การออกแบบการวิจัย

Page 1

บทที่ 3 การออกแบบการวิจัย ดร. วสันต ทองไทย เมื่อผูจัดทําโครงการไดกําหนดเรื่องในการทําโครงการไดแลว ผูจัดทําโครงการจะตอง ออกแบบการวิจัยใหเหมาะสมกับเรื่องที่จะทํานั้น โดยการวางเคาโครงความคิดและแผนในการ ดําเนินการโครงการ ที่จะชวยใหผูจัดทําโครงการเห็นภาพตลอดแนวของการดําเนินการโครงการทุก ๆ ดานอยางชัดเจน ผลของการออกแบบการวิจัยจะทําใหไดแบบการวิจยั (research design) ซึ่ง เปรียบเสมือนพิมพเขียวที่บอกใหผูจดั ทําโครงการทราบวาจะตองดําเนินการอยางไร ตองระมัดระวังใน เรื่องใด และไมควรทําอะไรในกระบวนการวิจัย ดังนัน้ การเรียนรูเกีย่ วกับการออกแบบการวิจยั จะชวย ใหผูจัดทําโครงการรูหลักการในการออกแบบการวิจยั ที่เหมาะสมกับคําถามวิจัย สามารถวางแผน ดําเนินการวิจยั ทุกขั้นตอนใหสอดคลองและบรรลุวัตถุประสงคของโครงการไดอยางมีประสิทธิภาพ จุดมุงหมายของการออกแบบการวิจัย การออกแบบการวิจยั มีจุดมุง หมายที่สําคัญ 2 ประการคือ 1. เพื่อใหไดคาํ ตอบของคําถามวิจัยที่ถูกตอง เทีย่ งตรงเชื่อถือได เปนปรนัยและประหยัดให มากที่สุด ในกรณีนี้การออกแบบการวิจยั จึงเปนการสรางกรอบแนวคิดในการศึกษาความสัมพันธ ระหวางตัวแปรตาง ๆ แบบวิจยั จะชี้แนะแนวทางในการจัดเก็บขอมูลและแนวทางในการวิเคราะห ขอมูลใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อควบคุมความแปรปรวนของตัวแปรในการวิจัย ซึ่งวิธีการควบคุมความแปรปรวนมี หลักการ 3 ประการคือ การศึกษาใหครอบคลุมขอบขายของปญหาการวิจยั ใหมากที่สุด การควบคุม อิทธิพลของสิ่งตาง ๆ ที่ไมอยูในขอบขายของการวิจัยแตสงผลตอการวิจัยใหไดมากที่สุดและการลด ความผิดพลาดคลาดเคลื่อนใหไดมากที่สุดเทาที่จะทําได องคประกอบของการออกแบบการวิจัย การออกแบบการวิจยั ที่มีประสิทธิภาพมุงที่จะใหไดผลการดําเนินโครงการตามวัตถุประสงค ของโครงการอยางเที่ยงตรงและนาเชื่อถือ ซึ่งมีองคประกอบของการออกแบบการวิจัยที่สําคัญมี 3 ประการคือ การออกแบบการวัดตัวแปร (measurement design) การออกแบบการสุมตัวอยาง (sampling design) และการออกแบบการวิเคราะหขอมูล (statistical design) 1.การออกแบบการวัดตัวแปร ประกอบดวยการวางแผนกําหนดวิธีการวัดหรือพัฒนาเครื่องมือ วัดตัวแปร โดยมีกิจกรรมสําคัญดังนี้


20

1.1 กําหนดวัตถุประสงคของการวัดใหครอบคลุมและชัดเจน 1.2 ระบุโครงสรางและความหมายของตัวแปรที่ตองการวัดใหชัดเจน 1.3 กําหนดมาตรวัด (scale) และสรางเครื่องมือวัดใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการ วัดและตัวแปรที่ตองการจะวัด 1.4 ตรวจสอบคุ ณ ภาพของเครื่ อ งมื อ ในด า นความตรง (validity) และความ เชื่ อ มั่ น (reliability) 1.5 กําหนดวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล โดยระบุวิธีการ ชวงระยะเวลาในการเก็บรวบรวม ขอมูล 1.6 กําหนดรูปแบบและวิธีวัดคา หรือควบคุมตัวแปรเกิน ซึ่งอาจใชวธิ ีการจัดสมาชิกเขา กลุมโดยการสุม (random assignment) การนําตัวแปรเกินมาใชเปนตัวแปรอิสระ การจัดสภาพการณนั้น ใหคงที่เพื่อขจัดอิทธิพลของตัวแปรเกิน และการควบคุมตัวแปรเกินดวยวิธีการทางสถิติ 2. การออกแบบการสุมตัวอยาง ประกอบดวยการวางแผนกิจกรรมสําคัญ ดังนี้ 2.1 การกําหนดรูปแบบและวิธีการสุมตัวอยาง โดยการจัดทํากรอบการสุมที่สมบูรณ และ เลือกวิธีการสุมตัวอยางที่ทาํ ใหไดตัวอยางที่เปนตัวแทนที่ดีของประชากร ซึ่งจะตองเปดโอกาสใหทุก หน ว ยของประชากรมี โ อกาสที่ จ ะได รั บ การคั ด เลื อ กเป น กลุ ม ตั ว อย า งเท า ๆกั น หรื อ ที่ เรี ย กการสุ ม ตัวอยางลักษณะนีว้ า การสุม ตัวอยางโดยใชทฤษฎีความนาจะเปน (probability sampling) ซึ่งแบงออกเปน 5 วิธี ไดแก วิธีสุมตัวอยางแบบงาย (simple random sampling) วิธีสุมตัวอยางแบบมี ระบบ (systematic random sampling) วิธีสุมตัวอยางแบบแบงชั้นภูมิ (stratified random sampling) วิธี สุมตัวอยางแบบกลุม (cluster random sampling) และ วิธีสุมตัวอยางแบบหลายขัน้ ตอน (multi-stage sampling) ในบางกรณีผูจดั ทําโครงการไมสามารถใชวิธีสุมตัวอยางดังกลาวขางตนได เนื่องจากมี ขอจํากัดตางๆ ดังนั้นจึงตองใชการเลือกตัวอยางอีกแบบหนึ่งซึ่งเรียกวา การสุมตัวอยางโดยไมใชทฤษฎี ความนาจะเปน (non-probability sampling) เปนการสุมตัวอยางโดยไมคํานึงถึงโอกาสของประชากรแต ละหนวยทีจ่ ะไดรับการเลือกเทาๆกันเพื่อความเหมาะสม ตําราหลายเลมจึงใชคําวาวิธีการเลือก (selection) แทนคําวา วิธีการสุม (sampling) เพราะเปนวิธีการเลือกตัวอยางโดยไมมีการสุม ทําใหได ตั ว อย า งที่ ไ ม ใ ช ตั ว แทนที่ ดี ข องประชากรศึ ก ษา วิ ธี ก ารเลื อ กตั ว อย า งแบบตามความ สะดวก (convenience selection) วิธีเลือกตัวอยางแบบโควตา (quota selection) วิธีเลือกตัวอยางแบบ ลูกโซ (snowball selection) และวิธีเลือกตัวอยางแบบเฉพาะเจาะจง (purposive selection) 2.2 การกําหนดขนาดกลุมตัวอยางที่เหมาะสม โดยใชหลักการทางทฤษฎี ซึ่งพิจารณาจาก สูตรคํานวณขนาดกลุมตัวอยางที่เหมาะสม และหลักการทางปฏิบัติซึ่งพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู ขนาดของกลุมตัวอยางที่เหมาะสมเปนขนาดที่พอดีระหวางหลักการทางทฤษฎีและหลักการทางปฏิบัติ


21

3. การออกแบบการวิเคราะหขอมูล ซึ่งกิจกรรมที่ผูจดั ทําโครงการตองวางแผนเกี่ยวกับการ วิเคราะหขอมูล ประกอบดวย 3.1 การเลือกใชสถิตที่สอดคลองกับคําถามการวิจยั และเหมาะสมกับมาตรวัดตัวแปร (scale) และวัตถุประสงคของการวิจยั รวมทัง้ การวิเคราะหและบรรยายขอมูลกลุมตัวอยางที่ถูกตอง 3.2 การเลือกใชสถิติเชิงสรุปอางอิงที่เหมาะสมกับขอตกลงเบื้องตน (basic assumption) และวัตถุประสงคของการวิจัย รวมทั้งการวิเคราะหขอมูลและแปลความหมายขอมูลไดอยางถูกตอง จุดเนนที่สําคัญของการออกแบบการวิจัย จุดเนนที่สําคัญของการออกแบบการวิจัย คือ ความตรง (validity) ซึ่งแบงออกได 2 ประเภท คือ 1. ความตรงภายใน (internal validity) หมายถึง การวิจัยทีไ่ มมีตัวแปรเกินแทรกซอน หรือ ผลการวิจัยนัน้ ไดรับผลมาจากตัวแปรอิสระโดยตรง ซึ่งปจจัยที่มีผลตอความตรงภายใน มีดังนี้ 1.1 เหตุการณ (history) ระหวางดําเนินการทดลองอาจมีเหตุการณบางอยางที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากตัวแปรอิสระ ซึ่งสงผลกระทบตอตัวแปรตาม วิธีการปองกัน ก็คือ พยายามใหกลุม ตัวอยางอยูแยกจากเหตุการณพิเศษตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นใหอยูในสภาพธรรมชาติทั่วไปใหมากที่สุด 1.2 วุฒภิ าวะ (maturation) กระบวนการทีใ่ ชในการรวบรวมขอมูล หรือการทดลองที่นาน เกินไป ทําใหกลุมตัวอยางที่ใชในการทดลองที่ความพรอมมากขึ้น หรือในทางตรงกันขามกันการ ซึ่งมีผลทําใหขอมูลที่ไดมาเกิดความ ทดลองนานเกินไปอาจทําใหกลุมตัวอยางเกิดความเบื่อหนาย คลาดเคลื่อน วิธีการปองกันก็คือ การใชเวลาในการทดลองใหพอเหมาะไมสั้น หรือนานจนเกินไป และ พยายามใชกลุม ตัวอยางที่มีอตั ราการพัฒนาการทางวุฒภิ าวะของสิ่งที่จะศึกษา ในระดับที่ต่ําเพื่อลดการ เจริญงอกงาม 1.3 การทดสอบ (testing) การทดลองที่มีการใชการทดสอบโดยใชขอสอบฉบับเดียวกัน อาจมีผลกระทบตอคาของตัวแปรตามอันเนือ่ งมาจากกลุมตัวอยางสามารถจําขอสอบได ดังนั้นถามี ความจําเปนจะตองมีการทดสอบสองครั้งควรใชขอสอบคูขนาน (parallel form) หรือแบบทดสอบที่มี ลักษณะเทียบเทาคูขนาน (equivalent form) 1.4 เครื่องมือ (instrument) ถาเครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูลมีคุณภาพไมเพียงพอ อาจ ทําใหขอมูลที่ไดมาคลาดเคลื่อนจากความเปนจริง ดังนั้นผูจัดทําโครงการจะตองระมัดระวังในเรื่อง คุณภาพของเครื่องมือ และมีการเก็บรวบรวมขอมูลที่เปนมาตรฐานเดียวกัน 1.5 การสูญหาย (mortality) ถาสมาชิกในกลุมตัวอยางหายไปในระหวางที่ดําเนินการ ทดลองอาจมีผลตอการวิจัยนัน้ โดยเฉพาะกลุมตัวอยางทีไ่ ดคะแนนสูงสุด หรือต่ําสุด ดังนั้นพยายาม


22

จัดการทดลองอยางสั้นกระชับ อธิบายใหกลุมตัวอยางเขาใจแนวทางในการปฏิบัติ ตลอดจนการโนม นาวใจใหกลุมตัวอยางอยูรวมโครงการทดลองจนจบ 1.6 ความลําเอียงในการเลือก (selected bias) การเลือกสมาชิกเขามาทําการทดลอง ถา ผูจัดทําโครงการมีความลําเอียงตั้งแตตน จะสงผลกระทบตอการวิจยั เชน การเปรียบเทียบการสอนสอง กลุมผูจัดทําโครงการมีความลําเอียงในการเลือกกลุมตัวอยางวิธีสอนทีห่ นึ่งเลือกเพราะนักเรียนที่เกง สวนวิธีสอนทีส่ องเลือกเฉพาะนักเรียนที่ออ น ดังนัน้ พยายามใชวิธีการสุมตัวอยางจากประชากร และ สุมตัวอยางเขากลุมการทดลองหรือใชวิธีการจับคูกลุมตัวอยางบนตัวแปรเกินที่สําคัญๆ เพื่อแยกเขา กลุมการทดลอง 1.7 ความแตกตางระหวางผูสังเกต หรือผูทําการทดลอง ในการวิจยั เชิงทดลองอาจมีการ เปรียบเทียบระหวางกลุม ถาใชผูสังเกต หรือผูทดลองที่มีความสามารถตางกัน อาจสงผลตอผลของการ วิจัย ดังนั้น ในการสังเกต หรือการทดลองที่ตองใชผูจัดทําโครงการหลายคน จะตองมีการอธิบายหรือ หาแนวทางในการสังเกตหรือทดลองรวมกัน เพื่อใหเปนแนวทางเดียวกัน 1.8 การถดถอยทางสถิติ (Statistical regression) หมายถึง การที่คะแนนของกลุมตัวอยางที่ ไดคะแนนสูง และกลุมตัวอยางที่ไดคะแนนต่ํา จะมีแนวโนมเขามาคาเฉลี่ย หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวาผูที่ ไดคะแนนต่ํากวาคาเฉลี่ยในครั้งแรกมาก ยอมมีโอกาสไดคะแนนสูงขึ้นในการสอบครั้งที่สอง ดังนั้น ไมควรเลือกกลุมตัวอยางที่มคี ะแนนสุดขั้วมาทําการศึกษาเปรียบเทียบกัน ควรใชกลุมตัวอยางที่มี ลักษณะปานกลางโดยทั่วไป 2. ความตรงภายนอก (external validity) หมายถึง การวิจัยที่สามารถสรุปอางอิงผลการวิจยั จากกลุมตัวอยางไปยังกลุมประชากรได ปจจัยที่มีผลตอความตรงภายนอก มีดังนี้ 2.1 ปฏิสัมพันธระหวางการคัดเลือกกลุมตัวอยาง และตัวแปรทดลอง (Interaction effects of selection biases and treatment) เปนผลรวมกันระหวางการเลือกกลุมตัวอยางที่ไมเปนตัวแทนที่ดี ของประชากรและตัวแปรทดลองที่นํามาศึกษากลับกลุมตัวอยางนั้นไมเหมาะสมกัน ทําใหไมสามารถ สรุปผลการวิจัยกลับไปยังประชากรไดอยางสมบูรณ เชน การเลือกกลุมตัวอยางโดยเจาะจงผูท ี่มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง หรือใชอาสาสมัครเปนกลุมทดลอง ผลการวิจัยจะนําไป อางอิงไดกับ ประชากรที่เจาะจงผูมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง หรืออาสาสมัครเทานั้น จะไมสามารถอางอิงไปยัง กลุมอื่นได 2.2 ปฏิกิริยรวมระหวางการทดสอบครั้งแรกกับวิธีทดลอง (Interaction effect of testing and treatment) เปนผลจากการรทดสอบครั้งแรกที่ไปกระตุนใหกลุมทดลองมีการตอบสนองตอวิธีการ ทดลองเปลี่ยนไป จนทําใหผลการทดสอบครั้งหลังเพิ่มขึ้นหรือลดลง ดังนั้นผลการทดสอบครั้งหลังจึง ไมไดมาจากตัวแปรอิสระเพียงอยางเดียว การสรุปอางอิงไปยังประชากรยังไมสมบูรณทําใหเกิดความ คลาดเคลื่อนได


23

2.3 ปฏิกิริยาอันเนื่องมาจากวิธีการทดลอง (reaction effect of experimental procedures) วิธีการทดลองอาจมีผลตอตัวแปรตามโดยทีต่ ัววิธีการนั้นไมไดเปนตัวแปรอิสระอยางใด เชน เมื่อกลุม ตัวอยางรูตวั วาอยูในกลุมทดลองจึงเกิดความกระตือรือรนตั้งใจเปนพิเศษทําใหผลการทดลองออกมาสูง ซึ่งเปนความคลาดเคลื่อนประเภทหนึ่งที่เรียกวาฮอธอรน เอฟเฟค (Hawthorne effect) และในกรณีเมื่อ กลุมควบคุมรูวาจะตองแขงขันกับกลุมทดลอง จึงมุมานะเปนพิเศษ ทําใหผลการทดลองออกมาสูง เชนกัน ซึ่งเปนความคลาดเคลื่อนที่เรียกวา จอหน เฮนรี่ เอฟเฟค (John Henry effect) 2.4 ปฏิกิริยารวมจากหลายๆ วิธีการจัดทํากระทํา (multiple treatment interference) เปนผล รวมกันของวิธีการจัดกระทําครั้งกอนอาจจะยังคงเหลืออยูแลวไดรับวิธกี ารจัดกระทําใหมเขาไปอีก ทํา ใหไมสามารถทราบไดวา เปนผลของวิธีการจัดกระทําวิธใี ดอยางแทจริง เชน ในกรณีทดลองสอนดวย วิธีสอน 2 วิธีในกลุมตัวอยางเดียวกัน วิธสี อนวิธีแรกอาจจะแทรกซอน หรือมีอิทธิพลรวมกับวิธสี อน ครั้งหลังที่สงผลตอการทดลองครั้งหลังแลวทําใหคะแนนดีขึ้นกวาที่ควรจะเปนก็ได ลักษณะของการออกแบบการวิจัยที่ดี ลักษณะของการออกแบบการวิจัยทีด่ ีมี 4 ประการ ดังนี้ 1. ปราศจากความลําเอียง (freedom from bias) การออกแบบการวิจยั ที่ดีตองปราศจากอคติ หรือความลําเอียงใดๆ ที่จะทําใหการไดมาซึ่งขอมูลและการวิเคราะหขอ มูลมีความผิดพลาดได จะตอง เปนการออกแบบการวิจยั ที่จะชวยใหไดขอมูลอยางเที่ยงตรง เชื่อถือไดและนําไปสูการตอบปญหาวิจัย ไดอยางถูกตอง ชัดเจน 2. ปราศจากความสับสน (freedom from confounding) ความสับสนในที่นหี้ มายถึง ความ แปรปรวนของตัวแปรตามอันเกิดจากตัวแปรอิสระหรือตัวแปรแทรกซอนหลายตัวจนแยกไมออกทําให ไมสามารถสรุปไดวาตัวแปรใดเปนสาเหตุของความแปรปรวนในตัวแปรตาม ดังนั้นแบบการวิจัยที่ดี จะตองชวยขจัดตัวแปรแทรกซอนที่เปนสาเหตุของความแปรปรวนในตัวแปรตามได 3. สามารถควบคุมตัวแปรภายนอกได (control of extraneous variables) การออกแบบการวิจยั ที่ดีจะตองสามารถควบคุมตัวแปรภายนอกได ทําใหเปนตัวแปรควบคุม เปนตัวคงที่หรือขจัดตัวแปร นั้นออกไปแลวแตกรณี ผลการวิจยั จะตองเปนผลมาจากตัวแปรอิสระที่มีตอตัวแปรตามเทานั้น 4. มีการใชสถิติที่ถูกตองในการทดสอบสมมติฐาน (statistical precision for testing hypothesis) การวิจัยเชิงปริมาณที่ศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปร จําเปนตองมีสมมติฐานและ ทดสอบโดยใชสถิติ ดังนั้นแบบการวิจัยจึงตองคํานึงถึงความถูกตองของการทดสอบทางสถิติดวย


24

ตัวอยางการออกแบบการวิจัย การวิจัยเชิงสํารวจ (Survey research) การวิจยั เชิงสํารวจเปนการวิจัยเพื่อตอบคําถามเกี่ยวกับสภาพที่เปนปจจุบันของสิ่งที่ตองการ ศึกษาวามีสภาพเปนเชนไร เชน การสํารวจสภาพปญหา ความคิดเห็น เจตคติ ความเชื่อ ความรูสึก สํารวจรานคา สํารวจเอกสาร สํารวจชุมชน กระบวนการที่ใชในการวิจยั นิยมใช เชน การสอบถาม การ สัมภาษณ การสังเกต การวิจยั เชิงสํารวจไมมีการควบคุมสิ่งที่ตองการศึกษา แตเปนการศึกษาเพื่ออธิบาย วามีอะไรเกิดขึ้นในสถานการณนั้นๆ การวิจัยเชิงสํารวจแตกตางจากการสํารวจโดยทั่วไปตรงที่การวิจัย เชิงสํารวจเนนที่ความเชื่อถือไดของขอมูล และคําตอบที่ไดจากการวิจัยตองเปนความรูใหม สวนการ สํารวจไมเนนประเด็นดังกลาว การสํารวจจึงเปนการตอบคําถามเฉพาะบางอยาง และผลการสํารวจไม สามารถอางอิงใหกวางออกไปได สวนการวิจัยเชิงสํารวจเนนตองการคําตอบที่กวางขวางและสรุป อางอิงได อยางไรก็ตามการวิจัยเชิงสํารวจและการสํารวจตางมีจุดรวมเดียวกัน คือการใหขอมูลที่ตรง กับสภาพของสิ่งที่ตองการสํารวจ จุดมุงหมายของการวิจัยเชิงสํารวจ จุดมุงหมายของการวิจยั เชิงสํารวจ มีดังนี้ 1. เปนการสํารวจเพื่อบอก หรืออธิบายวาวามีปรากฏการณอะไรเกิดขึน้ บางในสภาพที่ตองการ ศึกษา 2. การสํารวจเพื่ออธิบายความเปนเหตุและผล ศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรที่สนใจ ประเภทของการวิจัยเชิงสํารวจ 1. การวิจยั เชิงสํารวจเพื่อการบรรยาย (descriptive survey research) มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษา สาระที่เกี่ยวกับประชากรทีม่ ีจํานวนมาก การวิจยั เชิงสํารวจเพือ่ การบรรยายมุงที่การสุมตัวอยางที่ เชื่อถือได การตรวจสอบสมมติฐานของการวิจยั และการสรุปอางอิงผลจากขอมูลสุมตัวอยางไปหา ประชากร ผูจัดทําโครงการเชิงสํารวจเพื่อการบรรยายจึงตองมีความสามารถที่จะประมวลสาระจาก ทฤษฎีใหไดกอ นแลวจึงตัดสินใจเลือกกลุม ตัวอยาง และการรวบรวมขอมูลเพื่อใหไดคาํ ตอบเพือ่ การ บรรยายปรากฏการณที่ศึกษา ซึ่งถาเปนขอมูลเชิงคุณลักษณะ (qualitative) ก็จะทําเปนขอมูลเชิงปริมาณ โดยผูจัดทําโครงการตองยอมเสียความละเอียดของขอมูลลงบาง ซึ่งเปนจุดที่ผูจัดทําโครงการจะตองใช ความสามารถในการตัดสินใจวาจะแปรขอมูลเชิงลักษณะใดเปนขอมูลเชิงปริมาณแลวยังคงคุณลักษณะ เดิมมากที่สุด เชน สภาพการประกอบธุรกิจขนาดเล็กในชุมชน ความคิดเห็นของนักศึกษาพาณิชยกรรมตอการใช เครื่องสําอาง การสํารวจการใชผลิตภัณฑของลูกคาในหางสรรพสินคาแหงหนึ่ง เปนตน


25

2. การวิจยั เชิงสํารวจเพื่อการอธิบาย (Explanatory Survey Research) มีจุดมุงเพือ่ อธิบาย ความสัมพันธของตัวแปรตั้งแต 2 ตัวขึ้นไป วามีความสัมพันธเกี่ยวของแทจริงมากนอยเพียงไร การวิจัย เชิงสํารวจเพื่อการอธิบายจึงมุงที่การศึกษาถึงปรากฏการณอยางนอย 2 อยาง ที่เกี่ยวของกันโดยการ ตรวจสอบสมมติฐานการวิจยั ที่เกีย่ วของกับทฤษฎีนั้น ซึ่งการวิจยั แบบนีก้ ็คือการวิจัยเชิงสหสัมพันธ นั่นเอง เชน ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกซื้อสินคาของลูกคาตามหางสรรพสินคา ความสัมพันธ ระหวางการตัดสินใจประกอบอาชีพอิสระกับสาขาวิชาที่เรียน เปนตน ขั้นตอนการออกแบบการวิจัยเชิงสํารวจ การออกแบบการวิจยั เชิงสํารวจมีขั้นตอนดังนี้ 1. กําหนดคําถามการวิจยั ที่ตอ งการศึกษาวาคืออะไร 2. กําหนดจุดมุงหมายของการสํารวจวาจะสํารวจเพื่อบรรยาย หรืออธิบาย 3. ตัวแปรที่จะสํารวจคืออะไร และมีองคประกอบใดบาง 4. ประชากรทีต่ องการศึกษาเปนใคร และมีสภาพเปนอยางไร 5. วิธีการ และเครื่องมือที่จะใชในการสํารวจคืออะไร เหมาะสมกับคําถามการวิจยั วัตถุประสงคของการวิจยั ตัวแปรที่ตองการศึกษา และประชากร หรือไม ขอดีของการวิจัยเชิงสํารวจ การวิจยั เชิงสํารวจมีขอดี ดังนี้ 1. การวิจยั เชิงสํารวจสามารถหาคําตอบของลักษณะความสัมพันธระหวางตัวแปรตางๆ ไดที ละมากมายหลายตัวอยาง และมีความเชื่อถือได 2. สามารถสํารวจจํานวนประชากรทั้งหมดที่ตองการศึกษาก็ไดซึ่งคือการทําสํามะโนนั่นเอง หรือจะใชวิธีสุมตัวอยาง เพื่อเปนตัวแทนของประชากรก็ได อันเปนการลดคาใชจายลงไปมาก 3. การสํารวจนั้น สามารถใชไดกับการศึกษาประชากรทุกประเภททั้งคน สัตว สิ่งของตางๆ แต การศึกษาที่เกีย่ วกับคนมีมากที่สุด 4. สามารถเก็บขอมูลไดหลายลักษณะ และหลายแงมุมในการศึกษาครั้งหนึ่งซึ่งโดยทั่วไปจะ เริ่มดวยคุณลักษณะของกลุมประชากร พฤติกรรมในอดีต ความเชื่อ เจตคติ ความรูสึก ความสนใจใน เรื่องตางๆ เปนตน 5. การรวบรวมขอมูลโดยการสํารวจสามารถทําไดหลายวิธี เชน การสังเกต การสัมภาษณ การ ใชแบบสอบถาม และวิธีการของการเก็บขอมูลก็ทําไดหลายทาง เปนตนวา การสงแบบสอบถามทาง ไปรษณีย การใชโทรศัพทสัมภาษณ การทดสอบถามผูใหตอบกรอกเอง


26

ขอจํากัดของการวิจัยแบบสํารวจ การวิจยั เชิงสํารวจมีขอจํากัด ดังนี้ 1. ขอมูลที่ไดจากการสํารวจธรรมดาๆ ทั่วไปเปนขอมูลที่ผิวเผินไมเจาะลึกลงไปในเรื่องที่ ศึกษามากนัก ดังนั้นจึงเหมาะแกงานวิจัยในแนวกวางมากกวางานวิจัยในแนวแคบ 2. มักเกิดปญหาในทางปฏิบัติหลายประการ ไดแก ในเรื่องเวลา และคาใชจาย ทั้งนี้เพราะการ สํารวจกับกลุมประชากร หรือกลุมตัวอยางที่มีขนาดใหญตองใชเวลานาน และใชเงินทุนที่สูง 3. การสํารวจโดยการสัมภาษณอาจทําใหผลการสัมภาษณขาดความเทีย่ งตรง เนื่องจากการ สัมภาษณอาจเปนเหตุการณพิเศษสําหรับคนที่ถูกสัมภาษณ ดังนั้นการพูด หรือการใหคําตอบของผูที่ถูก สัมภาษณ อาจไมเปนไปตามธรรมชาติ 4. การวิจยั เชิงสํารวจตองอาศัยผูจัดทําโครงการที่มีความรูในการวิจัยเปนอยางมาก คือผูจัดทํา เชน โครงการจะตองเรียนรูในเรื่องของการสุมตัวอยาง การสรางเครื่องมือที่ใชในการสํารวจ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ การวิเคราะหขอมูล ซึ่งความรูเกี่ยวกับเรือ่ งดังกลาวยากที่จะเกิดขึ้นเองได จะตองอาศัยการศึกษาคนควาและประสบการณ 5. การวิจัยเชิงสํารวจเปนการวิจัยทีไ่ มมีความสลับซับซอนมากนักในการดําเนินการ แตสิ่งที่ ตองใหความสนใจคือการเลือกกลุมตัวอยางที่ดี ปญหาที่สําคัญของการวิจยั แบบนี้ก็คือการไมไดรับ ความรวมมือจากผูตอบที่เปนกลุมตัวอยาง เชน การไมสงแบบสอบถามกลับคืน จึงมีผลตอการแปล ความหมายของขอมูลเพราะอาจไดขอมูลไมเพียงพอแกการตีความสรุป 6. ตองพิจารณาถึงความเปนตัวแทนของขอมูล เมื่อไดรับขอมูลกลับคืนมา ควรมีการตรวจสอบ ความเปนตัวแทนของขอมูล โดยพิจารณาวากลุมตัวอยางที่ตอบมามีลักษณะที่เหมือนกับกลุมประชากร มากนอยเพียงใด การตรวจสอบสามารถกระทําไดโดยการกําหนดตัวแปรที่สําคัญ เชน เพศ อายุ ประสบการณในการทํางาน ทั้งนี้ใหพิจารณาจากปญหาการวิจยั วาควรตรวจสอบจากตัวแปรใด 7. ผูจัดทําโครงการตองระลึกไวเสมอวา ขอมูลที่ไดจากการวิจัยเชิงสํารวจมักเปนการแสดง ความคิดเห็นของผูตอบ คําตอบที่ไดจากผูใหขอมูลเปนเรือ่ งยากตอการตรวจสอบความถูกตอง บอยครั้ง ที่ผูจัดทําโครงการกําหนดขอตกลงเบื้องตนของการวิจยั วา ผูใหขอมูลตอบดวยความจริง ดังนัน้ สิ่งที่ ตองใหความสําคัญใหมากในการเก็บขอมูลก็คือ ความพยายามทีจ่ ะกําหนดวิธีการใหผูใหขอมูลดวย ความตั้งใจ ดวยความจริงใหมากที่สุดเทาที่จะมากได และตองหาวิธีการที่จะทําใหผูตอบใหขอมูลที่ ถูกตอง เพื่อผลการวิจัยนั้นนาเชื่อถือ และนําไปใชประโยชนไดอยางแทจริง


27

การวิจัยและพัฒนา (Research and Development) การวิจยั หมายถึง การเสาะแสวงหาความรู หรือความจริงโดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร หรือ สังคมศาสตร ที่ทําการศึกษาอยางมีระบบ ดังนั้น การวิจัยจึงเปนเครื่องมืออยางหนึ่งในการแสวงหา คําตอบ หรืออธิบายปรากฏการณตางๆ ที่สนใจ การพัฒนา หมายถึง การปรับปรุงสภาพที่เปนอยูใ หดียิ่งขึ้น การพัฒนาไมไดหมายถึงการ พัฒนาทางดานกายภาพ หรือทางเศรษฐกิจเทานั้น หากรวมไปถึงการพัฒนาสังคม ซึ่งหมายถึงการทําให การอยูรวมกันของคนในสังคมเกิดประโยชนสวนบุคคล และสวนรวมอยางเสมอภาคและยุติธรรม ดังนั้น การวิจยั และพัฒนา จึงหมายถึง การใชกระบวนการวิจัย เพื่อคนหาความรูหรือความจริง ตางๆ ที่จะนําซึ่งความเจริญกาวหนาของบุคคลและสังคม ซึ่งในการทํางานหรือการบริหารงานใดๆ ที่ มุงแกปญหาหรือพัฒนาใหเกิดคุณภาพนั้น เมื่อผูบริหารหรือผูปฏิบัติงานคนพบปญหา ก็จะตองคิดคน วิธีการ สื่อหรือรูปแบบการพัฒนาที่เรียกวา นวัตกรรม เพื่อใชในการแกปญ  หาหรือพัฒนาการ ปฏิบัติงานดังกลาว โดยวิธกี าร สื่อหรือรูปแบบการพัฒนาที่คิดขึ้นจะตองมีเหตุผล หลักการหรือทฤษฎี รองรับ ทั้งนี้อาจเลือกใชวิธีการปรับปรุงในสิ่งที่ไดมีผูอื่นไดศึกษาหรือเคยใชไดผลในสถานการณที่เปน ปญหาในลักษณะเดียวกันมากอน หรืออาจคิดใชวิธีการใหมขึ้นมาก็ได ซึ่งผลที่เกิดจากการวิจยั และ พัฒนานับวามีประโยชนเปนอยางมากที่จะชวยสรางสรรคนวัตกรรม ทั้งรูปแบบการทํางานและสิ่งที่ ผลิตใหเจริญกาวหนายิ่งขึ้น เชน การพัฒนาเครื่องมือในการคัดขนาดของไขไก การพัฒนาโปรมแกรม เพื่อใชในระบบบัญชี กระบวนการวิจัยและพัฒนา การวิจยั และพัฒนามีกระบวนการที่มีลักษณะเหมือนกับการวิจยั โดยทัว่ ๆ ไป ซึ่งมีขั้นตอน สําคัญ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นการกําหนดปญหา เปนขั้นตอนที่ตองระบุวาปญหาที่ตองการปรับปรุงแกไข หรือพัฒนานัน้ คืออะไร มีสาเหตุจากอะไร ขั้นตอนที่ 2 ขั้นกําหนดวัตถุประสงคหรือผลที่ตองการ ขั้นตอนที่ 3 ขั้นกําหนดแนวทางเลือก ในการแกปญหาแตละปญหา ซึ่งไมควรที่จะกําหนด แนวทางแกปญ  หาไวเพียงแนวทางเดียว ควรจะตองกําหนดทางเลือกที่หลากหลาย แลวนําทางเลือก ทั้งหมดมาพิจารณาวาทางเลือกใดจะมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากที่สุด ซึ่งในขั้นตอนนี้อาจใช การระดมสมองจากผูที่เกีย่ วของหลายๆ ฝาย แลวจึงเลือกขั้นตอนที่ดีทสี่ ุด


28

ขั้นตอนที่ 4 ขั้นการพัฒนาเปนขั้นที่นําทางเลือกไวมาพัฒนาหรือสรางเปนนวัตกรรมขึ้นมาที่ ถูกตองตามมาตรฐานที่ควรจะเปน อาจกลาวไดวาหัวใจสําคัญของการวิจัยและพัฒนาคือขั้นตอนของ การสรางนวัตกรรม ขั้นตอนที่ 5 ขั้นการทดลองและการประเมิน เปนขั้นทีน่ ํานวัตกรรมที่สรางขึ้นไปทดลองใชเพื่อ หาขอมูลมายืนยันคุณภาพ ในขั้นตอนนี้อาจอาศัยรูปแบบของการวิจยั เชิงทดลอง ขั้นตอนที่ 6 ขั้นปรับปรุงและนําไปใช ในขั้นนี้เปนขัน้ ที่นําผลที่ไดจากขั้นการทดลงอมาเปน ขอมูลพื้นฐานในการปรับปรุงนวัตกรรมใหมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากที่สุด แลวจึงนําไปใช จริง หรือเผยแพรแกผูอื่น ขั้นตอนที่สาํ คัญของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ขั้นตอนที่สําคัญของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีดังนี้ ขั้นที่ 1 การวางแผน (Plan) การวางแผนมีขั้นตอน คือ 1. สํารวจสภาพปญหา (ปญหาในทีน่ ี้หมายถึงสิ่งที่เปนอุปสรรค คุณลักษณะที่ไมพึง ประสงค หรือสิ่งที่ตองการพัฒนา) ซึ่งเปนปญหามาจากการปฏิบัติงาน เชน การทําระบบบัญชีดวย เครื่องคิดเลขเกิดความยุงยาก หรือ เครื่องคัดขนาดของไขไกทํางานไดลาชา เปนตน 2. ประเมินสภาพหรือความจําเปน และเรียงลําดับความสําคัญของปญหา ซึ่งในการเลือก หรือกําหนดปญหาในการทําวิจัยปฏิบัตกิ าร ควรที่จะรวบรวมปญหาทั้งหมดที่พบ นําปญหามา เรียงลําดับตามความสําคัญ พิจารณาเลือกปญหาที่จําเปนเรงดวนเพียงหนึ่งปญหา แลวนําปญหานัน้ มา ตั้งเปนหัวขอวิจัยโดยผูจัดทําโครงการตองคํานึงวา ควรเปนปญหาที่จะทําใหไดรับความรูใหม อยูใน ความสนใจของตนเอง เปนปญหาที่ประสบเปนประจํา มีความเหมาะสมกับความสามารถ เวลา และทุน ทรัพย เปนปญหาที่ไมซ้ํากับผลงานของผูอื่น และควรเปนปญหาที่จะไดรับความรวมมือจากผูบริหาร 3. สํารวจทรัพยากรที่จําเปนที่ตองนํามาใชในการแกปญหา และศักยภาพของผูจัดทํา โครงการ 4 .วางแผนปฏิบัติการ ซึ่งการวางแผนที่ดีตอ งมีความชัดเจน โดยผานกระบวนการคิดอยาง ลึกซึ้งในการกําหนดกิจกรรมการปฏิบัติเพื่อใหกระบวนการวางแผนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และ กิจกรรมที่ถูกเลือกมากําหนดในแผนควรชวยใหครูไดเกิดกระบวนการเรียนรูดวยเชนกัน ซึ่งการ วางแผนตองมีความยืดหยุน สามารถปรับเปลี่ยนไดตามแตสถานการณ เนนความสามารถการนําไปสู การปฏิบัติจริง


29

ขั้นที่ 2 การดําเนินการ (Do) ขั้ น ตอนนี้ เ ป น ขั้ น ตอนที่ ผู จั ด ทํา โครงการนํา แผนที่ ว างไว ม าสู ก ารปฏิ บั ติ ก าร เช น ดําเนินการแกปญหา พัฒนาการปฏิบัติงาน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การนําสื่อหรือ นวัตกรรมมาใช ซึ่งผูจัดทําโครงการตองปฏิบัติการตามแผนอยางมีเปาหมายภายใตการไตรตรองอยาง รอบคอบ ตระหนักวาการปฏิบัติมีลักษณะเปนความคิดทีเ่ กิดขึ้นในขณะมีการกระทํา กลาวคือใชการ ปฏิบัติที่ผานมาเปนพื้นฐาน เพื่อพัฒนาวิธีการ กิจกรรม หรือการปฏิบัติการของตนตอไป การ ปฏิบัติการในขั้นตอนนี้ดําเนินไปอยางมีเหตุผล จากการวางแผน และมีการปรับเปลี่ยนการปฏิบัติการที่ เกิดขึ้นตามสถานการณ การปฏิบัติการจึงไมใชเปนเพียงแคพฤติกรรม แตเปนการปฏิบัติการอยางมี ยุทธวิธี ขั้นที่ 3 การสังเกต (Check) จุดเนนที่สําคัญของการวิจัยปฏิบัติประการหนึ่งก็คือ สามารถการสั ง เกต หรือตรวจสอบได กล า วคื อ ผู จั ด ทํา โครงการหรือผูปฏิบัติการจะตองมีการรวบรวมหลักฐานการประเมิน ตลอดการ ปฏิบัติการของตนเอง โดยคํานึงถึงหลักฐานที่จําเปนตอการปฏิบัติการของตนเอง ดังนัน้ ในขั้นตอนนีจ้ ึง เปนกระบวนการตรวจสอบ หรือการประเมินผลการดําเนินงาน เพื่อใหไดขอมูลมาชวยในการสะทอน การปฏิบัติการ ดังนั้นการสังเกตหรือการรวบรวมขอมูลควรทําอยางมีจุดมุงหมาย จนกระทั่งไดขอ มูลที่ เปนเรื่องราวตอเนื่อง สอดคลองกัน ดังนั้นผูจัดทําโครงการจําเปนตองเลือกใชวิธกี ารและเครื่องมือใน การเก็บรวบรวมขอมูลที่สอดคลองกับจุดมุงหมายที่กําหนด ขั้นที่ 4 การสะทอนกลับ (Action) ขั้นตอนนี้เปนการพิจารณาวา การปฏิ บั ติ ก ารต า งๆ ทีผ่ านมาโดยอาศัยขอมูลที่เก็บรวบรวม สะทอนผลออกมาในประเด็นเกี่ยวกับการปฏิบัติการ เชน การปฏิบัติการบรรลุเปาหมายหรือไม มี ปญหา หรือสิง่ ที่เปนขอจํากัดที่เปนอุปสรรคตอการปฏิบัติการ ขอทีค่ วรปรับปรุงแกไขอะไรบาง โดย ผูจัดทําโครงการและผูที่เกี่ยวของจะตองพิจารณาตรวจสอบปญหาที่เกิดขึ้นในแงมุมตาง ๆ ที่สัมพันธ กับบริบทของการดําเนินการวิจัย ไมวาจะเปนในดานสภาพแวดลอม หรือสภาพสังคม เพื่อเปนขอมูล พื้นฐานทีจ่ ะนําไปสูการปรับปรุง และการวางแผนปฏิบัติงานตอไป ซึ่งการสะทอนผลการปฏิบัติ สามารถทําไดโดย ผูจัดทําโครงการพิจารณาเพื่อสะทอนผลการปฏิบัติดวยตนเอง (self reflection) หรือ รวมกันอภิปรายเพื่อสะทอนกลับกับผูที่เกี่ยวของ (collaborative reflection) ตัวอยางโครงการที่ใชการวิจัยและพัฒนา โครงการเรื่อง การพัฒนาชุดควบคุมการทํางานเครื่องปรับอากาศภายในบาน เพื่อการประหยัด พลังงานไฟฟา ของ นายพงษศักดิ์ นุย เจริญ และคณะ (2549) ที่ใชขั้นตอนของการวิจยั และพัฒนา ดังนี้


30

1. คณะผูจดั ทําโครงการระดมสมองหาแนวทางในการลดการใชพลังงานไฟฟา จากการทํางาน ของเครื่องปรับอากาศ 2. ออกแบบชุดควบคุมการทํางานเครื่องปรับอากาศภายในบานเพื่อการประหยัดพลังงานไฟฟา และนําไปใหผเู ชี่ยวชาญดานการออกแบบชุดควบคุมการทํางานเครื่องปรับอากาศจํานวน 5 คน โดย พิจารณาความเหมาะสมของแบบ 3. สร า งชุ ด ควบคุ ม การทํา งานเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบาน เพื่อการประหยัดพลังงาน ไฟฟาและนําไปใหผูเชี่ยวชาญดานเครื่องปรับอากาศจํานวน 5 คน โดยพิจารณาความถูกตองตามแบบ และความเหมาะสมในการนําไปติดตั้ง 4. นํา ชุ ด ควบคุ ม การทํางานเครื่องปรับอากาศภายในบาน เพื่อการประหยัดพลังงานไฟฟาที่ สรางขึ้นไปทดลองใชเพื่อดูความสามารถในการทํางานและปรับปรุงแกไขกอนที่จะนําไปใชเพื่อเก็บ รวบรวมขอมูล 5. นําชุดควบคุมการทํางานเครื่องปรับอากาศ ฯ ที่พัฒนาขึ้นไปใช เพือ่ เก็บรวมรวมขอมูล การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) การวิจยั เชิงทดลองเปนการวิจัยที่มุงอธิบายความสัมพันธระหวางตัวแปรในเชิงเหตุและผลที่มี ความเปนไปได ซึ่งผูจัดทําโครงการอาจตองสรางสถานการณการทดลองขึ้นมาในบริบทที่หางไกลจาก สภาพธรรมชาติ เชน การทดลองในหองทดลอง โดยมีการควบคุมหรือจัดกระทําใหเกิดตัวแปรเปนเหตุ หรือตัวแปรอิสระตามที่ตองการ แลวสังเกตหรือวัดตัวแปรตาม เพือ่ นําขอมูลมาศึกษาลักษณะและ ปริมาณความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามอันจะนําไปสูการลงขอสรุปเกี่ยวกับความ เปนเหตุเปนผล ลักษณะที่สําคัญของการวิจัยเชิงทดลอง คือ ควบคุมตัวแปรเกินได (control) จัดการ เปลี่ยนแปลงกับตัวแปรอิสระได (manipulation) สังเกตได (observation) และทําซ้าํ ได (replication) เชน การทดลองใชเครื่องปรุงอาหารวาชนิดใดที่จะใหรสชาติอรอยกวากัน หลักการออกแบบการทดลอง การออกแบบการทดลองที่ดคี วรคํานึงถึงหลักการ 3 ประการ หรือที่เรียกวา Max Min Con คือ 1. ทําใหความแปรปรวนอันเนื่องมาจากตัวแปรตน หรือตัวแปรอิสระ (treatment) ใหมีคามาก ที่สุด (maximum) โดยทําให treatment มีความแตกตางกันมากที่สุด หรือจัดกระทํากับตัวแปรที่บอก ลักษณะหรือสถานภาพ (attribute or status variable) ใหแตกตางกันมากที่สุดที่จะทําได ยิ่งทําใหตวั แปร อิสระมีความแปรผันไดมากเทาใด ก็เปนการเพิ่มโอกาสความแปรปรวนของตัวแปรตาม เนื่องจากเปน ผลของตัวแปรอิสระออกจากความแปรปรวนทั้งหมด ในทางตรงกันขามถาไมทําใหตวั แปรอิสระแปร


31

ผั น แล ว ความแปรปรวนของตัวแปรตามอันเปนผลจากตัวแปรอิสระก็จะรวมอยูในความแปรปรวน ทั้งหมด อันแสดงถึงผลของตัวแปรอิสระตอตัวแปรตามเกิดขึ้นโดยโอกาสเทานั้น ดังนั้นการออกแบบ การวิจยั ควรจัดใหสภาพหรือเงื่อนไขของการทดลองแตกตางกันมากทีส่ ุดเทาที่จะมากได 2. ควบคุมอิทธิพลของตัวแปรเกิน (control of extraneous variable) ซึ่งสามารถทําไดโดย 2.1 ใชกลุมตัวอยางที่มีลักษณะใกลเคียงกันมากที่สุด ในลักษณะของตัวแปรเกิน แตการ ควบคุมตัวแปรนี้จะจํากัดขอบเขตการอางอิงผลการวิจัยไปใชใหแคบลง 2.2 จัดสมาชิกเขากลุมโดยการสุม การจัดสมาชิกเขากลุมโดยการสุมจะทําใหโอกาส หรือ ความนาจะเปนที่คาของตัวแปรตามของกลุมทดลองหรือกลุมควบคุมไมแตกตางกันมีมากกวาโอกาสที่ จะแตกตางกันกอนทําการทดลอง 2.3 จับคูสมาชิกบนพื้นฐานของตัวแปรเกิน แลวจัดสมาชิกแตละคูเขากลุมการทดลองโดย การสุมการควบคุมตัวแปรเกินวิธีนี้ผูจัดทําโครงการอาจพบกับปญหาวาไมทราบวาตัวแปรเกินตัวใดมี ความสัมพันธกับตัวแปรตามมากที่สุด เพือ่ ที่จะใชเกณฑจับคูบนพื้นฐานตัวแปรเกินนั้น 2.4 ใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูลเพื่อควบคุมคาที่เกิดขึ้นจากตัวแปรเกิน เชน ใช เทคนิคการวิเคราะหความแปรปรวนรวม 2.5 ควบคุมสภาพการณในการทดลองใหมีความคงที่ ผูจัดทําโครงการจะตองควบคุม สภาพการณในการทดลองของกลุมตางๆ เหมือนกันทุกอยางยกเวนแตตัวแปรอิสระเทานั้น 2.6 การควบคุมผลของการถดถอยทําไดโดยอยาเลือกสมาชิกที่ไดคะแนนสอบสูงสุด หรือ ต่ําสุดที่มีความแตกตางจากคาเฉลี่ยมาก ๆ ถาจําเปนตองเลือกตองทําใหเหมือนกันทั้งกลุมควบคุม และ กลุมทดลอง 2.7 นําตัวแปรเกินมาใชในการวิจัย โดยพิจารณาใหเปนตัวแปรอิสระอีกตัวหนึง่ 2.8 ออกแบบการวิจยั เชิงทดลองแบบตาง ๆ เชน Completely Randomized Block Design, Completely Randomized Factorial Design, Split-Plot Factorial Design เปนตน 3. ทําใหความแปรปรวนอันเนื่องจากความคลาดเคลื่อนมีคาต่ําที่สุด (minimization of error variance) ซึ่งเกิดจากความแตกตางระหวางบุคคลและความคลาดเคลื่อนจากการวัด สามารถทําใหคา ความแปรปรวนเหลานี้มีคาต่าํ สุด โดย 3.1 การควบคุมเงื่อนไขของการทดลองใหมีระบบและแนนอน จะทําใหความคลาด เคลื่อนที่เกิดจากการวัดนอยลง 3.2 ทําใหเครือ่ งมือที่วัดมีความเที่ยง (reliability) สูง เชน การเพิ่มจํานวนขอคําถาม เมื่อ เครื่องมือมีความเที่ยงสูงก็จะชวยลดความคลาดเคลื่อนได


32

ขั้นตอนของการวิจัยเชิงทดลอง การดําเนินการวิจัยเชิงทดลอง จะตองเปนไปอยางมีระบบ และสมเหตุสมผลบนพื้นฐานของ หลักการ แนวคิด ทฤษฎี สําหรับขั้นตอนการดําเนินงานมีขั้นตอน ดังนี้ 1. กําหนดประเด็นคําถามของการวิจยั (Identify Research Question) ผูจัดทําโครงการจะตอง กําหนด ระบุ และนิยามประเด็นคําถามของการวิจยั ไวอยางชัดเจน ผูจัดทําโครงการจะตองสามารถ อธิบายไดวาประเด็นคําถามการวิจยั มีความเปนมาอยางไร มีความสําคัญเพียงใดทีต่ องการจะศึกษา มี แนวคิดหรือทฤษฎีอะไรที่เกีย่ วของ มีการเสนอกรอบหรือแนวทางอธิบายหรือแกปญ  หาไวอยางไรบาง ไมมีรูปแบบการวิจัยใดที่เหมาะสมเทากับการวิจยั เชิงทดลอง จึงไดนาํ การวิจยั เชิงทดลองมาศึกษาเพื่อ หาคําตอบของประเด็นปญหาดังกลาว 2. ตั้งสมมุติฐาน (formulate hypothesis) ผูจัดทําโครงการจะตองตั้งสมมุติฐานของการวิจัยเพื่อ นํามาทดสอบภายใตกรอบแนวคิดหรือทฤษฎีที่นาเชื่อถือ โดยการกําหนดและนิยามตัวแปรสําหรับทํา การทดลองตามประเด็นคําถามของการวิจยั และทํานายความสัมพันธระหวางตัวแปรที่เกี่ยวของ เพื่อ เปนแนวทางสําหรับการกําหนดเครื่องมือ และการรวบรวมขอมูลที่ตองการ 3. เลือกระดับการแปรคาของตัวแปรอิสระ (vary the independent variables at appropriate level) ผูจัดทําโครงการจะตองเลือกระดับที่เหมาะสมในการจัดกระทําเพื่อแปลคาของตัวแปรอิสระที่ คาดวาจะทําใหสามารถสังเกตคาที่เกิดขึน้ ได ระดั บ การแปรค า ของตั ว แปรอิ ส ระควรมีขนาดใหญ พอเพียง และอยูในขอบเขตที่ควรจะเปนตามสภาพการณของชีวิตจริงที่จะทําใหเกิดผลความแตกตางที่ เกิดขึ้นกับตัวแปรตาม 4. การออกแบบการทดลอง (experimental design) ผูจัดทําโครงการตองวางแผนการสุม ตัวอยาง จัดกลุมสําหรับการทดลอง และการวัดหรือสังเกตผลกอน ระหวางและหลังการทดลอง ในการ สุมตัวอยางและจัดการทดลอง ผูจัดทําโครงการจะตองวางแผนดําเนินการสุม (randomization) ซึ่ง ประกอบไปดวยการสุมกลุมตัวอยางทีจ่ ะทําการทดลอง (random selection) และการสุมตัวอยางเขากลุม การทดลอง (random assignment) การตัดสินใจเกี่ยวกับการดําเนินการสุมยอมขึ้นอยูกับทรัพยากรที่มี อยู เชน เงินทุน กําลังคน เวลา 5. เลือกเครื่องมือ และการวิเคราะหขอมูล (select instruments and analytical procedure) ผูจัดทําโครงการจะตองเลือกและพัฒนาเครื่องมือสําหรับการเก็บรวบรวมขอมูลอยางมีคุณภาพ เพือ่ ให เกิดความคลาดเคลื่อนนอยที่สุด จากการวัดหรือการเก็บรวบรวมคาสถิติ และเลือกวิธีการวิเคราะห ขอมูลที่เหมาะสมกับลักษณะของขอมูลและเปาหมายของการวิจยั ที่ตองการ 6. ทดลองเบื้องตน (pilot test the experimental procedure) กอนเริ่มลงมือทําการทดลอง ผูจัดทําโครงการจะตองทดสอบกระบวนการดําเนินการทดลองตามที่วางแผนโดยการทดลองนํารอง


33

เพื่อทราบถึงอุปสรรค ปญหาที่เกิดขึ้นระหวางการทดลองจะไดหามาตรการปองกัน และแกไขไว ล ว งหน า พร อ มทั้ ง ขอคํา แนะนํา จากผู รู หรือผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการดําเนินการทดลองอยางมี ประสิทธิภาพ 7. ดําเนินการทดลอง (conduct the experiment) ผูจัดทําโครงการทําการทดลอง สังเกต และเก็บ รวบรวมขอมูลตามขั้นตอนที่วางแผนไว ผูจัดทําโครงการจะตองดําเนินการตามโปรแกรมการทดลอง อยางมีคุณภาพตามแผนที่กาํ หนด มิเชนนั้นผลการจัดอาจจะไมมีประสิทธิภาพพอที่จะสังเกตเห็นผล ของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ ในการทดลอง 8. การวิเคราะหขอมูลและการแปลความหมาย (analyze and interpret the experimental results) ผูจัดทําโครงการทําการวิเคราะหขอมูลดวยเทคนิคสถิติวิเคราะหที่เหมาะสมที่สามารถสนองตอประเด็น ของการวิจยั ได และทําการแปลความหมายผลของการวิเคราะหโดยพิจารณาถึงปจจัยที่อาจสงผลตอ ความตรงภายใน และความตรงภายนอกทีอ่ าจเกิดขึ้น เพือ่ สรุปผลการทดลองเปนขอคนพบตอไป 9. เขียนรายงานการวิจัย (write the report) ผูจัดทําโครงการวางโครงสรางรายงานวิจัย เขียนราง รายงาน ปรับปรุงแกไข และพิมพเผยแพรรายงานการวิจยั ฉบับที่สมบูรณ แบบแผนการทดลอง (Experimental Design) สัญลักษณที่ใชในแบบแผนการทดลอง X แทน การใหตวั แปรทดลอง ไมมี X แสดงวาไมใหตัวแปรทดลอง E แทน กลุมทดลอง C แทน กลุมควบคุม R แทน การกําหนดกลุม ตัวอยางแบบสุม ไมมี R แสดงวากลุมตัวอยางเลือกมาโดยไมมีการสุม ทดสอบกอนการทดลอง T1 แทน T2 แทน ทดสอบหลังการทดลอง


34

แบบที่ 1 แบบกลุมเดียวหรือรายกรณี (One shot case study) รูปแบบ

X

T

วิธีการ 1. เลือกตัวอยางมา 1 กลุม 2. ทําการทดลองและไมมีการควบคุม 3. ทดสอบหลังการทดลอง ขอดี 1. ทําไดงายและสะดวก เหมาะกับการวิจัยเพื่อแกปญหาเฉพาะกลุม 2. เหมาะสําหรับการวิจัยเชิงพรรณนาที่เปนการศึกษายอนหลังตัวอยาง ขอบกพรอง 1. กลุมตัวอยางไมมีการสุม จึงไมเปนตัวแทนของประชากร นําผลไปอางอิงถึงกลุมอื่นไมได 2. ไมมีกลุมควบคุมและสอบวัดครั้งเดียว ผลจากการวัดอาจไมใชผลจากตัวแปรอิสระที่ ตองการศึกษา

แบบที่ 2 แบบกลุมเดียวสอบกอนและสอบหลัง (One-group pretest-posttest design) รูปแบบ

T1

X

T2

วิธีการเลือก 1. เลือกกลุมตัวอยางมา 1 กลุม 2. สอบกอนการทดลอง 3. ทําการทดลองโดยใหตัวแปรทดลอง (treatment) 4. ทดสอบหลังการทดลอง 5. เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของการสอบทั้งสองครั้ง (X1 และ X2 โดยใชสถิติทดสอบ t หรือ Z และสรุปวาผลตางของ X1 และ X2เปนผลเนื่องจากตัวแปรทดลอง


35

ขอดี สามารถควบคุมตัวแปรไดบาง เชน การขาดหายไปของกลุมตัวอยาง และการทดสอบกอน ทดลองกับหลังทดลอง ทําใหเปรียบเทียบภายในกลุมตนเองได จุดบกพรอง ควบคุมตัวแปรสวนใหญไมได เชน ประสบการณที่ไดรับนอกเหนือจากการทดลอง วุฒิภาวะ ผลจากการสอบครั้งแรก การถดถอยทางสถิติ หรือปฏิสัมพันธของตัวแปรตางๆ ที่กลาวมา จึงไมแนใจ วาผลของความแตกตางของการสอบครั้งแรกและครั้งหลังเกิดจากตัวแปรอิสระที่ตองการศึกษา แบบที่ 3 การเปรียบเทียบกับกลุมคงที่ (Static group comparison design) รูปแบบ

E C

X

T T

วิธีการ 1. เลือกกลุมตัวอยาง 2 กลุม 2. ใหตัวแปรทดลอง (treatment) กับกลุมทดลอง แตไมใหกับกลุมควบคุม 3. ทดสอบหลังการทดลองทั้งสองกลุม 4. หาคะแนนเฉลี่ยของผลการสอบทั้ง 2 กลุม ทดสอบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยโดยใช ttest หรือ Z-test ขอดี 1. มีกลุมควบคุม ทําใหเปรียบเทียบกันได 2. ในกรณีที่ออกแบบควบคุมตัวแปรแทรกซอน ผลการวิเคราะหจะเชื่อถือไดมากขึ้น 2. แบบแผนการทดลองที่มีการควบคุมอยางเครงครัด (Design with rigorous control) หรือ true experiment เพื่อขจัดปญหาแบบแผนการทดลองที่เรียกวา poor design จึงเพิ่มกลุมควบคุมโดยไมใหตัว แปรทดลองแกกลุมนี้ ทั้งนี้คํานึงถึงขอตกลงเบื้องตนวา กลุมทดลองและกลุมควบคุมจะตองมีลักษณะที่ มีผลตอตัวแปรตามเหมือนกัน แบบแผนของการทดลองในกลุมนี้แบงเปน ขอบกพรอง 1. ไมมีการสุม จึงควบคุมตัวแปรแทรกซอนไมไดทั้งหมด


36

2. ไมมีการสอบวัดครั้งแรก และกลุมทั้ง 2 อาจไมมีความเทาเทียมกัน ดังนั้นความแตกตางที่ พบอาจไมไดมีผลจากตัวแปรจัดกระทําเพียงอยางเดียว แบบที่ 4 แบบที่มีกลุมทดลองและกลุมควบคุมแบบสุมและมีการสอนครั้งแรกกับครั้งหลัง (Randomized control group pretest posttest design) รูปแบบ

RE

T1

RC

T1

X

T2 T2

วิธีการ 1. เลือกกลุมตัวอยางจากประชากรโดยการสุม 2. จัดกลุมตัวอยางเขากลุม และกําหนดตัวแปรทดลองเขากลุมโดยการสุม 3. ทดสอบกอนการทดลองโดยวัดตัวแปรตาม 4. จัดสภาพการทดลองใหเหมือนกันทั้ง 2 กลุม ยกเวนใหตัวแปรจัดกระทําหรือตัวแปรทดลอง กับกลุมทดลอง สวนกลุมควบคุมไมตองใหตัวแปรทดลอง 5. ทดสอบครั้งที่ 2 หลังการทดลองโดยวัดตัวแปรตาม 6. หาคะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบกอนการทดลองและหลังการทดลองทั้ง 2 กลุม 7. เปรียบเทียบผลตางของคะแนนเฉลี่ยกอนและหลังการทดลอง ระหวางกลุมทดลองและกลุม ควบคุม ดังนี้ Random assigned pretest กลุมทดลอง (RE) T1E กลุมควบคุม (RC) T1C ผลการทดลองของกลุมทดลอง = ผลการทดลองของกลุมควบคุม =

Treatment X DE DC

= =

XT2E XT2c -

posttest T2E T2C XT1E XT1c

8. ทดสอบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยของกลุมทดลองและกลุมควบคุมโดยใช t-test หรือ ANOVA


37

แบบแผนการวิจัยนี้ อาจขยายกลุมทดลองใหมีมากกวา 1 กลุม ดังเชน มีกลุมทดลอง 2 กลุม กลุมควบคุม 1 กลุม ดังนี้ รูปแบบ

RE1

T1

Xa

T2

RE2

T1

Xb

T2

RC

T1

T2

บางกรณีอาจออกแบบการวิจัยเปนแบบ 3 กลุม โดยจัดใหมีกลุมทดลอง 1 กลุม กลุมควบคุม 2 กลุม ดังเชน รูปแบบ

RE

T1

RC1

T1

T2

RC2

T1

T2

X

T2

การเปรียบเทียบใหทําเปน 2 กรณี คือ 1. เปรียบเทียบ T2E กับ T2C1 ซึ่งเปนผลตางของการใหตัวแปรทดลอง 2. เปรียบเทียบ T2E กับ T2C2 ซึ่งเปนผลตางของการทดสอบกอนทดลอง แลวเปรียบเทียบผลของขอ 1. และขอ 2. เปนการแก reactive measure ได ขอดี 1. มีการสุมกลุมตัวอยางและสุมเขากลุมทดลองกับกลุมควบคุม ทําใหกลุมตัวอยางทุกกลุมมี ความเทาเทียมกันตามทฤษฎีความนาจะเปน 2. การสุมทําใหสามารถควบคุมแหลงที่มีอิทธิพลตอความเที่ยงตรงภายในได 3. มีการทดสอบกอนทดลอง ทําใหทราบพื้นฐานของกลุมทดลองและกลุมควบคุม และเมื่อให treatment แลว มีการทดสอบอีก จึงทราบผลของการเปลี่ยนแปลงของแตละกลุม


38

ขอบกพรอง อาจควบคุมแหลงที่มีอิทธิพลตอความเที่ยงตรงภายนอกไมไดทั้งหมด เชน ไมสามารถควบคุม ความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากผลรวมกันระหวางการสอบครั้งแรกกับตัวแปรทดลอง การเลือกกลุม ตัวอยางกับตัวแปรทดลอง เปนตน นอกจากนี้ แบบแผนการวิจัยอาจขยายออกไปเปนการศึกษาตัวแปรอิสระตั้งแต 2 ตัวแปรขึ้น ไป ที่มีผลตอตัวแปรตาม เชน ตัวแปรอิสระเปนตัวแปรเพศ อีกตัวแปรหนึ่งเปนตัวแปรวิธีสอน มี 3 วิธี กรณีนี้แบบแผนการวิจัยมีชื่อวา factorial design แบบ 2 ตัวประกอบ (2x3) ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ A 2

1 B

3

1 2

ตามรูปแบบการวิจัยนี้ กลุมตัวอยางมี 6 กลุม วิธีการ 1. 2. 3. 4.

เลือกกลุมตัวอยางแบบสุมจากประชากร จัดกลุมตัวอยางแบบสุมลงในตัวแปรทดลองใหครบตามตาราง ทดลองและวัดคาตัวแปรตาม ตรวจสอบผลของตัวแปรทดลอง (main effects) และผลรวมของตัวแปรทดลอง (interaction

effects) 5. ทดสอบคาเฉลี่ยของขอมูลโดยใช ANOVA แบบที่ 5 แบบสี่กลุมของโซโลมอน (Randomized Solomon four-group design) เพื่อแกปญหาการเกิดปฏิสัมพันธรวมของการทดสอบกอนทดลองและตัวแปรจัดกระทํา (X) ในแบบแผนทดลองแบบที่ 1 จึงออกแบบการทดลองโดยใชกลุมตัวอยาง 4 กลุม ดังนี้ กลุม สอบกอน 1. (R) สอบกอน T1 2. (R) สอบกอน T1 3. (R) ไมมีการสอบกอน 4. (R) ไมมีการสอบกอน M = Maturation, H = History

สิ่งทดลอง X X

สอบหลัง T2 T2 T2 T2

ความแตกตาง 1D = T1 , X, M, H 2D = T1 , M, H 3D = X, M, H 4D = M, H


39

วิธีการ 1. เลือกกลุมตัวอยางแบบสุมจากประชากร 2. แบงกลุมตัวอยางเปน 4 กลุม โดยการสุม 3. เลือกกลุมตัวอยางออกมา 1 กลุม แบบสุมใหเปนกลุมทดลอง ไดรับการทดสอบครั้งแรก และไดรับตัวแปรทดลอง (กลุม 1) 4. สุมกลุมตัวอยางมากอีก 2 กลุม ใหกลุมหนึ่งไดรับการทดสอบครั้งแรก (กลุม 2) และอีกกลุม หนึ่งใหตัวแปรทดลอง (กลุม 3) 5. กลุมที่เหลืออีก 1 กลุม (กลุม 4) ไมไดรับการทดสอบครั้งแรกและไมไดรับการทดลอง 6. ดําเนินการทดลอง 7. ทดสอบหลังการทดลองทั้ง 4 กลุม 8. หาคะแนนเฉลี่ยของผลการสอบทั้งกอนทดลองและหลังทดลอง 9. หาผลตางของคาเฉลี่ยกอนการทดลองและหลังการทดลอง กลุม 1 T2 – T1 = 1D นาจะเปนผลจาก T1 , X, M, H 2D นาจะเปนผลจาก T1 , M, H กลุม 2 T2 – T1 = กลุม 3 T2 = 3D นาจะเปนผลจาก X, M, H กลุม 4 T2 = 4D นาจะเปนผลจาก M, H ดังนั้น อาจสรุปไดวา 1) 3D – 4D = ผลตางเนื่องจากใหตัวแปรทดลอง X ไมมีการทดสอบกอน 2) 2D – 4D = ผลตางเนื่องจากการทดสอบกอนทดลอง 3) 1D – 2D = ผลตางจากการใหตัวแปรทดลอง X มีการทดสอบกอน แลวเปรียบเทียบ 1) กับ 3) ผลตางที่เกิดขึ้นเนื่องจาก X ขอดี 1. สามารถควบคุมแหลงที่ทําใหขาดความเที่ยงตรงภายใน 2. ควบคุมปฏิสัมพันธรวมของตัวแปรทดลองกับผลของการสอบกอนทดลองได 3. ถือวาเปนแบบแผนการทดลองที่มีการควบคุมรัดกุมมาก ขอบกพรอง 1. หากลุมตัวอยางที่มีความเทาเทียมกันทั้ง 4 กลุมไดยาก 2. ไมแนใจวาจะควบคุมความเที่ยงตรงภายนอกของการทดลองไดทั้งหมด


40

แบบที่ 6 แบบสุมและมีการสอบหลังการทดลองอยางเดียว (Randomized control-group posttest only design) รูปแบบ

RE RC

X

T2 T2

วิธีการ 1. เลือกกลุมตัวอยางจากประชากรโดยการสุม 2. แบงกลุมตัวอยางเปน 2 กลุม แบบสุม 3. สุมกลุมหนึ่งใหเปนกลุมทดลองอีกกลุมหนึ่งเปนกลุมควบคุม 4. จัดสภาพการทดลองของทั้งสองกลุมใหเหมือนกัน และใหตัวแปรทดลองกับกลุมทดลอง (X) สวนกลุมควบคุมไมใหตัวแปรทดลอง 5. ทดสอบภายหลังการทดสอบทั้ง 2 กลุม 6. หาคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังการทดลองทั้ง 2 กลุม 7. เปรียบเทียบคาเฉลี่ยหลังการทดลองของ 2 กลุม (T2E กับ T2ฉ) โดยใชสถิติ t-test แบบทดลองนี้อาจขยายจํานวนกลุมทดลองเปนหลายกลุม จะใชสถิติทดสอบคาเฉลี่ยของหลาย กลุมโดยใช ANOVA ขอดี 1. สะดวกเพราะไมตองสอบกอนการทดลอง 2. ควบคุมผลที่เกิดจากปฏิสัมพันธรวมระหวางการสอบกอน (T1) กับตัวแปรทดลอง (X) ได 3. ควบคุมแหลงอิทธิพลที่มีผลตอความเที่ยงตรงภายในได ขอบกพรอง ไมแนใจวาจะควบคุมปฏิสัมพันธรวมระหวางการคัดเลือกกับตัวแปรทดลอง (Selection and treatment) และระหวางการคัดเลือกกับสภาพการทดลอง (Selection and reaction arrangement)


41

แบบที่ 7 แบบอนุกรมเลา (Time-Series) T1

รูปแบบ

T2

T3

T4

ฯลฯ

X

T5 T6 T7 T8 ฯลฯ

วิธีการ 1. เลือกลุมตัวอยางมา 2 กลุม 2. ทดสอบกอนทดลองหลายๆ ครั้ง โดยเวนระยะเวลาหางกันพอควร จนเห็นแนวโนมของ การเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ 3. ทําการทดลองโดยใหตัวแปรทดลอง (X) 4. ทดสอบภายหลังการทดสอบหลายๆ ครั้ง โดยเวนระยะหางเชนเดียวกับการสอบกอน ทดลอง 5. สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผลการสอบกอนและหลังการทดลอง หรือใชสถิติการวิเคราะห แนวโนม (trend analysis) การพิจารณาผลของการเปลี่ยนแปลงของการทดลองแบบอนุกรมเวลาจากรูป (Campbell & Stanley: 208) แบบที่ 8 แบบอนุกรมเวลาที่มีกลุมควบคุม (Control group time-series design) วิธีนี้จะมีกลุมควบคุมเพิ่มอีก 1 กลุม เพื่อแกจุดออนของแบบที่ 7 รูปแบบ

T1

T2

T3

T4

T1

T2

T3

T4

X

T5 T 6 T 7 T 8 T5 T6 T7 T8

วิธีการ 1. เลือกกลุมตัวอยางมา 2 กลุม ใหกลุมหนึ่งเปนกลุมทดลอง อีกกลุมหนึ่งเปนกลุมควบคุม 2. ทดสอบกอนการทดลองทั้ง 2 กลุม หลายๆ ครั้ง เวนระยะหางพอควร 3. ดําเนินการทดลอง โดยใหตัวแปรทดลองกับกลุมทดลอง สวนกลุมควบคุมไมใหตัวแปร ทดลอง 4. สิ้นสุดเวลาที่ทดลอง ทดสอบหลังการทดลองหลายครั้ง โดยเวนระยะเวลาหางกันพอควร 5. สังเกตการเปลี่ยนแปลงจาก T4 ไป T5 ของทั้ง 2 กลุม โดยดูกราฟหรือวิเคราะหแนวโนม


42

แบบที่ 9 Equivalent Time Samples Design แบบการทดลองนี้ กลุมตัวอยางจะมี 1 กลุม หรือมากกวา 1 กลุมก็ได โดยใชเวลาในการทดลอง เปนเครื่องตัดสินและสังเกตแนวโนมของผลหลังจากการทดลองวาแตกตางไปจากเดิมอยางไร แบบ แผนนี้จะตองทําซ้ํา 2-3 ครั้ง เพื่อใหแนใจวาผลที่ไดนั้นเปนผลจากตัวแปรทดลองเพียงอยางเดียว ไมใช จากอิทธิพลที่มีผลตอความเที่ยงตรงภายในและความเที่ยงตรงภายนอก รูปแบบของแผนการทดลองมี ดังนี้ รูปแบบ

X1 T

X0 T

X1 T

X0 T

X1 หมายถึง ใหตัวแปรทดลองกับกลุมตัวอยาง X0 หมายถึง ไมใหตัวแปรทดลองกับกลุมตัวอยาง T หมายถึง การทดสอบ (Observation) ลักษณะของแบบแผนการทดลองเมื่อมีกลุมตัวอยาง 1 กลุม 1. เลือกกลุมตัวอยางมา 1 กลุม ใหตัวแปรทดลองติดตอกันระยะเวลาหนึ่ง แลวสอบวัด แลว หยุด 2. ตอไปใหตัวแปรทดลองเดิมใหม แลวสอบวัด แลวหยุด 3. นําผลที่ไดจากการสอบวัดทั้ง 2 ครั้ง มาเปรียบเทียบกัน ทําเชนนี้ซ้ําๆ หลายครั้ง ลักษณะของแบบแผนการทดลองเมื่อมีกลุมตัวอยาง 2 กลุม มีกลุมตัวอยาง 2 กลุม ที่เทาเทียมกัน โดยตองคํานึงถึงการถดถอยทางสถิติของกลุมตัวอยาง ดวย เชน ถาจะทดลองสอนภาษาอังกฤษกับนักเรียนที่มาจากสิ่งแวดลอมที่แตกตางกัน ผลจากการ ถดถอยทางสถิติอาจจะทําใหผลการทดลองมีความแตกตางกันดวย วิธีการ 1. ทําการทดสอบกอนการทดลองทั้ง 2 กลุม เพื่อตรวจดูความเทาเทียมกัน 2. ใหตัวแปรทดลองแกกลุมทั้ง 2 แตกตางกัน 3. ทําการทดสอบหลังการทดลอง 4. นําผลจากการสอบครั้งที่ 2 ของทั้ง 2 กลุมมาเปรียบเทียบกัน แบบแผนการวิจัย The Equivalent Time Samples Design นิยมใชเกี่ยวกับการวิจัยทางการเรียน การสอน ผลการปฏิบัติงาน สมรรถภาพของนักเรียน ภายใตเงื่อนไขตางกัน การวิจัยทางการแพทย


43

แบบที่ 10 แบบสุมสมบูรณ (Completely Randomized Design : CRD)) ลักษณะของแบบแผนการทดลอง แบบแผนการทดลองแบบสุ ม สมบู ร ณ เป น แบบแผนการทดลองที่ ห น ว ยทดลอง (Experimental Unit) ไดมาจากการสุมและการกําหนดตัวแปรทดลอง (treatment) ใหกับหนวยทดลอง เปนไปอยางสุม 1. มีตัวแปรอิสระหรือตัวแปรทดลอง (treatment) 1 ตัวที่แบงเปนหลายระดับและมากกวา 2 ระดับ ระดับของการทดลองอาจเปนเชิงปริมาณหรือคุณภาพก็ได 2.มีการสุมหนวยทดลอง เขารับการทดลอง และสุมระดับตัวแปรทดลองใหกับหนวยทดลอง 3.หนวยทดลองแตละหนวยจะไดรับระดับการทดลองเพียงระดับเดียวเทานั้น Treatment ระดับที่ 1 a1 a2 a3 a4 a5 … … … … …

Treatment ระดับที่ 2 a1 a2 a3 a4 a5 … … … … …

Treatment ระดับที่ 3 a1 a2 a3 a4 a5 … … … … …

ขอดี สามารถนําตัวแปรตนไดทีละหลายระดับ ขอบกพรอง บางครั้งจัดกระทําไดอยาก เนื่องจากไมสามารถหากลุมตัวอยางที่มีลักษณะที่เทาเทียมกันได แบบที่ 12 แบบกลุมสุม (Randomized Block Design) ลักษณะของแบบแผนการทดลอง 1.มีตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรทดลอง หนึ่งตัวที่แบงเปนตั้งแตสองระดับขึ้นไป 2.มีการจัดกลุมตัวอยางออกเปนกลุม (Block) แตละกลุมมีความแปรปรวนภายในกลุมนอยกวา ความแปรปรวนระหวางกลุม 3.จํานวนหนวยทดลองในแตละกลุมเทากัน 4.สุมระดับของตัวแปรทดลองใหกับหนวยทดลองในแตละกลุมดังนั้นกลุมหนึ่ง ๆ จะไดรับ การทดลองทุกระดับ (ยกเวนไมตองสุม เมื่อภายในกลุมมีเพียงตัวอยางเดียว)ฃ การจัดกลุมใหมีความเปนเอกพันธ แบบแผนการทดลองนี้มีลักษณะเดนคือการจัดหนวยทดลองเปนกลุมที่มีความเปนเอกพันธุ โดยใชตัวแปรที่เกี่ยวของกับตัวแปรตามเปนตัวแปรจัดกลุม ซึ่งอาจเปนลักษณะของหนวยทดลอง เชน


44

เพศ อายุ สายพันธุ การจัดกลุมใหเปนเอกพันธุ อาจทําไดโดยใชตัวอยางที่มาจากตระกูล หรือสายพันธุ เดียวกัน เชน ฝาแฝด สัตวที่เกิดในคลอกเดียวกัน หรือใชการจับคู ระดับที่ 1ของ Treatment A1 A1 A1

Block 1 Block 2 Block 3 Block 4

ระดับที่ 2 ของ Treatment A2 A2 A2

ระดับที่ 3ของ Treatment A3 A3 A3

ขอดี มีการควบคุมตัวแปรเกิน โดยนําตัวแปรเกินมาเปนตัวแปรจัดกลุม จึงทําใหเกิดความตรงายใน ขอบกพรอง บางครั้งจัดกระทําไดอยาก เนื่องจากไมสามารถหากลุมตัวอยางที่มีลักษณะเปนเอกพันธกันได ตัวอยางโครงการที่ใชการออกแบบการวิจัยเชิงทดลอง โครงการเรื่อง ผลการใชใบมันสําปะหลังกําจัดปลาชอนในการเตรียมบอเลี้ยงปลา ของ ชุ ติทร โพกะจิว และคณะ (2549) ที่ใชแบบแผนการทดลอง แบบสุมสมบูรณ (Completely Randomized Design : CRD) T1R4

T 1 R1

T 2 R3

T 3 R3

T 2 R2

T 3 R3

T 1 R3

T 3 R4

T3R3

T 2 13

T 2 R4

T 1 R2


45

ในการออกแบบการวิจยั ผูจัดทําโครงการควรเลือกรูปแบบการวิจยั ที่ทําใหผลการวิจยั มี ความถูกตองนาเชื่อถือ และในขณะเดียวกันก็ตองคํานึงถึงสภาพการวิจยั ที่ไมผิดจรรยาบรรณ และความ เปนไปไดในการปฏิบัติควบคูกันไปดวย ถาการออกแบบการวิจยั ตามทฤษฎีกับความเปนจริงสวนทาง กัน ก็เปนหนาที่ของผูจัดทําโครงการที่จะตองหาจุดที่เหมาะสมใหไดการออกแบบการวิจัยที่มที ั้งความ เปนไปได ความนาเชื่อถือของผลการวิจัย และสามารถนําไปปฏิบัติในความเปนจริงได ผูจัดทํา โครงการจึงควรวางแผนเก็บรวบรวมขอมูลเสริมจุดออนที่พึงมี ขอมูลเกี่ยวกับปญหาดังกลาว ทั้งการใช เวลาในการดําเนินการวิจยั การขาดหายไปของสมาชิก สิ่งแทรกซอนและสิ่งแปลกปน ซึ่งควรนํามา พิจารณาในการแปลความหมายเพื่อสรุปผลการวิจัย ทางที่ดีผูจัดทําโครงการควรหาทางปองกันหรือ ควบคุมปญหาดังกลาวกอนและระหวางการดําเนินการวิจัย อันจะเปนอานิสงสสงผลใหงานวิจัยนัน้ มี คุณภาพของขอคนพบที่นาเชื่อถือและเปนประโยชน เอกสารอางอิง คณาจารย ภาควิชาการวัดผลและวิจยั ทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร. 2538. เอกสารการอบรม ปฏิบตั ิการทําวิจัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. ทิศนา แขมณี และสรอยสน สกลรักษ. 2540. แบบแผนและเครื่องมือการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บุญเรียง ขจรศิลป. 2543. วิธีวิจัยทางการศึกษา. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: พิชาญพริ้นติ้ง. ไพฑูรย สินลารัตน และสําลี ทองธิว. 2537. การวิจัยทางการศึกษา: หลักและวิธีการสําหรับผูจัดทํา โครงการ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณวิทยาลัย. อุทุมพร จามรมาน. 2537. การทําวิจัยเชิงสํารวจ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Ary, D และคณะ” 1979. Introduction to Research in Education. Second Edition. USA. Holt, Rinchart and Winston. Atweh B and Others. (1998). Action Research in Practice. New York : Routledge. Cohen, L and Manion, L. 1994. Research Methods in Education. 4th ed. Britian: Croom Helm. David A. V. 2001. Research Design in Social Research. 2nd ed. London : Sage. John W. C. 1994. Research Design Qualitative and Quantitative Approach. U.S.A. Sage Puplishion.


46

Kirk E. R. 1995. Experimental Design : Procedures for the Behavioral Science. 3rd ed . New York : Brooks /Cole. Meredith, D G, Walter R.B and Joyce P. G. 1993. Education Research An Introducton. 6th ed. USA: Longman. Therese, L. B. 1994. Doing Social Research. 2nd ed. USA.: MoGraw Hill. Walter R.B. 1986. Applying Educational Research A Practical Guige for Teachers. New York: Longman.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.