โรค EMS (Early Mortality Syndrome) ในกุงขาวแวนนาไม ชัยวุฒิ สุดทองคง ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงสมุทรสาคร โรค EMS ชื่อเหมือนการสงไปรษณียดวนพิเศษ ซึ่งอธิบายใหเห็นถึงการเกิดโรคที่รวดเร็วในชวงระยะแรกของ การเลี้ยง ชื่อ Early mortality syndrome แปลตรงๆ คือ โรคการตายกอนเวลาที่กําหนดหรือเวลาอันควร จริงๆแลว ทุกโรคที่รุนแรงในกุงก็ทําใหกุงตายกอนเวลาที่กําหนดทั้งนั้น ดังนั้นอาจจะเรียกวาโรคตายดวนหรือโรคดวนตายของกุง วัยออนหรือวัยรุน หลังจากมีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศจีน ในป พ.ศ.2553 ตอมาในชวงตนป พ.ศ. 2554 แพร ระบาดสูประเทศเวียดนามและมาเลเซีย ลักษณะของโรคปรากฏใหเห็นในกุงกุลาดําและกุงขาวแวนนาไมที่ลงเลี้ยงใน บอดิน 20-30 วัน อัตราการตายของกุงอาจสูงถึง 100 เปอรเซ็นต ( Donald V. Lightner, 2012) ในประเทศไทยมีรายงานการพบลักษณะการตายของกุงขาวแวนนาไม คลาย กับโรค EMS ตั้งแต พ.ศ.2554 และเริ่มชัดเจนขึ้นตั้งแตตนป 2555 กุงที่ปวยจะวายน้ําเชื่องชา ไมกินอาหาร และตาย ในระยะเวลาอันรวดเร็ว ลักษณะของกุงปวยพบตับและตับออน (hepatopancreas) ลีบฝอ ลักษณะอื่นที่พบ กุงนิ่ม เหมือนกุงลอกคราบ บางครั้งพบการลอกคราบและตายโดยเฉพาะบริเวณเปลือกสวนหัว บางครั้งอาจพบกุงมีลักษณะสี ซีด ขาวขุนตายอยูในยอ การศึกษาของคลินิกสัตวน้ํา ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงสมุทรสาคร จากตัวอยางกุงปวยและตาย จาก จังหวัดในเขตภาคตะวันออก และจังหวัดสมุทรสาคร พบวามากกวา 50 เปอรเซ็นต ของตัวอยางกุงปกติที่ไดจากบอที่ มีการตายของกุงติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในปริมาณเล็กนอยซึ่งตรวจไมพบดวยเทคนิค Nested PCR แตสามารถ ตรวจพบดวยเทคนิค Real-time PCR และตัวอยางนอยกวา 50 เปอรเซ็นต ไมพบการติดเชื้อ WSSV YHV TSV IHHNV IMNV MrNV XSV LvNV และNHP แตพบการติดเชื้อแบคทีเรียและวิบริโอในตับและตับออน กุงปวยสวน ใหญพบแสดงอาการหลังจากมีการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ําอยางรวดเร็ว เชน แพลงกตอนตายพรอมกันจํานวนมาก การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ําหลังฝนตกหนัก รวมทั้งชวงระหวางการลอกคราบ ผลการทดสอบในหองปฏิบัติการ 1.ไมพบความสัมพันธระหวางกุงปวยและตายกับการปนเปอนของเชื้อราจากตัวอยางอาหารกุงที่ไดจาก ฟารมเลี้ยงกุงที่แสดงอาการของโรค 2.พบการติดเชื้อวิบริโอเล็กนอยบริเวณกลามเนื้อ และพบปริมาณเชื้อวิบริโอในตับและตับออนปริมาณ มากกวาที่พบในกลามเนื้อ
3. ไมพบการตายของกุงขาวแวนนาไม และกุงกุลาดําระยะโพสลาวาร 15 แตกตางจากกลุมควบคุมจาก การทําใหติดเชื้อโดยการแช เพื่อทดสอบการติดเชื้อแบคทีเรียและไวรัส ที่แยกจากกลามเนื้อกุงปวย 4. พบการตายของกุงขาวแวนนาไมขนาด 7-9 กรัม โดยการฉีดเขากลามเนื้อ ในกลุมทดสอบการติดเชื้อ แบคทีเรียที่แยกไดจากตับและตับออนแตไมพบการตายของกุงในกลุมทดสอบการติดเชื้อไวรัส รวมทั้ง ไมพบการตายของกุงทดลองในกลุมที่ฉีดเชื้อแบคทีเรียที่แยกจากกลามเนื้อ จากการทดสอบเบื้องตนแสดงใหเห็นวา EMS ไมไดมีสาเหตุจากเชื้อราในอาหารสําเร็จรูปที่เกิดขึ้นใน ขึ้นตอนการเก็บรักษาของเกษตรกร ไมพบสาเหตุการตายของกุงจากไวรัสที่เปนสาเหตุของโรคกุงในปจจุบัน พบวาแบคทีเรียที่แยกไดจากตับกุงปวยเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดการตายของกุงทดลอง การตรวจสอบลักษณะ ทางพยาธิสภาพของเซลลตับของกุงที่ปวยดวยโรค EMS จากภาพถายที่ไดรับจากประเทศเวียดนาม พบ ปริมาณไขมันในตับและตับออนนอยกวากุงปกติมาก จากขอสันนิฐานเรื่องลักษณะดอยทางพันธุกรรมที่อาจ เปนสาเหตุของโรค ยังคงเปนสาเหตุประการหนึ่งที่นาสนใจแตก็ยังขาดขอมูลสนับสนุนทางวิชาการที่ชัดเจน รวมทั้งลักษณะการแพรกระจายของโรคในชวง 1-2 ปที่ผานมาคลายกับการแพรกระจายของโรคที่มีสาเหตุ จากการติดเชื้อ อยางไรก็ตามลักษณะดอยทางพันธุกรรมที่เกิดจากสาเหตุเลือดชิด อาจเปนสาเหตุรวมอยาง หนึ่งที่ทําใหกุงไวตอการปวยดวยโรค EMS จุดที่นาสังเกตการตายของกุงที่พบในกุงกอนระยะวัยรุนและระยะ วัยรุน ในชวงแรกของการเลี้ยงตั้งแต 7 วันแรกของการเลี้ยงจนกระทั้งถึงกุงอายุประมาณ 40 วัน สภาพของ บอโดยทั่วไป ไมนาจะเกิดการสะสมของเสียจนทําใหปริมาณแบคทีเรียกอโรค เพิ่มปริมาณขึ้นจนกอโรคในกุง ได จึงคาดวาอาจจะมีปจจัยหรือสาเหตุรวม ตัวอยางที่นาสนใจคือ แบคเทอริโอเฟจ (bacteriophage) คือ ไวรัสของแบคทีเรีย ซึ่งสามารถพบไดแทบทุกแหงในธรรมชาติเมื่อแบคเทอริโอเฟจเขาไปเพิ่มจํานวนใน แบคทีเรีย แบคเทอริโอเฟจจะอาศัยกลไกตาง ๆ ภายในเซลลแบคทีเรียเพื่อจําลองตัวเอง และเพิ่มจํานวนขึ้น อยางมากมายภายในเวลาอันสั้น จากนั้นแบคเทอริโอเฟจก็จะทําใหแบคทีเรียเกิดการแตกสลาย ซึ่งผลจาก การแตกของเซลลแบคทีเรีย อาจปลอยสารพิษมีผลตอการทําลายเซลลของตับกุงได การมีปริมาณของแบคทีเรีย มากยอมทําใหปริมาณของแบคเทอริโอเฟจมากขึ้นเชนกัน อยางไรก็ตามยังตองมีการศึกษาเพิ่มเติมถึงสาเหตุที่ แทจริง จากผลการศึกษามีแนวโนมวาแบคทีเรียมีผลตอการเกิดโรคลักษณะคลายโรค EMS นี้ ถึงแมวา อาจจะมีแบคเทอริโอเฟจ เขารวมแตการเพิ่มจํานวนของไวรัสขึ้นอยูกับการเพิ่มจํานวนของแบคทีเรีย และแบ คเทอริโอเฟจมีความจําเพาะคอนขางสูงตอตอแบคทีเรียที่เปนเจาบาน การควบคุมปริมาณแบคทีเรียในบอ เลี้ยง เปนแนวทางหนึ่งในการลดความเสี่ยงตอโรค EMS รวมถึงโรคขี้ขาวอีกดวย
แนวทางการปองกัน 1.เริ่มตั้งแตการเตรียมบอที่ดี กําจัดปริมาณสารอินทรียที่ตกคางในบอใหมากที่สุด 2.เลี้ยงกุงระบบปด มีบอพักน้ําที่เพียงพอ 3. ฆาเชื้อในน้ําบอเลี้ยงกอนการเตรียมทําสีน้ํา กอนนํากุงลงเลี้ยง 4. ปรับปรุงคุณภาพน้ําใหเหมาะสม ไมควรใหพีเอชของน้ําในบอเลี้ยงกุงสูงกวา 8.5 กรณีพบการระบาดของ โรค EMS ในบริเวณใกลเคียง ใหปรับพีเอชของน้ําลงมา 7.6 – 8.0 โดยการเติมน้ําจุลินทรียกลุมบาซิลลัส ที่ขยายดวยกากน้ําตาล เพื่อลดพีเอช กอนลงกุงประมาณ 7 วัน 5. ใชโปรไบโอติก เชน แบคทีเรีย ปม.1 ของกรมประมง หรือแบคทีเรียบาซิลลัสสายพันธุที่มีประโยชนตั้งแต การเตรียมบอจนถึงตลอดการเลี้ยง 6. ควบคุมการใหอาหารที่เหมาะสม อาหารไมเหลือตกคางในบอมาก การลดปริมาณอาหารแตละมื้อลง เพิ่มมื้อของอาหาร เมื่อกุงอายุประมาณ 30 วัน ใชเครื่องใหอาหารอัตโนมัติควบคูกับความถูกตองแมนยํา ในการตรวจเช็คปริมาณอาหารในยอ 6. ในชวงฤดูรอน หรืออากาศเปลี่ยนแปลงบอย อุณหภูมิของน้ําโดยทั่วไปสูงขึ้นแบคทีเรียเจริญไดดี คาดวา ความรุนแรงของโรค EMS จะเพิ่มมากขึ้น อาจพบการตายของกุงตั้งแต 7 วันแรกของการเลี้ยง ปรุง คุณภาพน้ําใหเหมาะสม อยาใหน้ําเขียวมากเกินไปจนพีเอชในน้ําระหวางวันสูงและแตกตางกันมาก 7. เพิ่มการจัดการควบคุมคุณภาพน้ํา เปดเครื่องตีน้ําเพิ่มขึ้น รักษาปริมาณออกซิเจนละลายน้ําในชวงเชามืด ไมนอยกวา 4 มก.ตอลิตร น้ําในบอไมควรมีสีเขียวเขม ความรุนแรงของโรคอาจเพิ่มขึ้นเมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ําอยางรวดเร็ว เชนหลังฝนตกหนัก ชวงวันพระ วันโกน ที่กุงมีการลอกคราบ จํานวนมาก 8. เมื่อพบกุงในบอมีลักษณะของโรค EMS ใหงดใหอาหารทันทีเพื่อลดภาระการทํางานของตับและตับออน ที่มีผลตอการอักเสบ กุงอาจจะมีการตายลดลงภายใน 1 สัปดาห ยกเวนในกรณีมีฝนตกหนักหรือการ เปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ําฉับพลัน กุงจะกลับมาตายอีกเปนจํานวนมากอยางรวดเร็ว 9. เลือกซื้อลูกกุงจากโรงเพาะฟกที่ไดมาตรฐาน เชื่อถือได ไมมีประวัติลูกกุงปวยและตายหลังจากเกษตรกร ปลอยกุงเลี้ยงในบออยางนอย 14 วัน ผานการตรวจสุขภาพทั่วไป การติดเชื้อแบคทีเรียดวยการเพาะเชื้อ
จากตับและตับออน ตรวจการติดเชื้อไวรัสในลูกกุง ดวยเทคนิค PCR หรือ Real-time PCR กอนการนํา ลูกกุงมาเลี้ยงทุกครั้ง จากหนวยงานของกรมประมงหรือหองปฏิบัติการมาตรฐานที่ใหบริการ 10. กุงที่เลี้ยงในน้ําระดับความเค็มต่ํา มีความรุนแรงของโรค EMS นอยกวาในน้ําระดับความเค็มสูงแต จําเปนตองเพิ่มการจัดการเรื่องของแรธาตุใหเพียงพอ อัลคาไลนไมควรนอยกวา 120 มิลลิกรัมตอลิตร ทั้ง กอนและหลังกุงลอกคราบ 11. กุงที่เลี้ยงในน้ําระดับความเค็มสูง ใหพยายามรักษาระดับพีเอชของน้ําใหอยูในชวง 7.6-7.8 โดยเฉพาะ ในชวงหนารอนหรืออุณหภูมิของน้ําสูง 12. กุงเมื่ออายุมากขึ้น มีการจัดการที่ดี เลี้ยงไมหนาแนนโอกาสที่จะรอดจนถึงระยะสิ้นสุดการเลี้ยงมีมากขึ้น การตรวจวินิจฉัยโรคของหองปฏิบัติการเพื่อลดความเสี่ยงตอ EMS 1. กุงระยะ PL ตรวจอัตรากลามเนื้อ ตอ ลําไส หรือ M:G ratio 2. กุงระยะ PL จนถึงระยะวัยรุน ตรวจความสมบูรณของตับและตับออน ตองไมลีบ ฝอ สีไมซีดและมี ปริมาณไขมันในตับมาก 3. ตรวจการปนเปอนหรือติดเชื้อแบคทีเรีย โดยเฉพาะวิบริโอในตับ 4. ตรวจการติดเชื้อไวรัสดวยเทคนิค PCR กรณีมีขอสงสัย สอบถามไดที่ คลินิกสัตวน้ํา ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงสมุทรสาคร โทร 034-857136 หรือ 081-4240430