การฝึกงาน

Page 1

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

แนวปฏิบัติของนิสิตสำ�หรับ

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา และคอมพิวเตอร์ศึกษา ปีการศึกษา 2559

ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


2

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

างคนเลือกทีฝ่ กึ งานง่าย ๆ สบาย ๆ เพราะคิดว่าจะได้ ไม่ตอ้ งทำ�อะไร ที่ยาก ๆ และเข้าใจว่า การที่มาฝึกงานนั้น เป็นเพียงการทำ�ตาม แผนการเรียนที่หลักสูตรกำ�หนด เพื่อที่จะได้เรียนให้ครบ แล้วจบ ออกไป การที่คิดแบบนั้น ถือเป็นการปิดกั้นโอกาสของตัวเอง แถมยังปิดกั้น ประสบการณ์มากมายที่จะเข้ามา

1 ประสบการณ์การทำ�งาน การฝึกงาน เป็นสิง่ ทีไ่ ม่มสี อนในห้องเรียน เป็นการได้สมั ผัสกับ การทำ�งานอย่างแท้จริง การได้่ร่วมงานกับผู้อื่น ได้ศึกษาวัฒนธรรม ขององค์กรของแต่ละแห่ง นิสิตจะได้คิด ได้ลงมือปฏิบัติงาน ภายใต้ ความกดดัน เพื่อฝึกทักษะ กระบวนการแก้ปัญหา การจัดการ การ เผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรูท้ เี่ รียนมาใช้ในการปฏิบตั ิ งานและเรียนรุ้การแก้ปัญหาที่พบในการทำ�งานอย่างเป็นรูปธรรม


3

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

“เพราะความหมายจริง ๆ ของการฝึกงานนั้น มันไม่ได้ให้แค่เกรด แต่มันจะให้สิ่งนี้กับนิสิต

2 ความรู้ (นอกห้องเรียน) สิง่ ทีเ่ รียนมาอาจจะไม่ได้ใช้ในการปฏิบตั งิ านจริง การทำ�งาน บางอย่าง นิสิตอาจจะต้องเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น การได้ฝึกงาน เป็นเสมือนการได้รับการเรียนรู้ การเริ่มต้นของการทำ�งานจริง ได้ เรียนรู้เทคนิค หรือเครื่องมือใหม่ ๆ ที่ไม่มีสอนในห้องเรียน และที่ บรรจุไว้ในหลักสูตร รวมถึงการได้เข้าใจระบบโครงสร้างการทำ�งาน ต่าง ๆ ท่ีมีโอกาสได้สัมผัส


4

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

3 เกิดสายสัมพันธ์ที่ดี เกิดมิตรภาพและสายสัมพันธ์ ทั้งตัวบุคคล บุคลากรพี่เลี้ยง ผู้บังคับบัญชาหน่วยงาน เพื่อนต่างสถาบัน รวมถึงบุคลากรทุกฝ่าย ทีไ่ ด้มสี ว่ นเกีย่ วข้องในหน้าทีก่ ารทำ�งาน ผลทีไ่ ด้อาจเกิดขึน้ ทันที หรือ หลังจากสำ�เร็จการศึกษา เกิดเป็นเครือข่ายการทำ�งานทีด่ ที จี่ ะช่วยใน การติดต่อประสานงานด้านต่าง ๆ เกิดผลสำ�เร็จ สามารถถ่ายทอด และเเลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ที่ได้อย่างภาคภูมิใจ


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

4

การใช้ชีวิต/โอกาส

นิสิตที่ไปฝึกงานต่างถิน่ จะได้เรียนรู้การปรับตัว ปรับวิถี ชีวิต ถือเป็นอีกบทเรียนล้ำ�ค่าของการฝึกงาน และสิ่งสำ�คัญ ที่ตามมา ก็คือ อาจได้โอกาสพิจารณาบรรจุเข้าทำ�งาน ดังนั้น การได้แสดงผลงาน ความรู้ ความสามารถ ความรับผิดชอบ ความเอาใจใส่ใฝ่เรียนรู ้ ถือเป็นสิง่ สำ�คัญทีเ่ ปิดโอกาสดีในการ รับพิจารณาบรรจุเข้าทำ�งาน หรือผลดีตอ่ การรับรุน่ น้องทีจ่ ะเข้า มาฝึกงานในปีต่อ ๆ ไป การเลื อ กสถานที่ ฝึ ก งานที่ ต รงกั บ ความรู้ ความ สามารถ แล้วใส่ใจกับการฝึกงานอย่างเต็มความสามารถ อาจ เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ และทำ�ให้ชีวิตมีคุณค่ามากขึ้น

5


6

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ความสำ�คัญของการฝึกงาน 1. นิสิตต้องตระหนักถึงภาระหน้าที่รับผิดชอบต่อตนเอง สาขาวิชา คณะ และสถาบัน 2. นิสิตได้ฝึกการใช้และได้เพิ่มทักษะความรู้ที่จำ�เป็น ก่อนการทำ�งานจริง เมื่อสำ�เร็จการศึกษา 3. นิสิตได้ฝึกการทำ�งานภายใต้ กฎ ระเบียบวินัยในการ ทำ�งานที่เข้มงวด 4. นิสิตได้ฝึกการทำ�งานที่ต้องมีความรับผิดชอบสูง มี ขอบเขตงานในหน้าที่เป็นตัวกำ�หนดความสำ�เร็จ ที่อาจไม่ สามารถแก้ตัวใหม่ซ้ำ� ๆ ได้ 5. นิสิตได้ฝึกการทำ�งานร่วมกับผู้อื่น ในสังคมการทำ�งาน ที่แท้จริงและได้เรียนรู้วัฒนธรรมองค์กรที่ต่างจากที่เคย สัมผัส 6. นิสิตได้รับโอกาสให้แสดงความรู้ ความสามารถตลอด จนทักษะต่าง ๆ ที่มี ให้ผู้อื่นได้ประจักษ์ และยอมรับ


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

ข้อคิดและความพร้อมก่อนออกฝึก 1. ศึกษา ทำ�ความรู้จักกับสถานที่ฝึกงาน ประวัติ ที่ตั้ง ลักษณะงาน โครงสร้างหน่วย งาน ขอบข่ายงาน งานที่ต้องรับผิดชอบ ข้อมูลที่พัก การเดินทางไป-กลับ 2. ตรวจสอบวัน เวลา และสถานที่รายงานตัว เอกสาร หลักฐานสำ�คัญต่าง ๆ ขั้นตอน แนว ปฏิบัติในการเข้ารายงานตัว การแต่งกาย 3. ศึกษากฎ ระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงาน ศึกษากฎระเบียบของหน่วยงานและของสาขา วิชาให้ชัดเจน และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด

7


8

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

4. ตรงต่อเวลา วางแผนเกีย่ วกับเวลา ตัง้ แต่เริม่ เข้ารายงานตัววันแรก การลงเวลาปฎิบตั งิ าน ไปก่อนเวลาและไม่กลับก่อนเวลาเลิก งาน รู้จักการวางแผนงานที่ได้รับมอบหมายให้แล้วเสร็จทัน ตามเวลาที่กำ�หนดอย่างมีคุณภาพ 5. ประสานงานผู้ดูแลการฝึกงานในหน่วยงาน เมือ่ เข้ารายงานตัว จะต้องทำ�ความรูจ้ กั กับหัวหน้างาน ผู้ดูแลการฝึกงานทุกฝ่าย และพี่เลี้ยงที่สามารถสอบถาม และแจ้งปัญหาต่าง ๆ ที่พบให้ทราบได้ทันที หาโอกาสพบปะ บุคคากรฝ่ายอืน่ ๆ รวมถึงเพือ่ นต่างสถาบัน เพือ่ แลกเปลีย่ น ประสบการณ์ และจดจำ�บทเรียนต่าง ๆ 6. กำ�หนดเป้าหมายของตนเอง มี ก ารกำ � หนดเป้ า หมายการฝึ ก งานของตนเองให้ ชัดเจนว่าต้องการเรียนรู้ประสบการณ์ด้านใด เพื่อตั้งเป้า ให้ ได้ว่า เมื่อฝึกงานเสร็จจะเกิดประสบการณ์ท่ีดีและได้รับ ความรู้ในเรื่องนั้น


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

7. ศึกษางานในหน้าที่ที่รับผิดชอบ ศึกษารายละเอียดที่อธิบายหน้าที่ความรับผิดชอบ (job description) สภาพการทำ�งาน ลักษณะของงานที่ สำ�คัญ และเตรียมความรู้ ทักษะให้พร้อม 8. มีความกระตือรือร้น และทัศนคติในเชิงบวก ปฏิบัติทุกงานที่ได้รับมอบหมายด้วยความกระตือรือร้น และเป็นมืออาชีพ แสดงให้เห็นถึงความมีจิตอาสา ความมี น้�ำ ใจ ไม่เกีย่ งว่าจะต้องปฏิบตั งิ านเฉพาะทีอ่ ยูใ่ นความรับผิด ชอบของตนเอง หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่จะก่อให้เกิดผลกระ ทบทางลบต่อตนเองและสถาบันทั้งในเวลาและนอกเวลา ปฎิบัติงาน 8. วางตัวดีให้เป็นแบบอย่างและชื่นชม รับฟังความคิดเห็นคนอื่น เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เสมอ มีความซื่อสัตย์ มุ่งมั่นปฏิบัติงาน มีสัมมาคารวะ ใจกว้าง กล้าทีจ่ ะยอมรับความผิดพลาด และไม่ปดั ความรับผิดชอบ ให้บุคคลอื่น

9


10

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

9. กล้าแสดงความคิดเห็น และซักถามในข้อ สงสัย นิสิตฝึกงานไม่ได้รู้ขั้นตอนการทำ�งานต่าง ๆ ทุกเรือ่ ง จึงไม่ตอ้ งอายทีจ่ ะบอกว่าไม่รู้ อย่ากลัวทีจ่ ะ ถามคำ�ถาม เมื่อพบกับงานที่ไม่คุ้นเคย กล้าแสดง ความคิดเห็น การคิดนอกกรอบ ความคิดใหม่ ๆ แต่ ต้องแสดงออกในโอกาสที่เหมาะสม 10. มีมนุษยสัมพันธ์ ผูกมิตรและสร้างความสนิทสนมกับบุคลากร ทุกระดับ และต้องแสดงออกต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง อย่างเหมาะสม พร้อมรับฟังคำ�แนะนำ�ต่าง ๆ


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

11. สร้างความสำ�เร็จให้เป็นรูปธรรม นิสิตต้องเสนอโปรเจ็คต่ออาจารย์ที่ปรึกษา ควรศึกษาและดำ�เนินการจัดทำ�อย่างเป็นระบบ มี การวางแผนการดำ�เนินการตามขั้นตอน ความ สำ�เร็จและโปรเจ็คทีท่ �ำ จะเป็นหลักฐานทีแ่ สดงถึงผล สัมฤทธิ์ ความสามารถ ความพยายาม หรือความ ถนัดส่วนบุคคล (portfolio) ทีย่ นื ยันผลสำ�เร็จของ การปฏิบัติงานของแต่ละคน 12. ใช้ชีวิตการฝึกงานอย่างมีค่า การฝึกงานเป็นประสบการณ์ทดี่ ที สี่ ดุ ครัง้ หนึง่ ในชีวิต ดังนั้น ควรใช้ชีวิตไปกับการทำ�งานและการ ได้เรียนรู้ชีวิตในช่วงเวลาดังกล่าวอย่างเกิดคุณค่า

11


12

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

กฎ กติกา มารยาท และแนวปฏิบัติ 1. ปฎิบัติงานตามระเบียบของหน่วยงานอย่างเคร่งครัด 2. แต่งกายสุภาพ เรียบร้อย ด้วยเครื่องแบบนิสิต กรณีใส่ เสื้อช็อป ไปรเวท ต้องได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงาน 3. ระมัดระวังเรื่อง สาย ลา ขาด การลากิจ ลาป่วยต้อง ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ของหน่วยงาน 4. ระมัดระวังในเรื่องการวางตัว กิริยามารยาท รู้จักกาละ เทศะ 5. ไม่เรียกร้องอภิสิทธิ์ใด ๆ จากหน่วยงาน 6. ตระหนักถึงชื่อเสียงของภาควิชา คณะ มหาวิทยาลัย ต้องไม่กระทำ�การใด ๆ ที่จะทำ�ให้เสื่อมเสีย หากมีปัญหาให้ แจ้งบุคคลากรพี่เลี้ยง หรืออาจารย์ที่ปรึกษาทันที 7. การทำ�ผิดกฎ ระเบียบ วินัย และเสื่อมเสียชื่อเสียง ทะเลาะวิวาท มีเรื่องชู้สาว จะถูกเรียกตัวกลับ และปรับตก ทุกวิชา


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

ผู้ที่เกี่ยวข้องในการฝึกงาน

1. อาจารย์ที่ปรึกษา - ให้คำ�ปรึกษานิสิตในเรื่องต่าง ๆ ประสานงานกับบุคลากร พีเ่ ลีย้ ง ติดตามนิเทศรับทราบผลการปฏิบตั งิ าน ความก้าวหน้า รับทราบ ถึงปัญหาต่าง ๆ ของนิสติ ให้ค�ำ ปรึกษาและตรวจผลงานโครงการทีต่ อ้ ง นำ�เสนอ ตรวจบันทึกการลงเวลาและบันทึกการปฏิบัติงานของนิสิต 2. บุคลากรพี่เลี้ยง - ปฐมนิเทศนิสิต ให้คำ�แนะนำ�ถึงลักษณะงาน หน้าที่ความรับ ผิดชอบ กฎ ระเบียบต่าง ๆ การวางตน ตลอดจนแจ้งถึงข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ เช่น โครงสร้างการบริหารงาน บุคลากร ฝ่ายต่าง ๆ สถานที่ สวัสดิการ ให้คำ�ปรึกษาและตรวจผลงานโครงการที่ ต้องนำ�เสนอ ตรวจบันทึกการลงเวลาและบันทึกการปฏิบัติงาน และผล การปฏิบัติงาน จัดเวลาให้นิสิตได้พบปะปรึกษาหารือ เพื่อให้ข้อเสนอ แนะเพิ่มเติม ให้คำ�แนะนำ�ด้านการทำ�งาน ให้กำ�ลังใจ เปิดโอกาสให้ นิสิตใช้ความสามารถในการปฏิบัติงาน ชี้แนะแนวทางแก้ปัญหา 3. หัวหน้างานและผู้บริหารหน่วยงาน - กำ�หนดนโยบาย บริหาร จัดการเกี่ยวกับการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ ช่วยแก้ปัญหาของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพในเรื่อง ทั่วไป

13


14

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ระยะเวลาการฝึก 3 เดือน เริ่ม 1 กุมภาพันธ์ สิ้นสุด 30 เมษายน 2560

เอกสาร ประกอบการออกปฏิบัติงาน

- บัตรนิสิต, บัตรประจำ�ตัวประชาชน - เอกสารจากคณะ และภาควิชาที่ใข้ยื่นต่อ หน่วยงานในการปฏิบัติงานวันแรก - หนังสือส่งตัวเข้ารับการปฏิบัติงาน - แบบประเมินการออกปฏิบัติงาน - แบบสอบถามความพึงพอใจ - เอกสารสำ�หรับตัวนิสิต - สมุดลงเวลา - บันทึกประจำ�วัน - คู่มือแนวทางการปฎิบัติงาน


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

การนิเทศ (Supervision) การนิเทศ เป็นการออกไปเยี่ยม เพื่อให้ความช่วยเหลือ การให้คำ�แนะนำ�และการปรับปรุง เพื่อให้งานบรรลุตาม วัตถุประสงค์หรือมาตรฐานที่กำ�หนดไว้

จุดมุ่งหมายของการนิเทศ

1. เพื่อเยี่ยม สร้างขวัญและกำ�ลังใจ 2. เพื่อรับทราบปัญหาและหาแนวทางแก้ ไขปัญหา 3. เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการจัดทำ�รายงาน และโครงการ

ระยะเวลาการนิเทศ

ระหว่างวันที่ 2 มีนาคม -12 มีนาคม 2560

15


16

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

การเตรียมตัวและแนวทางการปฏิบัติ รายวิชาที่เกี่ยวข้องในการฝึกงาน 0503 469 ประเด็นและแนวโน้มด้านคอมพิวเตอร์เพือ่ การศึกษา Issues and Trends in Computer Education 0503 470 ประเด็นและแนวโน้มทางเทคโนโลยีการศึกษา Issues and Trends in Educational Technology 0503 471 การพัฒนาโครงงานทางคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา Development of Computer Education 0503 472 การพัฒนาโครงการทางเทคโนโลยีการศึกษา Development of Project Study in Educational Technology 0503 473 การฝึกปฏิบัติการเทคโนโลยีการศึกษา Practicum in Educational Technology


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

0503 473 การฝึกปฏิบัติการเทคโนโลยีการศึกษา Practicum in Educational Technology การฝึกปฏิบตั กิ ารด้านเทคโนโลยีการศึกษาในสถานศึกษา หรือหน่วยงาน โดยเน้นด้านการออกแบบ การผลิต การใช้ การเก็บและ บำ�รุงรักษา และการประเมินสือ่ ให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ เนือ้ หาและ ผู้ ใช้ การเขียนแผนการเรียนรู้เพื่อถ่ายทอดเนื้อหาและประสบการณ์ ด้านเทคโนโลยีการศึกษา การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์หรือห้อง ปฏิบตั กิ าร และการให้ค�ำ แนะนำ�ด้านเทคโนโลยีการศึกษาแก่ผู้ใช้บริการ การจัดโครงการ การจัดกิจกรรม หรือการฝึกอบรมทางเทคโนโลยีการ ศึกษาในหน่วยงาน การสรุปการฝึกปฏิบัติงานโดยประมวลผลความ รู้และประสบการณ์จากการฝึกปฏิบัติงาน จรรยาบรรณนักเทคโนโลยี การศึกษา

17


18

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

0503 470 ประเด็นและแนวโน้มทางเทคโนโลยี การศึกษา Issues and Trends in Educational Technology การศึกษาประเด็นสำ�คัญและแนวโน้มของเทคโนโลยี การศึกษา จากสภาพ ปัญหาและความต้องการด้านเทคโนโลยี การศึกษาในสถานศึกษาและหน่วยงานอื่นๆ โดยใช้กระบวนการ วิจัยในการหาข้อเท็จจริงและบทสรุป 0503 472 การพัฒนาโครงการทางเทคโนโลยีการศึกษา Development of Project in Educational Technology การจัดทำ�โครงการทางเทคโนโลยีการศึกษาเพือ่ สร้าง นวัตกรรมมาใช้ ในการพัฒนา แก้ปัญหา หรือปรับปรุงงานด้าน บริหาร ด้านวิชาการ ด้านการบริการในสถานศึกษาหรือหน่วย งานอื่น ๆ โดยใช้หลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษาใน การออกแบบ การพัฒนา การนำ�ไปใช้และการประเมินนวัตกรรม ที่สร้างขึ้น


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

0503 469 ประเด็นและแนวโน้มด้านคอมพิวเตอร์ เพื่อการศึกษา Issues and Trends in Computer Education สภาพปัญหา และความต้องการด้านคอมพิวเตอร์เพือ่ การ ศึกษาทัง้ ในและนอกสถานศึกษา ประเด็นสำ�คัญร่วมสมัยและแนวโน้ม ด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาในอนาคต

0503 471 การพัฒนาโครงงานทางคอมพิวเตอร์ เพื่อการศึกษา Development of Project in Computer Education ประเภทโครงงานทางคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา การ เขียนโครงการ กระบวนการทำ�โครงงาน การออกแบบโครงงานทาง คอมพิวเตอร์เพือ่ การศึกษา โดยมีขอบเขตหัวข้อโครงงานทีส่ นับสนุน งานด้านบริหาร ด้านบริการ และด้านวิชาการของสถานศึกษาหรือหน่วย งาน การพัฒนาโครงงาน การรายงานความก้าวหน้าโครงงาน การนำ� เสนอผลงานของโครงงาน

19


20

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

การทำ � Project ฝึกงาน

นิสิตจะต้องเสนอโปรเจ็ค 2 เรื่อง และรายงานปฏิบัติงาน

อีก 1 เล่ม ประกอบการฝึกงาน ได้แก่

เล่มที่ 1 โปรเจ็คเทคโนโลยีการศึกษา เสนอรายวิชา

0503 470 ประเด็นและแนวโน้มทางเทคโนโลยีการศึกษา Issues and Trends in Educational Technology 0503 472 การพัฒนาโครงการทางเทคโนโลยีการศึกษา Development of Project in Educational Technology

เล่มที่ 2 โปรเจ็คคอมพิวเตอร์ศึกษา เสนอรายวิชา

0503 469 ประเด็นและแนวโน้มด้านคอมพิวเตอร์ เพื่อการศึกษา Issues and Trends in Computer Education 0503 471 การพัฒนาโครงงานทางคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา Development of Project in Computer Education

เล่มที่ 3 รายงานการปฏิบัติงาน เสนอรายวิชา

0503 473 การฝึกปฏิบัติการเทคโนโลยีการศึกษา


21

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

กระบวนการและขั้นตอนของโปรเจ็ค 1. การได้มาของหัวข้อ/เรื่องที่จะเสนอ มาจาก 1.1 ปัญหาและความต้องการของหน่วยงาน 1.2 องค์ความรู้ที่พบระหว่างฝึกงาน ที่เป็นประโยชน์ต่อ รุ่นน้อง/ภาควิชา/หน่วยงาน 2. รูปแบบของ Project เทคโนโลยีการศึกษา รูปแบบของ Project หน่วยงานประเภทมหาวิทยาลัย/เอกชน 1. โครงการฝึกอบรมให้ความรู้/ • โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาทักษะทางเทคโนฯให้ โปรแกรม....../ทักษะ....ให้บุคลากร/ผู้เรียน บุคลากร/ผู้เรียนในหน่วยงาน ในหน่วยงาน 2. โครงการผลิตสื่อเพื่อให้ความรู้/ •การพัฒนา สิ�งพิมพ์/VDO/E-book/ CAI/ พัฒนาทักษะบุคลากร/ผู้เรียน LO เพื่อการศึกษา เรื่อง..... สำาหรับ..... ภายในหน่วยงาน 3. โครงการผลิตสื่อเพื่อให้ข้อมูลหรือ • โครงการพัฒนาสิ�งพิมพ์/วีดทิ ัศน�/ การประชาสัมพันธ์ของหน่วยงาน สื่อมัลติมีเดีย เว็บไซต์เพื่อแนะนำา หน่วยงาน 4. โครงการผลิตคู่มือการปฏิบัติงาน • โครงการพัฒนาคู่มือการให้บริการ ด้านเทคโนฯของหน่วยงานเพื่อให้ โสตทัศนูปกรณ์/การให้บริการสื่อ/ ความรู้/แนวปฏิบัติ/พัฒนาทักษะ กระบวนการผลิตรายการวิทยุ/โทรทัศน�/ บุคลากรภายในหน่วยงาน ถ่ายภาพ/คอร์สแวร์

(รัชนีวรรณ ตั้งภักดี, 2558)


22

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ความรู้ที่เกี่ยวข้องทางเทคโนโลยีการศึกษา มาจากรายวิชา 0503 113 หลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 0503 114 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการศึกษา 0503 116 การปฏิบัติการควบคุมและการใช้อุปกรณ์การเรียนการสอน 0503 117 กิจกรรมทางเทคโนโลยีการศึกษา 0503 211 นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 0503 212 การถ่ายภาพ 0503 213 การออกแบบระบบการเรียนการสอนเพื่อการผลิตสื่อการศึกษา 0503 214 การผลิตสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอนและการนำ�เสนอ 0503 318 การผลิตรายการวิทยุและโทรทัศน์เพื่อการศึกษา 0503 319 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 0503 467 การเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ 0503 468 การจัดการงานเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 0503 321 การซ่อมบำ�รุงรักษาอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีการศึกษา 0503 322 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการศึกษา 0503 323 เทคโนโลยีการศึกษาอุปการสำ�หรับผู้บกพร่องทางการเนียนรู้ 0503 324 สื่อมวลชนทางการศึกษา 0503 325 การศึกษานอกสถานที่ 0503 326 หลักการศึกษาทางไกล 0503 327 การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา 0503 328 สื่อการเรียนการสอนรายบุคคล 0503 329 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารในการศึกษา


23

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

3. รูปแบบของ Project คอมพิวเตอร์ศึกษา รูปแบบของ Project 1.โครงการฝึกอบรมให้ความรู/้ พัฒนาทักษะทางคอมฯให้ บุคลากร/ผู้เรียนในหน่วยงาน 2. โครงการออกแบบและพัฒนา เว็บไซต์/เครือข่าย/ระบบ LMS

หน่วยงานประเภทมหาวิทยาลัย/เอกชน • โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เขียนโปรแกรม....../พัฒนาระบบ.... ให้บุคลากร/ผู้เรียนในหน่วยงาน • โครงการพัฒนาเว็บไซต์/เครือข่าย/ระบบLMS เรื่อง..... สำาหรับ.....

3. โครงการออกแบบและพัฒนา • โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูล/ ระบบฐานข้อมูล หรือ ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ....... เพื่อการจัดการของหน่วยงาน เรื่อง..... สำาหรับ..... 4. โครงการผลิตคู่มือการปฏิบัติงาน • โครงการพัฒนาคู่มือการให้บริการ ด้านคอมฯของหน่วยงานเพื่อให้ ห้องคอมพิวเตอร์/การให้บริการอุปกรณ์/ ความรู/้ แนวปฏิบัต/ิ พัฒนาทักษะ การให้บริการห้องคอมพิวเตอร์/การจัดการ บุคลากรภายในหน่วยงาน ข้อมูลสารสนเทศ/การจัดการระบบเครือข่าย/ คู่มือการเขียนโปรแกรม

(รัชนีวรรณ ต้ังภักดี, 2558)


24

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ความรู้ที่เกี่ยวข้องทางตอมพิวเตอร์ศึกษา มาจากรายวิชาที่ศึกษา 0503 112 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 0503 115 การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิกเพื่อการผลิตสื่อทางการศึกษา 0503 320 การเรียนการสอนผ่านเว็บ 1201 405 การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทางการศึกษา 1204 102 ขั้นตอนวิธีและการแก้ปัญหาสำ�หรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ 1204 103 กฎหมายและจริยธรรมในโลกาภิวัตน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศฯ 1204 104 หลักการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1204 202 ระบบสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1204 403 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1204 410 การโปรแกรมเชิงทัศน์สำ�หรับวิทยาศาสตร์ 0503 330 การซ่อมบำ�รุงรักษาฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ 0503 331 การจัดการศูนย์สารสนเทศในหน่วยงานทางการศึกษา 0503 471 การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา 1204 204 โครงสร้างและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ 1204 206 คณิตศาสตร์พื้นฐานสำ�หรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ 1204 208 การออกแบบและการจัดการฐานข้อมูล 1204 304 การโปรแกรมบนเว็บ 1204 315 การโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่


 ดำาเนินโครงการ (บทที่ 1)

มีนาคม

เมษายน

 สังเกตและศึกษา หน่วยงาน

กุมภาพันธ์

ดำาเนินโครงการ (บทที่ 5)  นำาเสนอ ความก้าวหน้า ครั้งที่ 2

สัปดาห ที่1

เดือน

 สรุปผลโครงการ  นำาเสนอความก้าวหน้า ครั้งที่ 3

 ส่งรายงานสรุปผลงาน ฉบับร่างให้อาจารย์ที่ปรึกษา นำาเสนอรายงานสรุปผลงาน ต่อหัวหน้าหน่วยงาน และพี่เลี้ยง

(รัชนีวรรณ ต้ังภักดี, 2558)

 ส่งรายงานสรุปผลงาน สมบูรณ์ต่ออาจารย์ ที่ปรึกษา

 ดำาเนินโครงการ (บทที่ 4)

 ดำาเนินโครงการ (บทที่ 3)  อาจารย์ไปนิเทศที่หน่วยงาน นำาเสนอผลการปฏิบัติงาน และความก้าวหน้าโครงการ ครั้งที่ 1

 ดำาเนินโครงการ (บทที่ 2)  เตรียมทำา Present นำาเสนอการปฏิบัติงาน รอบ 1 เดือนครึ่ง และ ความก้าวหน้าโครงการ

สัปดาห ที่ 4

 ร่างหัวข้อโครงการ  ส่งร่างโครงการและ  ศึกษาความเป็นไปได้พูดคุย แผนการทำางานให้ กับพี่เลี้ยงในหน่วยงาน อาจารย์ที่ปรึกษา  เสนอหัวข้อ อาจารย์ที่ปรึกษา อนุมัติ ผ่าน FB/โทรศัพท์/นัดเวลา

สัปดาห ที่ 3

 สรุปรายงานผล การสังเกตและศึกษา หน่วยงานส่งอาจารย์ ที่ปรึกษา

สัปดาห ที่ 2

ตารางการกำ�หนดระยะเวลาการจัดทำ�โปรเจ็ค สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

25


26

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

เกณฑ์พิจารณาโปรเจ็ค ประกอบในรายวิชา

0503 470 ประเด็นและแนวโน้มทางเทคโนโลยีการศึกษา Issues and Trends in Educational Technology 0503 469 ประเด็นและแนวโน้มด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา Issues and Trends in Computer Education พิจารณาจากบทที่ 1-2 ของโปรเจ็ค ได้แก่ การเลือกปัญหา องค์ความรู้ หลักการและเหตุผล ฯลฯ ดูรายละเอียดจากรูปแบบ โปรเจ็คลักษณะต่าง ๆ ด้านขวามือ 0503 472 การพัฒนาโครงการทางเทคโนโลยีการศึกษา

Development of Project in Educational Technology

0503 471 การพัฒนาโครงงานทางคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา Development of Project in Computer Education พิจารณาจากบทที่ 3-5 ของโปรเจ็ค ได้แก่ การดำ�เนินการ การ วิเคราะห์ข้อมูล การสรุป และการสรุปข้อมูล ฯลฯ ดูรายละเอียดจาก รูปแบบโปรเจ็คลักษณะต่าง ๆ ด้านขวามือ


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

รูปแบบของโปรเจ็คแต่ละประเภท โปรเจ็คเกี่ยวกับการฝึกอบรมให้ความรู้/พัฒนา ทักษะทางเทคโนโลยีการศึกษา/คอมพิวเตอร์ศึกษา ให้บุคลากร/ผู้เรียนในหน่วยงาน

ประกอบด้วยเนื้อหา 5 บท ดังนี้ บทที่ 1 บทนำ� - ภูมิหลัง หลักการและเหตุผลของโครงการ - ความมุ่งหมายของโครงการ - ขอบเขตของการดำ�เนินโครงการ - ผู้เข้าร่วมโครงการ - หัวข้อเนื้อหา/ วิธีการฝึกอบรม/ วิทยากร/ ระยะเวลา/ สถานที่ - วิธีประเมินผลการฝึกอบรม/ ผลที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 การดำ�เนินโครงการฝึกอบรม - ขั้นตอนและแผนดำ�เนินโครงการฝึกอบรม - ขั้นตอนการประเมินผลการฝึกอบรม (ประเมินผลการเรียน/ประเมินความพึงพอใจ) - การวิเคราะห์ผลการจัดโครงการฝึกอบรม - สถิติที่ใช้ในการการวิเคราะห์ผลการใช้สื่อ/คู่มือ บทที่ 4 ผลการดำ�เนินโครงการฝึกอบรม บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะโครงการ

27


28

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

-- โปรเจ็คการผลิตสื่อเพื่อให้ความรู้/พัฒนา ทักษะ บุคลากร/ผู้เรียนภายในหน่วยงาน - โปรเจ็คการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อให้ความรู้/ พัฒนาทักษะบุคลากร/ผู้เรียน ภายในหน่วยงาน - โปรเจ็คการผลิตสื่อเพื่อให้ข้อมูลหรือ การประชาสัมพันธ์ของหน่วยงาน - โปรเจ็คพัฒนาระบบ เว็บไซต์ เครือข่าย การพัฒนาฐานข้อมูล /LMS /MIS - โปรเจ็คการผลิตคู่มือการปฏิบัติงาน ด้านเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ ของหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้/แนวปฏิบัติ/ พัฒนาทักษะบุคลากร ภายในหน่วยงาน


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

ประเด็นแนวโน้มฯ พิจารณาบทที่ 1-2 ประกอบด้วยเนื้อหา 5 บท ดังนี้ บทที่ 1 บทนำ� - ภูมิหลัง ความเป็นมาและความสำ�คัญของโครงการ - ความมุ่งหมายของโครงการ - ขอบเขตของการดำ�เนินโครงการ - นิยามศัพท์เฉพาะ - ความสำ�คัญของของโครงการ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การพัฒนาโครงการฯ พิจารณาบทที่ 3-5 บทที่ 3 การดำ�เนินโครงการ - ขั้นตอนและแผนดำ�เนินโครงการฝึกอบรม/ผลิตสื่อ /ผลิตคู่มือ - การสร้างและการหาคุณภาพสื่อ/คู่มือ - ขั้นตอนการนำ�สื่อ/คู่มือไปใช้ - ขั้นตอนการประเมินผลการใช้สื่อ/คู่มือ (ประเมินผลการเรียน/ประเมินความพึงพอใจ) - การวิเคราะห์ผลการใช้สื่อ/คู่มือ - สถิติที่ใช้ในการการวิเคราะห์ผลการใช้สื่อ/คู่มือ บทที่ 4 ผลการดำ�เนินโครงการ บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะโครงการ

29


30

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

รูปแบบของรายงานปฎิบัติงาน บทที่ 1 บทนำ� - ภูมิหลัง กล่าวถึงความเป็นมา หลักการและเหตุผลของ การฝึกงาน - ความมุ่งหมายของการฝึกงาน - ขอบเขตของการฝึกงาน - และความสำ�คัญที่จะได้รับจากการฝึกงาน บทที่ 2 บริบทของหน่วยงาน - ประวัติ โครงสร้าง ค่านิยมร่วม นโยบาย การบริหารงาน เป้าหมาย การบริหาร จัดการ วิสัยทัศน์ บทที่ 3 รายละเอียดการปฏิบัติงาน - ลักษณะ ประเภท ขอบข่าย พันธกิจ การให้บริการ วัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายของงาน - การปฎิบัติงานที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติ (1) รายละเอียดงาน เขียนอธิบายขัน้ ตอน การปฏิบัติงาน ที่ได้รับมอบหมาย (2) แสดงภาพ แผนภูมิหรือตารางที่จำ�เป็น (3) แสดงขั้นตอนที่ใช้ทักษะการปฏิบัติงาน อธิบายเครื่องมือ ปฏิบัติงานที่ใช้ (ถ้ามี) งานโครงการ หรือ โปรเจ็คที่เสนอ ผลและประโยชน์ที่จะได้รับจากการปฏิบัติ


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

บทที่ 4 สรุปผลการศึกษาหรือปฏิบัติงาน - รวบรวมผลงานที่ปฏิบัติ แสดงข้อมูลประกอบที่ จำ�เป็น วิเคราะห์ความสำ�เร็จของงานที่ทำ�โดยมีข้อเสนอ แนะและแนวทางในการปรับปรุง แก้ ไขปัญหาที่พบ (ถ้ามี) โดยเน้นในแง่การนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้ในอนาคต - เปรียบเทียบผลที่ได้รับกับวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่ง หมายของการปฏิบัติงานที่ได้กำ�หนด บทที่ 5 ปัญหาและข้อเสนอแนะในองค์รวม - นำ�เสนอปัญหาที่พบ - ขั้นตอนที่ซ้ำ�ซ้อน - อุปสรรคในการปฏิบัติงาน - ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงาน - แนวทางการแก้ปัญหา

31


32

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

การประเมินผลการปฎิบัติงาน เกณฑ์การประเมินผลการฏิบัติงาน ประกอบด้วย คะแนนจากอาจารย์ที่ปรึกษาในชั้นเรียนก่อนออกฝึก 30 % 1. ประเมินผลงานการศึกษาค้นคว้าที่มอบหมาย 10% 2. ประเมินผลชิ้นงาน การฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน 15% 3. ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียน 5% คะแนนจากบุคลากรพี่เลี้ยงและอาจารย์ที่ปรึกษา 1. ประเมินผลการฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงาน 60% 2. ประเมินพฤติกรรมในการฝึกงาน (สาย ลา มา ขาด) (อาจารน์ที่ปรึกษาประเมินจากสมุดบันทึกและการลงเวลาปฎิบ้ติงาน) 10% รวมทั้งสิ้น 100 คะแนน


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

การประเมิน 60+40 หลักเกณฑ์ การประเมิน

1. บุคลากรพี่เลี้ยง แต่ละแห่งจะประเมินการปฎิบัติงาน โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมตามหลักเกณฑ์แต่ละด้าน โดย ใช้แบบประเมินผลของภาควิชา คิดเป็น 60 % การประเมิน แบ่งออกเป็น 3 หมวด คือ 1. ผลสำ�เร็จของงาน 2. ความรู้ความสามารถ ความรับผิดชอบ 3. บุคลิกภาพ ลักษณะส่วนบุคคล 2. อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา นำ � ผลการประเมิ น ที่ ไ ด้ รั บ จาก บุคลากรพีเ่ ลีย้ ง มาพิจารณาร่วมกับคะแนนในชัน้ เรียนก่อนออก ฝึก และจากพฤติกรรมการปฏิบัติงาน โดยพิจารณาจากสมุด ลงเวลาปฏิบัติงาน และสมุดบันทึกการปฏิบัติงาน โดยยึดหลัก ฐานการลงนามรับรองทีถ่ กู ต้องจากบุคลากรพีเ่ ลีย้ งคิดเป็น 40 %

33


34

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

35


36

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

37


ชื่อ-สกุล นายขยัน มาเสมอ คณะ ศึกษาศาสตร์ วัน/เดือน/ป เวลามา ลายเซ็น 15 มีนาคม 25xx 7.30 น. 16 มีนาคม 25xx 8.00 น. 17 มีนาคม 25xx -

(.............................................................)

ลงชื่อ......................................................บุคลากรพี่เลี้ยง

รหัสนิสิต xx สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา หมายเหตุ เวลากลับ ลายเซ็น 17.00 น. 17.30 น. ลาปวย -

ตารางลงเวลาการปฏิบัติงานจริง

ตัวอย่างสมุดลงเวลา

38 แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ


39 สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

ตัวอย่างสมุดบันทึกการปฏิบัติงาน ชื่อ-สกุล

คณะ

รหัสนิสิต

บันทึกการปฏิบัติงาน สาขาวิชา วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2559

รายงานตัวที่............................................................. เข้าพบผู้บริหารหน่วยงาน พบบุคลากรพี่เลี้ยง รับฟังการปฐมนิเทศ รับทราบกฎ ระเบียบต่าง ๆของหน่วยงาน รับ มอบหมายงานที่ต้องปฏิบัติ ดังนี้ 1. 2. 3. เริ่มปฎิบัติงาน เวลา ............น. โดยได้รับมอบหมายให้............................................... การปฏิบัติงานได้ดำาเนินการ ดังนี้................................. ผลของการปฏิบัติงาน................................................... ปัญหา อุปสรรคที่พบ...................................................

ลงชื่อบุคลากรพี่เลี้ยง

ลงชื่อบุคลากรพี่เลี้ยง


40

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

การประเมิน สมุดลงเวลา บันทึกประจำ�วัน (10%)

1.ข้อปฏิบัติ ในการลงตารางเวลาการปฏิบัติงาน - นิสิตต้องลงชื่อปฏิบัติงาน ในแบบฟอร์มตารางเวลา การทำ�งานทั้งเวลามาและกลับในแต่ละวันและนำ�สมุดลง เวลา เสนอบุคลากรพี่เลี้ยง ลงนามรับทราบการปฏิบัติงาน - ให้ระบุ ว/ด/ป ในวันทำ�การทุกวัน ยกเว้นวันหยุด ทำ � การของหน่ ว ยงาน ในกรณี วั น ทำ � การตรงกั บ วั น หยุ ด นักขัตฤกษ์ ให้ลงหมายเหตุแจ้งไว้ โดยไม่ต้องลงชื่อปฏิบัติ งาน - หากขาด ลา ไม่ว่ากรณีใด ๆ ให้ระบุสาเหตุในช่อง หมายเหตุด้วย 2. ข้อปฏิบัติ ในการลงบันทึกการปฏิบัติงาน ประจำ�วัน - เขียนลักษณะงานที่ปฏิบัติในแต่ละวัน โดยละเอียด - ต้องกรอกรายละเอียดตามที่ปฎิบิบัติจริงและระบุ ความสำ�เร็จของผลงานที่ปฏิบัติได้ - ระบุปัญหา อุปสรรคที่พบ และส่งผลให้งานไม่สำ�เร็จ - เสนอบุคลากรพี่เลี้ยง ลงนามรับรอง


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

การประเมินโปรเจ็ค 70+30 เทคโนฯและคอมพิวเตอร์ เกณฑ์การประเมินผลโปรเจ็ค ประกอบด้วย คะแนนจากอาจารย์ที่ปรึกษาในชั้นเรียนก่อนออกฝึก 30 % 1. ประเมินผลงานการศึกษาค้นคว้าที่มอบหมาย 10% 2. ประเมินผลการปฏิบัติให้เกิดความเร็จในงานที่มอบ หมาย 10% 3. ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียน 10%

คะแนนโปรเจ็ค 1. ประเมินผลจากความก้าวหน้า และปฏิบัติได้ตรงตาม เวลาที่กำ�หนด 15% 2. ประเมินจากกระบวนการพัฒนาโปรเจ็ค การเลือก ปัญหา องค์ความรู้ ขั้นตอนการดำ�เนินการ ขั้นตอนการศึกษา ค้นคว้า 40% 3. การจัดทำ�รูปเล่ม 15% รวมทั้งสิ้น 100 คะแนน

41


42

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

การจัดทำ�รูปเล่มโปรเจ็ค/รายงาน

ใช้กระดาษ A4 สีขาว 80 แกรม ตัวอักษรใช้ฟ้อนท์ TH Sarabun new 16 point ตัวอักษรหัวข้อ 18-24 point พิมพ์ตามแนวตั้ง พิมพ์หน้าเดียวหรือสองหน้าก็ได้ การเว้นขอบกระดาษ บน 1.5 นิ้ว ล่าง 1.0 นี้ว ซ้าย 1.5 นิ้ว ขวา 1.0 นิ้ว

จัดเรียงส่วนประกอบสำ�คัญ ตามลำ�ดับดังนี้ 1. ปกนอก 2. ปกใน 3. หน้าเห็นชอบโครงการ 4. บทคัดย่อ (รายงานปฏิบัติงานไม่ต้องมีบทคัดย่อ) 5. คำ�นำ� (โปรเจ็คไม่ต้องมีคำ�นำ�) 6. สารบัญ 7. ส่วนเนื้อเรื่อง บทที่ 1-5 8. บรรณานุกรม 9. ภาคผนวก


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

1.5 นิ้ว

การพัฒนาฐานข้อมูลระบบยืม-คืนอุปกรณ์ถ่ายทำ�รายการโทรทัศน์ บริษัท เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย จำ�กัด

เท่ากัน สุนิสา หน้าพิมาย 551050000000 อรพรรณ ขัดคำ� 551050000001

เท่ากัน

โครงการฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนิสิต หลักสูคร กศ.บ.. สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีการศึกษา 2559

1 นิ้ว

ปกนอก โปรเจ็ค

43


44

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1.5 นิ้ว

รายงานการปฏิบัติงานฝ่ายผลิตรายการโทรทัศน์ บริษัท เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย จำ�กัด

เท่ากัน

สุนิสา หน้าพิมาย 551050000000

เท่ากัน

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนิสิต หลักสูคร กศ.บ.. สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีการศึกษา 2559

1 นิ้ว

ปกนอก รายงานการปฏิบัติงาน


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

2 นิ้ว รายงานการปฏิบัติงานฝ่ายผลิตรายการโทรทัศน์ บริษัท เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย จำ�กัด

เท่ากัน

สุนิสา หน้าพิมาย 551050000000

เท่ากัน

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนิสิต หลักสูคร กศ.บ.. สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีการศึกษา 2559

1 นิ้ว

ปกใน โปรเจ็คและรายงานการปฏิบัติงาน ไม่มีโลโก้ ปรับการเว้นระยะตามตัวอย่าง

45


46

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

คำ�นำ� เป็นหน้าที่แจ้งให้ทราบวัตถุประสงค์ ความเป็น มาของการจัดทำ�รายงาน มีการแจ้งให้ทราบเนื้อหาสาระที่จะ มีในเล่มและคำ�กล่าวขอบคุณผู้ที่ให้ความช่วยเหลือ คำ�นำ�จะเขียนไว้ในเฉพาะรายงานปฏิบัติงาน


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

ชื่อโครงการ ผู้พัฒนา อาจารย์ที่ปรึกษา สาชาวิชา ปีการศึกษา

การพัฒนาฐานข้อมูลระบบยืม-คืนอุปกรณ์ถ่ายทำ� รายการโทรทัศน์ บริษัท เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย จำ�กัด สุนิสา หน้าพิมาย และ อรพรรณ ขัดคำ� ผู้ช่วยศาสตราจารย์ก่อเกียรติ ขวัญสกุล เทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2559 บทคัดย่อ

บทคัดย่อประกอบด้วย ข้อปัญหา วัตถุประสงค์ของรายงาน วิธีดำ�เนินการที่ ได้รับมอบหมาย ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ โดยปกติมีความยาวไม่เกินหนึ่งหน้า

47


48

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พิจารณาเห็นชอบให้ โครงการ............. ....................................................................................................... เป็นผลงานที่นิสิตจัดทำ�ขึ้นเพื่อประกอบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้าน...................................(เทคโนโลยีการศึกษา/คอมพิวเตอร์ศึกษา) ตามหลักสูตร กศ.บ. สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ ศึกษา ประจำ�ปีการศึกษา 2559 ...................................................... ( ) หัวหน้าหน่วยงาน ..................................................... ( ) หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ...................................................... ( ) บุคลากรพี่เลี้ยง ..................................................... ( ) อาจารย์ที่ปรึกษา

หน้าพิจารณาเห็นชอบโครงการ


49

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

สารบัญ

หน้า

จดหมายนําส่งรายงาน กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง รายการอักษรย่อและสัญลักษณ์ บทที� 1 บทนํา บทที� 2 การทบทวนวรรณกรรมหรือเอกสาร ที�เกี�ยวข้องกับการฝึกงาน บทที� 3 วัตถุประสงค์ของการปฏิบัติงาน (ฝึกงาน) บทที� 4 เนื�อหาการศึกษา (งานที�ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติ) บทที� 5 สรุปผลการฝึกงาน บรรณานุกรม ภาคผนวก

ตารางที� 1 ตารางที� 2 ตารางที� 1 ตารางที� 3 ตารางที� 2 ตารางที� 4 ตารางที� 3 ตารางที� 4

สารบัญตาราง สารบัญตาราง

หน้า 8 จํานวนนักศึกษาชั�นป�ที� 4 จําแนกตามกลุ่มสาขาวิชาและคณะวิชา หน้า 9 จํานวนกลุ่มตัวอย่างจําแนกตามกลุ่มสาขาวิชาและคณะวิชา จํานวนนักศึกษาชั�นป�ที� 4 จําแนกตามกลุ่มสาขาวิชาและคณะวิชา 8 12 จํานวนร้อยละของนักศึกษาจําแนกตามแบบการเรียนและกลุ่มสาขาวิชา จํานวนกลุ่มตัวอย่างจําแนกตามกลุ่มสาขาวิชาและคณะวิชา 9 ค่าสถิติพื�นฐานของความสามารถในการแก้ป�ญหาชีวิตประจําวันของ 15 จํานวนร้อยละของนักศึกษาจําแนกตามแบบการเรียนและกลุ่มสาขาวิชา 12 นักศึกษาจําแนกตามแบบการเรียน และการประมาณค่าเฉลี�ยประชากรด้วย ค่าสถิติพื�นฐานของความสามารถในการแก้ป�ญหาชีวิตประจําวันของ 15 ระดับความเชื�อมั�นร้อยละ 95 นักศึกษาจําแนกตามแบบการเรียน และการประมาณค่าเฉลี�ยประชากรด้วย ระดับความเชื�อมั�นร้อยละ 95

สารบัญรูป

สารบัญรูป รูปที� 1 รูป.......... รูปที� 2 รูป.......... รูปที� 3 รูป.......... รูปที� รู1ปที� 4รูป.......... รูป.......... รูปที� 2 รูป.......... รูปที� 3 รูป.......... รูปที� 4 รูป..........

สารบัญ

หน้า 8 9 หน้า 12 8 15 9 12 15

สารบัญตาราง และรูปภาพ อาจไม่จำ�เป็นต้องจัดทำ� ถ้ามีตาราง หรือรูปภาพไม่เกิน 5 ตาราง หรือ 5 ภาพ


50

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

บทนำ� ความเป็นมาของปัญหา เป็นการเกริ่นนำ�หรืออารัมภบทแสดงให้เห็นถึงความสำ�คัญและความ จำ�เป็นที่จะต้องทำ�โปรเจ็คหรือเหตุผลที่สมควรต้องมีการศึกษาปัญหาพิเศษ เรื่องนี้ โดยพยายามกำ�หนดปัญหาให้ชัดเจน หรือด้านอื่น ๆ ให้เข้าถึงข้อเท็จ จริงของปัญหาอย่างแท้จริง ด้วยการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบสถิติ สอบถามความเห็นจากบุคคลที่เกี่ยวข้องและแสวงหาเหตุผลที่น่าเป็นไปได้ จาก ทฤษฎีและสาขาที่เกี่ยวข้อง โดยเขียนโน้มน้าวจูงใจให้ผู้อ่านคล้อยตามเห็นด้วย ว่าทำ�ไมต้องทำ�โปรเจ็คเรื่องนี้ เช่น ยังประสบปัญหาอยู่แก้ ไขไม่ได้ โดยใช้ความ คิดตัวเองให้มากที่สุด ย่อหน้าแรก จะต้องอภิปรายถึงความเป็นมา ปัญหา ข้อดี ข้อเสีย หรือ ข้อโต้แย้งของปัญหาที่ได้ประสบก่อนหน้านี้ ย่อหน้าที่สอง จะต้องอภิปรายถึงความสำ�คัญ ข้อดีของปัญหา รวมถึง แนวทางแก้ ไขปัญหาในเรื่องที่เราสนใจจะดำ�เนินการทำ� ควรมีเอกสารหรือที่มา ของปัญหาที่ที่อ้างอิงเพื่อสนับสนุนหรือโต้แย้งสิ่งที่จะทำ�โปรเจ็คดังกล่าวนั้น ย่อหน้าสุดท้าย ต้องอภิปรายสรุปเป้าหมายหรือเหตุผลที่จะทำ� เพื่อแก้ ปัญหาที่งานที่จะทำ�

การเขียนบทที่ 1 บทนำ�


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

บทที่ 1 บทนำ� ความเป็นมาของปัญหา ปัจจุบันการศึกษาสามารถนำ�เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้กับการศึกษา ในลักษณะ ต่าง ๆ ได้แก่ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instructor) ระบบสื่อประสม (Multimedia ) ระบบสารสนเทศ (Information System ) ระบบฐานข้อมูล( Data System) ระบบ ปัญญาประดิษฐ์( Artificial Intelligence) และระบบอินเตอร์เน็ต (Internet ) เป็นต้น จากผลกระ ทบของความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งผลให้รูปแบบหรือวิธีการจัดการศึกษารูปแบบ เดิมคือ ยึดครูหรือผู้สอนเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ เป็นการจัดการศึกษาในระบบเดิมไม่ตอบสนอง ต่อการจัดการศึกษาอย่างแท้จริง การจัดการศึกษาในปัจจุบันต้องมีลักษณะที่เป็นระบบเปิดมากขึ้น ส่ง เสริมการศึกษาตลอดชีวิต เน้นการศึกษาเป็นรายบุคคล เน้นเทคโนโลยีทางการศึกษา เป็นการส่งเสริม การเรียนรู้ด้วยตนเอง เน้นคุณธรรมและจริยธรรม ส่งเสริมนันทนาการและการพักผ่อนหย่อนใจมากยิ่ง ขึ้นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วย สอนเป็นสื่อประเภทสองทาง (Two Way Communication) ซึ่งเป็นสื่อ ทีผ่ เู้ รียนสามารถพิมพ์โต้ตอบ หรือใช้เมาส์คลิกเพือ่ เลือกตอบคำ�ถาม ซึง่ ถือเป็นการมีปฏิสมั พันธ์ (Interaction) นอกจากนี้คอมพิวเตอร์ช่วย สอนยังเปรียบเสมือนการนำ�เอาสื่อทั้งหลายในอดีตมาบูรณาการ (Integrate) เข้าด้วยกัน เช่นแทรกภาพเคลื่อนไหวแทนการสอนโดยใช้วิดีทัศน์ แทรกเสียงที่บันทึกไว้ แทนการใช้เครื่องเล่นเทป ทำ�ภาพที่แสดงทีละกรอบแทนการใช้แผ่นโปร่งใสหรือสไลด์ นอกจากนี้ใน ปัจจุบันยังสามารถสร้างสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางเครือข่าย อินเตอร์เน็ต (Web base Instruction -WBI) ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกสถานที่ ทุกเวลา และไม่จำ�กัดจำ�นวนผู้เรียน ลักษณะการจัดการศึกษาในปัจจุบนั และอนาคต ควรจะเป็นการจัดการศึกษาทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็น ศูนย์กลางในการเรียนรูใ้ นลักษณะ การศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study) โดยนำ�เทคโนโลยีสมัย ใหม่มาใช้ ได้แก่ เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม เข้ามาประยุกต์ในทางการศึกษา ซึง่ กิดานันท์ มะลิทอง (2536, 163-164) ได้กล่าวถึงการจัดการศึกษา รายบุคคลว่าเป็นการจัดการศึกษาที่พิจารณาถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความต้องการ และความ สามารถ เพื่อให้ผู้เรียนแต่ละคนเรียนรู้ในสิ่งที่ตนสนใจตามกำ�ลังความสามารถของตน ตามวิธีการและ สื่อการสอนที่เหมาะสม เพื่อบรรลุถึงวัตถุประสงค์การเรียนที่กำ�หนดไว้และการที่จะสำ�เร็จได้นั้นย่อม ต้องอาศัยการจัดระบบการจัดการและการวางแผนการสอนทีด่ ี โดยจัดให้ผเู้ รียนเป็นศูนย์กลางของการ เรียน มีการจัดเตรียมทรัพยากรสำ�หรับการศึกษา คือ สื่อการเรียนประเภทต่าง ๆ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์โสต

51


52

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ทัศนวัสดุ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิดีโอ เป็นต้น โดยเฉพาะสื่อที่เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน นับเป็นสื่อที่กำ�ลังมีบทบาทสำ�คัญ ทั้งนี้ เนื่องจากข้อได้เปรียบของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่เหนือกว่าสื่อการ เรียนประเภทอื่น ก็คือ การเปิดโอกาสให้ผู้เรียน มีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) กับบทเรียนได้ตลอดเวลา จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน วิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ สังคม เรื่อง มารยาทไทย โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด เพือ่ แก้ปญ ั หาการเรียนการสอนทีก่ �ำ ลังเกิดขึน้ ประกอบ กับให้สอดคล้องกับการเรียนการสอนในยุคปฏิรปู การศึกษาซึง่ ใช้ ปรัชญา “ยึดผูเ้ รียนเป็น สำ�คัญ” วัตถุประสงค์ 1. นิยามศัพท์เฉพาะ 1. ประโยชน์ของโครงการ 1. หรือ ขอบเขตของการดำ�เนินโครงการ ............................................ ผู้เข้าร่วมโครงการ ........................................... หัวข้อเนื้อหา/ วิธีการฝึกอบรม/ วิทยากร/ ระยะเวลา/ สถานที่ ............................................ วิธีประเมินผลการฝึกอบรม/ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ...............................


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หมายถึง เอกสารและงาน วิจัยที่มีเนื้อหาที่สัมพันธ์กับประเด็นของปัญหาโครงการ เป็น เอกสารงานเขียนทีม่ เี นือ้ หาสาระท่นี า่ เชือ่ ถือ เช่น เอกสาร/ผลงาน วิชาการทีม่ กี ารจัดทำ� หรือจัดพิมพ์เผยแพร่ในลักษณะสือ่ สิง่ พิมพ์ หรือ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เช่น เป็นตำ�รา วิทยานิพนธ์ รายงาน การวิจัย บทคัดย่องานวิจัย รายงาน สารานุกรม พจนานุกรม นามานุกรม ดัชนี รายงานสถิติ หนังสือรายปี บทความในวารสาร จุลสาร เอกสาร รวมถึงสิง่ พิมพ์ของทางราชการเช่น จดหมายเหตุ คู่มือ รายงานประจำ�ปี บทปริทัศน์่ สิ่งที่สำ�คัญคือต้องมีความเกี่ยวข้องกับงานวิจัยที่ผู้จัดทำ� ศึกษาอยู่ โดยจะต้องทำ�การสำ�รวจอ่านทบทวนอย่างพินจิ พิเคราะห์ และต้องมีทักษะในการสืบค้นหาสารสนเทศจากแหล่งต่าง ๆ และ ทักษะในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ

เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง

53


54

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

บรรณานุกรม กรกนก อริยานุชิตกุล. “คุณภาพผลิตภัณฑ์นํ�าดื�มจังหวัดขอนแก่น.” ฉลาดซื�อ 34, 6 : 44-45, ธ.ค. 2542 - ม.ค. 2543. ทิพวัน เอี�ยมสินทร. “การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการโรงงานผลิตนํ�าดื�มใน มหาวิทยาลัยรังสิต.” วิศวกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรังสิต 4, 3 : 58-59, มกราคม 2543. ทีทีซี นํ�าดื�มสยาม จํากัด, บริษัท การจัดการและบริหารงาน บริษัท นํ�าดื�มสยาม ทีทีซี จํากัด. ปทุมธานี : โรงพิมพ์เอดิสัน, 2549. รัชนี สุทธิธรรม. เป็นผู้ให้สัมภาษณ์, อาทิตย์ ลาวัน ผู้สัมภาษณ์ ที� บริษัท ทีทีซี นํ�าดื�มสยาม จํากัด, วันที� 10 พฤศจิกายน 2550. สันทัด เสริมศรี. “อิทธิพลที�กําหนดการเลือกนํ�าดื�มในชนบทภาคตะวันออกเฉียง เหนือ.” สุขศึกษา. 6, 23 : 65-69, ก.ค.-ก.ย. 2546. อภิรัฐ มีทรัพย์. “วิวัฒนาการเครื�องมือวัดด้านอุตสาหกรรมนํ�าดื�มทุกชนิด.” (2) 260 แล็บทูเดย์. 3, 20 : 29-31, ก.ค.-ส.ค. 2547.

บรรณานุกรม คือ รายชื่อหนังสือ เอกสาร และสารสนเทศ ทุกประเภท ที่ใช้เป็นแหล่งความรู้และใช้อ้างอิง ในการศึกษา ในครั้งนี้ โดยเขียนรายการเรียงลำ�ดับตัวอักษรของรายชื่อผู้แต่ง


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

ภาคผนวก คือ รายการที่ต้องการเสนอเพิ่มเติม นอกเหนือจากส่วนที่เป็นเนื้อเรื่อง เป็นรายการที่สัมพันธ์ และช่วยให้เข้าใจเนื้อเรื่องดีขึ้น

55


56

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

จรรยาบรรณวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา จรรยาบรรณวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา จรรยาบรรณ คือ สิ่งอันพึงประพฤติปฏิบัติ จรรยาบรรณของนั ก เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา จึ ง หมายถึ ง ข้อ พึงประพฤติปฏิบัติของนั ก เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา เพื่ อ ธำ�รงไว้ซึ่งเกียรติภูมิสถานภาพแห่งวิชาชีพ ทำ�ให้อาชีพของ นักเทคโนโลยีการศึกษาเป็นอาชีพทีม่ เี กียรติได้รบั การยกย่อง นับถือในฐานะทีเ่ ป็นตัวแทนของหน่วยงานและองค์การต่าง ๆ จรรยาบรรณวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 1. จรรยาบรรณต่อตนเอง 2. จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมงาน 3. จรรยาบรรณต่อหน่วยงาน 4. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ 5. จรรยาบรรณต่อสังคม


57

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

จรรยาบรรณวิชาชีพนักเทคโนโลยีการศึกษา 1. ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบ และมีวินัยในตนเอง 2. มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยึดมั่นในศีลธรรม 3. ปฏิบัตืหน้าที่โดยยึดถือประโยชน์ของสังคมและประเทศชาติ เป็นสำ�คัญ 4. มึความยุติธรรม รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น 5. ถ่ายทอดความรูแ้ ละประสบการณ์ดา้ นเทคโนโลยีการศึกษาให้ แก่ผู้อื่นอย่างเปิดเผยและจริงใจ 6. ยึดมั่นในวิชาชีพนักเทคโนโลฃีการศึกษา 7. อุทิศเวลาในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์แก่ส่วนรวม 8. วิ จั ย และพี ฒ นา เพื่ อ พั ฒ นาความรู้ ท างด้ า นเทคโนโลยี การศึกษา 9. สนับสนุนและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนและสังคม 10. ให้บริการด้วยควมจริงใจและเต็มใจ (วราภรณ์ สินถาวร, 2545)


58

แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

อาจารย์ที่ปรึกษา ดร. มานิตย์ อาษานอก หัวหน้่าภาควิชาฯ โทร. 099-7499551 FB: Manito Asanoku

ผศ.ดร. รัชนีวรรณ ตั้งภักดี โทร. 081-5922270 FB: AjIng Msu

ผศ.ดร. ฐาปนี สีเฉลียว โทร. 064-2695156 FB: Tha Seechaliao

ดร. รัฐสาน์ เลาหสุรโยธิน โทร. 089-7908833 FB: Ratasa Lao


สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

ผศ. ก่อเกียรติ ขวัญสกุล โทร. 086-3768856 FB: Ajberm Msu

ดร. เหมมิ​ิญช์ ธนะปัทม์มีมณี โทร. 095-3979919 FB: AjChen Sangpothiyan

ดร. ธนดล ภูสีฤทธิ์ โทร. 087-4882555 FB: Thanadol Phuseerit

อ.ขนยุตฏษ์ ช้างเพชร์ โทร. 089-0002462 FB: AjIze Msu

59


แหล่งข้​้อมูล รัชนีวรรณ ตั้งภักดี “แนวทางการทำ� Project ในการฝึกงาน ประจำ�ปีการศึกษา 2558” ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2558. วราภรณ์ สินถาวร “การศึกษาจรรยาบรรณนักเทคโนโลยีการศึกษา” วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 2545.

เรียบเรียงโดย

ajberm


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.