คู่มือบันทึกกิจกรรมค่าย

Page 1

คู่มือบันทึกกิจกรรมค่าย อ่าน – เขียนเตรียมการเรียนรู้ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕

ชื่อ – สกุล................................................................................................................ ชั้น....................................เลขที.่ .....................................กลุ่มสี.............................

วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ โรงเรียนบ้านสดอ อาเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑


คานา คู่มือบันทึกกิจกรรมค่ายอ่าน - เขียนเตรียมการเรียนรู้ฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้ ใช้ประกอบในการทากิจกรรมค่าย ซึ่งเป็นการเตรียมความพร้อมในการเปิดภาคเรียน โดยคณะ ผู้จัดทาได้คัดเลือกเนื้อหาที่สาคัญ ที่ผู้เรียนควรจะทราบและปฏิบัติได้ทุกคนในการเรียนตลอดปี การศึกษา โดยเน้นไปที่ทักษะการอ่านเขียน ซึ่งได้แก่ การเลือกหนังสือที่เหมาะสมในการอ่าน การบันทึกการอ่านที่ถูกวิธี การคัดลายมือที่ถูกต้อง การเขียนจดหมายลาครู การอ่านสรุปใจความ สาคัญโดยการทาแผนผังความคิด ซึ่งเนื้อหาทั้งหมดนี้เป็นเพียงเนื้อหาเบื้องต้นเพื่อเป็นพื้นฐาน เท่านั้น ผู้เรียนควรเก็บไว้เป็นคู่มือตลอดปีการศึกษา และควรไปศึกษาเพิ่มเติมตามแหล่งเรียนรู้ อื่นๆด้วย ทางคณะผู้จัดทาขอขอบคุณผู้อานวยการโรงเรียนบ้านสดอที่ได้มีนโยบายในการเตรียม ความพร้อมของผู้เรียน โดยเฉพาะการอ่าน – เขียนนั้นเป็นสิ่งสาคัญและเป็นพื้นฐานที่นาไปสู่ ความสาเร็จในการเรียนในทุกวิชา หากมีข้อบกพร่องในการจัดทาคู่มือฉบับนี้ขอความกรุณาแจ้งที่ คณะผู้จัดทา ซึ่งจะได้ปรับปรุงเพื่อนาไปใช้ในโอกาสต่อไป คณะผูจ้ ดั ทา


กาหนดการ วันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ๐๘.๓๐น. – ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน รับเอกสาร ๐๙.๐๐ น. – ๐๙.๓๐ น. ผู้อานวยการกล่าวเปิดกิจกรรม / ความสาคัญของการอ่าน

– เขียน

๐๙.๓๐ น. – ๑๐.๓๐ น. บรรยายความสาคัญของหนังสือ / ประเภทของหนังสือ / แนะนาหนังสือ ๑๐.๓๐ น. – ๑๒.๐๐ น. บรรยายการเขียนบันทึกการอ่าน ฝึกปฏิบัติการทาบันทึกการอ่าน ๑๒.๐๐ น. – ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ น. – ๑๔.๐๐ น. การคัดลายมือ ฝึกปฏิบัติการคัดลายมือ ๑๔.๐๐ น. – ๑๕.๐๐ น. การเขียนจดหมายลาครู ฝึกปฏิบัติการเขียนจดหมายลาครู ๑๕.๐๐ น. – ๑๖.๐๐ น. การอ่านสรุปเป็นองค์ความรู้ ฝึกปฏิบัติการทา

Mind Mapping


มารู้จักหนังสือกันเถอะ นักเรียนลองเขียนคาตอบตามความเข้าใจของนักเรียนดูนะคะว่าหนังสือในความหมายของนักเรียนคือ หนังสือ คือ ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... คาตอบของครู หนังสือ คือ .............................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................... เมื่อได้ฟังคาตอบว่าหนังสือ คืออะไรแล้ว นักเรียนคิดว่า หนังสือที่นักเรียนอ่านนั้น มีประโยชน์ต่อนักเรียน อย่างไร ( ป. ๒ – ๓ ๕ ข้อ ) ( ป.๔ – ๖ ๑๐ ข้อ ) ( ม.๑ – ๓ ๑๕ข้อ) สามารถแลกเปลี่ยนความคิดได้นะคะ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................


บนโลกกลมๆ ใบนี้มีหนังสืออยู่กี่ประเภทเอ่ย การแบ่งประเภทของหนังสือมีวิธีแบ่งได้หลายอย่าง แต่เพื่อให้เห็นลักษณะการผลิตและรูปเล่มได้ เด่นชัด หนังสืออาจแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆ คือ วารสาร (Periodical)และหนังสือเล่ม (book) วารสาร(Periodical) เป็นหนังสือที่มีชื่อหนังสือคงที่ จัดพิมพ์ออกจาหน่ายจ่ายแจกตามลาดับ เรื่อยไป เช่น หนังสือที่พิมพ์ออกมาทุกวันจะมีชื่อหนังสือชื่อเดียวกันตลอด ได้แก่ สยามรัฐ ไทยรัฐ เดลินิวส์ หรือหนังสือที่พิมพ์ออกมาทุกสัปดาห์ ทุกสองสัปดาห์ ทุกเดือน หรือทุกระยะเวลาต่างๆ มี ชื่อหนังสือเหมือนกัน เช่น สตรีสาร วิทยาจารย์ หลักไท หนังสือเหล่านี้เป็นวารสาร หนังสือประเภท วารสารยังอาจแบ่งออกเป็นประเภทย่อยได้เป็นหนังสือพิมพ์( newspaper) และนิตยสาร (magazine) หนังสือพิมพ์ (newspaper) เป็นหนังสือที่มีวัตถุประสงค์หลักในการให้ข่าวสารปัจจุบันแก่ผู้อ่าน ส่วน นิตยสารนั้นมุ่งที่จะให้ความรู้ความบันเทิงเป็นสิ่งสาคัญ การที่วัตถุประสงค์ในการจัดทาแตกต่างกัน ลักษณะ การใช้งานของหนังสือและลักษณะรูปร่างของหนังสือจึงย่อมแตกต่างกันออกไปด้วย จะเห็นว่าหนังสือพิมพ์นั้น พิมพ์บนกระดาษแผ่นใหญ่เรียงซ้อนกัน พับเป็นเล่มโดยไม่เย็บเล่มและไม่มีปก ส่วนนิตยสารนั้นมักมีปกที่พิมพ์ สีสันสวยงาม เย็บเป็นเล่มและเจียนเล่มเรียบร้อย ขนาดของเล่มเล็กกว่าหนังสือพิมพ์ การที่หนังสือประเภทใด จะมีรูปเล่มและขนาดอย่างใดย่อมแล้วแต่ลักษณะและวัตถุประสงค์การใช้งานของหนังสือเล่มนั้นๆ เป็น สาคัญ รูปเล่มและขนาดเล่มจะเป็นตัวกาหนดเครื่องจักรเครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้ในการผลิตด้วย จึงเป็นเรื่องที่ต้องคานึงถึงเชื่อมโยงกันไปทั้งสิ้น นิตยสาร (magazine) สาหรับนิตยสารนั้น ผู้ซื้อจะมีความพิถีพิถันมากกว่าซื้อหนังสือพิมพ์ นิตยสาร จึงมีปกที่พิมพ์ภาพสวยงาม อายุการใช้งานมีระยะเวลานานกว่าหนังสือพิมพ์ซึ่งจะมีอายุอย่างน้อยเท่ากับ ระยะเวลาออกนิตยสารนั้นๆ นิตยสารจึงยังคงคุณค่านานกว่าหนังสือพิมพ์ แม้เมื่อพ้นเวลาใช้งานแล้วก็ยังพอมี ราคาอยู่บ้าง หนังสือเล่ม (book) เป็นประเภทใหญ่ของหนังสืออีกประเภทหนึ่ง อาจแบ่งออกเป็นประเภทย่อยได้ หลายวิธี คือแบ่งตามลักษณะของผู้อ่าน เช่น หนังสือเด็ก หนังสือผู้ใหญ่หรือแบ่งตามเนื้อหาสาระ เช่น หนังสือสารคดีหนังสือบันเทิงคดี ซึง่ แต่ละประเภทแบ่งย่อยออกไปได้อกี เช่น สารคดี อาจแบ่งเป็นแบบเรียน ในระดับการศึกษาต่างๆ คู่มือครู แบบฝึกหัดตาราทางวิชาการ หนังสืออ้างอิง บันเทิงคดีก็แบ่งเป็น นวนิยาย กวีนิพนธ์ หนังสือเด็กก็อาจแยกออกเป็น หนังสือภาพ หนังสือการ์ตูนนิยาย หนังสือแต่ละ ประเภทก็มีลักษณะรูปเล่มเฉพาะที่เหมาะกับลักษณะการใช้งานของหนังสือประเภทนั้นๆ การผลิตหนังสือแต่ ละประเภทจึงมีวิธีการและอุปกรณ์ที่เหมาะสมแก่การผลิตหนังสือประเภทนั้นๆ ซึ่งก็ย่อมแตกต่างกันออกไปแต่ ละประเภท


หนังสืออ้างอิง เป็นหนังสือที่มีลักษณะพิเศษอีกแบบหนึ่งที่ผู้อ่านจะเลือกอ่านค้นคว้าเอาเฉพาะเรื่องที่ ต้องการ เช่น หนังสือพจนานุกรมจากภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่ง ผู้ซื้อจะค้นดูศัพท์เฉพาะคาที่ต้องการทราบ ความหมายโดยจะเปิดดูหน้าและตาแหน่งตรงที่มีศัพท์ที่ต้องการจะค้น แล้วอ่านดูว่ามีคาแปลว่าอย่าใด เข้าใจ แล้วก็ปิดเล่ม หนังสือเล่มหนึ่งๆ ได้อ่านจริงๆ ไม่กี่บรรทัดไม่กี่หน้า หากเป็นพจนานุกรมฉบับกระเป๋าก็จะต้อง ผลิตให้มีขนาดเล็กสามารถพกติดตัวไปได้สะดวก สามารถค้นดูศัพท์ได้ทุกเวลาที่ต้องการ ขนาดของเล่ม หนังสือจะเป็นสิ่งกาหนดตัวพิมพ์ ความหนาของแผ่นกระดาษและชนิดของกระดาษที่จะพิมพ์ เพื่อให้หนังสือ มีขนาดพอเหมาะที่จะบรรจุศัพท์ต่างๆ ลงในเล่มให้ครอบคลุมได้กว้างขวางตามที่ต้องการ และให้ได้ขนาด กว้างยาวและหนาพอที่จะพกในกระเป๋าเสื้อของผู้อ่านได้


การบันทึกการอ่าน การบันทึกการอ่านหมายถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อนามาใช้ในการเขียน ผู้อ่าน จาเป็นต้องมีทักษะการเขียนสรุปความ ถอดความ และคัดลอกข้อความสาคัญ การมีระบบการบันทึกที่ดีจะช่วย ให้เราสามารถรวบรวมข้อมูลข่าวสารต่างๆจากการอ่านไปใช้ให้เป็นประโยชน์ได้ถูกต้อง ครบถ้วน ช่วยให้การ จัดระเบียบข้อมูลที่ได้จากการอ่านเป็นไปอย่างมีระบบ ทั้งยังช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจและจดจาข้อมูลเหล่านั้นได้ง่าย กว่าการอ่านจากตาราหรือเอกสาร ข้อควรจาในการบันทึกการอ่าน - อย่าเขียนบันทึกทันทีที่ลงมืออ่าน ควรอ่านให้เข้าใจเสียก่อนเพื่อจะได้บันทึกจากความเข้าใจของเรา - กาหนดวัตถุประสงค์ของการบันทึกจากการอ่านเรื่องนั้น ๆ ให้ชัดเจน เพื่อจะได้มุ่งอ่านตามที่ต้องการ เท่านั้น เช่น อ่านเพื่อหาความรู้ทั่วไป อ่านเพื่อค้นหาข้อมูลบางเรื่อง - บันทึกประเด็นสาคัญที่สามารถตอบคาถามที่ตั้งไว้ จากนั้นจึงนาข้อความที่บันทึกไว้มาเขียนด้วยภาษา ของเราเอง หรืออาจขีดเส้นใต้ที่ข้อความสาคัญแล้วจึงเขียนสรุป - อย่าคัดลอกข้อความทั้งหมดที่อ่านมาโดยตรง บันทึกเฉพาะคาหรือข้อความที่สาคัญเท่านั้น - ในการบันทึกอาจใช้อักษรย่อและเครื่องหมายต่าง ๆ ได้เพื่อความรวดเร็วและจดจาได้ง่าย -

การบันทึกทุกครั้งต้องจดที่มาของข้อมูลด้วย เช่น มาจากบทความใด หนังสือเล่มใด ใครแต่ง หรือถ้า มาจากเว็บไซต์ก็ให้เขียนเว็บไซต์ที่มา พร้อมกับวันที่ที่ได้ทาการสืบค้นข้อมูลด้วย


ตัวอย่างแบบบันทึกการอ่าน ประจาวันที....................................... ่ เดือน........................ พุทธศักราช ............................... เรื่องที่อ่าน...............................................................................ผู้แต่ง............................................................... ที่มา................................................................................................................................................................... เวลาที่เริ่มอ่าน.................................................................. หน้าที่เริ่มอ่าน ................................................. สรุปสาระสาคัญหรือข้อคิดที่ได้จากการอ่าน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เวลาที่หยุดอ่าน...................................................... .......... หน้าที่หยุดอ่าน........................... สรุป อ่านได้จานวน........................หน้า โดยใช้ระยะเวลา........................................นาที

..................................................... )...................................................( ลายเซ็นผู้ปกครอง


การคัดลายมือ


คาชี้แจง ให้นักเรียนคัดลายมือ มงคลชีวิต ตามแบบกระทรวงศึกษาธิการ ( ประถมเต็มบรรทัด มัธยมครึ่ง บรรทัด) เช้าเจอครู หนูจงหัด สวัสดี สวนทางครู หนูยืนตรง จงทดลอง

นิสัยนี้ จะติดตัว ใม่มัวหมอง ฝึกให้คล่อง เป็นนิสัย จะได้ดี

อีกรับของ ส่งของ หนูต้องไหว้

จะทาให้ ผู้ใหญ่รัก เพิ่มศักดิ์ศรี

ไหว้พ่อแม่ ทั้งเช้าเย็น เป็นของดี กราบไหว้นี้ ฝึกไว้

ได้มงคล.

.............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................


การเขียนจดหมายลาครู การเขียนจดหมายลาครูเป็นการเขียน ตนไม่สามารถมาเรียนได้ จาเป็นต้องหยุดเรียน เนื่องจาก เจ็บปุวย หรือมีธุระจาเป็น มารยาทในการเขียนจดหมาย 1. ใช้กระดาษที่สุภาพ เช่น กระดาษเขียนจดหมายสีขาว กระดาษที่ใช้ต้องไม่ขาดหรือยับ เป็นต้น 2. เขียนด้วยลายมือที่สวยงาม สะอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อย 3. ใช้ภาษาที่สุภาพ และเขียนสั้นๆ ให้ได้ใจความชัดเจน รูปแบบการเขียนจดหมาย 1. ที่อยู่ของผู้เขียน อยู่ตรงมุมบนขวาของหน้ากระดาษให้เริ่มเขียนที่กึ่งกลางหน้ากระดาษ 2. วัน เดือน ปี ให้เขียนกึ่งกลางหน้ากระดาษ โดยเขียนวัน เดือน ปี ที่จะเขียนจดหมาย 3. คาขึ้นต้น ให้เขียนเว้นคั่นหน้ากระดาษ 1.5 นิ้ว 4. เนื้อหา เริ่มเขียนโดยย่อหน้าเล็กน้อย โดยเขียนบอกสาเหตุ และบอกระยะเวลาการลา 5. คาลงท้าย อยู่ตรงกับวันเดือนปีที่เขียน เป็นการบอกกล่าวแสดงความเคารพ 6. ลงชื่อผู้เขียน ให้เขียนเยื้องลงมาทางขวามือเล็กน้อย 7. คารับรองของผู้ปกครอง ให้เขียนตรงกับคาขึ้นต้นแล้วให้ผู้ปกครองลงชื่อกากับไว้


ตัวอย่าง จดหมายลาครู ๖๘/๑ หมู่ ๖ ตาบลเขวาสินรินทร์ อาเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรนิ ทร์๓๒๐๐๐ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๕ เรียน คุณครูประจาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เนื่องจากกระผมปุวยเป็นไข้หวัดใหญ่ จึงไม่สามารถมาเรียนได้ จึงขอลาปุวยเป็นเวลา ๓ วัน คือ ตั้งแต่วันพุธที่ ๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๙ เมื่อกระผมหายแล้ว จะมาเรียนตามปดติ ด้วยความเคารพอย่างสูง ด.ช. มาริโอ้ เมาเร่อ ขอรับรองว่าเป็นความจริง ………………………………. (ผู้ปกครอง) ฝึกเขียนจดหมายลาครู ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................


MIND MAP วิธีการเขียน Mind Map - เตรียมกระดาษเปล่าที่ไม่มีเส้นบรรทัดและวางกระดาษภาพแนวนอน - วาดภาพสีหรือเขียนคาหรือข้อความที่สื่อหรือแสดงถึงเรื่องจะทา Mind Map กลางหน้ากระดาษ โดย ใช้สีอย่างน้อย 3 สี และต้องไม่ตีกรอบด้วยรูปทรงเรขาคณิต - คิดถึงหัวเรื่องสาคัญที่เป็นส่วนประกอบของเรื่องที่ทา Mind Map โดยให้เขียนเป็นคา ที่มีลักษณะ เป็นหน่วย หรือเป็นคาสาคัญ (Key Word) สั้น ๆ ที่มีความหมาย บนเส้น ซึ่งเส้นแต่ละเส้นจะต้องแตก ออกมาจากศูนย์กลางไม่ควรเกิน 8 กิ่ง - แตกความคิดของหัวเรื่องสาคัญแต่ละเรื่องในข้อ 3 ออกเป็นกิ่ง ๆ หลายกิ่ง โดยเขียนคาหรือวลีบนเส้น ที่แตกออกไป ลักษณะของกิ่งควรเอนไม่เกิน 60 องศา - แตกความคิดรองลงไปที่เป็นส่วนประกอบของแต่ละกิ่ง ในข้อ 4 โดยเขียนคาหรือวลีเส้นที่แตกออกไป ซึ่งสามารถแตกความคิดออกไปเรื่อยๆ - การเขียนคา ควรเขียนด้วยคาที่เป็นคาสาคัญ (Key Word) หรือคาหลัก หรือเป็นวลีที่มีความหมาย ชัดเจน - คา วลี สัญลักษณ์ หรือรูปภาพใดที่ต้องการเน้น อาจใช้วิธีการทาให้เด่น เช่น การล้อมกรอบ หรือใส่ กล่อง เป็นต้น - ตกแต่ง Mind Map ที่เขียนด้วยความสนุกสนานทั้งภาพและแนวคิดที่เชื่อมโยงต่อกัน ข้อดีของการทาแผนที่ความคิด - ทาให้เห็นภาพรวมกว้าง ๆ ของหัวข้อใหญ่ หรือขอบเขตของเรื่อง - ทาให้สามารถวางแผนเส้นทางหรือตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง เพราะ รู้ว่าตรงไหนกาลังจะไปไหนหรือผ่านอะไรบ้าง - สามารถรวบรวมข้อมูลจานวนมากลงไว้ในกระดาษแผ่นเดียวกัน - กระตุ้นให้คิดแก้ไขปัญหา โดยเปิดโอกาสให้มองเห็นวิธีใหม่ ๆ ที่ สร้างสรรค์ - สร้างความเพลิดเพลินในการอ่านและง่ายต่อการจดจา


สรุป Mind Mapเป็นแผนที่ความคิดที่อัจฉริยะ เปรียบเสมือนลายแทงที่นาไปสู่ การจดจา การเรียบเรียง การ จัดระเบียบข้อมูลตามธรรมชาติ การทางานของสมองตั้งแต่ต้น หรือการเรียกข้อมูลเหล่านั้นกลับมาใช้ในภายหลัง เทคนิคการจดบันทึกแบบเดิม

นั่นหมายความว่า การจาและฟื้นความจา

จะทาได้ง่าย และมีความถูกต้องแม่นยากว่าการใช้


เรามาลองทา Mind Map (แผนผังความคิด) กันเถอะ



แบบวัดนิสัยรักการอ่าน แบบที่ 1 สาหรับระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 คาชี้แจง ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย √ ในช่องที่ตรงกับความรู้สึกของนักเรียน 1. นักเรียนรู้สึกอย่างไรเมื่อครูให้อ่านหนังสือ ( ) พอใจ ( ) เฉย ๆ

(

) ไม่พอใจ

2. นักเรียนรู้สึกอย่างไรเมื่อครูให้อ่านหนังสือในห้องสมุด ( ) พอใจ ( ) เฉย ๆ

(

) ไม่พอใจ

3. นักเรียนรู้สึกอย่างไรเมื่อครูให้อ่านหนังสือหลาย ๆ เล่ม ( ) พอใจ ( ) เฉย ๆ (

) ไม่พอใจ

แบบที่ 2 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – มัธยมศึกษาปีทีที่ 3 เธออ่านหนังสือมากแค่ไหน

(

) มากที่สุดเท่าที่จะหาเวลาได้

(

) มาก

(

) ปานกลาง

(

) น้อย

ถ้าเธอพบคายากในหนังสือเธอทาอย่างไร (

เธออ่านหนังสือให้ญาติพี่น้องฟังอย่างไร

เธอเป็นนักอ่านที่ดีแค่ไหน

จุดมุ่งหมายในการอ่านของเธอ

(

) เปิดพจนานุกรม

(

) ถามคุณครู

(

) ถามพ่อแม่

(

) ถามเพื่อน

(

) ต่อเมื่อเขาขอร้องให้อ่านให้ฟัง

(

) เขามีรางวัลให้จึงอ่านให้ฟัง

(

) เขาว่างไม่ได้จะอ่านให้ฟังทันที

(

) เมินเสียเถอะ จ้างให้ก็ไม่อ่าน

) อ่านไป ชอบหน้าใดตัดออกเก็บไว้ที่ตนเอง (

) อ่านไปเจอที่ถูกใจขีดเส้นใต้ทันที

(

) อ่านไป ถ้าหยุดจะหากระดาษมาคั่นไว้

(

) เตรียมสอบเท่านั้น

(

) เพิ่มพูนความรู้

(

) ฆ่าเวลา

(

) แม่ พ่อ ครูว่าให้อ่านมาก ๆ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.