ระบบการสํารวจขอมูลการมีงานทําของบัณฑิต/ความพึ่งพอใจนายจาง 1.บทนํา 1.1 ความตองการเบื้องตน ความตองการในการจัดเก็บขอมูลของบัณฑิตในแตละปการศึกษา มหาวิทยาลัยสามารถนําขอมูลดังกลาวไปชวยใน การปรับปรุง กําหนดทิศทาง สรางแผนกลยุทธในการเปดรับนักศึกษาใหมไดอยางสะดวกรวดเร็ว ขอมูลที่จัดเก็บที่เครื่องแม ขาย(Server) จะทําใหเรียกคนไดจากการเชื่อมตอของคอมพิวเตอรในระบบเครือขาย ดังนั้น ความตองการที่สําคัญคือ การ พัฒนาระบบสารสนเทศสําหรับการจัดเก็บขอมูลบัณฑิต ตองเกิดอยางมีประสิทธิภาพ จากในอดีตการจัดเก็บขอมูล หรือการสํารวจ จะเกิดตอนที่บัณฑิตเขามารายงานตัวเพื่อเขารวมพิธีพระราชทาน ปริญญาบัตร ลักษณะของขอมูลจะผานทางการทําแบบสํารวจในรูปแบบของแบบสอบถาม(Survey Form) การจัดเก็บขอมูล ลักษณะนี้ ตองทําการแปลขอมูลลงในระบบคอมพิวเตอร โดยสวนมากจะใชโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยวิเคราะหขอมูล อาทิ โปรแกรมไมโครซอฟตเอกเซล(Microsoft Excel) หรือ โปรแกรมเอสพีเอสเอส (SPSS) เปนตน ขั้นตอนของการจัดเก็บจากแบบสอบถาม อาจใหเกิดความไมสมบูรณของขอมูล อาทิเชน กรอกขอมูลไมครบถวน เก็บแบบสอบถามไดไมครบตามจํานวนที่ตองการ การวิเคราะหขอมูลดังกลาวตองใชเวลาในการกรอกหรือบันทึกขอมูลอีกครั้ง ดังนั้น ทําใหผลของการสํารวจขอมูลตองการเวลามากขึ้น
รูป 1 ภาพของระบบการสํารวจออนไลน
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จึงเห็นประโยชนของการพัฒนา ระบบสารสนเทศบัณฑิตและนายจางขึ้น เพื่อแกไขปญหาตางๆขางตน ตลอดจนเปนการพัฒนาสารสนเทศขึ้นมาใชงานเองของ หนวยงานและมหาวิทยาลัย ตลอดจนยังสามารถในการติดตามผลการประกันคุณภาพในแตละป ที่ตองรายงานตอสํานักงาน คณะกรรมการอุดมศึกษา และ สํานักมาตรฐานการศึกษาอีกทางหนึ่ง
1.2 หนวยงานที่เกี่ยวของ หนวยงานที่ดําเนินการจัดเก็บขอมูลบัณฑิต เปนหนาที่ของหนวยงานที่มีบัณฑิต เริ่มตั้งแตในระดับหลักสูตร คณะ และหนวยงานหลักของมหาวิทยาลัย สํานักสงเสริมวิชาการ ที่เปนหนวยงานในการเปนฐานขอมูลกลางที่ทราบรายละเอียดของ การอนุมัติบัณฑิตที่จบการศึกษาจากทางมหาวิทยาลัยในแตละเดือน หลักสูตรเปนหนวยงานที่ใกลชิดกับบัณฑิตมากที่สุด อาจารยในหลักสูตรจะทราบและรูจักบัณฑิตเปนอยางดี เมื่อ ตองการติดตามหรือทราบขอมูลในรายละเอียดสวนตัวจะสามารถติดตอทางหลักสูตรไดอีกทางหนึ่ง ขอมูลที่หนวยงานนี้ ตองการคือ การประสบความสําเร็จในการผลิตบัณฑิตในหลักสูตรในตลาดแรงงาน การทํางานที่ตรงกับสาขาวิชาที่สําเร็จ หรือ แมกระทั้งระดับเงินเดือน มีความสําคัญเปนอยางยิ่ง ที่ทางคณะกรรมการประจําหลักสูตรจะนําไปใชในการปรับปรุงเนื้อหาที่ สอน คณะเปนหนวยงานหลักของมหาวิทยาลัยที่ทําการพิจารณาและควบคุมหลักสูตรตางๆที่จะเปดรับนักศึกษาในแตละ เทอมการศึกษา ความชัดเจนของคุณภาพ ของคณาจารยและนักศึกษา ตลอดจนการสนับสนุนศักยภาพในการผลิตบัณฑิตของ หลักสูตรตางๆภายในคณะ จําเปนตองไดรับสารสนเทศในสวนนี้เชนเดียวกัน สํานักสงเสริมวิชาการ รับบทบาทที่สําคัญในการติดตามความสําเร็จของแผนและทิศทางตามกลยุทธของการ ปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัย โดยมีการควบคุมและดูแลการผลิตบัณฑิตของคณะตางๆใหไดตรงตามคุณภาพที่กําหนด การวาง ระดับความสําคัญของสารสนเทศที่เกิดขึ้นจึงเปนเสมือนหัวใจหลักของการพัฒนาระบบสารสนเทศของสถาบันวิจัยและพัฒนา ในการพัฒนาระบบการสํารวจขอมูลบัณฑิตออนไลน ผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต 1.3 ประโยชนที่ไดจากการทํางาน ระบบการสํารวจออนไลนจะทําหนาที่รองรับการจัดเก็บขอมูลจากบัณฑิต ในฐานขอมูลจะกอใหเกิดประโยชนตางๆดังตอไปนี้ -
การจัดเก็บขอมูลมีความสะดวกรวดเร็ว
-
ขอมูลที่ไดมีความถูกตองและสมบูรณ
-
หนวยงานตางๆสามารถเขาถึงขอมูลที่ตองการไดอยางสะดวก
-
การติดตามบัณฑิตสามารถทําไดผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต
-
รูปแบบรายงานมีหลากหลายเพื่อใชประกอบการตัดสอนใจ
-
ความสอดคลองของขอมูลและความตองการของผูใชสามารถปรับเปลี่ยนไดงาย
-
นําขอมูลและสารสนเทศที่ไดไปสนับสนุนการตัดสินใจและการวิเคราะหดานอื่นๆ
-
มหาวิทยาลัยมีฐานขอมูลของศิษยเกา
2.ระบบฐานขอมูล 2.1 ประเภทของขอมูล ขอมูลที่เกิดจากระบบการสํารวจจะแบงออกเปน 2 กลุมดวยกันคือ ขอมูลที่ใชในการอางอิง (Referencing Data) และ ขอมูลที่ไดจากการสํารวจ (Survey Data) ทั้งสองสวนนี้ จะประกอบกันเปนระบบฐานขอมูลเพื่อการจัดการสํารวจออนไลน (Survey Database System)
ขอมูลที่ใชในการอางอิง เปนขอมูลหลักของการทํางาน การจัดเก็บของขอมูลที่ใชเปนแหลงอางอิง จะไมมีการ เปลี่ยนแปลง อาทิ ขอมูลนักศึกษา(Student) ขอมูลจังหวัด(Province) ขอมูลระดับการศึกษา(Level of Study) ขอมูลคณะ(Faculty) ขอมูลหลักสูตร(Major) ประเภทของนักศึกษา(Student Type) เปนตน ดังนั้น เปนสวนที่มีความสําคัญตอการตีความ หรือให ความหมายกับระบบการทํางาน หากขอมูลในสวนของการอางอิงไมถูกตอง ก็จะทําใหระบบการทํางานของโปรแกรมที่ใชใน การสํารวจขอมูลจากบัณฑิต มีความนาเชื่อถือนอยลง ขอมูลจากการสํารวจ เปนขอมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด เกิดจากผูใช บัณฑิตทําการเพิ่มขอมูลเขาสูระบบ ฐานขอมูล ซึ่งก็คือขอมูลใหมนั่นเอง เปนขอมูลที่ใชในการประมวลผล หรือมีการเรียกใชมากที่สุด ความถูกตองของการทํางาน ขึ้นอยูกับ การอางอิงขอมูลจากขอมูลประเภทอางอิงนั่นเองอาทิ ขอมูลการสวนตัวของบัณฑิต(Budit) ขอมูลที่อยูอาศัย(Address) ที่ทํางาน(Company Address) การมีงานทํา(Work) การศึกษาตอ(Education) หรือ ขอมูลเบื้องตนของนายจาง(Company) และสวน ของขอมูลการสํารวจความพึงพอใจ เปนตน
2.2 ตารางขอมูล ขอมูลของระบบการสํารวจออนไลนจะทําการจัดเก็บไวใน ระบบฐานขอมูลในรูปแบบ ตาราง(Table) ที่ประกอบดวย กลุมขอมูลที่สําคัญๆ ตลอดจนมีการกําหนดคุณลักษณะ ขนาดการจัดเก็บขอมูล(Field width) ประเภท(Data type) หรือการ กําหนดการเขาถึงขอมูลผานทางคีย( Primary key) เปนตน
รูป 2 ตารางขอมูลหลักสูตร
ตารางของขอมูลหลักสูตรจะใชในการจัดเก็บขอมูลชื่อหลักสูตร รหัส คณะที่สังกัด
รูป 3 ตารางขอมูลของคณะ
ตาราง REF_FAC ใชในการจัดเก็บขอมูลของคณะ ชื่อและรหัสของคณะที่อยูในระบบ
รูป 4 ตารางขอมูลระดับการศึกษา
ตารางการจัดระดับการศึกษาของมหาวิทยาลัย อาทิ ระดับปริญญาตรี โท หรือ เอก เปนตน
รูป 5 ตารางขอมูลจังหวัด
ตารางการจัดเก็บรหัสของจังหวัดทั้ง 77 จังหวัดของประเทศไทย ขอมูลจังหวัดจะแทนคาความหมายของการจัดเก็บ ขอมูลในแบบสํารวจทําใหทราบรายละเอียดที่อยูและที่ทํางานของบัณฑิต
รูป 6 ตารางขอมูลประเภทนักศึกษา
ตารางขอมูลประเภทนักศึกษา จะเปนขอมูลในการอางอิงและแยกประเภทของนักศึกษา ซึ่งเปนสวนหนึ่งของรหัส ประจําตัวนักศึกษา อาทิ ประเภทนักศึกษาภาคปกติ ภาคพิเศษ กศ.ปช. หรือเรียนตามศูนยการศึกษาที่เปดสอนตางๆ
รูป 7 ตารางขอมูลเชื้อชาติ
ตารางขอมูลการกําหนดประเภทของเชื้อชาติ ขอมูลสวนนี้เปนสวนที่ใชแยกประเภทนักศึกษาที่เปนคนไทย หรือ นักศึกษาชาวตางประเทศ
รูป 8 ตารางขอมูลนักศึกษา
การระบุถึงคณะที่บัณฑิตศึกษา หรือสําเร็จการศึกษา จะถูกจัดเก็บลงในตารางขอมูลชื่อ
faculty โดยแบงตามคณะที่
ทําการเปดรับนักศึกษาของทางมหาวิทยาลัย ในตารางดังกลาวมีการระบุชื่อของคณะทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
รูป 9 ตาราง faculty ขอมูลรายชื่อคณะตางๆ
สําหรับขอมูลของหลักสูตร ตาราง major จะใชเปนสวนเก็บรายชื่อของหลักสูตรของคณะตางๆ ในที่นี้ จะเปนการ เชื่อมโยงไปยังคณะในตารางของ faculty โดยมีการจัดเก็บขอมูลรายชื่อของหลักสูตรเปนทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
รูป 10 ตาราง major เก็บขอมูลรายชื่อของหลักสูตร
ตารางขอมูลนักศึกษา เปนขอมูลที่ใชในการอางอิงหลักของระบบการสํารวจ ขอมูลในตารางนี้จะเปนการจัดเก็บ ขอมูลบัณฑิตที่จะเขารับพระราชทานปริญญาบัตรในแตละป จะประกอบดวยรายละเอียดเบื้องตนของบัณฑิต หมูเรียน และ หลักสูตรที่สําเร็จการศึกษา ลําดับตอไปเปนตารางขอมูลที่ใชในการจัดเก็บขอมูลของบัณฑิตที่ไดทําแบบสอบถามเรียบรอยแลว ดดยที่มีการ จัดเก็บขอมูลดังกลาวลงในตาราง
bundit ดังตอไปนี้ ขอมูลเหลานี้ไดมาจากการกรอกของบัณฑิต อาทิ เลขประจําตัวบัตร
ประชาชน ขอมูลเชื้อชาติ สัญชาติและโดยเฉพาะอยางยิ่ง การมีงานทําของบัณฑิตที่จบการศึกษาจากทางมหาวิทยาลัย
รูป 11 ตาราง bundit เพื่อเก็บขอมูลบัณฑิต
การจัดเก็บขอมูลของตารางนี้ จําเปนตองอาศัยตารางอื่นๆที่ใชในการอางอิงความหมายของขอมูล แตสําหรับ แบบสอบถามแลว จะมีการสรางตารางเพื่อจัดเก็บขอมูลเฉพาะของแบบสํารวจ เริ่มจาก ตารางงการทํางานที่มีชื่อวา
work เปน
สวนสําคัญที่ใชประกอบการวิเคราะหการไดงานทําของบัณฑิตแตละคน เมื่อมีการระบุประเภทของงานที่ทํา รายได หรือแม กระทั้งระยะเวลาของการไดงานทําของบัณฑิตแตละคน
ตารางที่จัดเก็บที่อยูของบัณฑิตในปจจุบัน หรือที่อยูที่สามารถติดตอได กลาวคือ สําหรับที่อยูที่ติดตอไดจะเก็บไวที่ ตาราง address และที่อยูบานหรือที่พักอาศัยหรือภูมิลําเนาของบัณฑิตไดนั้นจะเก็บไวที่ ตาราง home
รูป 12 ตาราง address เก็บที่อยูที่สามารถติดตอได
รูป 13 ตาราง home เก็บที่อยูตามภูมิลําเนา
ขอมูลของการมีงานทําในตาราง
work จะแสดงถึงรายละเอียดของสถานที่ทํางาน ที่อยู และตําแหนงของงานที่ทํา
เปนสวนที่ทางมหาวิทยาลัยจะนําไปใชในการสรางหรือพัฒนาเปนฐานขอมูลศิษยเกาไดอีกทางหนึ่ง ทายที่สุดมีการศึกษาตอใน ขณะที่ทํางาน ความตองการศึกษาตอจะทําใหวิเคราะหถึง การพัฒนาหลักสูตรที่สามารถทําการศึกษาตอได
รูป 14 ตาราง work จัดเก็บขอมูลการมีงานทําของบัณฑิต
ตาราง study เปนตารางที่ทําหนาที่ในการจัดเก็บขอมูลการศึกษาตอของทั้งบัณฑิตที่ไดงานทําและยังมิไดงานทํา เฉพาะขอมูลของบัณฑิตที่ทําการศึกษาตอ ดังนั้น เพื่อใหไดขอมูลที่ใกลเคียงกับความเปนจริงมากที่สุด ตารางนี้ จะทําหนาที่ เก็บขอมูลถึงระดับการศึกษา สาขาวิชาที่ศึกษาตอ
รูป 15 ตาราง study เก็บขอมูลกาสรศึกษาตอ
สําหรับขอมูลที่ผูที่ไดงานทําแตตอการศึกษาตอ จะแยกจัดเก็บไวที่ ทํา หรือสาเหตุของการยังไมไดงานทํา ไวในตารางนี้
jobstudy โดยจะใชในการแยกกลุมของผูที่ไดงาน
รูป 16 ตาราง jpbstudy เก็บขอมูลความตองการศึกษาตอ
ระบบสํารวจจะมีขอมูลจากนายจางหรือผูประกอบการที่ทางมหาวิทยาลัยตองการทราบ รายละเอียดสวนนี้ลงใน ตาราง company จะเปนขอมูลที่ไดจากนายจางโดยตรง สําหรับบัณฑิตที่มีงานทํา หรือมีรายไดในแตละเดือน ขอมูลความพึ่ง พอใจ เปนตัวใชในการบงบอกคุณภาพของการผลิตบัณฑิตของทางมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ ยังทําการสํารองไวสําหรับการ เรียกคนจากทางคณะและหลักสูตรในตารางชื่อ companyFaculty เพื่อความรวดเร็วในการเขาถึงขอมูลในกรณีที่มีการเรียกใชงาน จากตารางพรอมๆกัน แบบสอบถามนายจาง จะเปนการจัดกลุมวัดความพึ่งพอใจในแตละดานของบัณฑิต ที่ทํางานตามองคกรตางๆ อาทิ ดานความรู ดานคุณธรรม และจิตอาสา เปนตน นอกจากนี้ ขอมูลที่สําคัญคือ การที่มีโอกาสไดไปทํางานในตางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในกลุมประเทศอาเซียน สําหรับลักษณะเฉพาะของหลักสูตร หรือ คณะตาๆง ก็ไดมีการสํารวจเฉพาะขึ้น ซึ่งคําถามของกลุมเฉพาะนี้ เพื่อ ประโยชนในการนําขอมูลที่ไดจากการสํารวจไปพัฒนาและปรับปรุงทิศทางของการผลิตบัณฑิต
รูป 17 ตาราง company เก็บขอมูลจากนายจาง
2.3 ฐานขอมูลของระบบ การพัฒนาฐานขอมูลของระบบการสํารวจออนไลน จําเปนตองอาศัยความรูทางดานการออกแบบฐานขอมูล เหมือนกับการพัฒนาระบบฐานขอมูลในรูปแบบอื่นๆ แตจะแตตางกันที่ ฐานขอมูลชนิดออนไลน จะเปดโอกาสใหผูใชงานได เขามาเพิ่ม ปรับปรุงหรือแกไขขอมูลผานทางเครือขายอิเนเทอรเน็ต หรือที่เรียกวา ฐานขอมูลบนเว็บ(web database)
เครือแมขาย จะแบงออกเปนสองสวนดวยกัน คือ สวนของการเก็บขอมูลเว็บไซต (Web Server) และสวนของการร จัดเก็บฐานขอมูล (Database Server) อยางไรก็ตามเพื่อความสะดวก ระบบฐานขอมูลที่พัฒนาขึ้นนนี้จะใชเครื่องแมขายชนิด เดียวงกันกับเครื่องแมขายเว็บ
รูป 18 ภาพรวมระบบฐานขอมูล และเครื่องแมขาย
ฐานข้ อมูลของแบบสํารวจ จะใช้ ข้อมูลหลักคือ ข้ อมูลนักศึกษา(Student) ที่เชื่อมไปยัง แบบสํารวจประเภทต่าง คือ แบบสํารวจของการมีงานทํา (work) แบบสํารวจการศึกษาต่อ(Study) แบบสํารวจการมีงานทําและต้ องการศึกษาต่อ ุ คือข้ อมูลจากแบบสํารวจของนายจ้ างหรื อผู้ประกอบการ(company) (jobstudy) และท้ ายที่สด
รูป 19 ระบบฐานขอมูลการสํารวจออนไลน
ระบบฐานข้ อมูลของการสํารวจออนไลน์ จะเชื่อมโยงข้ อมูลที่ใช้ ในการอ้ างอิง (Reference table) และข้ อมูลที่ ใช้ ในการจัดเก็บจากสมาชิกหรื อผู้ใช้ โดยตรง (Database Table) จากรูปแผนผัง UML ข้ างต้ น ข้ อมูลหลัก อาทิ Student
Faculty และ Major จะใช้ เป็ นข้ อมูลที่ได้ จากหน่วยงาน สํานักส่งเสริ มวิชาการของมหาวิทยาลัย ซึง่ ในแต่ละปี
ข้ อมูลของ
ผู้สําเร็จการศึกษาจะได้ รับอนุมตั ิจาก คณะกรรมการสภาวิชาการของมหาวิทยาลัย การจําแนกข้ อมูลของการสํารวจจะ แยกลงถึงระดับหลักสูตร เพื่อใช้ ประกอบข้ อมูลการประกันคุณภาพ ข้ อมูลที่ได้ จากผู้ใช้ โดยตรง จากนักศึกษาหรื อผู้สําเร็จการศึกษาคือ และมีการจัดเก็บข้ อมูลจากผู้ประกอบการคือ
Work Bundit JobStudy และ Study
Company ที่มีการจัดเก็บความพึง่ พอใจในแต่ละด้ าน
3.ออกแบบการทํางาน ในการทํางานของการสํารวจออนไลน ตองแบงออกเปนขั้นตอนตางๆอยางชัดเจน โดยเฉพาะ ผูใชที่แบงออกเปน 2 ประเภท คือ บัณฑิต และผูประกอบการหรือนายจาง การควบคุมการทํางานของแตละขั้นตอน ไมสามารถที่จะขามขั้นตอนตางๆได โดย มีการแบงการจัดเก็บขอมูลในแตละขั้นตอนลงในตาราง
3.1 การรับขอมูล
รูป 20 สวนของขอมูลการสํารวจออนไลน
ในการรับขอมูลจะแบงพื้นที่ออกเปน 3 สวนคือ สวนที่ 1 รายงาน สวนที่ 2 ขอมูล และสวนที่ 3 การทํา แบบสอบถาม โดยที่ สวนที่ 1 จะแสดงรายงานในระดับตางๆ โดยเริ่มจาก ภาพรวมของมหาวิทยาลัย รายงานระดับหลักสูตร และ ตลอดจนการพิมพใบรายงานตัว เพื่อนําไปชําระเงินที่ธนาคาร
สวนที่ 2 เปนสวนของการแสดงความเคลื่อนไหวของขอมูลตางๆ อาทิ การแสดงขั้นตอนการทํางาน จํานวนของคนที่ ทําแบบสอบถาม ทั้งสวนของบัณฑิตและนายจาง นอกจากนี้ ยังนําเสนอออกเปนรอยละ เพื่อใชในการติดตามผลการทําแบบ วอบถามตางๆ สวนที่ 3 สวนของการเขาทําแบบสอบถามของบัณฑิตและนายจาง/ผูประกอบการ ซึ่งสวนนี้มีความสําคัญในการเปด ใหผูใชเขาไปทําแบบสอบถาม นอกจากนี้เปนการเชื่อมโยงขอมูล หรือสิทธิในการเขาทําแบบสอบถามจากฐานขอมูลที่กําหนด
รูป 21 การปอนขอมูลสําหรับบัณฑิต
สําหรับบัณฑิตก่อนที่จะทําแบบสอบถามได้ จะต้ องเข้ าสูร่ ะบบการสํารวจด้ วยการกรอก รหัสประจําตัวนักศึกษา และวันเดือนปี เกิดให้ ถกู ต้ อง ข้ อมูลที่ได้ จากการอ้ างอิงนี ้ หน่วยงานสํานักส่งเสริ มวิชาการ ข้ อมูลที่ป้อนต้ องมีความถูกต้ อง ทังสองส่ ้ วน
รูป 22 การปอนขอมูลของนายจาง
สําหรับผู้ใช้ บณ ั ฑิต หรื อนายจ้ างต้ องทําการกรอกรหัสประจําตัวนักศึกษาก่อนที่จะเข้ าทําแบบสอบถามโดยปกติ นายจ้ างจะต้ องได้ รับการติดต่อ หนังสือจากทางมหาวิทยาลัย ที่บณ ั ฑิตสามารถที่จะทําการขอได้ ผา่ นทางเว็บการทําแบบ สํารวจออนไลน์ หนังสือขอความอนุเคราะห์จากนายจ้ าง เพื่อทําแบบสอบถาม จะกล่าวถึงรายละเอียดข้ อมูลที่สําคัญ เพื่อให้ นายจ้ างสามารถเข้ ามาทําการทําแบบสอบถามจากเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยได้ ข้ อมูลดังกล่าว บัณฑิตจะทําการกรอก รหัสประจําตัวนักศึกษา เพื่อแสดงรายละเอียดของการจบการศึกษาของบัณฑิตได้ ซึง่ จะประกอบด้ วย รหัส หลักสูตรและ คณะที่สําเร็จการศึกษา และสําคัญที่สดุ คือ
URL ของเว็บไซต์ที่จะให้ นายจ้ างเข้ าไปทําแบบสอบถาม
รูป 23 การปอนเพื่อของหนังสือใหนายจาง
รูป 24 หนังสือขอความอนุเคราะหนายจางใหทําแบบสอบถาม
3.2 การออกแบบขัน้ ตอน สําหรับขันตอนที ้ ่สําคัญคือการทําแบบสอบถามจากทางบัณฑิต ที่แบ่งออกเป็ น 4 ขันตอน ้ คือข้ อมูลทัว่ ไป ข้ อมูล การทํางาน ข้ อมูลการศึกษาต่อ ดังรายละเอียดต่อไปนี ้ ตอนที่ 1 ข้ อมูลทั่วไป จะเป็ นการเก็บรายละเอียดข้ อมูลของบัณฑิต ส่วนมากเป็ นข้ อมูลพื ้นฐาน อันได้ แก่ เลขประจําตัว ประชาชน สัญชาติ เชื ้อชาติ ที่อยูต่ ามทะเบียนบ้ าน และที่สําคัญคือ การระบุสถานะภาพการทํางานของบัณฑิตที่ระบบ จะใช้ ในการควบคุมการป้อนข้ อมูลในขันตอนต่ ้ อไป ในการป้อนข้ อมูล ระบบจะมีการจัดเก็บข้ อมูลทุกครัง้ โดยสามารถที่จะ เข้ ามาทําการปรับปรุงข้ อมูลให้ ถกู ต้ องได้ ตลอดเวลา
รูป 25 ขั้นตอนการปอนขอมูลทั่วไป
ตอนที่ 2 การสมัครงานและการทํางาน ขันตอนนี ้ ้ เป็ นการระบุรายละเอียดการทํางาน ระยะเวลาการทํางาน ประเภท การทํางาน เงินเดือนที่ได้ รับ นอกจากนี ้ ยังระบุถึงตําแหน่งของการทํางาน ชื่อหัวหน้ าหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง ใน ส่วนนี ้จะใช้ ในการเชื่อมต่อไปยังความพึง่ พอใจต่อการผลิตบัณฑิตในด้ านต่างๆ นอกจากนี ้ยังมีการกําหนดระยะเวลาของการได้ งานทํา เงินเดือนที่ได้ รับ ตลอดจนงานที่ทํามีความสอดคล้ องกับ วาขาที่สําเร็จการศึกษาหรื อไม่ การที่มีข้อมูลในส่วนนี ้ จะเป็ นประโยชน์ให้ เห็นภาพรวมของการผลิตบัณฑิตในสาขาและ หลักสูตรต่างๆของคณะที่ทําการเปิ ดรับนักศึกษา ท้ ายที่สดุ ของขันตอนนี ้ ้ คือการศึกษาต่อ หรื อมีความต้ องการจะศึกษาต่อหรื อไม่ หากมีการศึกษาต่อจะมีการระบุ รายละเอียดเพิ่มมากขึ ้นในขันตอนที ้ ่4 ตอนที่ 3 การมีงานทํา เป็ นส่วนสําหรับบัณฑิตที่ยงั ไม่ได้ มีรายได้ จากการทํางาน หรื อประกอบอาชีพอิสระต่างๆ ข้ อมูลที่ ต้ องการเพิ่มจากส่วนนี ้ จะเป็ นสาเหตุของการไม่ได้ งานทํา หรื อเหตุผลของการที่ไม่ได้ งาน เป็ นข้ อมูลที่ทางหลักสูตรหรื อ คณะ จะนําไปใช้ ประกอบการปรับปรุงการผลิตบัณฑิตป้อนสูต่ ลาดแรงงาน ตอนที่ 4 การศึกษาต่ อ เป็ นการระบุรายละเอียดของการทํางานที่ต้องการศึกษาต่อในระดับที่สงู ขึ ้น หรื อมีการศึกษาต่อ ในระดับใด สาขาที่ต้องการศึกษาต่อเป็ นสาขาเดียวกันกับที่จบการศึกษาหรื อไม่
รูป 26 สวนของการปอนขอมูลการมีงานทํา
แบบสอบถามในแต่ละแบบ จะมีการออกแบบที่ไม่เหมือนกัน การตรวจสอบความถูกต้ องของข้ อมูลจะทําอยูท่ กุ คําถาม เพื่ออํานวยความสะดวกให้ ผ้ ใู ช้ ใช้ งานได้ ง่ายที่สดุ
รูป 27 สวนการปอนขอมูลการมีงานทํา
รูป 28 สวนการปอนขอมูลการศึกษาตอ
ในการดําเนินการทําแบบสอบถามของบัณฑิตทุกคน เมื่อดําเนินการเรี ยบร้ อย ขันตอนท้ ้ ายที่สดุ คือการชําระเงิน ในระบบการทําแบบสํารวจออนไลน์ยงั มีการสร้ างใบชําระเงิน เพื่อไปยื่นชําระที่ธนาคารทุกแห่งทัว่ ประเทศ ในส่วนนี ้มีการ ประสานการทํางานระหว่างมหาวิทยาลัย และทางธนาคาร (ในที่นี ้ มหาวิทยาลัยได้ ประสานกับธนาคารกรุงไทย) เพื่อให้ เกิดความสะดวกต่อบัณฑิตในการชําระเงินค่าฝึ กซ้ อมต่างๆ
รูป 29 ใบชําระเงินคาฝกซอม
นอกจากนี ้ส่วนของการเก็บข้ อมูลจากนายจ้ างหรื อผู้ประกอบการ จะทําให้ เราได้ ข้อมูลของการผลิตบัณฑิตจากหลักสูตรที่ เปิ ดสอนของคณะต่างๆในมหาวิทยาลัย
รูป 30 แบบสํารวจขอมูลจากนายจาง
ในแบบสอบถามนายจ้ างจะแบ่งออกเป็ นสองส่วนคือ ส่วนข้ อมูลของนายจ้ าง และส่วนของการแสดงความ คิดเห็นต่อบัณฑิตที่ทํางานในหน่วยงาน ด้ านต่างๆจํานวน 5 ด้ านคือด้ านความรู้ ด้ านคุณธรรมจริ ยธรรม ด้ านทักษะทาง ปั ญญา ด้ านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้ านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและ เทคโนโลยีสารสนเทศ และอีกหนึง่ ด้ านอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย นอกจากนี ้ ยังมีการสอบถามการทํางานในกลุม่ ประเทศอาเซียนของหน่วยงานในการส่งบัณฑิตไปดูงาน หรื อทํางานในกลุม่ ประเทศดังกล่าว
4.รายงาน รายงานของการสํารวจออนไลนจะถูกประมวลผลไดตลอดเวลาเมื่อมีการปอนขอมูลเขาสูระบบ รายงานดังกลาวจะเรียกคน จากฐานขอมูลที่ออกแบบไวโดยตรง เพื่อใหเกิดความสะดวกและรวดเร็วจึงไดแบงรายงานออกเปนสองสวนดวยกันคือ รายงาน ระดับมหาวิทยาลัย และรายงานระดับหลักสูตร
6.1 รายงานระดับมหาวิทยาลัย
รูป 31 รายงานระดับมหาวิทยาลัย
รายงานระดับมหาวิทยาลัย จะแสดงให้ เห็นถึงภาพในระดับคณะต่างๆของมหาวิทยาลัย ต่อการมีงานทําของบัณฑิต ทัง้ ระดับการศึกษาตังแต่ ้ ปริญญาตรี โท และเอก นอกจากนี ้ ภาพรวมทุกระดับการศึกษายังสามารถแสดงให้ เห็นอย่างชัดเจน ทังในรู ้ ปแบบของข้ อมูลดิบ และร้ อยละ ในส่วนนี ้จะมีรายงานทังสิ ้ ้น 4 รายงาน คือ รายงานข้ อมูลทัว่ ไป รายงานของการสมัครงานและการมีงานทํา รายงานการหา งานทํา และรายงานการศึกษาต่อ ในส่วนท้ ายจะมีภาพของรายงานความพึง่ พอใจของนายจ้ างต่อการผลิตบัณฑิต
6.2 รายงานระดับคณะ/หลักสูตร รายงาน
7. บทสรุปและขอเสนอแนะ 7.1 ผลการใชงาน 7.2 ขอเสนอแนะ