หนังสือเล่มเล็ก เรือ่ ง วันสาคัญทางศาสนาพุทธ จัดทาโดย นายสุระ เฉลียวศิลป์ ชัน้ ม.๓ เลขที๓่ หนังสือเล่มเล็กฉบับนี้ เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาสังคมฯ ชัน้ นม.๓ปีการศึกษา๒๕๕๗
วันวิสาขบูชา เป็นวันสาคัญสากลทางพระพุทธศาสนาสาหรับ ชาวพุทธทุกนิกายทัวโลก ่ ทัง้ เป็ นวันหยุดราชการในหลาย ประเทศ และวันสาคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชา ใหญ่แห่งสหประชาชาติ[1] เพราะเป็ นวันคล้ายวันทีเ่ กิด เหตุการณ์สาคัญทีส่ ดุ ในพระพุทธศาสนา 3 เหตุการณ์ดว้ ยกัน คือ การประสูติ ตรัสรู้ และ ปรินิพพานของพระพุทธโค ดม โดยทัง้ สามเหตุการณ์ ได้เกิด ณ วันขึน้ 15 ค่า เดือน 6 หรือวันเพ็ญแห่ง เดือนวิสาขะ (ต่างปีกนั ) ชาวพุทธจึงถือว่า เป็ นวันที่ รวมเกิดเหตุการณ์อศั จรรย์ ยิง่ และเรียกการบูชาใน วันนี้วา่ "วิสาขบูชา" ย่อมาจาก "วิสาขปุรณมีบูชา" แปลว่า "การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ" อันเป็นเดือนทีส่ องตาม ปฏิทนิ ของอินเดีย ซึง่ ตรงกับวันเพ็ญเดือน 6 ตามปฏิทนิ จันทรคติของไทย และมักตรงกับเดือนพฤษภาคมหรือ มิถุนายนตามปฏิทนิ จันทรคติของไทย
วันมาฆบูชาได้รบั การยกย่องเป็ นวันสาคัญทางศานาพุทธ เนื่องจากเหตุการณ์สาคัญทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ 2,500 กว่าปีกอ่ น คือ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ ท่ามกลางทีป่ ระชุมมหาสังฆสันนิบาตครัง้ ใหญ่ใน พระพุทธศาสนา โดยมี เหตุการณ์เกิดขึน้ พร้อมกัน 4 ประการ คือ พระสงฆ์ สาวก 1,250 รูปได้มา ประชุมพร้อมกันยังวัดเวฬุ วันโดยมิได้นดั หมาย, พระสงฆ์ทม่ี าประชุม ทัง้ หมดเป็ น "เอหิภกิ ขุอุปสัมปทา" หรือ ผูไ้ ด้รบั การอุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยตรง, พระสงฆ์ทม่ี า ประชุมล้วนเป็ นพระอรหันต์ผทู้ รงอภิญญา 6, และวันดังกล่าว ตรงกับวันเพ็ญมาฆปุรณมีดถิ ี ขึน้ 15 ค่า เดือน 3 ดังนัน้ จึง เรียกวันนี้อกี อย่างหนึ่งว่า "วันจาตุรงคสันนิบาต" หรือ วันทีม่ ี การประชุมพร้อมด้วยองค์ 4
วันมาฆบูชา (เป็นวัน สาคัญของชาวพุทธเถร วาทและวันหยุดราชการ ในประเทศไทย[1] "มาฆบูชา" ย่อมาจาก "มาฆปูรณมีบูชา" หมายถึง การบูชาในวัน เพ็ญกลางเดือนมาฆะ ตามปฏิทนิ ของอินเดีย หรือเดือน 3 ตามปฏิทนิ จันทรคติของไทย (ตกช่วงเดือน กุมภาพันธ์หรือมีนาคม) ถ้าปีใดมีเดือนอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน (ปีอธิกมาส) ก็เลือ่ นไปทาในวันเพ็ญเดือน 3 หลัง (วัน เพ็ญเดือน 4)
โดยในประเทศไทย ถ้าปีใดมีเดือน 8 สองหน ก็เลือ่ นไปทาใน วันเพ็ญเดือน 7 แต่ประเทศอื่นทีน่ บั ถือพระพุทธศาสนาเถรวาท และไม่ได้ถอื คติตามปฏิทนิ จันทรคติไทย จะจัดพิธวี สิ าขบูชาใน วันเพ็ญเดือน 6 แม้ในปีนนั ้ จะมีเดือน 8 สองหนตามปฏิทนิ จันทรคติไทยก็ตาม ส่วนในกลุม่ ชาวพุทธมหายานบางนิกายที่ นับถือว่า เหตุการณ์ทงั ้ 3 นัน้ เกิดในวันต่างกันไป จะมีการจัด พิธวี สิ าขบูชาต่างวันกันตามความเชือ่ ในนิกายของตน ซึง่ ไม่ ตรงกับวันวิสาขบูชาตามปฏิทนิ ของชาวพุทธเถรวาท
วันอาสาฬหบูชา (เป็ นวันสาคัญทางศาสนาพุทธนิกายเถร วาทและวันหยุดราชการในประเทศไทย[1] คาว่า อาสาฬหบูชา ย่อมาจาก "อาสาฬหปูรณมีบูชา" แปลว่า "การบูชาในวันเพ็ญ เดือนอาสาฬหะ" อันเป็ นเดือนทีส่ ต่ี ามปฏิทนิ ของประเทศ อินเดีย ตรงกับวันเพ็ญ เดือน 8 ตามปฏิทนิ จันทรคติของไทย ซึง่ มักจะ ตรงกับเดือนมิถุนายนหรือ เดือนกรกฎาคม แต่ถา้ ในปี ใดมีเดือน 8 สองหน ก็ให้ เลือ่ นไปทาในวันเพ็ญเดือน 8 หลังแทน วันอาสาฬหบูชาได้รบั การยกย่องเป็ นวันสาคัญทาง พระพุทธศาสนา เนื่องจากเหตุการณ์สาคัญทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ในวันขึน้ 15 ค่า เดือน 8 คือวันอาสาฬห ปุรณมีดถิ ี หรือวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ[2] ณ ปา่ อิสปิ ตน มฤคทายวัน เมืองพาราณสี แคว้นมคธ อันเป็นวันที่ พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระธรรมเทศนาเป็ นครัง้ แรกเป็ นปฐม เทศนา คือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร แก่ปญั จวัคคีย[3]์
การแสดงธรรมครัง้ นัน้ ทาให้พราหมณ์โกณฑัญญะ 1 ใน 5 ปญั จวัคคีย์ เกิดความเลือ่ มใสในพระธรรมของพระพุทธเจ้า จน ได้ดวงตาเห็นธรรมหรือบรรลุเป็ นพระอริยบุคคลระดับโสดาบัน ท่านจึงขออุปสมบทในพระธรรมวินยั ของพระพุทธเจ้า ด้วยวิธี เอหิภกิ ขุอุปสัมปทา พระอัญญาโกณฑัญญะจึงกลายเป็ น พระสงฆ์องค์แรกในโลก และด้วยเหตุทท่ี า่ นได้ บรรลุธรรมเป็ นพระ อริยบุคคล (อนุพุทธะ) เป็ นคนแรก จึงทาให้ใน วันนัน้ มีพระรัตนตรัยครบ องค์สามบริบูรณ์เป็นครัง้ แรกในโลก คือ มีทงั ้ พระ พุทธ พระธรรมและ พระสงฆ์ ด้วยเหตุน้จี งึ ทา ให้วนั นี้ถูกเรียกว่า "วัน พระธรรม" หรือ วันพระธรรมจักร อันได้แก่วนั ทีล่ อ้ แห่งพระ ธรรมของพระพุทธเจ้าได้หมุนไปเป็ นครัง้ แรก และ "วัน พระสงฆ์" คือวันทีม่ พี ระสงฆ์เกิดขึน้ เป็ นครัง้ แรก อีกด้วย