เรือ่ ง วันสาคัญทางศาสนาพุทธ จัดทาโดย นายไพโรจน์ ทองเนตร ชัน้ ม.๓ เลขที่ ๓ หนังสือเล่มเล็กฉบับนี้ เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาสังคม ชัน้ ม.๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ โรงเรียนบ้านสดอ
วันวิสาขบูชา ในหนังสื อนางนพมาศได้กล่าวบรรยากาศการ ประกอบพิธีวสิ าขบูชาสมัยสุ โขทัยไว้ พอสรุ ปใจความได้วา่ " เมื่อถึง
วันวิสาขบูชา พระเจ้าแผ่นดิน ข้าราชบริ พาร ทั้งฝ่ ายหน้า และฝ่ ายใน ตลอดทั้งประชาชนชาวสุ โขทัยทัว่ ทุก หมู่บา้ นทุกตาบล ต่างช่วยกัน ทาความสะอาด ประดับตกแต่งพระนครสุ โขทัยเป็ นการพิเศษ ด้วย ดอกไม้ของหอม จุดประทีปโคมไฟแลดูสว่างไสวไปทัว่ พระนคร เป็ นการอุทิศบูชาพระรัตนตรัย เป็ นเวลา ๓ วัน ๓ คืน พระมหากษัตริ ย ์ และบรมวงศานุวงศ์ ก็ทรงศีล และทรงบาเพ็ญพระราชกุศลต่างๆ ครั้น ตกเวลาเย็นก็เสด็จพระราช ดาเนิน พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ และนางสนองพระโอษฐ์ต ลอดจนข้าราชการทั้งฝ่ ายหน้า และฝ่ ายใน ไปยังพระ อารามหลวง เวียนเทียนรอบพระประธาน
เข้าพรรษา" แปลว่า "พักฝน" หมายถึง พระภิกษุสงฆ์ ต้องอยูป่ ระจา ณ วัดใดวัดหนึ่งระหว่างฤดูฝน โดยเหตุที่ พระภิกษุในสมัยพุทธกาล มีหน้าที่จะต้องจาริ กโปรด สัตว์ และเผยแผ่พระธรรมคาสั่งสอนแก่ประชาชนไป ในที่ต่าง ๆ ไม่จาเป็ นต้องมีที่อยูป่ ระจา แม้ในฤดูฝน ชาวบ้านจึงตาหนิวา่ ไปเหยียบข้าวกล้าและพืชอื่นๆ จน เสี ยหาย พระพุทธเจ้าจึงทรงวางระเบียบการจาพรรษา ให้พระภิกษุอยูป่ ระจาที่ตลอด 3 เดือน ในฤดูฝน คือ เริ่ ม ตั้งแต่วนั แรม 1 ค่า เดือน 8 ของทุกปี ถ้าปี ใดมีเดือน 8 สองครั้ง ก็เลื่อนมาเป็ นวันแรม 1 ค่า เดือนแปดหลัง และออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 11 เว้นแต่มีกิจ ธุระเจ้าเป็ นซึ่ งเมื่อเดินทางไปแล้วไม่สามารถจะกลับได้ ในเดียวนั้น ก็ทรงอนุญาตให้ไปแรมคืนได้ คราวหนึ่ง ไม่เกิน 7 คืนเรี ยกว่า สัตตาหะ
ในหนังสื อนางนพมาศได้กล่าวบรรยากาศการประกอบพิธีวิ สาขบูชาสมัยสุโขทัยไว้ พอสรุ ปใจความได้วา่ " เมื่อถึงวันวิ สาขบูชา พระเจ้าแผ่นดิน ข้าราชบริ พาร ทั้งฝ่ ายหน้า และฝ่ าย ใน ตลอดทั้งประชาชนชาวสุโขทัยทัว่ ทุก หมู่บา้ นทุกตาบล ต่างช่วยกันทาความสะอาด ประดับตกแต่งพระนครสุโขทัย เป็ นการพิเศษ ด้วยดอกไม้ของหอม จุดประทีปโคมไฟแลดู สว่างไสวไปทัว่ พระนคร เป็ นการอุทิศบูชาพระรัตนตรัย เป็ น เวลา ๓ วัน ๓ คืน พระมหากษัตริ ย ์ และบรมวงศานุวงศ์ ก็ทรง ศีล และทรงบาเพ็ญพระราชกุศลต่างๆ ครั้นตกเวลาเย็น ก็เสด็จ พระราช ดาเนิน พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ และ นางสนองพระโอษฐ์ต ลอดจนข้าราชการทั้งฝ่ ายหน้า และฝ่ าย ใน ไปยังพระ อารามหลวง เพื่อทรงเวียนเทียนรอบพระ ประธาน
วันมาฆบูชา วันมาฆบูชา หมายถึง การบูชา ในวันเพ็ญเดือน ๓ เนื่องในโอกาส คล้าย วันที่ พระพุทธเจ้าทรง แสดง โอวาทปาติโมกข์ สาคัญวันมาฆบูชา วันมาฆบูชา เป็นวันขึน้ ๑๕ ค่า เดือน ๓ มีเหตุการณ์อศั จรรย์ ที่ พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้าจานวน ๑,๒๕๐ รูป มาเฝ้า พระพุทธเจ้า ณ วัดเวฬุวนั เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ โดย มิได้นดั หมายกันพระสงฆ์ ทัง้ หมดเป็ นพระอรหันต์ ผูไ้ ด้อภิญญา ๖และเป็นผูท้ ไ่ี ด้รบั การอุปสมบท โดยตรงจาก พระพุทธเจ้า ในวันนี้พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดง โอวาทปาติโมกข์ ในทีป่ ระชุมสงฆ์เหล่านัน้ ซึง่ เป็ นทัง้ หลักการอุดมการณ์และวิธกี ารปฏิบตั ทิ ่ี นาไปใช้ได้ทุกสังคม
ประวัติวันมาฆบูชา มูลเหตุ หลังจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสรูใ้ นวันขึน้ 15 ค่า เดือน 6 และได้ทรงประกาศพระศาสนาและส่งพระอรหันต สาวกออกไปจาริก เพือ่ เผยแพร่ พระพุทธศาสนา ยังสถานทีต่ า่ ง ๆ ล่วงแล้วได้ 9 เดือน ในวันทีใ่ กล้พระจันทร์เสวยมาฆฤกษ์ (วันขึน้ 15 ค่า เดือน 3) พระอรหันต์ทงั ้ หลายเหล่านัน้ ต่างได้ระลึกว่า วันนี้ เป็ นวันสาคัญของศาสนาพราหมณ์ อันเป็นศาสนาของตนอยู่ เดิม ก่อนทีจ่ ะหันมานับถือพระธรรมวินยั ของพระพุทธเจ้า และในลัทธิศาสนาเดิมนัน้ เมือ่ ถึงวันเพ็ญเดือนมาฆะ เหล่าผู้ ศรัทธาพราหมณลัทธินิยมนับถือกันว่าวันนี้เป็ นวันศิวาราตรี โดยจะทาการบูชาพระศิวะด้วยการลอยบาปหรือล้างบาป ด้วยน้ า