Composition of Design Basic Design 2/2557
ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง
Contrast : ความแตกต่าง ความไม่ประสานสัมพันธ์กนั
สิ่ งที่ตรงข้ามกัน
“นำมำผสมผสานกันอย่ างลงตัว เกิ ดควำมตืน่ เต้น และควำมน่ำสนใจ”
“ธรรมชาติของมนุษย์ จะสนใจสิ่ ง ที่มีขนาดใหญ่ ก่อนสิ่ งที่มีขนาด เล็ก ถ้ าสองสิ่ งอยู่ใกล้ กัน”
การตัดกันด้วยขนาด
CONTRAST FORM การตัดกันด้วยรูปร่ าง “รูปร่ างต่ าง น่ าสนใจกว่ า”
DIRECTION CONTRAST
การตัดกันด้ วยทิศทาง “ภาพแสดงการตัดกันด้วย ทิศทาง ซึ่ งฝ่ ายชายหันหน้า และชี้ปลายเท้าไปในทิศทาง ตรงกันข้ ามกับฝ่ ายหญิง”
COLOR
CONTRAST
การตัดกันด้วยสี
“การใช้ ตรงข้ ามกันในวงจรสี หลักการของสี ตรงข้ ามจะเข้ าไปช่ วย ทาให้ งานนั้นดูมีชีวติ ชีวาไม่ น่าเบื่อ”
ภาพนี้มีการใช้สีคู่ตรงข้ ามกัน เป็ นสี ที่ตดั กันอย่างมาก โดยใช้สีส้ม ที่เป็ นสี โทนร้อน และสี เขียวที่เป็ นสี โทนเย็น รวมทั้งใช้ปริ มาณ ของสี ในภาพเกือบเท่ากัน จึงทาให้ภาพนี้ดูรุนแรง ขัดแย้ง
การวัดกันด้วยค่ าความเข้ ม
ความแตกต่ างที่เกิดจากสี และนา้ หนักของรู ป (Figure) กับพืน้ หลัง (Background) ทาให้ ประสิทธิภาพของการอ่ านแตกต่ างกัน
TEXTURE การตัดกันด้วยพืน้ ผิว CONTRAST
LINE CONTRAST
การตัดกันด้วยเส้ น
SHAPE
การตัดกันด้วยรู ปร่ าง CONTRAST
“ทาให้ เกิดความสวยงาม และความ น่ าสนใจมากยิ่งขึน้ ”
เป็ นการนารู ปร่ างหลายๆรู ป มาซ้ อนกัน ทาให้เกิดการตัด กัน
พื้นที่ว่าง (SPACE) กลุ่ม BABY BEE
ความหมาย •
ทีว่ ่างเป็นทัศนธาตุที่มองไม่เห็น ที่ว่างจะปรากฏขึ้นเมือ่ มีทัศนธาตุอื่นเกิดขึ้น ที่ว่างจึงเหมือนสนามที่ทัศนาธาตุอื่นๆจะลงไปแสดงหรือปรากฎในบทบาทของรูปทรง โดยงานศิลปะแต่ละประเภทจะใช้ที่ว่างต่างกันตามลักษณะของงาน เช่นจิตรกรรมใช้ที่ ว่างที่เป็น 2 มิติ แต่อาจทาให้เกิดการลวงตาเป็น 3 มิติ
ความสาคัญของที่ว่างที่มีต่อรูปทรง เมื่อมีสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นบนที่ว่าง จะเกิดเป็นรูปกับพื้นหรือรูปทรงกับที่ว่างขึ้น จะมีรูปร่างขึ้นเป็นอย่างเดียวกับ รูปร่างหรือรูปทรงที่เกิดขึ้น แต่มีลักษณะเป็นลบ ตรงข้ามกับรูปร่างหรือรูปทรงที่เกิดลักษณะเป็นบวก ความเป็นบวกเป็นลบนี้จะเป็น ปฏิกริยาต่อกันอยู่
น้าหนักอ่อนแก่ (VALUE) วัตถุที่อยู่ใกล้จะมีน้าหนักอ่อน และวัตถุที่อยู่ไกลออกไปเรื่อยๆ จะมีน้าหนักแก่เพิ่มไปเรื่อยเรื่อยๆ จนเข้ม
ขนาด (Size) ขนาดของรูปทรงที่ใหญ่กว่าจะรู้สึกว่าอยู่ใกล้ ขนาดที่เล็กกว่าจะรู้สึกไกลออกไป
ความอ่อนแก่ของน้าหนักที่เคียงกันอยู่ ถ้าน้าหนักตัดกันมากจะรู้สึกว่าอยู่ใกล้ ตัดกันน้อยจะรู้สึกว่าไกลออกไป ถ้ายิ่งมีน้าหนักกลืนกันกับพื้นจะรู้สึกยิ่งไกลออกไปมาก
ตาแหน่งของรูปทรงในภาพ สิ่งที่อยู่ใกล้ขอบล่างของแผ่นภาพจะรู้สึกว่าอยู่ใกล้ สิ่งที่อยู่ตอนบนของภาพจะรู้สึกว่าอยู่ไกล หรือสิ่งที่วางอยู่กลางภาพ จะได้รับความสนใจก่อน และรู้สกึ ว่าอยู่ใกล้ สิ่งที่อยู่ข้างๆ นอกจุดรวมสายตาจะเห็นทีหลัง ทาให้รู้สึกว่าไกลกว่า
ความคมชัด เส้นหรือรูปทรงที่มีรูปนอกคมชัดจะรู้สึกว่าอยู่ใกล้ เส้นหรือรูปทรง ที่พร่าเลือนจะรู้สึกว่าอยู่ไกล เส้นหรือรูปทรงที่คมชัดด้านหนึ่ง และ พร่าเลือนไปอีกด้านหนึ่ง จะให้ความรู้สึกใกล้ไกลในตัวเอง วิธีนี้ให้ ความรู้สึกเรื่องบรรยากาศ (Atmospheric Space) ส่วนที่พร่าจะ จมอยู่ในบรรยากาศ และอยู่ไกลออกไป
การซ้อนกัน เส้นหรือรูปทรงที่ซ้อนกัน ส่วนที่ถูกซ้อนจะอยู่ไกล
ความจัดของสี เส้นหรือรูปทรงที่มีสีจัดจะรู้สึกว่าอยู่ใกล้ สีที่หม่นลงจะถอยไกลเข้าไปในภาพ
ความหยาบละเอียดของลักษณะผิว พื้นผิวที่หยาบจะรู้สึกว่าอยู่ใกล้ ที่ละเอียดจะดูไกลออกไป
แนวคิดร่วมสมัยเกี่ยวกับที่ว่าง 1.ที่ว่างที่เป็นสิ่งแวดล้อม (Environment Art) ศิลปินจะสร้างทีว่ ่างที่มีรูปทรงลักษณะหนึ่งขึ้น ให้ผู้ดูสามารถเดินเข้าไป ข้างในได้ และตัวเองจะกลายเป็นส่วนหนึ่ง ของงาน ได้รับประสบการณ์จากที่ว่าง ความรู้สึกของผู้ดูจะโต้ตอบกับที่ว่างนั้น
2. ที่ว่างที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับทัศนธาตุ ใช้ที่ว่างให้มีความสาคัญเทียบเท่ากับเส้น น้าหนัก สี ลักษณะผิว ด้วยการเขียน การแต้ม การสลัด และการหยดสี ลงในแผ่นภาพ ให้รูปทรงที่เกิดขึ้นคละลงไปกับทีว่ ่าง ไม่มีส่วนใดเด่นกว่าส่วนใด จะเห็นได้ชัดในงานศิลปะแบบ Abstract Expressionism
3. ลักษณะของที่ว่างที่ต่อเนื่องกัน ที่ว่างที่ต่อเนื่องกันระหว่างที่ว่างภายในกับที่ว่างภายนอกที่แทรกตัวและขยายตัวเข้าหากัน ส่วนมากจะเห็นในงาน สถาปัตยกรรมและประติมากรรม
4. ลักษณะที่วา่ งต่างมิติ ใช้ที่ว่างหลายทิศทาง เช่น การใช้ความสัมพันธ์กันในทิศทางเฉียงและทางโค้ง ส่วนมากจะอยู่ในงานสถาปัตยกรรม
5. การเกิดขึ้นพร้อมกันของที่ว่าง แสดงมิติทุกด้านของรูปทรงให้เห็นพร้อมกันในเวลาเดียวกัน เช่นงานศิลปะประเภทคิวบิสม์
6. ที่ว่างสองนัย ที่ว่างที่เคลื่อนไหวสลับกันระหว่างความเป็นรูปทรงกับความเป็นที่ว่าง หรือระหว่างความลึกกับความตื้นจะเห็น ในศิลปะประเภทออปอาร์ต (Op Art)
7. การเคลื่อนไหวและการเลื่อนไหลของที่ว่าง ที่ว่างแบบนี้จะเห็นได้ชัดในงานปะติมากรรมเคลื่อนไหว (Kinetic Sculpture)
SPACE ( พืน้ ที่ว่าง )
ความหมายของบริเวณว่างในทางทัศนศิลป์ การนาส่วนประกอบสาคัญต่าง ๆ เหล่านี ้มาจัดให้ เกิดความสมดุล และเกิดความงาม ซึง่ จะทาให้ เป็ นภาพที่สมบูรณ์ได้ เรี ยกว่าการจัด ทัศน์ธาตุหรื อการจัดองค์ประกอบของทัศนศิลป์ การจัดองค์ประกอบทัศนศิลป์ เป็ นหลักสาคัญสาหรับผู้สร้ างสรรค์ และผู้ศกึ ษางานศิลปะ เนื่องจากผลงานศิลปะใด ๆ ก็ตาม ล้ วนมีคณ ุ ค่า อยู่ 2 ประการ คือ คุณค่าทางด้ านรูปทรงและคุณค่าทางด้ านเรื่ องราว
ในการออกแบบ พื ้นที่ต้องให้ ความสาคัญกับ พื ้นที่วา่ ง (Space) และพื ้นหลัง (Background) เพราะจะส่งผลต่อความรู้สกึ โปร่ง หรื ออึด อัดในขณะที่ปริมาตรต้ องสื่อถึงความหนักแน่น เป็ นกลุม่ ก้ อน
บริ เวณว่างจริ ง (Physical Space) หรื อ บริ เวณว่าง 3 มิติ(Three Dimension Space) บริเวณว่าง บนพื ้นโลก เมื่อเราอยูบ่ นที่สงู มองไปรอบ ๆ ตัว เราจะ เห็นบางสิง่ ใกล้ ตวั บางสิ่ งไกลออกไป เกิ ดระยะ ทางใกล้ ไกล
บริ เวณว่างลวงตา (Illussion Space) หรื อ บริ เวณว่าง 2 มิติ (Two Dimension Space) การ สร้ างมิตทิ ี่ 3 ให้ เกิดขึ ้น บนพื ้นผิวราบ 2 มิติ
ในงานทัศนศิลป์ประเภทสถาปั ตยกรรม บริ เวณว่าง 3 มิติ ก็จะ ประกอบด้ วย บริ เวณว่าง ภายนอก (Outer Space) ระหว่างตัวอาคาร กับบรรยากาศโดยรอบทังปวง ้ กับบริ เวณว่างภายในอาคาร (Inner Space) ที่กาหนดโดยหลังคา ผนัง พื ้น มีปริ มาตรภายใน ที่สามารถเข้ าไป ใช้ สอยได้ ซึง่ บริ เวณว่างทังภายนอก ้ และภายใน ของสถาปั ตยกรรม จะมี ความ สัมพันธ์ กันตลอดเวลา คือเป็ นความสัมพันธ์ระหว่างมวล และปริ มาตร (Mass and Volume)
บริ เวณว่าง 3 มิติ ในงานทัศนศิลป์ ประเภทประติมากรรม ก็มีบริ เวณ ว่างทางกายภาพ (Physical or Actual Space) เช่นเดียวกับ สถาปั ตยกรรม คือมีบริ เวณว่างภายนอก รอบ ๆ งานประติมากรรม เป็ นมิตทิ ี่ สามารถสัมผัสได้ ทงทางกายและทางการมองเห็ ั้ น กับบริ เวณว่าภายใน ซึง่ อาจจะเป็ นที่วา่ งกลวง หรื อทึบตันเป็ นมวล(Mass) แต่ประติมากรรม ไม่ม่งุ ประโยชน์ใช้ สอยบริ เวณว่างภายใน เหมือนกับสถาปั ตยกรรม
ที่วา่ งบวกและที่วา่ งลบ (Positive Space and Positive Space) • ที่วา่ งบวก หรือที่วา่ งทางาน (Active Space) – คือ ที่วา่ งของรูป หรื อเนื ้อหา
• ที่วา่ งลบ หรื อที่วา่ งที่อยูเ่ ฉย (Passive Space) – คือ ที่วา่ งที่อยูร่ อบ ๆหรื อส่วนที่เป็ นพื ้น (Ground)
ที่วา่ งสองนัย (Ambiguos Space) หมายถึงบริเวณว่างที่เกิดขึ ้น มีความสาคัญ หรื อมีความหมายเท่า ๆ กัน จนไม่สามารถระบุได้ วา่ ส่วนใดเป็ นที่วา่ งบวก หรื อส่วนใดที่วา่ งลบ
บริ เวณว่างปิ ดและบริ เวณว่างว่างเปิ ด (Close Space and Open Space) • บริเวณว่ างปิ ด หมายถึงบริเวณว่างบวกที่มีเส้ นรอบนอกบรรจบกัน ทา ให้ รูปร่างนัน้ เป็ นหน่วยเฉพาะ แยกจากบริเวณว่างลบ โดยสิ ้นเชิง • บริเวณว่ างเปิ ด หมายถึงบริเวณว่างบวกที่มีเส้ นรอบนอกเปิ ดออก ไม่ บรรจบกัน อาจจะมีหน่วยเดียว หรื อหลายหน่วย กระจัดกระจายไปทัว่ บริเวณว่างลบ
การออกแบบบริเวณว่ างในทางทัศนศิลป์
1. การกาหนดขนาดและตาแหน่งในแนวดิ่ง (Size & Vertical Location) • ขนาดเล็ก = วัตถุอยูร่ ะยะไกล • ขนาดใหญ่ = วัตถุอยูร่ ะยะใกล้ • วัตถุ ที่อยูใ่ กล้ ให้ มีขนาดใหญ่และอยูใ่ นตาแหน่งต่ากว่า โดยให้ วตั ถุที่ อยูไ่ กล มีขนาดเล็กลงเรื่ อย ๆ และมีตาแหน่งในแนวดิ่งสูงกว่าวัตถุขนาด ใหญ่ ที่ข้างหน้ า ขึ ้นเรื่ อย ๆ จึงจะเกิดการลวงตาว่ามี ความลึก
เพิ่มเส้นนอน (Ground Line) การเพิ่มเส้ นนอน (Ground Line) เข้ าไป ทาให้ มีระยะ ความ ลึกชัดเจนยิ่งขึ ้น นอกจากนี ้ยังเป็ นการแบ่งพื ้นที่วา่ งนันให้ ้ เป็ นพื ้น และ อากาศ และทาให้ มองเห็นว่า วัตถุที่อยูต่ ่ากว่าเส้ นระดับพื ้น (Ground Line) ยิง่ ต่ามากเท่าไร ก็จะอยูใ่ กล้ มากขึ ้นเท่านัน้
2. การทับซ้ อนกัน (Overlaping) วัตถุที่ถกู บัง จะอยูไ่ กลกว่า มีตาแหน่งในพื ้นที่วา่ ง อยูห่ ลังวัตถุที่ อยูข่ ้ างหน้ า วิธีการเหลื่อมซ้ อนกัน ของวัตถุนี ้ ทาให้ เกิด การลวงตา ใน ระนาบ 2 มิติ ให้ ดมู ี ระยะ มีพื ้นที่วา่ ง มีอากาศ ล้ อมรอบระหว่างวัตถุ เหล่านัน้
3. การใช้ทฤษฎีทศั นียภาพเชิงเส้น (Linear Perspective) • ทัศนียภาพเชิงเส้ น มาจากพื ้นฐานที่แสดงว่าเส้ นทุกเส้ น จะมุง่ สูจ่ ดุ ๆ เดียว เรี ยกว่า จุดสุดสายตา (Vanishing Point) • วัตถุที่อยูใ่ กล้ จะมี ขนาดใหญ่ และวัตถุที่อยูไ่ กลออกไป จะค่อย ๆ เล็ก ลงเป็ นสัดส่วน ตามเส้ น (Linear) ที่วิ่งมาจากจุดสุดสายตา ซึง่ ศิลปิ น ได้ ใช้ ทฤษฎีนี ้ในการเขียนภาพ ให้ มีระยะ มีพื ้นที่ (Space) ที่มีความ เหมือนจริงในธรรมชาติ
4. การสร้างรายละเอียดและบรรยากาศ (Detail & Atmosphere) มุมสูง (Arial View) จะเห็นระยะ และความลึกได้ จากสีและ ค่าน ้าหนัก ที่แตกต่างและรายละเอียดอื่น ๆ โดยวัตถุ ที่อยูไ่ กลออกไป จะมีรายละเอียด (Detail) และความคมชัดลดลง รวมทังสี ้ และ น ้าหนัก มักจะค่อย ๆ จางลง หรื อส่วนที่เป็ น พื ้นหลัง (Background) จะมีน ้าหนักเข้ มหรื ออ่อนก็ได้ แต่จะมีรายละเอียด ไม่ชดั เจน
5. การใช้สีกบั บริ เวณว่าง(Color and Space) • สีในวรรณะร้ อน (Warm Tone) จะทาให้ วตั ถุดแู ล้ วรู้สกึ มีระยะใกล้ เข้ ามา • สีในวรรณะเย็น (Cool Tone) จะทาให้ วตั ถุดแู ล้ วรู้มีระยะไกล ออกไป
RHYTHM
จังหวะ
จังหวะ
RHYTHM จังหวะ (RHYTHM)
คือ การซ้ าที่เป็ นระเบียบ จากระเบียบธรรมดาที่มีช่วงห่างเท่าๆกัน มาเป็ น ระเบียบที่สูงขึ้นซับซ้อนขึ้น
ความหมายในทางศิลปะ คือ การซ้ าของทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ ในช่วงที่ เท่ากันหรื อแตกต่างกัน เพื่อให้เกิดเอกภาพที่มีชีวิตชีวา จังหวะในงานศิลปะ คือ การซ้ าอย่างมีเอกภาพและความหมาย เป็ นกฎข้อหนึ่ง ของเอกภาพที่เกิดจากการซ้ าของรู ปทรง
จังหวะ
RHYTHM
จังหวะ ของสถาปัตยกรรมไทย (พระปรางค์วัดอรุณ)
จังหวะ
RHYTHM
จังหวะ ทีป่ รากฎในสิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา
จังหวะ
RHYTHM จังหวะ เกิดจาก การซา้ ของหน่ วยและแสงเงา ทาให้ เกิดการเคลื่อนไหวของสายตา
จังหวะ
RHYTHM
จังหวะภายนอกและจังหวะภายใน การวางรู ปทรงซ้ าๆลงในช่องว่างย่อมจะท้าให้เกิดจังหวะขึ้น จะสังเกตเห็น ความแตกต่างกันของจังหวะได้ที่ช่วงห่างของที่วา่ งระหว่างรู ปทรงเหล่านั้น
จังหวะ
RHYTHM นอกจากจังหวะที่เกิดจากช่วงห่างระหว่างรู ปทรงที่นามาซ้ ากันแล้ว ยังมีจงั หวะที่ซอ้ น อีกชนิดหนึ่งเคลื่อนตามไปด้วย โดยจังหวะอย่างแรกเป็ นจังหวะของที่วา่ ง แต่จงั หวะ อย่างหลังเป็ นจังหวะของรู ปทรง โดยเราเรี ยกจังหวะของที่วา่ งว่า จังหวะภายนอก และ จังหวะของรู ปทรงว่า จังหวะภายใน
จังหวะ
RHYTHM รู ปทรงแต่ละรู ปทรงจะมีจงั หวะภายในที่พิเศษแตกต่างกัน เช่น วงกลมวงหนึ่ งจะมีจงั หวะ แตกต่างไปจาก เส้นดิ่ง หรื อรู ปสี่ เหลี่ยม จังหวะภายในนี้อาจกล่าวได้วา่ เป็ นบุคลิกภาพของ รู ปทรงแต่ละรู ปที่มีพลังกระท้าต่อ หรื อถูกกระท้าจากที่วา่ งภายนอก
จังหวะ
RHYTHM เมื่อนาวงกลมมาวางซ้าให้ มีระยะห่ างเท่ าๆกัน จะเริ่มมีจังหวะภายนอกและจังหวะภายใน
ถ้ าจะถือว่ าวงกลม 3 วงนีเ้ ป็ นหน่ วยหนึ่งหรือรู ปทรงหนึ่ง แล้ วน้ าหน่ วยมาวางซ้ากัน เราจะได้ วงกลม 9 วงในจังหวะทีต่ ่ างกัน จังหวะของทีว่ ่ างระหว่ างวงกลมทีเ่ คยเป็ นจังหวะภายนอก จะ กลายเป็ นจังหวะภายในของภาพ
จังหวะ
RHYTHM
งานศิลปะทีใ่ ช้หลักการเรื่องจังหวะภายนอกและจังหวะภายใน
จังหวะ
RHYTHM แม่ ลายกับแบบรู ป (Motif and Pattern) จังหวะภายนอกของลวดลายจะดาเนินซ้ าๆไปได้ไม่มีวนั จบ เพราะมีแบบรู ปของ การซ้ าการเปลี่ยนแบบรู ป จะได้ลวดลายที่แตกต่างกันไปมากมาย โดยที่ตวั แม่ลาย ยังคงรู ปเดิมอยู่
จังหวะ
ประเภทของจังหวะในงานศิลปะ
RHYTHM
1. จังหวะเกิดจากซ้ากัน (Repetition Rhythm)
หมายถึง การจัดช่วงจังหวะให้มีลกั ษณะ ซ้ ากันของ ส่ วนประกอบขั้นมูลฐาน เช่น เส้น สี น้ าหนัก รู ปร่ าง รู ปทรง ฯลฯ ซึ่งมีหน่วยตั้งแต่ 2 หน่วยขึ้นไป โดยมีบริ เวณว่าง คัน่ อยู่ ระหว่างรู ปร่ าง หรื อรู ปทรงเหล่านั้น
(ซ้าย) รู ปร่ างที่วางกระจายไม่เป็ นระเบียบ จะไม่มีการ เกิดของจังหวะ (ขวา) การนารู ปร่ างเหล่านั้นมาจัดวางอย่างเป็ นระเบียบ โดยมีช่องว่างคัน่ จะเกิดจังหวะขึ้น
จังหวะ
RHYTHM จังหวะ ที่เกิดจาก การซ้ าในบางลักษณะ ทาให้เกิดภาพลวงตาได้
(ซ้าย) วัตถุที่เป็ นหน่วยเดียว ยังไม่มีการเกิดของจังหวะ จนกว่าจะมีการซ้ าเกิดขึ้น (ขวา)
การซ้า (Repetition) ของแต่ละหน่วย หรื อ แม่ ลาย (Motif) ทาให้เกิด ลวดลาย (Pattern) ใหม่ข้ ึน จังหวะของแม่ลายนี้จะมีการซ้ า ต่อเนื่องไป ไม่มีวนั จบ และมีรูปแบบของการซ้ าที่ตายตัว
จังหวะ
RHYTHM 2. จังหวะเกิดจากการต่อเนือ่ ง (Continuous Rhythm)
เป็ นจังหวะที่ต่อเนื่องจากเส้น และการไล่ลา้ ดับขั้นของน้ าหนัก สี และรู ปทรง โดยไม่มีที่วา่ งมาคัน่ การกาหนด จังหวะอยูท่ ี่ลกั ษณะการเคลื่อนไหวของทัศนธาตุเอง การใช้จงั หวะเลื่อนไหลต่อเนื่องที่สม่าเสมอผสมกับ จังหวะแบบก้าวหน้าและถดถอยของทัศนาตุต่างชนิด จะให้จงั หวะที่ซบั ซ้อนยิง่ ขึ้น
จังหวะที่ต่อเนื่อง เปรี ยบเหมือนกับการกระเพื่อมของสิ่งใดสิ่งหนึ่งบนพื้นผิวที่ตึง เรี ยบ
จังหวะ
RHYTHM
จังหวะในธรรมชาติ เกิดจากการซ้ าเป็ นลาดับชั้นของรู ปร่ าง และ สี ที่ค่อย ๆ จางลง เป็ นจังหวะถดถอย เป็ นการเกิดของจังหวะที่ต่อเนื่องน่าสนใจ มีความกลมกลืน
จังหวะ
RHYTHM
ลักษณะเส้นลูกคลื่นที่เลื่อนไหลไปอย่างสม่าเสมอ จะให้ จังหวะต่อเนื่อง ที่ค่อย ๆ บีบเล็กลงเป็ นจังหวะที่ถดถอย และเพิ่ม ความกว้างขึ้น ให้จงั หวะที่กา้ วหน้า เป็ นจังหวะเลื่อนไหลต่อเนื่องที่สม่าเสมอ (Continuous Gradiation) จะให้จงั หวะที่ซบั ซ้อนยิง่ ขึ้น
จังหวะ
RHYTHM 3. จังหวะเกิดจากการต่ อเนื่องก้าวหน้ า (Progressive Rhythm) หมายถึงการจัดจังหวะให้เพิ่มขึ้นเป็น ลาดับอาจเกิดขึ้น จากเส้น ขนาด น้าหนัก รูปร่าง รูปทรง เส้น สี พื้นผิว ฯลฯ เป็น การสร้างสรรค์ ระยะของจังหวะ ให้เปลี่ยนแปลง ไปทีละน้อย
Progressive Rhythm and Gradation Rhythm
จังหวะ
RHYTHM
จังหวะก้าวหน้า เกิดจากการกระจาย หรือการลดหลั่น (Gladiation) ของเส้น (ซ้าย) ,รูปร่าง (ขวา) และน้าหนักอ่อน แก่ (ล่าง)
จังหวะ
RHYTHM จังหวะก้าวหน้า เกิดจากการกระจาย หรื อการลดหลัน่ Gladiation) ขนาดและทิศทางของรู ปร่ าง
การขดเป็ นวง เหมือนการกาเนิดของพลัง กระจายออกจากศูนย์กลาง ขดเป็ นวงออกมา เป็ นจังหวะของการก้าวหน้า (Progression) ในอีกลักษณะหนึ่ง เหมือนกับการคานวนหา สัดส่วนสี่ เหลี่ยมผืนผ้า ในสมัยกรี ก ที่เรี ยกว่า "สัดส่วนทอง" (Goldenmean Section)
จังหวะ
RHYTHM
จังหวะในงานศิลปะ จังหวะของลายเป็นจังหวะง่ายๆ ให้ความรู้สึกผิวเผิน ให้ความสบายตาเพียงชั่วครู่ เบื่อได้ง่าย เพราะขาด โครงสร้างที่มีความหมาย เป็นเอกภาพที่ไม่มีการขัดแย้งเป็นการรวมตัวของสิ่งที่เหมือนกัน แต่ไม่มีความหมาย ในตัว เอกภาพที่เกิดขึนจากจังหวะแบบนี เรียกว่า เอกภาพแบบนิ่ง (Static Unity)
จังหวะ
RHYTHM จังหวะที่น่าสนใจและมีชีวติ ได้แก่ การเคลื่อนไหวของคน สัตว์ การเติบโตของพืช จังหวะของการเต้นร้า เป็ น การเคลื่อนไหวของโครงสร้างที่จะให้ความบันดาลใจในการสร้างรู ปทรงที่มีความหมาย เอกภาพที่ได้จาก จังหวะแบบนี้เรี ยกว่า เอกภาพแบบเคลือ่ นไหว ( Dynamic Unity )
จังหวะ
RHYTHM จังหวะของลายนั้นซ้ าตัวเองอยูต่ ลอดเวลาไม่มีวนั จบ และมีรูปแบบของการซ้ าที่ตายตัวแต่งานศิลปะจะต้อง จบ ต้องสมบูรณ์ และมีความหมายในตัว โดยหน่วยหรื อรู ปทรงแม้จะน่าสนใจหรื อมีความหมายเพียงใด ถ้า น้ามาวางซ้ ากัน ความสาคัญก็จะลดลง แต่จะไปเพิ่มความสาคัญให้กบั จังหวะหรื อแบบรู ปของการซ้ าแทน
จังหวะ
RHYTHM จังหวะในงานศิลปะ คือ การสลับกันของการเน้น การผ่อนคลายการท้างานของทัศนธาตุต่างๆ เพื่อให้เกิด เอกภาพที่มีชีวติ แก่องค์ประกอบหรื อรู ปทรง การซ้ าในงานศิลปะไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอน จะเปลี่ยนแปร คลี่คลายไปตามอารมณ์ความรู้สึกของศิลปิ น
การเปลีย ่ นแปลง (Variation)
การเปลีย ่ นแปลง (Variation)
คือ การเพิ่มความขัดแย้งลงในหน่วยที่ซ้ากัน เพื่อป้องกัน ความจืดชืด น่าเบื่อ ซึ่งจะช่วย ให้มีความน่าสนใจมากขึน การเปลี่ยนแปรมี 4 ลักษณะ
I.
การเปลี่ยนแปลงของรูปลักษณะ
II.
การเปลี่ยนแปลงของขนาด
III.
การเปลี่ยนแปลงของทิศทาง
IV.
การเปลี่ยนแปลงของจังหวะ
การเปลีย ่ นแปลงของรูปลักษณะ
การเปลีย ่ นแปลงของรูปร่างลักษณะ จากสภาพวงรี ค่อย ๆ เปลีย ่ นจนกลาย สภาพเป็ นรูปวงกลม
การเปลีย ่ นแปลงของขนาด
การเปลีย ่ นแปลงด้านขนาด จากขนาดเล็กไป ขนาดใหญ่
การเปลีย ่ นแปลงของทิศทาง
จากสภาพเส้นตรงในทิศทางตัง้ แต่เปลีย ่ นแปลงทิศทาง ให้เอนลงมา เป็ นลาดับ
การเปลีย ่ นแปลงของจังหวะ
การเปลีย ่ นแปลงของจังหวะแบบก้าวหน้า
การเปลีย ่ นแปลงของจังหวะแบบถดถอย
การเปลี่ยนแปรรูปลักษณะจะต้องรักษาคุณลักษณะของการซ้าไว้ ถ้ารูปมีการเปลี่ยน แปรไปมาก การซ้าก็จะหมด ไป กลายเป็นการขัดแย้งเข้ามาแทน และ ถ้าหน่วยหนึ่งมีการ เปลีย่ นแปรอย่างรวดเร็ว มีความแตกต่างจากหน่วยอื่น ๆ มาก จะกลายเป็นความเป็นเด่นเป็นการสร้างเอกภาพด้วยความขัดแย้ง
ตัวอยางการเปลี ย ่ นแปลงทีส ่ ามารถเห็ นในชีวต ิ ประจาวัน ่
การท้า Latte Art ของบาริสต้า
การจัดตกแต่งจานอาหารของเชฟ
การแปรแถวของวงดุริยางค์
ลวดลายต่างๆของสัตว์ และเสือผ้า
ขนาดของใบไม้ที่เรียงบนกิ่ง
Harmony
ความหมายของความกลมกลืนในทางทัศนศิลป์ ความกลมกลืน (Harmony) โดยทัว่ ไป หมายถึง การประสานเข้า สนิทกัน กลมกลืน ปรองดอง สามัคคี ลงรอย ในทางทัศนศิลป์ หมายถึง การรวมกันของ หน่วยย่อยต่าง ๆ ซึง่ ได้แก่ ส่วนประกอบมูลฐาน ของศิลปะ คือได้แก่ จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง สี พื้นผิว นา้ หนัก อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง และการจัดวางองค์ประกอบ เช่น จังหวะ ช่องว่าง
การจัดวางองค์ประกอบ เช่น จังหวะ ช่องว่าง ทาให้เกิดเป็ นการประสานเข้า กันได้อย่างสนิท โดยไม่มคี วามขัดแย้ง ทา ให้ผลงานการออกแบบ ทัศนศิลป์ มีความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือความ มีเอกภาพ แต่อย่างไรก็ตาม ความกลมกลืนถ้ามีมากเกินไป ก็อาจจะ ทาให้ผล งานนัน้ อาจดูน่าเบือ่ ได้ จึงต้องมีการ เพิม่ การขัดแย้ง หรือ ความแตกต่าง (Contrast) เข้าไปร่วมบ้างเพียงเล็กน้อย ก็จะให้ผลทีน่ ่าสนใจขึ้น
ประโยชน์อกี ลักษณะหนึ่ ง ของความกลมกลืนที่มีต่องานออกแบบทัศนศิลป์ คือ การใช้ความกลมกลืนเป็ นตัวกลางหรือตัวประสาน (Transition) ทาสิง่ ทีม่ คี วามขัดแย้งกัน หรือสิง่ ทีม่ คี วามแตกต่างกัน ให้อยู่ร่วมกันได้ เช่นสีดา กับสีขาว เป็ นนา้ หนักทีต่ ดั กันอย่างรุนแรง มีความ ขัดแย้ง กันอย่างสิ้นเชิง ก็ใช้นา้ หนักเทา หรือ นา้ หนักอ่อนแก่ระหว่างขาว ดา มาเป็ นตัวประสาน ให้สดี า และสีขาวนัน้ มีความกลมกลืนกัน
สีแดงและสีเขียว เป็ นสีทต่ี ดั กันอย่างแท้จริง (True Contrast) มีความแตกต่าง กัน อย่างรุนแรง (ซ้าย) หากเพิม่ นา้ หนักสีดา (ขวา)เข้าไปเป็ นตัวประสาน ทาให้ความรุนแรงนัน้ ลดลง มีความกลมกลืนเกิดขึ้น
เส้นตัง้ และเส้นนอนทีว่ างตัง้ ฉากกัน (ซ้าย) เป็ นทิศทางของเส้นทีข่ ดั แย้งกัน อย่างรุนแรง หากเพิม่ เส้นโค้งเข้าไปเป็ นตัวประสาน (ขวา) ทาให้ความขัดแย้ง ลดลง เกิดความกลมกลืนขึ้นมาทันที
ความกลมกลืนมี 2 แบบ
1.ความกลมกลืนแบบคล้อยตามกัน หมายถึง การนารูปร่าง รูปทรง เส้น หรือสี ทีม่ ลี กั ษณะเดียวกัน มาจัด เช่น วงกลมทัง้ หมด สีเ่ หลีย่ มทัง้ หมดซึง่ แม้ว่า อาจจะมีขนาดทีแ่ ตกต่างกันแต่เมือ่ นามาจัดเป็ นภาพขึ้น มาแล้วก็จะทาให้ความรูส้ กึ กลมกลืนกัน
2.ความกลมกลืนแบบขัดแย้ง หมายถึง การนาเอา องค์ประกอบต่างชนิด ต่างรูปร่าง รูปทรง ต่างสี มาจัด วางในภาพเดียวกัน เช่น รูปวงกลมกับรูป สามเหลีย่ ม เส้นตรงกับเส้นโค้ง ซึง่ จะทาให้เกิดความ ขัดแย้งกันขึ้น แต่ก็ยงั ให้ความรูส้ กึ กลมกลืนกัน
แนวทางสร้างความกลมกลืนในการออกแบบทัศนศิลป์ การสร้างความกลมกลืนในงานออกแบบทัศนศิลป์ มี 2 แนวทาง คือ 1. การสร้างความกลมกลืนทางด้านโครงสร้าง 2. การสร้างความกลมกลืนทางด้านรูปแบบและแนวคิด
1. การสร้างความกลมกลืนทางด้านโครงสร้าง หมายถึง ความกลมกลืน ทีเ่ กิดจากส่วนประกอบมูลฐาน และ องค์ประกอบ หรือหลักการทัศนศิลป์ มีแนวทาง ดังต่อไปนี้
1. การสร้างความกลมกลืนด้วยเส้นในทางเดียวกัน (Diagonal Direction)
2. การสร้างความกลมกลืนด้วยรูปร่าง (Harmony of Shape)
3. การสร้างความกลมกลืนด้วยขนาด (Harmony of Size)
4. การสร้างความกลมกลืนด้วยสี (Harmony of Colors) โดยใช้สที เ่ี ป็ น โทนเดียวกัน
ความกลมกลืนของสีทาได้หลายลักษณะ คือ 1.กลมกลืนด้วยค่าของนา้ หนักของสีๆเดียว (Total Value Harmony)
2.กลมกลืนโดยใช้สใี กล้เคียง (Symple Harmony)
3.สีกลมกลืนโดยใช้สคี ู่ผสม (Two Colours Mixing)
4.สีกลมกลืนโดยใช้วรรณะของสี (Tone)
5. การสร้างความกลมกลืนด้วยพื้นผิว (Harmony of Texture) โดยใช้ลกั ษณะพื้นผิวทีห่ ยาบ และ ละเอียดไม่แตกต่างกันมาก
6. การสร้างความกลมกลืนด้วยแสง-เงา (Harmony of Light and Shadow) โดยใช้ค่า(Value) ของ นา้ หนักแสงจัดทีส่ ุดถึงเงามืดทีส่ ุดทีม่ คี วามประสานกลมกลืน
2. การสร้างความกลมกลืนทางด้านรูปแบบและแนวคิด หมายถึง ความกลมกลืน ทีเ่ กิดจากเรื่องราวเนื้อหา ที่ปรากฏในงาน ออกแบบ ทัศนศิลป์ มีความสัมพันธ์เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันอย่างเด่นชัด ทัง้ นี้ รวมถึง ผลงาน ทีม่ รี ูปแบบ แนวคิดทีเ่ ป็ นแบบอย่างเฉพาะของ แต่ละ บุคคล ลัทธิ เชื้อชาติ ศาสนา เป็ นต้น แม้วา่ ผลงานเหล่านัน้ อาจจะจะมีโครงสร้างทีไ่ ม่ กลมกลืนกันก็ตาม
DOMINANCE จุดเด่น
ความหมายของจุดเด่นในทางทัศนศิลป์
จุดเด่นในความหมายของทัศนศิลป์ • ก็คือบริเวณหรือส่วนสาคัญของงานทัศนศิลป์ ที่ปรากฏขึ้น จากการเน้นของส่วนประกอบมูลฐาน และองค์ประกอบ ทัศนศิลป์ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างผสมกัน ซึ่งเมื่อสัมผัสด้วยสายตาแล้ว มีความชัดเจน เด่นสะดุดตา เป็น แห่งแรก มีอานาจดึงดูดสายตามากกว่าส่วนอื่น ๆ การเน้น ให้เกิดจุดเด่นในงาน ทัศนศิลป์เป็นสิ่งสาคัญมาก เพราะจะเป็นเครื่องเรียกร้อง ความสนใจ เพื่อชักจูงให้เข้าไปสัมผัส
• แต่การสร้าง จุดเด่นไม่ว่าโดยวิธีใดก็ตาม ต้องไม่ สร้างหลายจุดเพราะถ้ามีหลายจุด ก็จะแย่ง ความเด่นกัน ไม่รู้ว่าจุดเด่นที่แท้จริงอยู่ที่ไหน นอกจากนี้ ก็จะเป็นการ ทาให้เอกภาพในงานนั้น หมดไป การสร้างจุดเด่น เป็นองค์ประกอบหนึง่ ของการสร้าง ความแตกต่าง
หลักเบื้องต้นในการพิจารณาสร้างจุดเด่น ในงานศิลปะ ก็คือ ศิลปิน หรือนักออกแบบ จะต้องกาหนดแนวทาง ของ การสร้างจุดเด่น ไว้ล่วงหน้า ก็คือ ตาแหน่ง ปริมาณ และที่สาคัญที่สดุ ก็คือ วิธีการสร้างจุดเด่น โดยใช้ส่วนประกอบ มูลฐาน และ องค์ประกอบของทัศนศิลป์
แนวทางสร้างจุดเด่นในการออกแบบทัศนศิลป์ • การสร้างจุดเด่น ในทางทัศนศิลป์ ก็คือการสร้างจาก ส่วนประกอบมูลฐาน (Elements) และ หลักการทัศนศิลป์ (Principles) อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ หลายอย่างผสมกัน ซึ่งจุดเด่นที่ เกิดขึ้นนี้ ควรมีจุดเดียว แต่บางครั้ง อาจมีมากกว่าจุดเดียวก็ได้ แต่จุดเด่นที่เพิ่มขึ้นนี้ ต้องไม่ แข่งกับจุดเด่นหลัก โดยเรียกว่า จุดเด่นรอง (Sub Dominance) เพราะมิฉะนั้น การมีจุดเด่น แข่งกันหลายจุด จะเป็นการทาลายเอกภาพของงานออกแบบ แนวทางสร้างจุดเด่น มี ดังต่อไปนี้
การสร้างจุดเด่นด้วยขนาด (Size) • วัตถุ หรือรูปร่าง รูปทรง ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดจะเป็นสิ่งสะดุดตา ก่อให้เกิด จุดสนใจได้ทันที ใน เบื้องแรก
การสร้างจุดเด่นด้วยสี (Color) • สีที่มีความเข้ม สดใส (Color Intensity) ที่แตกต่างกว่าสีส่วนรวม ในภาพ ก็จะสร้างจุดสนใจ ได้ดี หรือสีและน้าหนักที่แตกต่าง ก็สร้างจุดเด่น ได้เช่นกัน
การสร้างจุดเด่นด้วยตาแหน่ง (Location) • โดยธรรมชาติการมองของมนุษย์เราจะเริ่มจากบริเวณกลางภาพ ถัดขึ้นบน เล็กน้อย จึงมี กฎ ของการจัดองค์ประกอบภาพ ให้เกิด ความน่าสนใจ หรือ ที่เรียกว่า กฎ 3 ส่วน (Rule of Third)
กฎ 3 ส่วน (Rule of Third) • คือ การแบ่งพื้นที่ตามแนวนอน และแนวตั้ง ออกเป็น 3 ส่วนเท่ากัน ๆ จุด 4 จุดซึ่งเป็นจุดตัด ของเส้นที่แบ่งนี้ จะเป็นจุดแห่งความสนใจ ในการวางตาแหน่ง องค์ประกอบที่ต้องการสร้าง จุดเด่นไว้ในตาแหน่งใด ตาแหน่งหนึ่งของ จุดตัดทั้ง 4 นี้
• การสร้างจุดเด่นด้วยตาแหน่งอีกวิธีหนึง่ ก็คือ นาองค์ประกอบที่ต้องการ สร้างจุดเด่นนั้น ให้แยก จากองค์ประกอบโดยรวม จะทาให้สายตาผู้ชมพุ่ง ไปยังตาแหน่งที่โดดเด่นนั้น
การสร้างจุดเด่นด้วยบริเวณว่าง (Space) • งานออกแบบที่มีจังหวะของการซ้า (Repetition) มากไป จะทาให้ น่าเบื่อหน่าย เหมือน ไม่มี จุดจบ ถ้าปรับจังหวะนั้นให้มีช่องว่าง ที่แตกต่างกันบ้าง ที่เรียกว่า จังหวะก้าวหน้า (Progressive) หรือการแยกตัว ให้เกิดพื้นที่ว่าง ก็สามารถสร้างจุดสนใจ ในบริเวณที่ต้องการ ได้
การสร้างจุดเด่นด้วยความแตกต่าง (Exception) • รูปร่าง รูปทรง หรือองค์ประกอบใด มีความแตกต่างจากส่วนรวม ย่อมเป็น จุดเด่นที่สุดในภาพ นั้น
การสร้างจุดเด่นด้วยการแปรเปลี่ยน (Gradation) • การแปรเปลี่ยน หรือการลดหลั่นด้วยขนาด รูปร่าง สี น้าหนัก โดยองค์ประกอบอื่น ยังคงเดิม นั้น เป็นการสร้างจุดเด่น ได้ง่ายที่สุดวิธีหนึง่
การสร้างจุดเด่นด้วยทิศทางของสายตา (Eye Direction) • ทิศทางขององค์ประกอบที่ไปในทิศทางเดี่ยวกัน จะนาสายตาให้ มองติดตามไปในทิศทางนั้น และเมื่อองค์ประกอบนั้น มีการกลับทิศทาง ในทันที จะทาให้สายตานั้นหยุดการเคลื่อนไหวทันที จุดที่สายตาที่หยุดนิ่งนั้น เป็นจุดที่สร้างจุดเด่นให้เกิดขึ้นได้
การสร้างจุดเด่นด้วยทิศทางของเส้น (Converence of Line) • เส้นนาสายตาไม่ว่าจะเกิดจากเส้นลักษณะใด เช่นแท้จริง (Actual Line) หรือ เส้นโดยนัย (Implied Line) จะนาไปสู่จุดสนใจ ตามที่ต้องการได้
• เส้นนาสายตา ที่เกิดจากขนาดที่แปรเปลี่ยน (Gradation) แม้ปลาย ของเส้น นา สายตานั้นจะมีรูปร่างขนาดเล็ก แต่สามารถเป็นจุดดึงดูดสายตาได้ มากกว่า รูปร่างขนาดใหญ่
การสร้างจุดเด่นด้วยการเพิ่มองค์ประกอบอื่นเข้าไป (Composition) • คือการเพิ่มส่วนประกอบมูลฐาน (Elements) ซึ่งได้แก่ จุด เส้น รูปร่าง พื้นผิว น้าหนัก เข้าไป เป็นองค์ประกอบเสริม ให้จุดที่ต้องการเน้นให้เป็น จุดเด่น ซึ่งบางครั้ง วิธนี ี้มีความจาเป็น เป็น การแก้ปัญหา ที่ไม่สามารถใช้วิธีอื่นใดได้
0 0 6 1 3 3
B A S I C
UNITY
By หางเสื อ
D E S I G N
เอกภาพ เกิดจากอะไร?
กฎหลักของเอกภาพ
กฎแหงการขั ดแยง้ ่
กฎแหงการประสาน ่
-
0
+
กฎแหงการ ่ ขัดแยง้
(ทวิภาวะในเอกภาพ)
I การขัดแย้งของลักษณะรูปทรงและทัศนะธาตุ
II การขัดแย้ งของขนาด
III การขัดแย้งของทิศทาง
IV การขัดแย้งของทีว่ ่ างและจังหวะ จังหวะก้ าวหน้ า จังหวะซา้
จังหวะสลับ
กฎแห่ งการประสาน (พหุภาวะในเอกภาพ)
การเป็ นตัวกลาง
ดำ+(เทำ)+ขำว
แดง+(ม่วงชมพู)+น ้ำเงิน
การซ้า
ทาบางหน่ วยให้ แตกต่ างจากพวก เพิ่มความขัดแย้ งให้ เปลี่ยนแปร
กฎรองของเอกภาพ
ความเปลี่ยนแปร ความเด่ น
ความเด่ นจากการประสาน
ความเป็ นเด่ น
ความเด่ นจากการขัดแย้ ง
ความเด่ นจากความขัดแย้ง
ความเด่ นจากการประสาน
ความเปลี่ยนแปร
ความเปลีย่ นแปรของรูปลักษณะ
ความเปลีย่ นแปรของขนาด
ความเปลีย่ นแปรของทิศทาง
ความเปลีย่ นแปรของทีว่ ่ างหรือจังหวะ
เรื่ อง แนว
รู ปทรง
เอกภาพในงาน
ZEUS & HERA
เรือ ่ ง ศิ ลปิ นใช้ให้เฮราแสดง ่ อาการทัง้ รักทัง้ เคารพและหึง หวงซุส แนวเรือ ่ ง พลังในการให้และ ทาลายของความรัก ความ ขัดแยงที ่ งรอยไดในคนๆเดี ยว ้ ล ้ รูปทรง
ศิ ลปิ นใช้ทัศนะธาตุ
ตางๆ ่ ผสานกันขอกมาให้รูปมีความ แข็งแกรงและพลิ ว้ ไหว ซึง่ ทาให้ ่ รู้สึ กถึงความขัดแยงที ่ งตัว ้ ล ภายในตัวมันเอง