จิราภรณ์ ทศราช

Page 1

เรื่อง วันสาคัญทางศาสนาพุทธ จัดทาโดย เด็กหญิง จิราภรณ์ ทศราช ชั้น ม.๓ เลขที่๙ หนังสือเล่มเล็กฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาสังคมฯ ชั้นม.๓ปีการศึกษา ๒๕๕๗


การออกพรรษานั้น ถือเป็นข้อปฏิบัติตามพระวินัยสาหรับพระสงฆ์ โดยเฉพาะจัดเป็นญัตติกรรมวาจาสังฆกรรมประเภทหนึ่ง ที่ถูกกาหนดโดย พระวินัยบัญญัติให้โอกาสแก่พระสงฆ์ที่จาพรรษาอยู่ร่วมกันตลอด เมือ่ ถึง วันวิสาขบูชา ขึ้น15 ค่า เดือน 6 พุทธยันตี วันวิสาขบูชาปี

วันออกพรรษา พุทธศาสนิกชนถือเป็นโอกาสอันดีที่จะเข้าวัดเพื่อบาเพ็ญ กุศลแก่พระสงฆ์ที่ตั้งใจจาพรรษาและตั้งใจปฏิบัติธรรมมาตลอดจนครบไตร

วันวิสาขบูชา หนึ่งในวันสาคัญทางพุทธศาสนา และถือเป็นวันที่

มาสพรรษากาลในวันนี้ และวันถัดจาก วันออกพรรษา 1 วัน (แรม 1 ค่า

มหัศจรรย์ของชาวพุทธ เพราะได้เกิดเหตุการณ์สาคัญที่เกี่ยวเนื่อง

เดือน 11) พุทธศาสนิกชนในประเทศไทยยังนิยมไปทาบุญตักบาตรครั้งใหญ่

กับพระพุทธเจ้า ขึ้นถึง 3 เหตุการณ์ โดยความมหัศจรรย์เนื่องในวันวิสาขบูชาทั้งสามคือ เป็นวันคล้ายวัน “ประสูต”ิ ของเจ้าชายสิทธัตถะ และต่อมาได้ “ตรัสรู”้ เป็นพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงกอปรไปด้วย พระบริสุทธิคุณ , พระปัญญา คุณ ผู้ซึ่งได้ทรงสั่งสอนประกาศพระสัจธรรม คือความจริงของโลก

เรียกว่า ตักบาตรเทโว หรือ ตักบาตรเทโวโรหนะ เพือ่ ราลึกถึงเหตุการณ์


ชาวพุทธจึงเรียกการบูชาในวันนี้ว่า วิสาขบูชา ซึ่งย่อมาจากคาว่า วิ สาขปูรณมีบูชา การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ วิสาขบูชา มีการนับ วันออกพรรษา หรือ วันปวารณาออกพรรษา เป็นวันสาคัญทางพุทธ

ถือปฏิบัติกันในหลายประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาทัง้ มหายานและ

ศาสนาวันหนึ่งในประเทศไทย เนื่องจากเป็นวันสิ้นสุดระยะเวลาจา

เถรวาททุกนิกายมาช้านานแล้ว เป็นวันสาคัญของพุทธศาสนาโลก

พรรษา 3 เดือนของพระสงฆ์เถรวาท โดยเป็นวันที่พระสงฆ์จะทาสังฆ กรรมปวารณาออกพรรษาในวันนี้ วันออกพรรษาตามปกติ (ออกปุริม

และด้วยเหตุนี้ที่ประชุมใหญ่สมัชชาสหประชาชาติจึงยกย่องให้วันวิ

พรรษา1) จะตรงกับวันขึ้น 15 ค่า เดือน 11 (ประมาณเดือนตุลาคม) หลังวันเข้าพรรษา 3 เดือน ตามปฏิทินจันทรคติไทย การออกพรรษานั้น ถือเป็นข้อปฏิบัติตามพระวินัยสาหรับพระสงฆ์ โดยเฉพาะ เรียกว่า "ปวารณา"[1] จัดเป็นญัตติกรรมวาจาสังฆกรรม

สาขบูชาเป็น วันสาคัญสากลนานาชาติ (International Day) หรือ วันสาคัญของโลก ตามคาประกาศของที่ประชุมใหญ่สมัชชา สหประชาชาติ ครั้งที่ 54 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2542


ความเป็นมาของวันเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่า เดือน 8) หรือเทศกาลเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่า เดือน 8 ถึง วันขึ้น 15 ค่า เดือน 11) ถือได้ว่าเป็นวันและช่วงเทศกาลทาง พระพุทธศาสนาที่สาคัญเทศกาลหนึ่งในประเทศไทย โดยมีระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในช่วงฤดูฝน

โดยวันเข้าพรรษาเป็นวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาที่ต่อ

เนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา (วันขึ้น 15 ค่า เดือน 8) ซึ่งพุทธศาสนิกชนชาว ไทยทั้งพระมหากษัตริย์และคนทั่วไปได้สืบทอดประเพณีปฏิบัติการทาบุญในวัน เข้าพรรษามาช้านานแล้วตั้งแต่สมัยสุโขทัย สาเหตุทพี่ ระพุทธเจ้าทรงอนุญาตการจาพรรษาอยู่ ณ สถานที่ใดสถานที่หนึ่ง ตลอด 3 เดือนแก่พระสงฆ์นั้น มีเหตุผลเพื่อให้พระสงฆ์ได้หยุดพักการจาริกเพื่อ เผยแพร่ศาสนาไปตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นไปด้วยความยากลาบากในช่วง

ในเรื่องความเป็นมาของการเข้าพรรษา ถ้าว่ากันตามประวัติย่อๆ คือ ในยุคต้น พุทธกาลยังไม่มีการเข้าพรรษา เพราะฉะนั้นตลอดทั้งปี เมื่อพระภิกษุมีความเห็นว่า ท่านควรจะไปเทศน์ไปสอนญาติโยมที่ไหนได้ เมื่อท่านพอจะมีเวลา ท่านก็จะไป หรือ แม้ไม่ได้ไปเทศน์ไปสอนใคร ถ้าเห็นว่าที่ไหนเงียบสงัดดี เหมาะในการที่จะไปบาเพ็ญ ภาวนา ทาสมาธิ ท่านก็จะไป ซึ่งแน่นอนว่าส่วนมากก็จะอยู่ในเขตที่เป็นป่าเป็นเขา ห่างไกลออกไปจากตัวเมือง

บ้างก็ต้องเดินผ่านไปในชนบท

เนื่องจากในฤดูฝน

ชาวบ้านต่างทาไร่ทานากันอยู่ จากการที่ท่านต้องไปอย่างนี้ บางครั้งข้าวกล้าของ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.