เรื่อง วันสาคัญทางศาสนาพุทธ จัดทาโดย นางสาวณิชกมล ประวาสุข ชั้น ม.๓ เลขที่ ๑0 หนังสือเล่มเล็กฉบับนี้ เป็นส่วนหนึง่ ของรายวิชาสังคมฯ ชั้น ม.๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ โรงเรียนบ้านสดอ
วันพระ ในสมัยพุทธกาล เหล่านักบวชนอก ศาสนาได้ประชุมแสดงคาสอนตาม ความเชื่อของตน ทุกวัน ๘ คา่ ๑๔ คา่ และ ๑๕ คา่ เป็ นปกติ ครัง้ นัน้ พระเจ้าพิ มพิ สาร พระราชา แห่งแคว้นมคธ เกิ ดความคิ ดว่า น่ าที่เหล่าสงฆ์ใน พระพุทธศาสนาจะได้กระทาเช่นนัน้ บ้าง เพื่อความเลื่อมใส ศรัทธาของเหล่าชนเฉกเช่นที่นักบวชนอกศาสนานัน้ ได้รบั จึง กราบทูลขอพุทธานุญาตจาก พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระพุทธ องค์ทรงอนุญาตตามนัน้ การประชุมกันของเหล่าสงฆ์ตามพุทธานุญาตได้มีวิวฒ ั นาการ ขึน้ ตามลาดับ ตัง้ แต่การมาประชุม แล้วนัง่ นิ่ ง เริ่ มแสดงธรรม ต่อมาทรงอนุญาตให้สวดปาฏิ โมกข์ ซึ่งเป็ นการทบทวนข้อ ปฏิ บตั ิ ที่เป็ นวิ นัย ของสงฆ์ในพระพุทธศาสนาพร้อมแสดงอาบัติ คือ เปิ ดเผยข้อผิดพลาดในวิ นัยต่อผูอ้ ื่น ให้เป็ นกิ จกรรมในวัน อุโบสถ คือวัน ๘ คา่ ๑๔ คา่ และ ๑๕ คา่
วันออกพรรษา หรือ วันปวารณาออกพรรษา เป็นวันสาคัญทาง พุทธศาสนาวันหนึ่งในประเทศไทย เนื่องจากเป็ นวันสิน้ สุดระยะเวลา จาพรรษา 3 เดือนของพระสงฆ์เถรวาท โดยเป็ นวันทีพ่ ระสงฆ์จะทา สังฆกรรมปวารณาออกพรรษาในวันนี้ วันออกพรรษาตามปกติ (ออก ปุรมิ พรรษา1) จะตรงกับวันขึน้ 15 ค่า เดือน 11 (ประมาณเดือน ตุลาคม) หลังวันเข้าพรรษา 3 เดือน ตามปฏิทนิ จันทรคติไทย การออกพรรษานัน้ ถือเป็ นข้อปฏิบตั ติ ามพระวินยั สาหรับพระสงฆ์ โดยเฉพาะ เรียกว่า "ปวารณา"[1] จัดเป็ นญัตติกรรมวาจาสังฆกรรม ประเภทหนึ่ง ทีถ่ ูกกาหนดโดยพระวินยั บัญญัตใิ ห้โอกาสแก่พระสงฆ์ ทีจ่ าพรรษาอยูร่ ว่ มกันตลอดไตรมาสสามารถว่ากล่าวตักเตือนและชี้ ข้อบกพร่องแก่กนั และกันได้โดยเสมอภาค ด้วยจิตทีป่ รารถนาดีซง่ึ กันและกัน เพือ่ สามารถให้พระสงฆ์ทถ่ี ูกตักเตือนมีโอกาสรับรู้ ข้อบกพร่องของตนและสามารถนาข้อบกพร่องไปแก้ไขปรับปรุงตัว ให้ดยี งิ่ ขึน้
จากที่สงฆ์ถือปฏิ บตั ิ ทกุ วันอุโบสถ คือ ๓ ครัง้ ต่อปักษ์ (สอง สัปดาห์) จนกระทั ่งท้ายที่สดุ ทรงบัญญัติชดั เจนว่า ให้สงฆ์ ประชุมกันเพื่อสวดปาฏิ โมกข์เพียงปักษ์ละ ๑ ครัง้ คือ ทุก ๑๔ คา่ หรือ ๑๕ คา่ เท่านัน้ ซึ่งสงฆ์ได้ถือปฏิ บตั ิ มาจนกระทั ่งทุกวันนี้ นัน่ คือ แม้วนั อุโบสถ หรือ วันพระ จะมีทงั ้ ในวัน ๘ คา่ และวัน ๑๔ คา่ หรือ ๑๕ คา่ ก็จริ ง แต่กป็ ระชุมกันเฉพาะในวัน ๑๔ คา่ หรือ ๑๕ คา่ ตามพุทธานุญาตเท่านัน้ วันขึน้ (แรม) ๘, ๑๔ และ ๑๕ คา่ กาหนดโดย ถือการเปลี่ยนแปลงของพระจันทร์ จากเดือนเต็ม ดวงจนถึงเดือนมืด และกลับเป็ นเดือนเต็มดวงอีกครัง้ โดยคืน พระจันทร์เต็มดวงเรียก ขึน้ ๑๕ คา่ พระจันทร์ค่อย ๆ ดับนับ แรม ๑ คา่ ๒ คา่ ตามลาดับ ถึง ๑๕ คา่ เป็ นวันพระจันทร์ดบั พอดี จากนัน้ เริ่ มนับขึน้ จาก วันขึน้ ๑ คา่ ๒ คา่ จนถึงขึน้ ๑๕ คา่ เป็ น วันพระจันทร์เต็มดวงอีกครัง้ หนึ่ ง เป็ นอันครบรอบ ๑ เดือน
ความเป็ นมาของวันเข้าพรรษา ในเรื่องความเป็ นมาของวันเข้าพรรษา ถ้าว่ากันตามประวัตยิ อ่ ๆ คือ ในยุคต้นพุทธกาล ก็ยงั ไม่มกี ารเข้าพรรษา เพราะฉะนัน้ ตลอดทัง้ ปี เมื่อพระภิกษุมคี วามเห็นว่าท่านควรจะไปเทศน์ ไปสอนญาติโยมที่ ไหนได้ ท่านพอมีเวลา ท่านก็จะไป หรือไม่ได้ไปเทศน์ไปสอนใคร ถ้า เห็นว่าทีไ่ หนมันเงียบ มันสงัดดี เหมาะในการทีจ่ ะไปบาเพ็ญภาวนา ทาสมาธิ(Meditation)ของท่าน ท่านก็จะไป ซึง่ แน่นอน ส่วนมากก็จะอยูใ่ นเขตทีเ่ ป็ นปา่ เป็ นเขา ไกลๆออกไปจากตัวเมือง หรือว่าต้องผ่านไปในชนบทนันเอง ่ จากการทีท่ า่ นต้องไปอย่างนี้ เนื่องจากในฤดูฝนทีเ่ ขาทาไร่ทานากัน อยูน่ นั ้ บางครัง้ ข้าวกล้าของเขาก็เพิง่ หว่านลงไปในนา มันเพิง่ งอก ออกมาใหม่ๆ บางทีกด็ เู หมือนหญ้า พระภิกษุกเ็ ดินผ่านไป นึกว่ามัน เป็ นดงหญ้า ก็เลยย่าข้าวกล้าของเขาไป ซึ่งก็ทาให้ชาวบ้าน เดือดร้อน
เขาก็มาฟ้องพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่าพระไปย่าข้าวของเขาทีป่ ลูก เอาไว้ หว่านเอาไว้ นกกาฤดูฝนมันยังอยูก่ บั รังของมัน พระทาไมไม่ รูจ้ กั พักบ้าง เพือ่ ตัดปญั หานี้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็เลยทรงกาหนดให้พระภิกษุ เมื่อเข้าพรรษา หรือเมื่อเข้าฤดูฝน ให้พระอยูก่ บั ที่ คือ ตัง้ แต่แรม 1 ค่าเดือน 8 จนกระทังขึ ่ น้ 15 ค่าเดือน11 ให้อยูเ่ ป็ นทีเ่ ป็ นทาง ไม่ไป ทาภาวนาทีไ่ หน ไม่ไปเทศน์โปรดใคร ถ้าใครต้องการให้โปรด ก็มาที่ วัดก็แล้วกัน มาหาท่าน ไม่ใช่ทา่ นไปหาเขา กาหนดเป็ นอย่างนี้ไป เพือ่ ตัดปญั หาไม่ให้ใครมาบ่นลูกของพระองค์ได้ แต่อกี มุมมอง หนึ่ง พระองค์ทรงถือโอกาสทีเ่ กิดเป็ นปญั หานี้ ได้ทรงเปลีย่ นคา ครหาให้กลายเป็ นโอกาสดีของพระภิกษุวา่ ถ้าอย่างนัน้ พระภิกษุอยู่ เป็ นทีใ่ นวัดวาอาราม เพือ่ ทีจ่ ะให้พระใหม่ได้รบั การอบรมจากพระเก่า ได้เต็มที่ เพราะว่าจริงๆ แล้ว ในการอบรมถ่ายทอดศีลธรรม ถ่ายทอดธรรมวินยั ให้แก่กนั และกันนัน้ ถ้าทาอย่างต่อเนื่อง ทาเป็ นที่ เป็ นทางต่อเนื่องกันทุกวันทุกวัน อย่างนี้จะเป็ นการดี การศึกษา ธรรมะอย่างต่อเนื่องมีผลดี...