นาย กฤตนัย ยืนยาว ม 3 สังคม

Page 1

สมุดเล่ มเล็ก เรื่อง วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา จัดทาโดย นาย กฤตนัย ยืนยาว ชั้น ม.3 เลขที่ 1

หนังสื อเล่ มเล็กฉบับนี้ เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา สั งคมศึกษา ฯ ชั้น ม.3 ปี การศึกษา 2557 โรงเรียนบ้ านสดอ


วันมาฆบูชา เป็ นวันสาคัญของชาวพุทธเถรวาท และวันหยุดราชการในประเทศไทย "มาฆบูชา" ย่อมาจาก "มาฆปูรณมีบูชา" หมายถึง การบูชาในวันเพ็ญกลางเดือน มาฆะตามปฏิทินของ อินเดีย วันมาฆบูชา ได้รับการยกย่องเป็ นวัน สาคัญทางศานาพุทธ เนื่องจากเหตุการณ์ สาคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ 2,500 กว่าปี ก่อน คือ องค์สมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ท่ามกลางที่ ประชุมมหาสังฆสันนิบาตครั้งใหญ่ในพระพุทธศาสนา โดยมีเหตุการณ์เกิดขึ้นพร้อมกัน 4 ประการ คือ พระสงฆ์สาวก 1,250 รู ปได้มาประชุมพร้อมกันยังวัดเวฬุ วันโดยมิได้นดั หมาย, พระสงฆ์ ที่มาประชุมทั้งหมดเป็ น "เอหิ ภิกขุอุปสัมปทา" หรื อผูไ้ ด้รับ การอุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยตรง

วันออกพรรษา หรือ วันปวารณาออกพรรษา เป็ น วันสาคัญทางพุทธศาสนาวันหนึ่งในประเทศไทย เนื่องจาก เป็ นวันสิ้ นสุ ดระยะเวลาจา พรรษา 3 เดือนของพระสงฆ์ เถรวาท โดยเป็ นวันที่ พระสงฆ์จะทาสังฆกรรม ปวารณาออกพรรษาในวันนี้ วันออกพรรษาตามปกติ จะ ตรงกับวันขึ้น 15 ค่า เดือน 11 หลังวันเข้าพรรษา 3 เดือน ตามปฏิทินจันทรคติไทย การออกพรรษานั้น ถือเป็ นข้อ ปฏิบตั ิตามพระวินยั สาหรับพระสงฆ์โดยเฉพาะ เรี ยกว่า "ปวารณา" จัดเป็ นญัตติกรรมวาจาสังฆกรรมประเภทหนึ่ง ที่ถูกกาหนดโดยพระวินยั บัญญัติให้โอกาสแก่พระสงฆ์ที่จา พรรษาอยูร่ ่ วมกันตลอดไตรมาสสามารถว่ากล่าวตักเตือน และชี้ขอ้ บกพร่ องแก่กนั และกันได้โดย เสมอภาค ด้วยจิตที่ปรารถนาดีซ่ ึ งกัน และกัน


วันโกน ในสมัยพุทธกาล พระเจ้าพิมพิสาร กษัตริย์ ผูค้ รองแคว้นมคธ ได้เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าซึง่ ประทับอยูท่ ่ี เขาคิชกูฏ ใกล้เมืองรา ชคฤห์ซง่ึ เป็ นเมืองหลวง ของแคว้น พระเจ้าพิม พิสารได้กราบทูลว่า นักบวชในศาสนาอืน่ มี วันประชุมสนทนาเกีย่ วกับหลักธรรมคาสอนในศาสนา ของเขา แต่พระพุทธศาสนานัน้ ยังไม่ม ี พระพุทธเจ้าจึง ทรงอนุ ญาตให้พระสงฆ์ประชุม สนทนาธรรมและแสดงพระธรรม เทศนาแก่ประชาชนตามคาขอ อนุ ญาตของพระเจ้าพิมพิสาร และเมือ่ พระพุทธศาสานาได้เผย แผ่เข้ามาในประเทศไทย พุทธศาสนิกชนจึงถือเอาวันดังกล่าวมาเป็ นวันธรรมสวนะ เพือ่ ถือศีล ปฏิบตั ธิ รรม ประกอบบุญกุศล และกระทากิจ ของสงฆ์มาตัง้ แต่สมัยสุโขทัย อีกด้วย

วันอาสาฬหบูชา เป็ นวันสาคัญทางศาสนาพุทธนิกาย เถรวาทและวันหยุดราชการใน ประเทศไทย คาว่า อาสาฬหบูชา ย่อ มาจาก "อาสาฬหปูรณมีบูชา" แปลว่า "การบูชาในวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ" อันเป็ นเดือนที่สี่ตามปฏิทินของ ประเทศอินเดีย ตรงกับวันเพ็ญ เดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย ซึ่ง มักจะตรงกับเดือนมิถุนายนหรื อเดือน กรกฎาคม แต่ถา้ ในปี ใดมีเดือน 8 สอง หน ก็ให้เลื่อนไปทาในวันเพ็ญเดือน 8 หลังแทน วันอาสาฬหบูชาได้รับการ ยกย่องเป็ นวันสาคัญทาง พระพุทธศาสนา เนื่องจากเหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 8 คือวันอาสาฬหปุรณมี ดิถี หรื อวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ณ ป่ าอิสิปตนมฤคทายวัน เมือง พาราณสี แคว้นมคธ อันเป็ นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระ ธรรมเทศนาเป็ นครั้งแรกเป็ นปฐมเทศนา คือ ธัมมจักกัปปวัตตน


วันเข้ าพรรษา เป็ นวันสาคัญในพุทธศาสนาวันหนึ่ง ที่ พระสงฆ์เถรวาทจะอธิ ษฐานว่าจะพักประจาอยู่ ณ ที่ใดที่ หนึ่ง ตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกาหนดเป็ นระยะเวลา 3 เดือน ตามที่พระธรรมวินยั บัญญัติไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น หรื อที่เรี ยก ติดปากกัน โดยทัว่ ไปว่า จา พรรษา พิธี เข้าพรรษานี้ถือเป็ นข้อปฏิบตั ิสาหรับ พระสงฆ์โดยตรง ละเว้นไม่ได้ ไม่วา่ กรณี ใด ๆ ก็ตาม การ เข้าพรรษาตามปกติเริ่ มนับตั้งแต่วนั แรม 1 ค่า เดือน 8 ของ ทุกปี และสิ้ นสุ ดลงในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 11 หรื อวันออก พรรษา วันเข้าพรรษา หรื อเทศกาลเข้าพรรษา ถือได้ว่าเป็ น วันและช่วงเทศกาลทางพระพุทธศาสนาที่สาคัญเทศกาล หนึ่งในประเทศไทย โดยมีระยะเวลาประมาณ 3 เดือน ในช่วงฤดูฝน โดยวันเข้าพรรษาเป็ นวันสาคัญทาง พระพุทธศาสนาที่ต่อเนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา

วันวิสาขบูชา เป็นวันสาคัญสากลทางพระพุทธศาสนา สาหรับชาวพุทธทุกนิกายทัวโลก ่ ทัง้ เป็น วันหยุดราชการในหลายประเทศ และวัน สาคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของ สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ เพราะเป็ น วันคล้ายวันทีเ่ กิดเหตุการณ์สาคัญทีส่ ดุ ใน พระพุทธศาสนา 3 เหตุการณ์ดว้ ยกัน คือ การประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระ พุทธโคดม โดยทัง้ สามเหตุการณ์ได้เกิด ณ วันขึน้ 15 ค่า เดือน 6 หรือวันเพ็ญแห่งเดือนวิสาขะ ชาวพุทธจึงถือว่า เป็น วันทีร่ วมเกิดเหตุการณ์อศั จรรย์ยงิ่ และ เรียกการบูชาในวันนี้วา่ "วิสาขบูชา" ย่อมา จาก "วิสาขปุรณมีบูชา" แปลว่า "การบูชา ในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ" อันเป็นเดือนที่ สองตามปฏิทนิ ของอินเดีย ซึง่ ตรงกับวันเพ็ญเดือน 6 ตาม ปฏิทนิ จันทรคติของไทย และมักตรงกับเดือนพฤษภาคมหรือ มิถุนายนตามปฏิทนิ จันทรคติของไทย โดยในประเทศไทย ถ้า ปีใดมีเดือน 8 สองหน ก็เลือ่ นไปทาในวันเพ็ญเดือน 7 แต่ ประเทศอื่นทีน่ บั ถือพระพุทธศาสนาเถรวาท และไม่ได้ถอื คติ ตามปฏิทนิ จันทรคติไทย จะจัดพิธวี สิ าขบูชาในวันเพ็ญเดือน 6


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.