ปัตตานี

Page 1

การปลอยกุงกุลาดําไซสใหญที่อาวปตตานี การเพิ่มขนาดของพันธุสัตวน้ําใหมีขนาดใหญขึ้น จะชวยปองกันไมใหลูกพันธุที่นําไปปลอยไมถูกศัตรูจับกินเปน อาหาร และจะทําใหมีอัตราการรอดตายที่สูงได การปลอยกุงกุลาดําไซสใหญไดเริ่ม ดําเนินการขึ้นครั้งแรกในพื้นที่ สามจังหวัดชายแดนใตในชวงสถานการณไมสงบ ใน ปงบประมาณ ๒๕๔๘ โดยสถานีเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝงปตตานีปจจุบันคือ ศูนยวิจัย และพัฒนาประมงชายฝงปตตานี ไดรับการรองขอจากชาวประมงพื้นบานรอบอา ว ปตตานีใหชวยผลิตกุงขนาดโตขึ้นเพื่อปลอยลงอาวปตตานี เนื่องจากขณะนั้นพันธุสัตว น้ํา ในอา วป ตตานี ลดนอ ยลงมาก และขนาดกุ งที่ จะปล อยควรมี ขนาดโตกว าปกติ เนื่องจากในอาวปตตานีจะมีศัตรู หรือปลาที่อาจจะจับสัตวขนาดเล็กคอนขางมาก หากปลอยกุงขนาดเล็กอาจถูกจับกิน ทําใหมีอัตรารอดนอย จากการรองขอดังกลาว ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงปตตานีโดยบทบาทและภารกิจหนาที่ดานการเพิ่ม ผลผลิตพันธุสัตวน้ําในแหลงน้ําธรรมชาติจึงไดพิจารณาเลือกใชกุงกุลาดํา เปนตัวแทน สัตวน้ําชนิดอื่นๆเพื่อนํามาฟนฟูเพิ่มผลผลิตสัตวน้ําในอาวปตตานี โดยไดเริ่มการผลิต พันธุกุงกุลาดําใหไดขนาด ๐.๕-๑.๐ กรัม ในบอดินขนาด ๒ ไร จํานวน ๑ บอ เมื่อไดขนาด ๑,๐๐๐-๒,๐๐๐ ตัว/กิโลกรัม จึง รวบรวมนําไปปลอยในอาวปตตานีบริเวณบานดาโตะเปนครั้งแรก จํานวน ๑๕๐,๐๐๐ ตัว เพื่อใหลูกกุงกุลาดํามีอัตราการรอดตายที่ สูงขึ้น และใหไดผลผลิตพันธุกุงกุลาดําจะมีเพิ่มมากขึ้น หลังการปลอยพันธุกุงกุลาดําเพียงชวงระยะเวลา ๔ เดือนแรก ชาวประมง พื้น บ า นในหมู บา นดาโต ะ ก็ เ ริ่ม จั บ พั นธุ กุ ง กุ ลาดํ า ไดเ ป น จํ านวนมาก ขนาดที่ จั บได มี ข นาดตั้ ง แต ๓๐-๔๐ ตั ว /กิ โ ลกรัม โดย ชาวประมงพื้นบานที่จับกุงกุลาดําไดตางมีความเชื่อมั่นวา การปลอยพันธุกุงกุลาดําที่มีขนาดใหญกวาขนาดปกติเปนกุงกุลาดําจาก การผลิตของศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงปตตานี และจากการที่ไดชวยใหเขามีรายไดเพิ่มมากขึ้นได เมื่อออกติดตามผลการ จําหนาย พบวารายไดที่ไดจากการจําหนายกุงกุลาดําในแตละครั้งมีรายไดตั้งแต ๓๐๐-๒,๐๐๐ บาท ขึ้นอยูกับความสามารถของผู จับ ซึ่งเปนรายไดที่เพียงพอตอการใชจายในครอบครัวเปนอยางมาก จากผลการจับสัตวน้ําและรายไดที่ชาวประมงไดรับในครั้งนั้น รอยยิ้มแหงความหวังของชาวประมงเริ่มกลับมาอีกครั้ง พรอมกับความดีใจเมื่อศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงปตตานีไดรับการ สนับสนุนงบประมาณเพื่อดําเนินการเพิ่มผลผลิตกุงกุลาดําในอาวปตตานีจากหนวยงานหลายฝายมาอยางตอเนื่อง คือ ปงบประมาณ งบประมาณ (บาท) แหลงงบประมาณ กุงที่ผลิตไดเพื่อปลอย (ตัว) ๒๕๔๙ ๑,๐๐๐,๖๐๐ สํานักวิจัยและพัฒนาประมงชายฝง ๘๓๐,๐๐๐ ๒๕๕๑ ๒,๕๐๐,๐๐๐ สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดปตตานี ๒,๗๙๐,๐๐๐ ๒๕๕๒ ๒,๐๐๐,๐๐๐ สํานักงานจังหวัดปตตานี( งบพัฒนาจังหวัด ) ๒,๑๔๐,๐๐๐ ๒๕๕๓ ๒,๕๐๐,๐๐๐ ไทยเข มแข็ง ๒๕๕๕(สํ านั กพั ฒนาและถ ายทอด ๒,๗๕๐,๐๐๐ เทคโนโลยีการประมงกรมประมง ๒๕๕๔ ๒,๕๐๐,๐๐๐ สํานักพัฒนาและถายทอดเทคโนโลยีการประมง ๒,๖๐๑,๐๐๐


ในการผลิตพันธุกุงกุลาดําจะผลิตเพื่อปลอย ๓-๔ เดือน/ครั้ง โดย การผลิตกุง กุลาดําขนาด ๐.๕-๑.๐ กรัม เริ่มต นจากการอนุบ าลลูก กุงกุ ลาดํา ในบ อ ซีเมนตตั้งแตระยะ Nauplius จนลูกกุงเจริญเติบโตเขาสูระยะ Post larva (PL๑๕) จากนั้ น จึ ง จะรวบรวมลู ก กุ ง นํ า ไปอนุ บ าลในบ อ ดิ น ขนาด ๒ ไร ๆ ละ ๔๐๐,๐๐๐– ๘๐๐,๐๐๐ตัว จํานวน ๒ บอ เปนเวลา ๒๐-๒๕ วัน ระหวางการอนุบาลจะตรวจวัด คุณ ภาพน้ํา โรค และสารตกคางทั้งในการอนุบาลในบอซีเมนตและบอดินและสุมชั่ง น้ําหนัก วัดความยาวของลูกกุงทุก ๒ วัน เมื่อครบกําหนดการเลี้ยงจะไดลูกกุงกุลาดําที่มี ขนาด ๑,๐๐๐-๒,๐๐๐ ตัว/กิโลกรัม หากคิดเปนน้ําหนัก จะมีน้ําหนักเฉลี่ย ๐.๕-๑.๐ กรัม ซึ่งตอมา ชาวประมงพื้นบานจะเรียกกันติดปากวา “กุงกรัม” จากนั้นจึงจะเริ่มดําเนินการ รวบรวมกุง กุล าดํ าในบ อดิ นโดยใช “ระวะชิ ป กุ ง ” ซึ่ ง เป น เครื่ อ งมื อ ภู มิ ป ญ ญาชาวบ า นของ ชาวประมงพื้นบานมาประยุกตใชในการรวบรวม พันธุกุงกุลาดําแทนการใชอวนทับตะหลิ่ง โดยเจาหนาที่ที่ใชเครื่องมือจะตองเดินลุยใน น้ําและดันระวะชิปกุงไปขางหนาเปนระยะทางอยางนอย ๕๐๐-๗๕๐ เมตรตอเที่ยวเพื่อ รวบรวมพันธุกุงกุลาดําจะไดกุงกุลาดําเที่ยวละประมาณ ๕-๗ กิโลกรัม ซึ่งจะตอง รวบรวมจนกระทั้งลูกกุงเริ่มมีจํานวนนอยลงใชเวลาในการรวบรวม ๒-๓ วัน จึงจะเริ่ม ลดน้ําและรวมรวบกุงจนหมดบอ ลูกกุงที่รวบรวมไดจะถูกนําไปคัดแยกขยะออกและลางทําความสะอาดกอนที่จะนําไปพักในบอ ซีเมนตขนาดยาวความจุน้ํา ๑๘ ตันบอละ ๑๕๐,๐๐๐ ตัว พักไว เปนเวลา ๑-๒ คืน แลวจึงรวบรวมมาบรรจุใสถุงๆละ ๑๐๐-๑๕๐ ตัว แลวลําเลียงนําไปปลอยตามแหลงน้ําที่กําหนด แหลงละประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ -๑๘๐,๐๐๐ ตัว จากการติดตามสัมภาษณ ชาวประมงพื้นบาน ๒๓๘ ราย รอบอาวปตตานี เมื่อป ๒๕๕๔ พบวากุงกุลาดําที่ปลอยในป ๒๕๕๓ มีอัตราการรอดตาย ๙๑.๙๒ % ขนาดกุงที่จับไดเทากับ ๓๔.๐๕ ตัว/กิโลกรัม ราคาที่จําหนายไดเทากับ ๑๓๘.๖๐ บาท/กิโลกรัม น้ําหนักกุงที่จับไดโดยประมาณ ๗๔.๒ ตัน ( ๗๔,๒๐๐ กิโลกรัม ) ผลตอบแทนจากการขายกุงเทากับ ๑๐.๒ ลานบาท โดยตลอดการดําเนินงานโครงการเพิ่ม ผลผลิตกุงกุลาดําในอาวปตตานีพบวาชาวประมงพื้นบานรอบอาวปตตานีมีความพึงพอใจตอการปลอยพันธุกุงกุลาดําลงอาวปตตานี ๗๙.๐% และมีความพึงพอใจตอขนาดที่ปลอย (๑,๐๐๐-๒,๐๐๐ ตัว/กิโลกรัม) ๘๓.๒% ปญหาและอุปสรรคระหวางการดําเนินโครงการพบวาในระยะแรกที่เริ่มดําเนินโครงการจะมีกลุมชาวประมงที่ ประกอบอาชีพลากอวนเขามาลากลูกกุงกุลาดําที่ปลอยไปแลวในชวงเวลากลางคืน ในบางพื้นที่ทําใหจํานวนกุงที่ปลอยลดจํานวน ลงแตในเวลาตอมาศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงปตตานีไดเขามาทําความเขาใจถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับบุคคลดังกลาวและ ไดรับความรวมมือดวยดีจนปจจุบันปญหาดังกลาวไดลดนอยลงไปอยางมาก ผลสําเร็จของการดําเนินงานในครั้งนี้สามารถชวยเหลือ ใหชาวประมงพื้นบานสามารถจับกุงกุลาดําไดมากและมีรายไดมากขึ้น และสามารถทํางานรวมกับชาวประมงพื้นบานและอยู รวมกันอยางสงบสุข การดําเนินโครงการในครั้งนี้ นับเปนโอกาสสําคัญที่การพัฒนาดานการประมงสามารถนําความสงบสุขกลับมา ยังพื้นที่จังหวัดปตตานีอีกครั้ง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.