ใบความรู้สารสนเทศมอสอง

Page 1

ใบความรู้ เรื่อ ง ข้อ มูล สารสนเทศ และการ ประมวลผล คำา นิย ามของข้อ มูล ข้อมูล คื อ ข้อ เท็ จจริง คุ ณ ลั ก ษณะหรื อ ปริ ม าณในรู ป ของตัวเลขหรือข้อความที่มีความหมายเพียงพอที่จ ะนำา ไป ใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ เช่ น จำา นวนคน วั น เดื อ น ปี อายุ ราคา สินค้า อุณหภูมิ นำ้า หนัก แรงดันนำ้า แรงกดอากาศ กลิ่น รส แสง สี เสียง เป็นต้น คุณ สมบัต ิข องข้อ มูล ที่ด ี จะต้อ งมีล ัก ษณะดัง นี้ 1. มี ค ว า ม ถู ก ต้ อ ง ข้ อ มู ล ที่ ดี ต้ อ งถู ก ต้ อ ง ไม่ ค ลาด เคลื่ อ นจากความเป็ น จริ ง ไม่เ ช่น นั้ นก็ ไม่ สามารถนำา ไปใช้ ประโยชน์ได้ และอาจสร้างความเข้าใจผิดหรือเป็นอันตราย ร้ายแรงได้ ตัวอย่างเช่น สมมุติว่าเครื่องจักรชนิดหนึ่งบรรจุ อยู่ในลังรวมนำ้าหนักได้ลังละ 500 กิโลกรัม แต่ปรากฎว่าเจ้า หน้าที่ฝ่ายเตรียมเอกสารข้อมูลที่ส่งให้แก่กับตันหรือบรรทุก สิ น ค้ า พิ ม พ์ ข้ อ มู ล ผิ ด จาก 500 กิ โ ลกรั ม เป็ น 50 กิ โ ลกรั ม และสมมุติว่าเรือรับนำ้า หนักได้ 1,000 กิโลกรัม ซึ่งทำา ให้รับ นำ้า นักได้จริงเพียง 2 กล่องเท่านั้น แต่นำ้า หนักผิดทำา ให้การ


สามารถใส่ ไ ด้ ถึ ง 20 กล่ อ ง เมื่ อ เที ย บกั บ นำ้า หนั ก จริ ง คื อ 20,000 กิโลกรัม ซึ่งอาจทำาให้เรือล่มได้เนื่องจากนำ้าหนักเกิน เ พ ร า ะ เ รื อ รั บ นำ้า ห นั ก ไ ด้ เ พี ย ง 1,000 กิ โ ล ก รั ม เ ท่ า นั้ น ซึง่ เห็นการดังกล่าวอาจก่อให้เกิดความเสียหายได้

2. ทัน เ ว ล า ข้อมูลต้องทันเวลาและทันสมัย เพราะถ้า ข้อมูลล้าสมัยหรือเก่าเกินไป ก็จะไร้ประโยชน์และอาจสร้าง ความเสี ย หายได้ เ ช่ น กั น ตั ว อย่ า งเช่ น มี ข้ อ มู ล ว่ า ทางการ ไฟฟ้ า จะดั บ ไฟฟ้ า ในบริ เ วณโรงงานทอผ้ า แห่ ง หนึ่ ง เวลา 14.00 น. แต่ข้อมูลส่งไปถึงโรงเรียนเวลา

13.55 น. กรณี

นี้ อ าจทำา ให้ วิศ วกรผู้ ค วบคุ ม เครื่ อ งจั ก รเตรี ย มตั ว หาไฟฟ้ า


สำา รองหรือหยุดเครื่องไม่ทั น เมื่ อไฟดับ ขณะที่ เ ครื่ องกำา ลั ง ทำางานอยู่ อาจทำาให้เครื่องด้ายที่กำาลังทอขาด และยุ่งเหยิง ยากแก่ ก ารเริ่ ม ต้ น ทำา งานได้ ใ หม่ ทำา ให้ เ กิ ด ความเสี ย หาย หลายแสนบาท เป็นต้น 3. ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ง า น ข้อมูล ต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ งานที่ ทำา ตั ว อย่ า งเช่ น หากเราต้ อ งการเดิ น ทางไปสถานที่ แ ห่ ง หนึ่งของรถไฟ ข้อมูลที่เ ราต้องการคือ ตารางเวลาการเดิ น ทางของรถไฟจากสถานที่ เ ราจะไปขึ้ น รถไฟ ตารางเวลา เที่ ย วบิ น ของเครื่ อ งบิ น โดยสารย่ อ มไม่ มี ป ระโยชน์ ต่ อ การ เดินทางของเรา เป็นต้น 4. ส า ม า ร ถ ต ร ว จ ส อ บ ไ ด้ ข้ อ มู ล ที่ ดี ต้ อ งสามารถ ตรวจสอบได้ ว่ า ถู ก ต้ อ ง น่ า เชื่อ ถื อ หรื อ ไม่ และรู้ แ หล่ ง ที่ ม า ของข้อมูลที่สามารถอ้างอิงตรวจสอบได้ ตัวอย่างเช่น ผลิต รถยนต์ ยี่ ห้ อ หนึ่ ง บอกว่ า รถของตนเองประหยั ด นำ้า มั น เชื้ อ เพลิ ง ถ้ า เขาต้ อ งการลงโฆษณาจะต้ อ งมี ข้ อ มู ล ที่ ส ามารถ ตรวจสอบและพิ สู จ น์ ไ ด้ ไม่ เ ช่ น นั้ น จะถู ก ว่ า โฆษณาเกิ น ความเป็นจริงอาจถูกดำาเนินคดีตามกฎหมายได้ 5. มีค วามสม บูร ณ์ค รบถ้ว น ข้อมูลที่ดีจะต้องมีความ สมบู ร ณ์ แ ละครบถ้ ว น การได้ ข้ อ มู ล เพี ย งบางส่ ว นอาจไม่


เพี ยงพอต่อ การใช้ ง าน หรื ออาจทำา ให้ เ กิ ด ความเข้ า ใจผิ ด เกินผลเสียมากกว่าผลดีในการทำางาน

ชนิด ของข้อ มูล ข้ อ มู ล โดยทั่ ว ไปมี ห ลายรู ป แบบ แตกต่ า งกั น ทั้ ง ชนิ ด และความหมาย และต้ อ งจั ด เก็ บ ในสื่ อ ชนิ ด ใดชนิ ด หนึ่ ง ที่ สามารถนำา ออกมาใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ เราจำา แนกข้ อ มู ล ตาม ลักษณะการจัดเก็บได้ 4 ชนิด คือ 1. ข้อ มูล ที่เ ป็น ตัว เลข (Numeric type) ใช้ระบุความ หมายของสิ่งต่าง ๆ เชิงปริมาณ และสามารถนำา มาคำา นวณ ทางคณิตศาสตร์ เช่น การ บวก ลบ คูณ หาร ได้ เช่น ราคา สิน ค้ า จำา นวนสิ่ ง ของ ความสู ง โดยระบุ เ ป็ น ตั ว เลขเท่ า นั้ น เช่ น ราคา 500 บาท จำา นวน 2 กล่ อ ง รวมเป็ น เงิ น 1,000 บาท เป็นต้น 2. ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ตั ว อั ก ข ร ะ (Character type) ใช้ บรรยายความหมายแทนข้ อ มู ล บางอย่ า ง เช่ น ชื่ อ คน ชื่ อ ต้นไม้ เป็นต้น


3. ข้อ มูล ที่เ ป็น ตัว อัก ษ ร เ ลข (Alphanumeric type) หมายถึงมีทั้งตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์พิเศษ เช่น (!.,? *%$#@-+) ปนกัน ใช้บรรยายหรือสื่อความหมายต่าง ๆ 4. ข้ อ มู ล มั ล ติ ม ี เ ดี ย (Multimedia) หรื อ สื่ อ ประสม เช่ น ภาพ เสี ย ง ข้ อ ความปนกั น เป็ น ต้ น เป็ น ข้ อ มู ล อี ก ประเภทหนึ่งที่กล่าวถึงกันมาก แต่ความจริงแล้วข้อมูลชนิดนี้ ถู ก จั ด เก็ บ ในคอมพิ ว เตอร์ ใ นรู ป ของข้ อ มู ล ประเภทใด ประเภทหนึ่งในสามประเภทแรก ข้ อ มู ล ดิ บ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ รั บ มาจากที่ ต่ า ง ๆ นั้ น หากมี จำา นวนมากและไม่ ผ่ า นการประมวลผลก็ ย ากที่ จ ะนำา มา เปรี ย บเที ย บหาคุ ณ ค่ า หรื อ ค้ น หาสิ่ ง ที่ ต้ อ งการได้ ง่ า ย ๆ ข้อมูลประเภทนี้เรียกว่าข้อมูลดิบ (raw data) ซึง่ ประกอบด้วย ข้อมูลที่มีค่าและไม่มีค่าปะปนกันมากมาย เมื่อนำาข้อมูลเหล่า นี้ ม าผ่ า นกระบวนการที่ เ หมาะสมก็ จ ะสามารถคั ด เลื อ กเอา เฉพาะข้อมูลที่เป็นประโยชน์สามารถนำา ไปใช้งานหรือช่วย ในการตัดสินใจได้ ข้อมูลที่ผ่านการคัดเลือกหรือประมวลผล เพื่ อ ให้ นำา ไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ นี้ เราเรี ย กว่ า สารสนเทศ (Information) สารสนเทศ (Information)


สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้วและมี ความหมายเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ นั่นหมายความว่า ข้อมูลที่ ประมวลผลแล้ ว นั้ น ไม่ ไ ด้ มี ป ระโยชน์ ไ ปเสี ย ทั้ ง หมด และ ประโยชน์ที่มีก็แตกต่างกัน แล้วแต่การรับรู้ของแต่ละคน แต่ ก่อ นนั้ น การตี ค วามว่า อะไรเป็ น สารสนเทศขึ้ น อยู่ กั บ สาขา วิ ช าหรื อ ความสนใจของแต่ ล ะคน ดั ง นั้ น การให้ คำา จำา กั ด ความของคำา ว่ า สารสนเทศ จึ ง มี ก ารเอนเอี ย งไปในทาง สาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง ขึ้นกับว่าใครเป็นผู้ให้คำาจำากัดความ ดั ง นั้ น จึ ง สรุ ป ได้ ว่ า สารสนเทศ คื อ ข้ อ มู ล ที่ มี ค วาม หมายและคุณค่าต่อผู้ใช้ คุณค่าในที่ นี้ไม่จำา เป็ นต้องหมาย ถึงเงิน หรือประโยชน์เพื่อการวิเคราะห์และตัดสินใจเท่านั้น อาจเพื่อการอย่างอื่นก็ได้ และสารสนเทศไม่จำา เป็นต้องอยู่ ในรูปของตัวเลขหรือตัวอักษรเท่านั้น ตัวอย่างเช่น ลักษณะ ของต้นไม้ซึ่งเป็นผลลัพธ์ของกระบวนการเจริญเติบโตตาม ธรรมชาติ บ่ ง ของถึ ง เมล็ ด พั น ธุ์ กระบวนการเติ บ โต และ ความสมบู ร ณ์ ข องดิ น ที่ มั น ถื อ กำา เนิ น ขึ้ น มา ดั ง นั้ น ลั ก ษณะ ของต้นไม้จึงถือได้ว่าเป็นสารสนเทศอย่างหนึ่งสำา หรับผู้ที่มี ความรู้ความสนใจเกี่ยวกับต้นไม้ และบ่งชี้ถึงสภาพของดิน ว่ า มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ห รื อ ไม่ แสดงว่ า เฉพาะคนที่ เ ข้ า ใจ ความหมายของมันเท่านั้นจึงจะได้รับสารสนเทศ


การประมวลผลข้อ มูล ให้เ ป็น สารสนเทศ ดังได้กล่าวมาแล้วว่า การจะสร้างสารสนเทศได้ต้องมี ข้อ มู ล และการประมวลผล ก่ อ นที่ จ ะประมวลผลข้ อ มู ล ต้ อ ง ทราบก่อนว่า เราจะจัดการเกี่ยวกับข้อมูลได้อย่างไร ขัน ้ ตอนการประมวลผลข้อ มูล 1. การรวบรวมข้อมู ล หมายถึง การเก็ บข้ อมูล จำา นวน มากจากแหล่งกำาเนิดมาทำาการเข้ารหัสในรูปที่เหมาะสมต่อ การจัดเก็บ และบันทึกในสื่อที่สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้นาน ๆ เช่น จดบันทึกในกระดาษรวบรวมใส่แฟ้ม เก็บเข้าตู้ หรือบน ทึกลงในจานแม่เหล็กโดยระบบคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ต้อง ทำาการตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลที่ได้ก่อนนำาไปเก็บ เพื่อให้ ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนและถูกต้องแม่นยำาอย่างแท้จริง 2. การบำา รุง รั กษาและประมวลผลข้ อมูล เป็น กระบวน การรั ก ษาข้ อ มู ล ไว้ ใ ห้ ใช้ ไ ด้ต ลอดไป ซึ่ง อาจประกอบด้ ว ย การปรั บ ปรุ ง ข้ อ มู ล ให้ ทั น สมั ย ตลอดเวลา ทำา การแยก


ประเภท จัดเรียงลำาดับ และคำานวณหาข้อมูลใหม่จากข้อมูล ทีม ่ ีอยู่แล้ว เพื่อให้ใช้งานได้หลากหลายมากขึ้น 3 การจัดการข้อมูล คือการสร้างระบบจัดข้อมูลจำานวน มากให้ ส ามารถนำา ไปใช้ ง านได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ทั น เวลา ซึ่ ง ประกอบด้วยการจัดเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทั้ง แบบแฟ้ ม กระดาษหรื อ แฟ้ม ในคอมพิ ว เตอร์ การสร้ า งฐาน ข้อมูล คือระบบเก็ บข้อมูลขนาดใหญ่ที่มีการจัดระบบบำา รุง รักษาไม่ให้ผิดเพี้ยนหรือสูญหาย และการสร้างระบบค้นหา ข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถสืบค้นได้รวดเร็ว และมี ข้อมูลสะสมให้เลือกใช้มากมาย การจัดการข้อมูลอย่างเป็น ระบบ เริ่ ม ต้ น ที่ ก ารสร้ า งฐานข้ อ มู ล ซึ่ ง จะต้ อ งออกแบบให้ สอดคล้ อ งกั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ ปั จ จุ บั น นี้ มี ซ อฟต์ แ วร์ ห รื อ โปรแกรมสำา เร็ จ รู ป ที่ ส ามารถใช้ จั ด การข้ อ มู ล ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล เช่น Access หรือ Oracle

แบบฝึก หัด เรื่อ ง ข้อ มูล สารสนเทศ และการประมวลผล ชื่ อ -ส กุ ล ...................................................................เ ล ข ที่..............ชัน ้ ..................


คำา ชี้แ จ้ง ให้ นั ก เรี ย นตอบคำา ถามต่ อ ไปนี้ ใ ห้ ถู ก ต้ อ งและ สมบูรณ์ที่สุด 1. ข้อมูลดิบคืออะไร .............................................................................................. ................................... .............................................................................................. ................................... .............................................................................................. ................................... .............................................................................................. ................................... 2. ข้อมูลที่ดีต้องมีลักษณะอย่างไร .............................................................................................. ................................... .............................................................................................. ................................... .............................................................................................. ................................... .............................................................................................. ................................... .............................................................................................. ................................... 4. จงบอกวิธีการจัดเก็บข้อมูล .............................................................................................. ................................... .............................................................................................. ...................................


.............................................................................................. ................................... .............................................................................................. ................................... .............................................................................................. ................................... .............................................................................................. ................................... 5. จงให้คำาจำากัดความของคำาว่าสารสนเทศ .............................................................................................. ................................... .............................................................................................. ...................................


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.