แอมโมเนียเป็นตัวแปรคุณภาพน้ำหนึ่งที่มักปรากฏอยู่ในเอกสารเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเสมอ

Page 1

แอมโมเนียกับการเพาะเลีย้ งสั ตว์ นํา้

นิคม ละอองศิริวงศ์ คมน์ ศิลปาจารย์ และ ลักขณา ละอองศิริวงศ์ สถาบันวิจยั การเพาะเลีย้ งสัตว์ นาํ้ ชายฝั่ง สํานักวิจยั และพัฒนาประมงชายฝั่ง

บทนํา

แอมโมเนียเป็ นตัวแปรคุณภาพนํ้า หนึ่งที่มกั ปรากฏอยูใ่ นเอกสารเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์ นํ้าเสมอ นอกจากนี้แอมโมเนียเป็ นตัวแปรหนึ่งที่มาตรฐานคุณภาพนํ้าประเภทต่างๆได้กาํ หนดค่าไว้ เป็ นเกณฑ์อา้ งอิง แต่เอกสารเหล่านั้นใช้สัญลักษณ์แทนแอมโมเนียหรื อหน่วยความเข้มข้นแตกต่าง กันซึ่ งอาจสร้างความสับสนต่อผูอ้ ่านได้ เช่น กรมควบคุมมลพิษได้กาํ หนดความเข้มข้นของแอมโ ม เนีย (NH3-N) ในมาตรฐานคุณภาพนํ้าผิวดินประเภทที่ 2 (ใช้ประโยชน์เพื่อการประมง การอนุรักษ์ สัตว์น้ าํ ) สู งสุ ดไม่เกิน 0.5 mg/l (http://www.pcd.go.th/info_serv/reg_std_water05.html) ผูเ้ ขียน เห็นว่า แอมโมเนียดังกล่าวเป็ นแอมโมเนีย ทั้งหมด (TAN) มากกว่าแอมโมเนียไม่แตกตัว (NH3N)(ดูรายละเอียดในหัวข้อถัดไป) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมเรื่ อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายนํ้าทิ้งจากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าํ ชายฝั่งที่กาํ หนดให้น้ าํ ทิ้งที่ระบาย สู่ แหล่งนํ้าสาธารณะต้องมีค่าแอมโมเนีย(NH3-N) ไม่เกิน 1.1 mg-N/l (น่า จะเป็ น mg/l) หรื อในเอก สารงานวิจยั ต่างๆ ซึ่ งพิมพ์เผยแพร่ ในประเทศมักพบว่างานวิจยั เหล่านั้นไม่ได้ช้ ีชดั ลงไปว่าเป็ นแอมโมเนียในรู ปใด ผูเ้ ขียนจึงเขียนบทความนี้ข้ ึนมาเพื่อเผยแพร่ ความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับแอมโมเนีย แก่ผสู ้ นใจโดยเฉพาะอย่างยิง่ นักวิชาการประมงหรื อสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพนํ้า

คําศัพท์ และเคมีของแอมโมเนีย

ในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ าํ หรื อแหล่งนํ้าธรรมชาติแอมโมเนียจะอยูใ่ นภาวะสมดุลย์ระหว่างแอมโมเนียไม่แตกตัวหรื อแอมโมเนียอิสระ (unionized ammonia หรื อ free ammonia, NH3) กับแอมโมเนียมอิออน (ionized ammonium หรื อ ammonium ion, NH4+) ปฏิกิริยาสมดุลย์ของสารละลาย แอมโมเนียสามารถเขียนได้ดงั สมการ NH3 + H3O+

NH4+ + H2O

สมดุลย์ของสารละลายแอมโมเนียถูกควบคุมโดยพีเอชเป็ นหลัก เมื่อพีเอชเพิ่มขึ้นสมดุลย์ จะเปลี่ยนไปทางซ้าย หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่งได้วา่ เมื่อพีเอชเพิ่มขึ้ นจะทําให้ความเข้มข้นของแอมโมเนียไม่แตกตัวเพิม่ ขึ้น พีเอชที่เพิม่ ขึ้น 1 หน่วย จะทําให้ความเข้มข้นของแอมโมเนียไม่แตกตัวเพิม่ ขึ้น 10 เท่า สมดุลย์ของสารละลายแอมโมเนียยังขึ้นอยูก่ บั อุณหภูมิและความแรงของอิออน (ionic strength) ของสารละลาย ความเข้มข้นของแอมโมเนี ยรวม(ทั้งหมด) (total ammonia, Tamm หรื อ TA)


หรื อเรี ยกสั้นๆ ว่า “แอมโมเนีย” (Lawson, 1995; Boyd and Tucker, 1998) จึงเป็ นผลรวมของความ เข้มข้นของแอมโมเนียมอิออนกับแอมโมเนีย ไม่แตกตัว Total ammonia (Tamm ) = NH3+ NH4+ เมื่อกล่าวถึงแอมโมเนียมักเขียนหรื อพูดเพียงสั้นๆ ว่า “แอมโมเนีย” จึงเกิดความสับสนได้ เพราะอาจหมายถึงแอมโมเนียมอิออน แอมโมเนีย ไม่แตกตัว(อิสระ) หรื อแอมโมเนียรวมก็ได้ และ ยิง่ เพิ่มความสับสนขึ้นอีกจากสัญลักษณ์หรื อหน่วยที่แสดงความเข้มข้นเพราะสามารถเขียนได้หลาก หลาย (เช่น TAN NH3 NH3-N NH4+ เป็ นต้น) ดังนั้นเพื่อไม่ให้เกิดความสับสนและเข้าใจตรงกันจึง อธิ บายการแสดงความเข้มข้นและสัญลักษณ์ที่ใช้แทนแอมโมเนียดังนี้ 1) NH3+NH4+ (mg-N/l) หรื อ NH3+NH4+-N (mg/l) หรื อ TAN (mg/l) หรื อ TA (mg-N/l) สัญลักษณ์และหน่วยแสดงความเข้มข้น ของแอมโมเนีย เหล่า นี้มีความหมายเหมื อนกัน หมายถึง แอมโมเนียรวม (หรื อเรี ยกสั้นๆ ว่า “แอมโมเนีย ” ดังกล่าวแล้วข้างต้น )นัน่ คือ รวมปริ มาณแอมโมเนียทั้งแอมโมเนีย อิสระ (NH3) และแอมโมเนียมอิออน (NH4+) และหน่วยแสดงความเข้มข้นคิดเฉพาะมวลของไนโตรเจนเป็ นมิลลิกรัมต่อปริ มาตรนํ้า 1 ลิตร ปั จจุบนั วิธีทดสอบต่างๆ ตลอดจนถึง TEST KIT วัดเป็ นแอมโมเนีย รวม ดังนั้น สัญลักษณ์และหน่วยแสดงความเข้มข้น ข้างต้นสามารถใช้ ในการรายงานผลการ ทดสอบ ได้เลย เช่น ผลการทดสอบแอมโมเนียจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ าํ แห่งหนึ่งด้วยวิธี indophenol blue มีความเข้มข้นเท่ากับ 0.056 mg-N/l สามารถเขียนเป็ นสัญ ลักษณ์ได้ ว่า - NH3+NH4+= 0.056 mg-N/l - TAN = 0.056 mg/l 2) NH3-N (mg/l) หรื อ NH3 (mg-N/l) การเขียนสัญลักษณ์และหน่วยแสดงความเข้มข้น ทั้งสองแบบนี้มีความหมายเหมือนกัน คือแสดงผลการทดสอบเฉพาะแอมโมเนีย ไม่ แตกตัว (NH3) เท่านั้น และคิดเฉพาะมวลของไนโตรเจนเป็ นมิลลิ กรัมต่อปริ มาตรนํ้า 1 ลิตร แอมโมเนียในรู ปนี้ไม่สามารถหาได้โดยตรงแต่สามารถคํานวณได้ดงั สมการ แอมโมเนียไม่แตกตัว = (a) TAN (สมการที่ 1) เมื่อ (a) = สัดส่ วนโมลของแอมโมเนียไม่แตกตัว และ TAN = ความเข้มข้นแอมโมเนีย รวม-ไนโตรเจน (mg/l)


ตารางที่ 1 สัดส่ วนโมล (Mole fraction) ของแอมโมเนียไม่แตกตัวในนํ้าที่อุณหภูมิ และพีเอชต่างๆ อุณหภูมิ (oC) 6.0 6.5 7.0 7.5 20 0.001 0.004 0.012 21 0.001 0.004 0.013 22 0.001 0.005 0.014 23 0.002 0.005 0.015 24 0.001 0.002 0.006 0.016 25 0.001 0.002 0.006 0.018 26 0.001 0.002 0.006 0.019 27 0.001 0.002 0.007 0.020 28 0.001 0.002 0.007 0.022 29 0.001 0.002 0.007 0.023 30 0.001 0.003 0.008 0.025 ทีม่ า : Emerson et al. (1975) อ้างตาม Lawson (1995)

พีเอช 8.0 0.038 0.041 0.044 0.047 0.050 0.054 0.057 0.061 0.066 0.070 0.075

8.5 0.112 0.119 0.127 0.135 0.144 0.153 0.162 0.172 0.182 0.192 0.203

9.0 0.284 0.299 0.315 0.330 0.346 0.363 0.379 0.396 0.412 0.429 0.446

9.5 0.557 0.575 0.592 0.609 0.626 0.643 0.659 0.674 0.689 0.704 0.718

10.0 0.799 0.810 0.821 0.832 0.841 0.851 0.859 0.868 0.875 0.883 0.890

สัดส่ วนโมลของแอมโมเนียไม่แตกตัวซึ่งขึ้นอยูก่ บั พีเอชและอุณหภูมิเป็ นหลักนั้นสามารถคํานวณได้จากตารางที่ 1 เมื่อทราบความเข้มข้นของแอมโมเนียรวมสามารถคํา นวณความเข้มข้นของแอมโมเนีย ไม่แตกตัวได้ เช่น ผลการทดสอบแอมโมเนียจากบ่อ เลี้ยงสัตว์น้ าํ แห่งหนึ่งได้เท่ากับ 0.10 mg/l ขณะเก็บตัวอย่างมาทดสอบวัดอุณหภูมิ และ พีเอชของนํ้าได้ 30 oC และ 8.0 ตามลําดับ คํานวณความเข้มข้นของแอมโมเนียไม่ แตก ตัวได้ดงั นี้ จากตารางที่ 1 จะเห็นได้วา่ ที่อุณหภูมิ และพีเอช 30 oC และ 8.0 แอมโมเนียไม่แตกตัวมี สัดส่ วนโมลเท่ากับ 0.075 (หมายความว่าที่อุณหภูมิและพีเอชดังกล่าวความเข้มข้นของ แอมโมเนียไม่แตกตัวมีค่าเพียง 7.5% ของแอมโมเนียรวม (คํานวณได้จาก 0.075 x 100) ดังนั้นความเข้มข้นของแอมโมเนีย ไม่แตกตัวเป็ นดังนี้ จากสมการแอมโมเนียไม่แตกตัว-ไนโตรเจน = (a) TAN แอมโมเนียไม่แตกตัวไนโตรเจน(NH3-N) = (0.075) x (0.10) mg/l = 0.0075 mg/l หรื อ NH3 = 0.0075 mg-N/l 3) NH3 (mg/l) สัญลักษณ์และหน่วยความเข้มข้นนี้ แสดงเฉพาะแอมโมเนีย (NH3) เช่นเดียวกับ ข้อ 2) แตกต่างกัน เฉพาะความเข้มข้น ซึ่ ง คิดรวมนํ้าหนักไฮโดรเจนด้วย


ดังนั้นเมื่อทราบความเข้มข้นของแอมโมเนีย ไม่แตกตัว (NH3-N mg/l หรื อ NH3 mgN/l) แล้วสามารถหาความเข้มข้นของ NH3 หน่วยเป็ น mg/l ได้โดยคูณด้วย 1.22 เช่น จาก 2) ความเข้มข้นของแอมโมเนีย ไม่แตกตัว (NH3) ได้เท่ากับ 0.0075 x 1.22 = 0.0092 mg/l จากที่กล่าวมาจะเห็นได้วา่ สัญลักษณ์และหน่วยแสดงความเข้มข้นของแอมโมเนียสามารถ เขียนได้หลายแบบ ประเทศไทย รวมทั้ง ต่างประเทศ ยังไม่ ได้ช้ ีชดั ว่าต้องเขียนแบบใดแบบหนึ่ง ดังนั้นผูเ้ กี่ยวข้องต้องเข้าใจถึงสัญลักษณ์และหน่วย แสดงความเข้มข้น เหล่านั้น มิฉะนั้นแล้วอาจทํา ให้เข้าใจผิดได้ สําหรับ บทความนี้คาํ ว่า “แอมโมเนีย ” หมายถึง แอมโมเนียไม่ แตกตัว (แอมโมเนีย อิสระ ) (NH3) + แอมโมเนียมีประจุ (NH4+) ในรู ปของไนโตรเจนโดยมวล สัญลักษณ์ ที่ใช้ คือ “TAN” ยกเว้นเมื่อได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น แหล่งทีม่ าและความสํ าคัญของแอมโมเนีย ในบ่อเลี้ยง สัตว์น้ าํ แอมโมเนียได้จากการขับถ่ายของสัตว์น้ าํ เป็ น หลัก Ip et al. (2001) รายงานว่า การขับถ่ายของสารประกอบไนโตรเจนส่ วนใหญ่ (ประมาณ 90%) เกิดขึ้นโดยผ่านทาง เหงือกในรู ปของแอมโมเนีย ไม่แตกตัว (NH3) ซึ่ งปริ มาณแอมโมเนียไม่ แตกตัวที่ถูกขับถ่า ยออกมา นั้น มีสัดส่ วน ประมาณ 2.5-3% ของปริ มาณ อาหารที่กินเข้าไปในแต่ละวัน (Lawson, 1995; Hargreaves, 1998) แอมโมเนียในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ าํ ยังได้จากสิ่ งขับถ่ายที่เป็ นของแข็งซึ่ งส่ วนใหญ่จะ ถูกย่อยสลายอย่างรวดเร็ วโดยแบคทีเรี ย (Hargreaves, 1998) แอมโมเนีย อาจมาจาก อาหารเหลือ ตกค้าง Funge-Smith and Briggs (1998) พบ ว่า สารอินทรี ยใ์ นบ่อเลี้ยงกุง้ 40-60% เกิดจากอาหารกุง้ เมื่อสารอินทรี ยเ์ หล่านี้ถูกย่อยสลายโดยแบคทีเรี ยจะได้แอมโมเนียกลับคืนสู่ มวลนํ้า นอกจากนั้นนํ้า ที่ใช้เลี้ยงสัตว์น้ าํ ก็มีแอมโมเนียปนเปื้ อนอยูเ่ ช่นกัน แต่ มีสัดส่ วนน้ อยมาก เมื่อเปรี ยบเทียบ กับ แอมโมเนียที่ได้จากการขับถ่ายของสัตว์น้ าํ หรื ออาหารเหลือตกค้าง แอมโมเนียเป็ นสารประกอบไนโตรเจนที่ มีท้ งั ประโยชน์และโทษต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าํ โดยทัว่ ไปแพลงก์ตอนพืช หรื อผูผ้ ลิตอื่นๆ ชอบใช้แอมโมเนียเพื่อการเจริ ญเติบโต มากกว่าไนเตรท เพราะสามารถเอาแอมโมเนีย (NH3)ไปสร้างกรดอะมิโนได้โดยตรง (มนุวดี , 2531) เมื่อความ เข้มข้นของแอมโมเนียตํ่ากว่า 0.03 mg-N/l แพลงก์ตอนพืช หรื อผูผ้ ลิต จะใช้ไนเตรท เพื่อการ เจริ ญเติบโต (Syrett, 1981 อ้างตาม Hargreaves, 1998) แอมโมเนีย ยังจําเป็ นต่อ การเจริ ญเติบโตของ แบคทีเรี ยใน ระบบการเลี้ยงสัตว์น้ าํ แบบ นํ้า หมุนเวียน ก่อนเลี้ยงสัตว์น้ าํ ในระบบนํ้าหมุนเวียนจึง เป็ นต้องเติมสารละลายแอมโมเนียลงไปในระบบเพื่อเร่ งการเจริ ญเติบโตของแบคทีเรี ย ในการเลี้ยงสัตว์น้ าํ แบบหนาแน่น หากขาดการจัดการที่ดี แอมโมเนีย สะสมถึงระดับที่ อาจ เป็ นอันตรายต่อสัตว์น้ าํ ได้ แอมโมเนียเป็ นพิษต่อ สัตว์น้ าํ ในลักษณะ sublethal มากกว่า ที่จะทําให้


ตายทันที (Hargreaves, 1998) สอดคล้องกับ Wedemeyer et al. (1976) อ้างตาม Hurvitz et al. (1997) ที่กล่าวว่าในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าํ การสู ญเสี ยทางเศรษฐกิจเนื่องจากความเป็ นพิษของแอมโมเนีย นั้นเกิด จากสัตว์น้ าํ สัมผัสกับระดับแอมโมเนียที่ต่าํ เป็ นเวลานานมากกว่าการสัมผัสกับความเข้มข้น ของแอมโมเนียที่สูงมากๆ ที่ทาํ ให้ตายโดยทันที เมื่อแอมโมเนีย ในนํ้า สู ง เกินไป ทําให้ สัตว์น้ าํ ขับถ่ายแอมโมเนีย ได้นอ้ ย และทําให้ ระดับแอมโมเนียในเลือดและเนื้อเยือ่ เพิ่มขึ้น เป็ นผลทําให้ พีเอช ของ เลือดสู งขึ้น ซึ่ง เป็ น ผลเสี ย ต่อปฏิกิริยาต่างๆ ของเอนไซม์ นอกจากนั้น เมื่อระดับ แอมโมเนียในเลือดและเนื้อเยือ่ เพิ่มขึ้น ยังมีผลเสี ยอื่นๆ เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดงและเนื้อเยือ่ ที่ทาํ หน้าที่ผลิตเซลล์เม็ดเลือดแดงถูกทําลาย การลดความสามารถในการลําเลียง ออกซิเจนของเลือด เหงือกเสี ยหาย ทําให้เนื้อเยือ่ มีความต้องการออกซิเจนเพิม่ ขึ้น (Lawson, 1995) แต่ผลของ แอมโมเนียต่อสัตว์น้ าํ ที่รู้กนั ทัว่ ไป คือ ทําให้สัตว์น้ าํ กินอาหารลดลง ลดการเจริ ญเติบโต หรื อลด ความสามารถด้านภูมิคุม้ กันของสัตว์น้ าํ เป็ นต้น ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อความเป็ นพิษของแอมโมเนีย มีหลายปัจจัยที่มีผลต่อความเป็ นพิษของแอมโมเนีย ซึ่ งสามารถสรุ ปได้ดงั นี้ 1. ออกซิ เจนละลาย ความเป็ นพิษของแอมโมเนียเพิ่มขึ้นเมื่อปริ มาณออกซิเจนละลาย ลดลง เช่น Wajsbrot et al. (1991) พบว่า เมื่อออกซิเจนละลายน้อยกว่า 85%ของจุด อิ่มตัวทําให้ปลา seabream (Sparus aurata) มีความไวต่อแอมโมเนียมากขึ้น 2. พีเอช พีเอชของนํ้ามีผลต่อความเป็ นพิษของแอมโมเนียโดยเปลี่ยนสมดุลของแอมโมเนียทั้งสองรู ป เมื่อพีเอชเพิ่มขึ้นทําให้เพิ่มสัดส่ วนของแอมโมเนียไม่แตกตัวซึ่ งเป็ นรู ป ที่เป็ นพิษต่อสัตว์น้ าํ 3. ระดับแอมโมเนียที่ผนั แปร ในการเลี้ยงสัตว์น้ าํ แอมโมเนียผันแปรทุกๆ ชัว่ โมงเนื่อง จากความผันแปรของระดับการขับถ่ายแอมโมเนีย จากการวิจยั พบว่า สัตว์น้ าํ ทนต่อ ระดับแอมโมเนียที่คงที่ได้ดีกว่าระดับที่ผนั แปร 4. การเคลื่อนไหว (exercise) Randall and Tsui (2002) กล่าวว่า ปลาที่วา่ ยนํ้ามีระดับแอม โมเนียในร่ างกายสู งขึ้นเมื่อเปรี ยบเทียบกับ resting fish ซึ่ งระดับแอมโมเนียที่เพิ่มขึ้นนี้ เกิดจากการย่อยสลายของ adenylate เป็ น inosinemonophosphate (IMP) และ แอมโมเนียมอิออน NH4+( Mommsen and Hochachka, 1988 อ้างตาม Randall and Tsui (2002) 5. ภาวะเครี ยด เมื่อสัตว์น้ าํ เครี ยดทําให้มีการสร้างแอมโมเนียเพิ่มขึ้น ซึ่ งภาวะเครี ยดนี้ อาจเกิดจากมีสัตว์น้ าํ หนาแน่นเกินไป Randall and Tsui (2002) พบว่า ปลาที่เครี ยดไว ต่อแอมโมเนียในนํ้ามากกว่าปลาที่ไม่เครี ยด


นอกจากนี้ยงั มีปัจจัยอื่นๆ อีกหลายประการที่มีผลต่อความเป็ นพิษของแอมโมเนียต่อสั ตว์ นํ้า เช่น การให้อาหาร ระยะและขนาดของสัตว์น้ าํ และความคุน้ เคย (acclimation) เป็ นต้น เกณฑ์ ความปลอดภัยต่ อสั ตว์ นํา้ เกณฑ์ความเข้มข้นของแอมโมเนียที่เหมาะสมต่อสัตว์น้ าํ ยังไม่ชดั เจน เนื่องจากพบว่า ความ เข้มข้นของแอมโมเนียในระบบหนึ่งอาจมีผลต่อสุ ขภาพของสัตว์น้ าํ ขณะ ที่ความเข้มข้นเดียวกันใน อีกระบบหนึ่งอาจไม่มีผลกระทบต่อสัตว์น้ าํ (Meade, 1985 อ้างตาม Mac Intrye et al., 2008) ขณะ เดียวกัน เกณฑ์ความปลอดภัย ของแอมโมเนีย ต่อปลาส่ วนมากได้จากการทดลองกับปลาเทร้าหรื อ ปลาแซลมอน นอกจากนั้น ปลาในเขตอบ อุ่นทนทานต่อแอมโมเนียสู งกว่า ปลาในเขตหนาว และ ปลานํ้าจืดทนทานต่อแอมโมเนียสู งกว่า ปลาทะเล ข้อมูลเกี่ยวกับผลของแอมโมเนียต่อสัตว์ไม่มี กระดูกสันหลังมีจาํ กัดมากๆ อย่างไรก็ตามสามารถใช้เกณฑ์เดียวกับปลาได้ดว้ ยความระมัดระวัง (Lawson, 1995) เดิมนั้น เกณฑ์หรื อค่ามาตรฐานของแอมโมเนีย ต่อปลาแสดงเป็ น mgNH3 ต่อมาองค์กรด้าน สิ่ งแวดล้อมของอเมริ กา (U.S.EPA) (1998) อ้างตาม IP et al. (2001) แนะนําให้ใช้ความเข้มข้น แอมโมเนียรวมเป็ น mg-N/l แสดงความเป็ นพิษของแอมโมเนียต่อสัตว์น้ าํ เพราะจากการวิเคราะห์ ข้อมูลความเป็ นพิษของแอมโมเนียรวมต่อสัตว์น้ าํ ชี้วา่ ความเป็ นพิษแอมโมเนียรวมไม่ เปลี่ยนแปลง ตามอุณหภูมิ และผลการวัดแอมโมเนีย ที่ได้วดั เป็ นแอมโมเนียรวม แต่การวัดพีเอชของนํ้า ก็ยงั จํา เป็ นอยูเ่ พราะพีเอชเป็ นตัวกําหนดความเป็ นพิษของแอมโมเนียที่สาํ คัญ จากเอกสารต่างๆ ที่รวบรวมได้ พบว่า เกณฑ์และค่ามาตรฐานความเป็ นพิษของแอมโมเนีย ต่อสัตว์น้ าํ สามารถใช้ ค่าแอมโมเนีย ทั้ง ในรู ป แอมโมเนียรวมและแอมโมเนียอิสระ Klontz (1991) อ้างตาม MacIntrye et al. (2008) ได้แนะนําค่าที่ปลอดภัยต่อสัตว์น้ าํ เมื่อสัมผัสกับความเข้มข้นของ แอมโมเนีย (NH3) แบบ intermittent และคงที่ไว้ที่ 0.05 mg/l และ 0.03 mg/l ตามลําดับ Wajsbrot et al. (1991) ได้แนะนําค่าความเข้มข้นของแอมโมเนียรวมไนโตรเจนและแอมโมเนียอิสระ (NH3-N) ที่ปลอด ภัยสําหรับปลา seabream (Sparus aurata)ไว้ที่ 1.2 mg/l และ 0.064 mg/l ตามลําดับ Lawson (1995) ได้แนะนํา ระดับความเข้มข้นของแอมโมเนียรวม ไนโตรเจน และ แอมโมเนียอิสระ (NH3-N) ที่ปลอดภัย ต่อปลาเมื่อสัมผัส กับแอมโมเนีย เป็ นเวลานาน(มากกว่า 2-3 สัปดาห์) ไว้ที่ 1.0 mg/l และ 0.05 mg/l ตามลําดับ ซึ่ งระดับความเข้มข้นของแอมโมเนียรวมดังกล่าว ใกล้เคียงกับ U.S.EPA (1998) อ้างตาม IP et al. (2001) ได้กาํ หนดไว้ที่ 0.99 mg/l ส่ วน Frances et al. (2000) ได้กาํ หนดค่าความเข้มข้นของแอมโมเนียที่ปลอดภัยของปลา silver perch (Bidyanus bidyanus)ในรู ปของแอมโมเนียอิสระ (NH3-N) ไว้เท่ากับ 0.06 mg/l ในปลาทะเลมีขอ้ มูล เกี่ยวกับ ความเป็ นพิษ ของแอมโมเนีย น้อยมาก Rodrigues et al. (2007) ศึกษาพิษเฉี ยบพลันของแอมโมเนีย


ต่อปลาช่อนทะเลวัยรุ่ น (Rachycentron canadum) พบว่า ค่า LC50-96 hr เฉลี่ย 1.13 mg/l (NH3-N) เมื่อคูณด้วยค่าแฟคเตอร์ 0.05 ก็จะได้เป็ นที่ปลอดภัยต่อปลาช่อนทะเลซึ่ งเท่ากับ 0.057 mg/l จากข้อมูล เหล่านี้จะเห็นได้วา่ ค่า ความเข้มข้นของแอมโมเนียที่ปลอดภัยต่อสัตว์น้ าํ เมื่อวัด เป็ นแอมโมเนียรวม ไนโตรเจน (TAN) และแอมโมเนียอิสระ (NH3-N) อยูร่ ะหว่าง 1.0-1.2 mg/l และ 0.05-0.06 mg/l ตามลําดับ เอกสารอ้างอิง มนุวดี หังสฤกษ์. 2531. สมุทรศาสตร์ เคมี. สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุ งเทพฯ . 329 หน้า. Boyd, C. E. and C. S. Tucker. 1998. Pond aquaculture water quality management. Kluwer Academic Publishers, Massachusetts. 700 pp. Frances, J., B.F. Nowak and G.L. Allan. 2000. Effects of ammonia on juvenile silver perch (Bidyanus bidyanus). Aquaculture. 183: 95-103. Funge-Smith, S.J. and M.R.P., Briggs. 1998. Nutrient Budgets in Intensive Shrimp Ponds: Implications for Sustainability. Aquaculture. 164: 117-133. Hargreaves, J.A. 1998. Nitrogen biogeochemistry of aquaculture ponds. Aquaculture. 166: 181212. Hurvitz, A., H. Bercovier and J.V. Rijn. 1997. Effect of ammonia on the survival and immune response of rainbrow trout (Oncorhynchus mykiss, Walbaum) vaccinated against Streptococcus iniae. Fish & shellfish immunology. 7:45-53. Ip, Y.K., Chew, S.F. and Randall, D.J. 2001. Ammonia toxicity, tolerance and excretion. In : Wright, P.A., Anderson, P.M. (Eds.) Fish physiology, nitrogen excretion. 20 : 109-148. Lawson, T. B. 1995. Fundamentals of aquaculture engineering. Chapman & Hall, New York. 355 pp. MacIntyre, C.M., T. Ellis, B.P. North and J.F. Turnbull. 2008. The influences of water quality on the welfare of farmed rainbow trout: a review; In Fish welfare. Blackwell Publishing Ltd, Singapore. pp 150-159. Matthews, D. A.; S. W. Effler and C. M. Matthews (Brooks). 2000. Ammonia and toxicity criteria in polluted Onondaga Lake, New York. Water Environment Research. 72 : 731-741. Randall, D.J. and T.K.N. Tsui. 2002. Ammonia toxicity in fish. Marine Pollution Bulletin. 45: 17-23.


Wajsbrot, N., A. Gasith, M.D. Krom and D.M. Popper. 1991. Acute toxicity of ammonia to juvenile gilthead seabream Sparus aurata under reduced oxygen levels. Aquaculture. 164: 227-288. http://www.pcd.go.th/info_serv/reg_std_water05.html (เข้าถึงเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2553)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.