1
กุ้งฟ้า/กุ้งนํา้ เงิน (Penaeus stylirostris)
นายสุ พล ตัน่ สุ วรรณ นางสาวจุฑารัตน์ กิตติวานิช และนายวิสุทธิ์ วีระกุลพิระยะ สถาบันวิจยั การเพาะเลี้ยงกุง้ ทะเล ปั จ จุ บ ัน การเพาะเลี้ ยงกุ้ง ทะเลในเชิ ง พานิ ช ย์ ได้แ พร่ ก ระจายไปเกื อ บทุ ก ประเทศในแถบเอเซี ย โดยเฉพาะกุง้ ขาวซึ่ งเป็ นกุ้งต่างถิ่ นแถบอเมริ กาใต้ ปั จจุบนั ได้มีการเริ่ มนํากุ้งฟ้ าหรื อกุง้ นํ้าเงิน (Pacific blue shrimp) ซึ่งมีแหล่งกําเนิดเช่นเดียวกับกุง้ ขาวนําเข้ามาในประเทศไทย เพื่อศึกษาวิจยั ตลอดวงจรการผลิต รวมทั้ง ศึกษาความเป็ นไปได้ในการเพาะเลี้ยงเพื่อเป็ นอีกทางเลือกหนึ่งสําหรับเกษตรกรผูเ้ พาะเลี้ยงกุง้ ทะเล กุง้ ฟ้ าหรื อกุง้ นํ้าเงิน มีชื่อวิทยาศาสตร์ วา่ Litopenaeus stylirostris กุง้ ฟ้ าพบในแหล่งนํ้าธรรมชาติบริ เวณ ชายฝั่ งทะเลแปซิ ฟิกแถบอเมริ กากลางและอเมริ การใต้ ตั้งแต่เม็กซิ โก จนถึ ง เปรู กุ้ง ฟ้ านิ ย มเลี้ ยงมากในแถบเม็ ก ซิ โ ก จนกระทั่ง ปี 2523 ผลผลิตกุ้งนํ้าเงิ นลดลงเนื่ องจากเกิดโรคระบาดจากเชื้ อไวรัสตัวพิการ แคระแกร็ น Infectious Hypodermal and Hematopoietic Necrosis Virus (IHHNV) แต่โรคนี้ ไม่ส่งผลกระทบรุ นแรงต่อกุ้งขาว อย่างไรก็ตาม พันธุ์ของกุ้งฟ้ าได้มีการรวบรวมเก็บไว้และถูกพัฒนาให้เป็ นพันธุ์ที่มี ความต้านทานโรค IHHNV ต่อมาในปี 1992-1997 ได้เกิดโรคไวรัสทอ ราซิ นโดรม Taura Syndrome Virus (TSV) แพร่ ระบาดอย่างรุ นแรงใน ภาพจากสารสินฟาร์ ม กุง้ ขาว เกิ ดความเสี ยหายในวงกว้าง ทําให้กุง้ ฟ้ าที่ได้มีการพัฒนาสาย พันธุ์ให้ตา้ นทานเชื้อ IHHNV และ TSV ได้ถูกนํากลับมาเลี้ยงที่เม็กซิ โกอีกครั้ง ในภูมิภาคเอเซี ยเริ่ มมีการนํากุง้ ฟ้ าปลอดโรค (Specific pathogen free) มาเลี้ยงตั้งแต่ปี 2543 โดยเลี้ยงใน ประเทศไต้หวัน พม่า อินโดนีเซี ยและสิ งคโปร์ แต่ยงั ไม่ประสบ ความสําเร็ จเท่าที่ควร ประเทศไทยและประเทศจีนได้นาํ เข้ากุง้ ฟ้ า แบบไม่ปลอดโรค (non-SPF) มาทดลองเลี้ยงพบว่ากุง้ เจริ ญเติบโต ช้าและได้ผลผลิตตํ่า อย่างไรก็ตามประเทศที่ประสบความสําเร็ จใน การเลี้ยงกุง้ ฟ้ าในภูมิภาคนี้ ได้แก่ ประเทศบรู ไน ภาพจากสารสินฟาร์ ม
2
การเลีย้ งกุ้งฟ้าและกุ้งขาวเปรียบเทียบกับกุ้งกุลาดําซึ่งเป็ นกุ้งประจําท้องถิ่นของไทย (Fung-Smith et al., 2004) ประเด็น อัตราการเจริ ญเติบโต
ผลการเปรี ยบเทียบ กุง้ กุลาดํา กุง้ ขาว และกุง้ ฟ้ าวัยอ่อนมีอตั ราการเจริ ญเติบโตใกล้เคียงกันประมาณ 3 กรัมต่อสัปดาห์ จนถึงขนาด 20 กรัม หลังจากนั้นกุง้ ฟ้ าสามารถเจริ ญเติบโตได้เร็ ว กว่ากุง้ ขาวและสามารถเลี้ยงให้เป็ นกุง้ ขนาดใหญ่ได้ ความหนาแน่น กุง้ ขาวเลี้ยงได้ที่ความหนาแน่นสู ง ตั้งแต่ 60-150 ตัว/ตารางเมตร ไปจนถึง 400 ตัว/ ตารางเมตร การปล่อยลูกกุง้ หนาแน่นมากต้องมีระบบจัดการฟาร์มที่มีประสิ ทธิ ภาพ และมีมาตรการป้ องกันความเสี่ ยงในขณะที่กุง้ ฟ้ าและกุง้ กุลาดําเลี้ยงที่ความ หนาแน่นน้อยกว่า เนื่องจากเป็ นกุง้ ที่มีนิสัยก้าวร้าว ความทนทานต่อการ กุง้ ขาวสามารถทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงความเค็ม (0.5-45 ppt) ได้มากกว่ากุง้ ฟ้ า เปลี่ยนแปลงความเค็ม และกุง้ กุลาดํา ความทนทานต่อการ กุง้ ขาวและกุง้ ฟ้ าทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในช่วงกว้างตั้งแต่ 15-33 oC และ เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ เจริ ญเติบโตได้ดีในช่วง 23-30 oC Robertson et al. (2007) รายงานว่าอุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับการสื บพันธุ์วางไข่ ของกุง้ ฟ้ าอยูร่ ะหว่าง 27-29 oC ในเขตอบอุ่นกุง้ ฟ้ าสามารถสื บพันธุ์วางไข่ได้ที่ อุณหภูมิ 20 oC กุง้ ฟ้ าทนทานต่อความหนาวเย็นได้มากกว่ากุง้ ขาว สามารถเลี้ยงกุง้ ฟ้ าในช่วงฤดู หนาวได้ดี ความต้องการโปรตีนใน กุง้ ขาวต้องการอาหารที่มีโปรตีน (20-35%) ตํ่ากว่ากุง้ ฟ้ าและกุง้ กุลาดํา (36-42%) ทํา อาหาร ให้การเลี้ยงกุง้ ขาวมีตน้ ทุนการผลิตที่ต่าํ กว่าและอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็ นเนื้อของ กุง้ ขาว (1.2) ตํ่ากว่ากุง้ ฟ้ าและกุง้ กุลาดํา (1.6) ความต้านทานโรค กุง้ ขาวมีความต้านทานต่อโรค WSSV และ TSV ตํ่าและเป็ นพาหะของโรค TSV, WSSV , YHV, IHHNV และ LOVV กุง้ กุลาดําต้านทานโรค TSV และ IHHNV กุง้ ฟ้ ามีความต้านทานต่อโรค TSV สู ง ไม่ตา้ นทาน IHHNV พ่อแม่พนั ธุ์ กุง้ ฟ้ าและกุง้ ขาวสามารถผลิตพ่อแม่พนั ธุ์จากการเลี้ยงในบ่อ (domestication) และมี การคัดสายพันธุ์ ทําเป็ นกุง้ ปลอดโรค (SPF) และกุง้ ต้านทานโรค (SPR) ลดปัญหา การจับพ่อแม่พนั ธุ์และลูกพันธุ์จากธรรมชาติ อย่างไรก็ตาม กุง้ ปลอดโรค (SPF) จะ
3
มีอตั ราการตายสู งเมื่ออยูใ่ นสภาวะที่คุณภาพสิ่ งแวดล้อมไม่เหมาะสม การเพาะพันธุ์ กุง้ ฟ้ าและกุง้ ขาวสามารถวางไข่เมื่อตัวเมียมีอายุประมาณ 7 เดือน นํ้าหนัก 35 กรัม ใช้เวลาน้อยกว่ากุง้ กุลาดํา (อายุ10-12 เดือน นํ้าหนัก 100 กรัม) Brown et al. (2009) ศึกษาปริ มาณไข่ของกุง้ ฟ้ าพบว่า ค่าเฉลี่ยของไข่ต่อแม่มีประมาณ 397,000 ฟอง อัตราการฟักตั้งแต่ 0-85% โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 50% การอนุบาล เทคโนโลยีการอนุบาลกุง้ ฟ้ า กุง้ ขาว กุง้ กุลาดํามีหลักการไม่แตกต่างกัน การตลาด กุง้ ขาวเป็ นสิ นค้าที่ตอ้ งการของตลาดในภูมิภาคเอเซี ย และเป็ นสิ นค้าที่ขายในตลาด ทัว่ ไปทําให้มีการแข่งขันด้านการตลาดสู ง กุง้ กุลาดําและกุง้ ฟ้ าสามารถเลี้ยงให้เป็ นกุง้ ขนาดใหญ่และขายได้ในตลาดระดับบน ราคาสู งกว่ากุง้ ขาว หมายเหตุ; IHHNV, Infectious Hypodermal and Hematopoietic Necrosis Virus: LOVV, Lymphoid Organ Vacuolization Virus; TSV, Taura Syndrome Virus; WSSV, White Spot Syndrome Virus; YHV, Yellow Head Virus. ข้ อเสนอแนะ กุง้ ฟ้ าได้มีการศึกษาวิจยั ตลอดวงจรชีวติ สามารถผลิตเป็ นพ่อแม่พนั ธุ์ที่ปลอดโรค ไม่ตอ้ งจับพ่อแม่พนั ธุ์ จากธรรมชาติ และเพาะเลี้ ยงในระบบปิ ด เป็ นคุ ณสมบัติที่ได้เปรี ยบของสิ นค้ากุง้ ทะเลในการแข่งขันในตลาด ด้วยภาพลักษณ์ของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าํ ที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม นอกจากนี้ กุง้ ฟ้ าสามารถเลี้ยงให้เป็ นกุง้ ขนาด ใหญ่ อย่า งไรก็ ต ามการนํา สั ต ว์น้ ํา ชนิ ด ใหม่ ที่ เ ป็ นสั ต ว์น้ ํา ต่ า งถิ่ น เข้า มาเพาะเลี้ ย งในประเทศไทยมี ค วาม จําเป็ นต้องศึกษาวิจยั อย่างรอบคอบในทุกด้าน เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเชิงวิชาการรองรับในการพิจารณาความเป็ นไปได้ และศักยภาพในการเพาะเลี้ยง รวมไปถึงศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการแพร่ กระจายโรคชนิ ดใหม่ ผลกระทบ ด้านสิ่ งแวดล้อม รวมทั้งความคุม้ ทุนในการดําเนิ นการ กรมประมงโดยสถาบันวิจยั การเพาะเลี้ ยงกุง้ ทะเลได้ ทําการศึกษาวิจยั เรื่ องกุง้ ฟ้ า เพื่อนําผลการศึกษาที่ได้มาใช้ประโยชน์ในการบริ หารจัดการการเพาะเลี้ยงกุง้ ทะเล ของประเทศไทยต่อไป เอกสารอ้างอิง Brown A.Jr., J.P. Mcvey, B.M. Scott, T.D. Williams, B.S. Middleditch and A.L. Lawrence. (2009) The maturation and spawning of Penaeus stylirostris under controlled laboratory conditions. World Aquaculture Society. 11 : 488-499.
4
Fung-Smith B.M.S., R. Subasinghe and M. Phillips. (2004). Introductions and movement of Penaeus vannamei and Penaeus stylirostris in Asia and Pacific. Food and Agriculture Organization of the United Nations Regional Office for Asia and the Pacific, Bangkok, 2004. 14-32 p. Robertson L., W. Bray and A. Lawrence. (2007) Reproductive response of Penaeus stylirostris to temperature manipulation. World Aquaculture Society. 22 : 109-117.