เรื่อง วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา โดย เด็กหญิง จุฑารัตน์ สมัครเดียว ชัน้ ม.๓ เลขที่ ๑๑ หนังสือเล่มเล็กฉบับนี้ เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาสังคมฯ ชัน้ ม.๓ ปี การศึกษา ๒๕๕๗ โรงเรียนบ้านสดอ
เข้เข้าาพรรษา พรรษา ประวัติพิธีเข้าพรรษาของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนามีเรื่องเล่าว่า ในประเทศอินเดียในสมัยโบราณ เมื่อถึงฤดูฝน น้้ามักท่วม ผู้ที่ สัญจรไปมาระหว่างเมือง เช่น พวกพ่อค้า ก็หยุดเดินทางไปมา ชั่วคราว พวกเดียรถีย์และปริพาชกผู้ถือลัทธิต่าง ๆ ก็หยุดพัก ณ สถานที่แห่งใดแห่งหนึ่งตลอดฤดูฝน ทั้งนี้เพราะการคมนาคมไม่ สะดวก ทางเป็นหลุมเป็นโคลน เมื่อเกิดพระพุทธศาสนาแล้ว พระพุทธเจ้าเสด็จจาริกเผยแพร่พระศาสนาต่อไป นับเป็นพุทธจริยา วัตรและในตอนแรกที่ยังมีพระภิกขุสงฆ์ไม่มาก พระภิกขุสงฆ์ปฏิบัติ ประพฤติตามพระพุทธเจ้า ความครหานินทาใด ๆ ก็ไม่เกิดมีขึ้นจึง ไม่ต้องทรงตั้งบัญญัติพิธอี ยู่จ้าพรรษา ครั้นพอพระพุทธศาสนาแผ่ ขยายออกไปกว้าง พระภิกขุสงฆ์ได้เพิ่มปริมาณเพิ่มขึ้น
ค้าว่าวิสาขบูชาย่อมาจากค้าว่า"วิสาขปุรณมี บูชา"แปลว่า"การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะดังนั้นวิ สาขบูชาจึงหมายถึงการบูชาในวันเพ็ญเดือน6การ ก้าหนดวันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชาตรงกับวันขึ้น15 ค่้าเดือน 6 ตามปฏิทินจันทรคติของไทยซึ่งมักจะ ตรงกับเดือนพฤษภาคมหรือมิถนุ ายนแต่ถ้าปีใดมี อธิกมาสคือมีเดือน8สองหนก็เลื่อนไปเป็นวันขึ้น15 ค่้ากลางเดือน 7 หรือราวเดือนมิถนุ ายนอย่างไรก็ ตามในบางปีของบางประเทศอาจก้าหนดวันวิสาขบู ชาไม่ตรงกับของไทยเนื่องด้วยประเทศเหล่านั้นอยู่ ในต้าแหน่งที่ต่างไปจากประเทศไทยท้าให้วันเวลา
วิสาขบูชา วันวิสาขบูชา (บาลี: วิสาขปูชา; อังกฤษ: Vesak) เป็นวัน สาคัญสากลทางพระพุทธศาสนาสาหรับชาวพุทธทุกนิกายทั่ว โลก ทั้งเป็นวันหยุดราชการในหลายประเทศ และวันสาคัญ ในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ [1] เพราะเป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สาคัญที่สุดใน พระพุทธศาสนา 3 เหตุการณ์ด้วยกัน คือ การประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธโคดม โดยทั้งสาม เหตุการณ์ได้เกิด ณ วันขึ้น 15 ค่า เดือน 6 หรือวันเพ็ญ แห่งเดือนวิสาขะ (ต่างปีกัน) ชาวพุทธจึงถือว่า เป็นวันที่รวม เกิดเหตุการณ์อัศจรรย์ยิ่ง และเรียกการบูชาในวันนี้ว่า "วิ สาขบูชา" ย่อมาจาก "วิสาขปุรณมีบูชา" แปลว่า "การบูชา ในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ" อันเป็นเดือนที่สองตามปฏิทินของ อินเดีย ซึ่งตรงกับวันเพ็ญเดือน 6 ตามปฏิทินจันทรคติของ ไทย และมักตรงกับเดือนพฤษภาคมหรือมิถุนายนตามปฏิทิน จันทรคติของไทย โดยในประเทศไทย ถ้าปีใดมีเดือน 8
ความเป็ นมา
เข้าพรรษาวัน เข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่า เดือน 8) หรือเทศกาลเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่า เดือน 8 ถึง วันขึ้น 15 ค่า เดือน 11) ถือได้ว่าเป็นวันและช่วงเทศกาลทาง พระพุทธศาสนาที่สาคัญเทศกาลหนึ่งในประเทศไทย โดยมี ระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในช่วงฤดูฝน โดยวันเข้าพรรษาเป็นวัน สาคัญทางพระพุทธศาสนาที่ต่อเนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา (วันขึ้น 15 ค่า เดือน 8) ซึ่งพุทธศาสนิกชนชาวไทยทั้งพระมหากษัตริย์ และคนทั่วไปได้สืบทอดประเพณีปฏิบัติการทาบุญในวันเข้าพรรษามา ช้านานแล้วตั้งแต่สมัยสุโขทัย
สาเหตุที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตการจาพรรษาอยู่ ณ สถานที่ใด สถานที่หนึ่งตลอด 3 เดือนแก่พระสงฆ์นั้น มีเหตุผลเพื่อให้ พระสงฆ์ได้หยุดพักการจาริกเพื่อเผยแพร่ศาสนาไปตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นไปด้วยความยากลาบากในช่วงฤดูฝน เพื่อป้องกันความ เสียหายจากการอาจเดินเหยียบย่าธัญพืชของชาวบ้านที่ปลูกลงแปลง ในฤดูฝน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช่วงเวลาจาพรรษาตลอด 3 เดือนนั้น เป็นช่วงเวลาและโอกาสสาคัญในรอบปีที่พระสงฆ์จะได้มา
ออกพรรษา เมื่อถึง วันออกพรรษา พุทธศาสนิกชนถือเป็น โอกาสอันดีที่จะเข้าวัดเพื่อบาเพ็ญกุศลแก่พระสงฆ์ที่ ตั้งใจจาพรรษาและตั้งใจปฏิบัติธรรมมาตลอดจนครบ ไตรมาสพรรษากาลในวันนี้ และวันถัดจากวันออก พรรษา 1 วัน (แรม 1 ค่า เดือน 11) พุทธศาสนิกชนในประเทศไทยยังนิยมไปทาบุญตัก บาตรครั้งใหญ่ เรียกว่า ตักบาตรเทโว หรือ ตัก บาตรเทโวโรหณะ เพื่อราลึกถึงเหตุการณ์สาคัญใน พุทธประวัติที่กล่าวว่า ในวันถัดวันออกพรรษาหนึ่งวัน พระพุทธเจ้าได้เสด็จลงจากเทวโลกกลับจากการโปรด พระพุทธมารดาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในพรรษาที่ 7 เพื่อลงมายังเมืองสังกัสสนคร[2]พร้อมกับทรงแสดง โลกวิวรณปาฏิหาริย์เปิดโลกทั้งสามด้วยนอกจากนี้ ช่วงเวลาออกพรรษาตั้งแต่วันแรม 1 ค่าเดือน 11 ถึง วันขึ้น 15 ค่า เดือน 12 ถือเป็นเวลากฐินกาลตาม พระวินัยปิฎกเถรวาท เป็นช่วงเวลาที่พุทธศาสนิกชน
วันออกพรรษา หรือ วันปวารณาออกพรรษา เป็นวันสาคัญทาง พุทธศาสนาวันหนึ่งในประเทศไทย เนื่องจากเป็นวันสิน้ สุด ระยะเวลาจาพรรษา 3 เดือนของพระสงฆ์เถรวาท โดยเป็นวันที่ พระสงฆ์จะทาสังฆกรรมปวารณาออกพรรษาในวันนี้ วันออก พรรษาตามปกติ (ออกปุริมพรรษา1) จะตรงกับวันขึ้น 15 ค่า เดือน 11 (ประมาณเดือนตุลาคม) หลังวันเข้าพรรษา 3 เดือน ตามปฏิทนิ จันทรคติไทย
การออกพรรษานั้น ถือเป็นข้อปฏิบัติ ตามพระวินัยสาหรับพระสงฆ์โดยเฉพาะ เรียกว่า "ปวารณา"[1] จัดเป็นญัตติกรรมวาจาสังฆกรรมประเภทหนึ่ง ที่ถูกกาหนดโดย พระวินัยบัญญัตใิ ห้โอกาสแก่พระสงฆ์ที่จาพรรษาอยู่ร่วมกันตลอด ไตรมาสสามารถว่ากล่าวตักเตือนและชี้ข้อบกพร่องแก่กันและกัน ได้โดยเสมอภาค ด้วยจิตที่ปรารถนาดีซึ่งกันและกัน เพื่อสามารถ ให้พระสงฆ์ที่ถูกตักเตือนมีโอกาสรับรู้ข้อบกพร่องของตนและ สามารถนาข้อบกพร่องไปแก้ไขปรับปรุงตัวให้ดียงิ่ ขึ้น