัญชัน สีเหลืองจากฟกทอง หรือขมิ้น เปนตน ถึงแมวาอาหารจะมีรสชาติอรอยเพียงใด แตหากขาดการปรุงแตงดวยสีสันที่งดงาม อาหาร นั้นอาจขาดความนาสนใจไดเชนกัน 3). ศิลปะกับเสื้อผาและการแตงกาย เสื้อผาเปนสวนหนึ่งของเครื่องนุงหมหรือเครื่องแตงกาย เสื้อผามีไวปกปดรางกาย และปองกันภัย จาก สิ่งแวดลอมภายนอกและเสื้อผายังชวยเสริมสรางบุคลิกภาพใหมีภาพลักษณที่ดี หากตองการมีภาพลักษณที่ดี ผูนั้นจะตองเลือกแตงกายดีมีรสนิยม รสนิยมของการแตงกายขึ้นอยูกับศิลปะ ดังนั้น ศิลปะในการแตงกายจึง เปนสิ่งสําคัญ ในการแตงกายโดยทั่วไปจะคํานึงถึงขนาดรูปราง เพศวัยและบุคลิกของการสวมใสและศิลปะ จะเปนสวนเสริมเพิ่มเติมหรือประดับตกแตงใหเกิดรสนิยม นอกจากนี้หลักการทางศิลปะยังชวยแกไขปญหา และอําพรางขอบกพรองตาง ๆ ของรางกาย ไดอีก ดังตัวอยางที่จะกลาวตอไปนี้


[DESIGN FOR HOME ECONOMICS : 006330] 24 พฤศจิกายน 2559

3.1. รูปรางผอมสูง ถึงแมจะมีรูปรางดีแตหากใสเสื้อผารัดรูปมากเกินไป เชน ใสเสื้อแขนกุด หรือผายืดบางรัดรูปจะเนนใหเห็นสรีระที่ผอมบางชัดเจน ควรใสเสื้อผาที่หนา ๆ หรือจีบพองฟูเพราะจะเสริมให ดีหนาขึ้นและมีบุคลิกที่ดีขึ้น 3.2. รูปรางอวนเตี้ย หากคอสั้นทําใหคอดูยาวขึ้น ควรใสเสื้อคอวีหรือคอเชิรทจะชวยใหใบ หนาดูยาว ขึ้น ไมควรใสเสื้อปดคอจะทําใหคอสั้นลง ลวดลายของเสื้อผาควรเปนดอกเล็กๆ และลายตั้งหามใส ฟองน้ํา เสริมไหลเพราะจะดูหนาขึ้น ไมควรใสชุดติดกันเพราะจะเนนขนาดและตัดกันอยางชัดเจน นอกจากนี้ ควร สวมกระโปรงและเสื้อแยกชิ้น และมีสีเขม ไมควรใชผาหนาเพราะจะเพิ่มความอวนขึ้นอีก 3.3. สะโพกใหญไมควรสมเสื้อเอวลอย เพราะจะเนนสะโพกชัดเจน ควรสวมกระโปรงที่ตัด เย็บจาก ผานิ่ม ๆ พริ้วทั้งตัว สีเขมเพื่ออําพราง ไมควรสวมกระโปรงหรือกางเกงที่รัดรูป เพราะจะเนน ความ ใหญของ สะโพกและควรสวมกระโปรงคลุมเขาเพื่อกระชัดสะโพกมากขึ้น 3.4. หนาอกใหญ สวมเสื้อที่มีปกหรือคอวีเพราะจะทําใหทรวงอกดูเล็กลง ใสเสื้อสีเขมตัด เย็บดวยผาที่บางเบา หลีกเลี่ยงเสื้อที่มีลวดลายหรือมีกระเปาที่หนาอก เพราะจะทําใหเกิดจุดเดนและเพิ่มความ หนาใหหนาอกได 3.5. ไหลแคบ ควรสวมเสื้อผาที่มีฟองน้ําและเลือกผาพริ้วบาง ไมมีใครที่จะมีรูปรางสวย หรือ สมบูรณไปทุกอยาง หากแตไดนําหลักการทางศิลปะมาประยุกตใชก็จะสามารถทําใหความบกพรองนั้นลดลง และมีบุคลิกภาพที่ดีขึ้นได

6. ความสําคัญของการพัฒนาทักษะดานการออกแบบกับคหกรรมศาสตรรว มสมัย

ในปจจุบัน ไมวาสถานการณของโลกจะเปลี่ยนแปลงไปอยางไรก็ตาม ในความเปนบานและชุมชน หากมองในระดับตัวเราจนไปถึงสังคมภายนอก หลักการทางศิลปะดังที่กลาวมา ยังคงนํามาประยุกตใชไดเปน อยางดี ดวยการนําเอาหลักการออกแบบมาบริหารจัดการปจจัย 4 ในชีวิตประจําวันใหเกิดศักยภาพและการ พั ฒ นาชี วิ ต ให เ ข าสู ความเป น มนุ ษย ที่ ส มบู ร ณ ได ท า มกลางสถานการณ ในอนาคตที่เ ทคโนโลยี แ ละความ เจริญกาวหนาจะเขามามีบทบาทมากขึ้นก็ตาม คหกรรมศาสตรเปนสาขาวิชาหนึ่งที่ตอบสนองความตองการ สวนบุคคลและสังคม มีสวนชวยในการพัฒนาคนใหมีคุณภาพ สอนใหรูจักการจัดการทรัพยากรใหเกิดประโย ชนตอตนเอง ครอบครัว ชุมชน รวมทั้งการพัฒนาสังคมใหมีสภาพความเปนอยูที่ดี ทั้งปจจุบันและอนาคต โดย ที่คหกรรมศาสตรเปนศาสตรที่เกี่ยวของกับทฤษฎีและการปฏิบัติ จากงานวิ จัย เรื่องวิ ถีคหกรรมศาสตรในประเทศไทย: บทสะทอนวิสั ยทั ศน และกระบวนทั ศนจ าก ปจจุบันสูอนาคต พบวาหลักสูตรคหกรรมศาสตรมีความหลากหลายตามแนวคิดจากจุดเริ่มตนและหลักสูตรไม  มีความชัดเจน เนื้อหาบางวิชามีความซ้ําซอน ไมเหมาะสมครอบคลุมกับสภาพปจจุบัน ขาดความสมดุลระหวาง ทฤษฏีกับการปฏิบัติ ไมเสริมสรางทักษะการคิดขั้นสูงใหกับผูเรียน เปนเรื่องโบราณทักษะ ไมปรับปรุงความรู หลักสูตรคหกรรมศาสตรในระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยนั้นมีทั้งแนวคิดดั้ งเดิมที่พัฒนาจากโรงเรียนการ ชางสตรีและโรงเรียนการเรือนพระนคร มีจุดมุงหมายเพื่อใหการศึกษาอบรมสตรีเปนแมบาน การฝมือ เย็บปก ถักรอยและแนวคิดใหม ที่เนนพื้นฐานทางทฤษฎีที่จะนําไปสูก ารปฏิบัติ ที่มีความตางกัน แตในสถาบันสวนใหญ จัดหลักสูตรที่เนนใหผูเรียนมีความสามารถดานทักษะฝมืออยางเดียว ไมสอนทักษะที่สอดแทรกแนวคิดในการ แกปญหา การคิดเชิงวิพากษ รวมถึงคุณธรรมและจริยธรรม ซึ่งจําเปนสําหรับการประกอบวิชาชีพในอนาคต ขางหนา เมื่อโลกเปลี่ยน คุณลักษณะของผูเรียนวิชาเกี่ยวกับคหกรรมศาสตรในอนาคตควรมีคุณลักษณะที่โดดเดนดังนี้ (1) ดานความรู ตองมีพื้นฐานทางเทคโนโลยีใหมๆ และเขาใจหลักปรัชญาของคหกรรมศาสตรเปนอยางดี


[DESIGN FOR HOME ECONOMICS : 006330] 24 พฤศจิกายน 2559

(2) ดานบุคลิกภาพ ตองมีความตั้งใจจริง มีความสุขกับการเรียนและการทํางานที่เกี่ยวของกับงานคหกรรม ศาสตร มีความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น มีความรับผิดชอบ ใฝหาความรูขอมูลขาวสารตลอดเวลา กระตือรือรน ขยัน อดทน มีวิสัยทัศนในการทํางาน มีระเบียบวินัย กลาแสดงออก มีความถนัดในวิชาชีพและมี ความเปนสากล (3) ดานทักษะ ควรมีทักษะการคิดวิเคราะห มีวิจารณญาณและเหตุผล คิดอยางสรางสรรค รูจักประยุกต ความรูทางทฤษฎีสูการปฏิบัติ สามารถนําเสนอตนเองและผลงานตอชุมชน สังคมและมีความสามารถในการ พูด ฟง อาน เขียน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (4) ดานทัศนคติ ควรมีทัศนคติทีดีและมีความภาคภูมิใจในวิชาชีพ แตในความเปนจริงบนทางเลือกดานอาชีพ ที่มีอยูอยางจํากัดนั้น รายไดที่มีเพดานขั้นตํ่ากําหนดไว วันหยุดนอย เขาออกงานตามเวลาที่กําหนดและ สวัสดิการที่เริ่มไมเพียงพอตอการดํารงชีวิต ทําใหหลายคนตองตกอยูในสภาวะจํายอมดวยเพราะความจําเปน จากปจจัยหลายดานและตองกมหนาทํางานตอไป แบบเชาชามเย็นชามโดยไมคาดหวังถึงการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในชีวิต ขณะที่ก็ยังมีคนอีกกลุมหนึ่งที่เลือกหาทางออกใหชีวิตดวยการมุงมั่นกระตือรือรนที่จะแสวงหาความ เปลี่ยนแปลงใหม ดวยการเริ่มตนทําธุรกิจ เปนเจาของกิจการและเปนนายตัวเอง โดยพรอมจะแบกภาระความ เสี่ยงมากมายไว เมื่อปจจัยที่สงผลตอการทํางานในโลกปจจุบัน องคความรูท างดานคหกรรมศาสตรจึงตอง “ขยับความคิด” โดยเฉพาะอยางยิ่งการนําเอา ความรูทางดานการออกแบบมาเปนตัวชูโรงใหผลิตผลที่เกี่ยวกับ การดํ ารงชี วิ ต น าสนใจและทรงอิ ทธิพลในตลาดการค า ความคิ ด สร างสรรค ที่ผ นวกลงไปสามารถต อยอด ความคิด ตอยอดการพัฒนาผลิตภัณฑ ตอยอดกระบวนการทํางาน เพราะสิ่งตาง ๆ เหลานี้ที่เราใชสอยใน ชีวิตประจําวันลวนเปนผลงานการออกแบบของมนุษยเราเองแทบทั้งสิ้น ฉะนั้นการออกแบบจึงมีอิทธิพลตอ การดํารงชีวิตของเราเปนอยางมาก เพราะชวยใหไดรับความสะดวกสบาย ทั้งทางกายภาพและความสุขสบาย ทางจิตใจ ซึ่งมนุษยมีความสามารถในการออกแบบและพัฒนาใหกาวหนาเปลี่ยนแปลงเรื่อยไปโดยไมมีการ หยุดยั้ง ขณะที่ความหลากหลายของทักษะชางฝมือก็ไดเปนฐานของการสรางจินตนาการใหเปนไปได (ศูนย สรางสรรคงานออกแบบ TCDC, 2556) การออกแบบจึงเปนสิ่งสําคัญอยางหนึ่งในสังคม ที่มีอิทธิพลผลักดันใหมีการพัฒนาอยูตลอดเวลา จาก แนวความคิดหนึ่งเปลี่ยนไปสูอีกแนวความคิดหนึ่ง และจากรูปแบบหนึ่ง เปลี่ยนไปสูอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งทําให เราพบกับความแปลกใหมอยูตลอดเวลา จากที่กลาวมา ผูวิจัยไดเห็นถึงถึงความสอดคลองในตัวความหมายของ การออกแบบกับการเรียนรูทักษะชีวิตและการทํางาน เพราะการออกแบบคือการแกปญหาอยางหนึ่ง อาศัย กระบวนการและทักษะในการคิดวางแผนและปรับเปลี่ยนใหดีขึ้น การออกแบบนั้นเปน ศาสตรแหงความคิด การแกไขปญหาที่มีอยู เพื่อสนองตอจุดมุงหมายและการนํา กลับมาใชอยางพึงพอใจและนอกจากนี้ การออกแบบนั้นมีจุดมุงหมายเพื่อการสื่อสาร ปรับทัศนคติของคนใน สังคมใหเ ขาใจในทิ ศทางเดีย วกัน ดั งนั้ นทักษะสําคัญที่ ผูเ รีย นได พัฒ นามาจากกระบวนการออกแบบ จึงมี ความสัมพันธกับการพัฒนาทักษะใหมแหงอนาคตในศตวรรษที่ 21 โดยที่การผลิต “คน” ออกไปสูโลกของการ ทํ า งาน การลงมื อ ปฏิ บั ติ จ ริ ง ดั ง นั้ น ผู จ บการศึ ก ษาไปในอนาคตจะต อ งมี คุ ณ ลั ก ษณะที่ สํ า คั ญ คื อ (1) มี บุคลิกภาพดี รวมทั้งทาทางที่แสดงออกเปนพฤติกรรมและที่เปนผลมาจากกระบวนการภายในของบุคคล (2) ดานความรู จะตองรูลึกในดานวิชาการ มีความรูวิชาชีพเฉพาะ มีความรูหลากหลาย เชน การจัดการทรัพยากร ตนเอง ครอบครัวและชุมชน เปนตน (3) ดานทักษะ ตองมีระบบการคิดอยางสรางสรรค ความรับผิดชอบ การ ทํ า งานร ว มกั น ท า มกลางความเปลี่ ย นแปลงและแตกต า งทางด า นสั ง คมและวั ฒ นธรรม มี ค วามสามารถ หลากหลาย มีวิสัยทัศนที่กวางไกล มีความรับผิดชอบและเปนผูนําได มีทักษะการใชภาษาอังกฤษที่ดี รวมทั้ง ทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.