Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้เห็นความสำาคัญของพัฒนาการศิลปะ ร่วมสมัยไทยภายใต้โลกโลกาภิวัตน์ที่ตัวงานศิลปะและวิธีคิดอ่านของศิลปะ แปรเปลี่ยน ไหลเวียนและพัฒนาอยู่ตลอดเวลา จึงเป็นที่มาของโครงการ สนับสนุนศิลปินรุน่ ใหม่ exposed : up-and-coming artists ่ งุ่ สนับสนุนส่งเสริมศิลปินรุน่ ใหม่ทส่ี ร้างสรรค์ผลงานศิลปะ project ทีม อย่ า งต่อ เนื่อ ง และมีความคิดริเริ่ม ที่แ ปลกใหม่ที่แตกต่างไปจาก ขนบธรรมเนียมเดิมของประวัติศาสตร์ศิลปะร่วมสมัยไทย ซึ่งในครั้งนี้ จะเป็นโครงการระยะยาวที่มุ่งให้ศิลปินสร้างสรรค์ผลงานศิลปะอย่างอิสระ ไม่จำากัดขอบเขต โดยในรูปแบบโครงการนั้น หอศิลป์ได้ทำาการสรรหาและ คัดเลือกศิลปินรุ่นใหม่ที่สร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่น่าสนใจจำานวน 6 คน ในนิทรรศการ “สองคนยลตามช่อง คนหนึ่งมองเห็นโคลนตม อี ก คนตาแหลมคม เห็น ดวงดาวอยู่พราวพราย” เป็นเสมือน นิทรรศการเปิดตัวโครงการดังกล่าว โดยหลังจากนิทรรศการนี้ สิน้ สุดลง ศิลปินทัง้ 6 จะทำางานร่วมกับหอศิลป์ผา่ นการจัดนิทรรศการ จำานวน 6 นิทรรศการภายในระยะเวลา 1 ปี ซึง่ ในแต่ละนิทรรศการนัน้ ศิลปินทั้ง 6 จะนำาเสนอโครงการแสดงผลงานนิทรรศการ โดยเลือกหา ศิลปินหน้าใหม่เพื่อแสดงผลงานคู่กับตนในห้องนิทรรศการ P1 P2 ตำาหนักพรรณราย ผ่านการสนับสนุนทุนสร้างสรรค์โดยหอศิลป์ การนำาเสนอโครงการดังกล่าวจะผ่านกระบวนการคัดกรองโดย ภัณฑารักษ์ ศิลปิน นักวิชาการ ที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ในขณะทีเ่ รากำาลังอยูใ่ นกระแสธารของโลกโลกาภิวฒ ั น์น้ี ความเปลีย่ นแปลง ก็เกิดขึ้นตามเป็นเงาเช่นกัน และการแปรเปลี่ยนนี้ควรที่จะต้องได้รับ การสนับสนุนและผลักดันให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้นเพื่อให้เกิดการ สร้างสรรค์ใหม่ๆ ในสายธารของการสร้างสรรค์แบบกระแสหลักที่ซึ่ง ต้องมีแม่น้ำาอีกสายไหลเวียนเคียงข้างกัน ดร.ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ ผู้อำานวยการ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
2
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
The Art Centre, Silpakorn University has seen the importance of the development of Thai contemporary art under the globalized world where the works of art and perceptions of art change, flow, and develop continuously, resulting in the establishment of the project that aims to support and promote new generation artists who create art constantly and have new initializing ideas that differ from original conventions of the history of Thai contemporary art. The Art Centre has searched and chosen six new generation artists whose works are interestingly conceptualized and presented. The exhibition “Two men look out through the same bars: one sees the mud, and one the stars� is like the debut exhibition of the project to introduce works of these selected artists to the audiences. Once this exhibition ends, these six artists will work with the Art Centre through organizing six exhibitions within a period of one year. These selected artists will present their individual project by searching for another newcoming artists to exhibit works together at P1 P2 Phannarai Building through creativity grants from the Art Centre. The presentation of the project will be supervised by internationally renowned curators, artists, as well as art academics. While we are in the stream of this globalized world, a change occurs and comes along like shadows as well. This change should be supported and persuaded, to make it transform into a more tangible state for an occurrence of new creativities in the stream of mainstream creativities, where there must be another stream alongside. Dr.Paramaporn Sirikulchayanont Director, the Art Centre Silpakorn University
3
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
>>
...
.
....
...
. “สองคนยลตามช่อง . . คนหนึ่งมองเห็นโคลนตม อีกคนตาแหลมคม เห็นดวงดาวอยู่พราวพราย”
า ร ั ก ษ์ .
ทภัณฑ ... . บ
“Two men look out through the same bars: one sees the mud, and one the stars.”
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
>>
4
5
ด้วยความผันผวนในความเชื่อทางสังคมที่เชื่อว่าความเท่าเทียมและ เสมอภาคนัน้ มีอยูจ่ ริง ทำาให้โครงสร้างสังคมไทยมีความแข็งแกร่งมากขึน้ จากแต่ก่อน ความผันผวนดังกล่าวเริ่มปรากฏให้เห็นเด่นชัดในราว ช่วงสิบปีที่ผ่านมา การแสดงออกในทุกๆด้านเริ่มไร้ขอบเขต ราวกับ การขยายตัวของกาแลคซี่เกิดใหม่ ทำาให้คนในสังคมมีสิทธิในการคิดอ่าน (แบบเงียบๆ) อย่างมีเสรีภาพ การมี “สิทธิ” ในสิ่งต่างๆมากขึ้น ย่อมมา พร้อมกับความคิดเห็นทีแ่ ตกต่างกันออกไปตามแต่ความเชือ่ มัน่ ในแต่ละคน คำาถามจึงเกิดขึ้นว่า สิ่งต่างๆเหล่านี้เป็นปัญหาหรือไม่ ปัญหาของความเห็นต่างย่อมเป็นสิง่ ทีค่ วบคูก่ บั สัตว์สงั คมทีอ่ ยูร่ วมกัน ตัง้ แต่ 2 หน่วยขึน้ ไป และยิง่ ในสังคมทีพ่ ดู จนติดปากว่าเป็นประชาธิปไตยแล้ว ความเห็นต่างย่อมเป็นสิง่ ขับเคลือ่ นให้เกิดการพัฒนาไปสูส่ ง่ิ ใหม่ ซึง่ สิง่ ใหม่น้ี อาจไม่ใช่สง่ิ ทีด่ ที ส่ี ดุ แต่ดกี ว่าเดิม ดีกว่าทีเ่ ป็นอยู่ การเรียนรูจ้ ากสิง่ เดิม จากความขัดแย้ง โดยให้โอกาส / พืน้ ทีแ่ สดงออก (อย่างประนีประนอม) และสังเคราะห์ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคมนั้นจึงจำาเป็นอย่างยิ่ง เพื่อจะได้เห็นถึงช่องว่าง / รูรั่วของสังคมและสามารถก้าวไปสู่สิ่งใหม่ ในทางศิลปะก็เช่นกัน การแสดงออกทางศิลปะที่มีที่มาที่ไปมาจากการ เปลีย่ นแปลงสภาพสังคมเริม่ ปรากฏให้เห็นชัดขึน้ ในช่วง 10 ปีทผ่ี า่ นมา ศิลปะเริ่มพูดในเรื่องที่ไม่ได้มาจากจิตภายใน ไม่ว่าจะกลายเป็นการ แสดงออกถึงอำานาจ โครงสร้างทางสังคม ปัญหาที่เกิดขึ้น ศิลปะเริ่มเป็น สื่อที่ใช้พูดในเรื่องที่พูดไม่ได้ หากก็ยังเป็นเศษส่วนที่น้อยในวงการศิลปะ ร่วมสมัยไทยที่มีการแสดงออกแนวทางกระแสหลัก (ในเชิงปริมาณ) หากแต่การแสดงออกส่วนน้อยนีไ้ ด้สร้างแรงกระเพือ่ มของการเปลีย่ นแปลง ในประวัติศาสตร์ศิลปะร่วมสมัยของประเทศไทยไม่มากก็น้อย
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
การทีศ่ ลิ ปะเริม่ แสดงออกทางความคิดทีไ่ กลออกไปจากตัวเองมากขึน้ นัน้ ผู้ชมจึงมีภาระหน้าที่ที่จะต้องทำาความเข้าใจกับงานศิลปะอย่างเข้มข้น มากขึ้นกว่าแต่ก่อน ซึ่งจากเดิมทีที่ศิลปะเป็นเพียงบทละครหนึ่งที่ผู้ชม อ่านและซึมซับอย่างอิ่มเอิบโดยมิได้มีข้อโต้เถียงใดๆ แต่ศิลปะในขณะนี้ หรือที่กำาลังจะเกิดขึ้นต่อจากนี้ ผู้ชมล้วนเป็นสื่อหนึ่งในผลงานที่ทำาให้ เกิดบทสนทนา ข้อโต้เถียงกับสิ่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสภาพสังคม การเมือง อำานาจสถาบัน หรือแม้แต่ประวัติศาสตร์ชาติบ้านเมืองและ ประวัติศาสตร์ศิลปะ ข้อโต้เถียงต่างๆนี้เป็นกระบวนการของการทำาให้ ผลงานที่กำาลังจะบอกว่าเป็นศิลปะ “เป็นศิลปะ” ขึ้นด้วยสิ่งต่างๆ ทีอ่ ยูน่ อกเหนือตัวเอง ศิลปะจึงกลายเป็นเครือ่ งมือหนึง่ ทีเ่ ข้าไปทดลอง ตรวจสอบหรือแม้กระทั่ง สั่นคลอนสิ่งที่ต่างๆให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สู่สิ่งใหม่ ทั้งนี้หากจะทำาให้ศิลปะสามารถส่งต่อก้อนความคิดอย่างเป็น ประชาธิปไตยได้นั้น สิ่งที่สำาคัญที่สุดคือ “ผู้ชม” ผู้ชมคือตัวผันแปร ที่สำาคัญที่จะให้งานศิลปะชิ้นนั้นๆ ไปต่อสู่เป้าหมายที่แท้จริง ฉะนั้นแล้ว เจตจำานงของศิลปะจะสำาแดงผลออกมาได้ก็ต่อเมื่อ งานศิลปะนัน้ ๆมอบเสรีภาพต่อผูช้ ม ผูช้ มต้องมีชอ่ งทางออกให้คดิ อ่าน ผู้ชมต้องมีอิสระที่จะเลือกมองทางใดทางหนึ่ง และในนิทรรศการนี้ จึงเป็นเสมือนการมองหาช่องทางของเสรีภาพ ในการแสดงออกทางศิลปะและการคิดอ่านของผู้ชม ผ่าน “ช่อง” ทางให้ เราเข้าไปสู่ความหมายเนื้อแท้จริงของสิ่งต่างๆรอบตัวไม่ว่าจะเป็นบริบท ทางสังคม การเมือง อำานาจ รวมถึงศิลปะอย่างเสรีโดยที่มิได้เข้าไป ทำาลายความเชื่อหรือสิทธิที่จะเชื่อของใครๆ ชื่อนิทรรศการ “สองคนยลตามช่อง คนหนึ่งมองเห็นโคลนตม อีกคนตาแหลมคม เห็นดวงดาวอยู่พราวพราย” ต้องการจะสื่อสารกับ สังคมว่า ในทุกๆคน ทุกๆอาชีพ ทุกๆหน้าที่ ควรมีสิทธิที่จะเลือกมองไม่ว่า จะมองในมุมใด จะเห็นดวงดาวพร่างพรายหรือจะเห็นเพียงโคลนตม ก็ตาม สิ่งที่น่ายินดีคือการที่ยังมี “ช่อง” ให้เรามอง หากเราอยู่ในสังคม ทีป่ ราศจาก “ช่อง” ให้มองแล้วเราก็จะไม่เห็นอะไรเลยนอกเสียจากตัวเองกับ กรอบความคิดทีแ่ บนราบ ไม่วา่ จะดาวพร่างพรายหรือโคลนตม ก็เป็นพื้นดิน ที่อยู่ต่างที่ต่างเวลาเท่าๆกัน
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
6
7
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
8
9
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
นิทรรศการในครั้งนี้คือการทดลองความเป็นไปได้ในการแสดงออก ทางศิลปะและการรับชมของผู้ชมว่ามีส่วนร่วมในการตัดสินใจตีความ ในความคิดอ่านทางศิลปะที่มีประเด็นให้จับต้องมากมาย งานศิลปะที่เกิด ขึ้นในครั้งนี้ มีความเกี่ยวโยงกับการนำาประเด็นต่างๆทางสังคมมาสนทนา กับผู้ชมอย่างเสรี โดยไม่สรุปให้ผู้ชมเดินตามความคิดนั้นๆ ศิลปะที่เกิดขึ้น ไม่ได้ต้องการจะเสนออะไรเป็นพิเศษ แต่กำาลังจะเป็นอะไรเสียมากกว่า เพราะในทุกๆสังคมทีบ่ อกตัวเองว่า (จะ) เป็นประชาธิปไตยนัน้ การแสดงออก ทางศิลปะก็ควรจะเป็นประชาธิปไตยด้วยเช่นกัน
นิทรรศการนี้เป็นส่วนหนึ่งของ โครงการสนับสนุนศิลปินรุ่นใหม่ exposed : up-and-coming artists project ซึ่งนำาเสนอศิลปิน รุ่นใหม่ทั้ง 6 ที่ผ่านการคัดสรรในโครงการมาแสดงผลงาน โดยศิลปินทัง้ 6 ล้วนมีการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่น่าสนใจ ด้วยวิธีการ ความคิด และเรื่องราวที่นำามาเสนอออกสู่พื้นที่สาธารณะนั้นได้สร้างบทสนทนา กับสังคมและผูช้ ม ซึง่ ท้าทายพัฒนาการศิลปะร่วมสมัยของประเทศไทย อย่างน่าจับตา กฤษฎา ดุษฎีวนิช ภัณฑารักษ์
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
“Two men look out through the same bars: one sees the mud, and one the stars.” Copyright © The Art Centre Silpakorn University
10
11
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
M
EN
T.
. . .>
>. . . .
. . . . . .>
> . . . .>
TE
>
...
CURAT O R STA
>>
....
... .
. . . . . . .>
According to the change of social belief that brings people to a state of believing in the existence of equality and fairness, the Thai society has been stronger than before. This change began to emerge and has been noticeable in approximately the past 10 years. People’s expressions in all aspects began to hold no boundaries, like an expansion of a new galaxy, making the people in the society have their rights to ponder (quietly) freely. This matter of having more “rights” in things certainly comes with various opinions along with each individual standpoint. Thus, there comes a question: “do these things aforesaid cause problems?”
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
12
Problems about different opinions certainly come along when more than two units of social individual live together, especially in a widely called democratic society, different opinions are thus motivators creating development that brings up new things. These new things might not be the best things, but they are better than current things. Therefore, learning from former things, from contradiction, by giving chances/expressing spaces (compromisingly) and synthesize the contradiction happening in the society is very necessary for being able to see social gaps/leaks and walk into new things. Similar to art, artistic expressions reflected from the society began to emerge and has been noticeable in the past ten years. Art began to say about things outside the scope of inside mind, such as expressions of social powers, the social structure, or social problems. Art began to be media used to say about topics that cannot be said in other ways. Yet, this matter is still minor in Thai contemporary art scene where the works express in the mainstream way (quantitatively). Nevertheless, the minor matter has created a wave of change in the history of contemporary art in Thailand more or less. The way art began to express the ideas that are far from itself gives the audiences an obligation to understand the works more deeply than before. Initially, art was merely a play that the audiences read and feel joyfully without any argument, but art nowadays, or from now on, the audiences are a part of the works creating contradictory dialogues against things such as the state of society, the politics, the institutional powers, or even the history of the country and the history of art. These contradictions are a process that makes a work about to be called art “become art� by things outside 13
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
itself. Art, therefore, becomes a tool that identifies or even shakes things to create a change into new things. Anyhow, to make art express democratically, what is most important are “the audiences.” Audiences are a variable that make a work of art continue its way to the real goal. Consequently, art can express its intention when that work of art gives freedom to the audiences. The audiences must have an exit to go out and ponder. They must have freedom to see either a way or another. This exhibition is like a search of a way of freedom in artistic expression and pondering of the audiences through a “gap” that leads us to the real meanings of things around such as the social contexts, the politics, the powers, and also art freely without destroying beliefs or rights to believe of others. The title, Two men look out through the same bars: one sees the mud, and one the stars, aims to communicate with the society that every person, in every occupation, and every duty should have a right to choose to see, no matter from what vision he/she would see, no matter if they would see the shining stars or merely the mud, what is pleasant is how there is still a “bar” for us to see through. If we lived in a society without a “bar,” we would not see anything except ourselves and a flat concept. No matter if one sees the stars or the mud, they are both places, in different positions and different times.
14
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
This exhibition is an experiment on a possibility of artistic expression and perceptions of the audiences, that how they are involved in deciding and interpreting art which has many points to see. The works happening this time are connected with bringing up various social issues to talk with the audiences freely without making the audiences follow any specific idea. These art works do not want to convey anything specifically, but rather to convey what would become here unspecifically. In every society telling itself that it is (becoming) democratic, the art expressions should also be democratic as well. This exhibition is a part of a project supporting new generation artists, exposed : up-andcoming artists project, which presents six new generation artists who has been selected and brought to exhibit their works. These six artists create their art interestingly. Their methods, ideas, and stories presented to the public create dialogues with the society and the audiences, which eye-catchingly challenges the development of Thai contemporary art. Kritsada Duchsadeevanich Curator
15
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
..
....
. .... ..
...
...
....
... ..
...
.
...
...
...
...
.
.
....
...
..
...
. . . ART
IS T S .
...
.. ....
...
ิน
. ......
..
ป ศิล
... ......
..... . . ..
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
... . ...
16
17
ดุษฎี ฮันตระกูล ลัทธพล ก่อเกียรติตระกูล มิติ เรืองกฤตยา ณัฐพล สวัสดี พรภพ สิทธิรักษ์ วิริยะ โชติปัญญาวิสุทธิ์ Dusadee Huntrakul Latthapon Korkiatarkul Miti Ruangkritya Nuttapon Sawasdee Phornphop Sittirak Viriya Chotpanyavisut
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Dusadee Huntrakul
Empty Every Night 2016 Lightbox,installation Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Tracing Aihwa Ong’s “Buddha is Hiding” 2013 Drawing on paper Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Dusadee Huntrakul
....
..
..
ดุษฎี ฮันตระกูล
Empty Every Night 2016 Lightbox installation
>>
..
“Empty Every Night เริ่มจากข้อความบนถังขยะเปลี่ยนไปเป็น ข้อความบนป้ายโฆษณาบนร้าน Waffle Shop ที่เมืองพิตต์สเบิร์ก รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา ด้วยความเป็นพื้นที่เฉพาะดังกล่าว ผมต้องการตั้งคำาถามกับหน้าที่ของป้ายโฆษณาในระบบเศรษฐกิจที่มี เงินเป็นตัวตัง้ ด้วยภาษาทีค่ ล้ายพุทธศาสนา ครัง้ นีใ้ นพืน้ ทีม่ หาวิทยาลัย ศิลปากร ผมอยากเสนอพื้นที่ให้คิดไตร่ตรองถึงขั้นตอนและสภาวะ (สถานะ) การเปลีย่ นแปลงของจิตระหว่าง ความปรารถนา การต่อต้าน เวลาพักผ่อนสันทนาการ และแรงงานที่เสียไปในพื้นที่ของสถาบัน ทีบ่ างทีไม่มคี นอยูต่ อนกลางคืน แต่ห่างไกลหรือใกล้กับความว่างเปล่า ของชีวิตและการสูญเสียในเวลาเดียวกัน” “Empty Every Night started off as a message found on a trashcan then to a one-week installation that sat on top of the Waffle Shop marquee lettered billboard in Pittsburgh, Pennsylvania, USA. With prior specificity of site, I wanted to question the billboard’s advertising function in a capital based economy with Buddhist like language. At Silpakorn University, placed on the West side of the Art Centre in a courtyard, I wanted to suggest contemplative space of transformative stages of soul between longing, resistance, leisure, labor in an institution that is perhaps empty of lingerer every night but far from/or in close approximation to emptiness of life and lost at the same time.”
22
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Tracing Aihwa Ong’s “Buddha is Hiding” 2013 Drawing on paper
“จากบทความของ Ong “ในบทที่หนึ่ง Land of No More Hope” เป็นเรื่องที่ผู้อพยพระลึกถึงความทรงจำาของพุทธศาสนาในวัฒนธรรม กัมพูชาทีม่ รี ากฐานมาจากการทำาให้ผคู้ นอ่อนน้อมเชือ่ ฟังผ่านการจัดการ ทางเมืองและพิธกี รรม โดยทีท่ ง้ั สองอย่างนัน้ ผูกกับการทีพ่ ทุ ธศาสนา ในกัมพูชาให้ความสำาคัญกับความเมตตากรุณา ความเอื้ออารี และความสัมพันธ์ ทั้งนี้ระบอบ พล พต ทำาลายความศักดิ์สิทธิ์ของ ความหมายทัง้ หมดของสังคม รวมกระทัง่ ถึงความหมายของความสัมพันธ์ ในครอบครัวและความเป็นเพศสภาพ ผมเริม่ คัดลอกหนังสือ Buddha is Hiding เพราะผมถือหนังสือเล่มนี้ เป็นแบบอย่าง (เพื่อทำาความเข้าใจ) อย่างแรกคือ เพื่อสะกดรอย ตามประวัตศิ าสตร์ทซ่ี บั ซ้อนของประเทศกัมพูชา และประเทศในเอเชียอาคเนย์ ทีถ่ กู ทำาให้แตกเป็นเสีย่ งๆ โดยสงครามทีม่ กี ารวางกลยุทธ์ (จากหลายฝ่าย) (เพื่อสะกดรอยตาม) ความรุนแรงที่เกิดขึ้นและผลตกกระทบ และ (เพือ่ สะกดรอยตาม) การต่อรองความเป็นคนทีแ่ ตกต่างกันไปในแต่ละพืน้ ที่ และสถานะ อย่างที่สอง คือใช้เป็นแบบอย่างในการศึกษาเปรียบเทียบ ผลกระทบในภูมิภาคที่มีค่านิยมและประวัติศาสตร์ร่วม มีการพัฒนา (ในแต่ละประเทศ) ที่มีบทบาทและผลตกกระทบซึ่งกันและกัน ทั้งนี้เพื่อ ทีจ่ ะพิจารณาถึงความเกีย่ วข้องกันของเทคนิคการควบคุมปกครองคนใน เอเชียอาคเนย์ อเมริกา และทีอ่ น่ื ๆ ในปัจจุบนั ท้ายทีส่ ดุ ผมมีความต้องการ ให้หนังสือเล่มนีถ้ กู เปิดและเคลือ่ นที่ “In Ong’s word, in chapter one “Land of No More Hope”, refugees remember a Buddhist-Khmer culture based on political and ritual subordination tempered by the Khmer-Buddhist emphasis on compassion, kindness, and mutuality. The Pol Pot regime radically desacralized society and over turned all aspects of social life, including family and gender relations. I started tracing “Buddha is Hiding” because I thought the book could be looked at as a model; First, as a complex historical trace into Cambodia, and the region, ruptured by strategic warfare, violence, and negotiation on how to be human upon sites. Second, as a comparative study of the region that shares value, development, and history to examine South East Asia contemporary governing techniques in relation to modern America and other places. Lastly, I want to keep Ong’s text moving and open.”
23
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Latthapon Korkiatarkul
Drawing 0.11g 2010 Drawing on paper Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
Copper 2011 Copper, coins Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
After Care 2016 Rubbing Copyright © The Art Centre Silpakorn University
White Painting (part of White Painting and Brush Stroke series) 2014 - present Painting
Brush Stroke (part of White Painting and Brush Stroke series) 2015 – 2016 Painting Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
... .
ลัทธพล ก่อเกียรติตระกูล
.....
.
.
Latthapon Korkiatarkul
>>
Drawing 0.11 g 2010 Drawing on paper
“ผมวาดภาพของน้ำาหนัก 0.11 กรัม ด้วยการถมดินสอ ระดับความเข้ม 6B ลงบนกระดาษร้อยปอนด์ที่มีขนาดกว้างยาว 14 x 14 ซม. มวลน้ำาหนักที่ถูกนำาเสนอไม่ได้เกิดจากภาพวาดที่เป็นมิติลวงตา”
.... .
“I draw a picture of 0.11 gram weight by drawing with a 6B pencil on a 100 pound paper, which has 14 cm wide x 14 cm long. The mass of weight presented is resulted from the illusory drawing.”
Copper 2011 Copper coins
“ตั้งเเต่ปี พ.ศ.2551 เป็นต้นมา เหรียญ 5 บาทไทยได้ถูกผลิตซ้ำาใหม่ โดยมีการปรับให้มมี วลเนือ้ วัสดุทเ่ี ป็นทองเเดงให้เหลือน้อยลงกว่าเดิม เหรียญแบบใหม่มีลักษณะที่บางกว่าก่อน เหมือนเป็นการออกเเบบ ให้สอดคล้องกับค่าเงินบาททีม่ นี าำ้ หนักทีเ่ บาลงหรือทีจ่ ริงอาจมีปจั จัยอืน่ สิ่งที่ถูกนำาเสนอคือก้อนทองเเดงที่ถูกสลายรูปทรง ซึ่งมีปริมาณของ มวลทองเเดงเทียบเท่ากับเหรียญ 5 บาท ที่ถูกผลิตขึ้นในปี พ.ศ. 2531 - พ.ศ. 2550” “Since 2008, 5-Baht coins have been reproduced in a new design with lesser copper mass. The new coins are thinner than the previous ones, as though they were designed to be coherent with the value of the Baht that has a lesser weight, or there might be other factors. What is presented is a copper mass that was dissolved, which has the same amount of copper mass as a 5-Baht coin made in 1988 – 2007.”
28
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
After Care 2016 Rubbing
“ปี พ.ศ.2552 (ค.ศ.2009) เป็นปีสุดท้ายที่พื้นที่ด้านริมขวาเเละซ้าย ของหอศิลปวิทยนิทรรศน์ ได้ถูกใช้ในฐานะพื้นที่เเสดงงานศิลปะ ก่อนที่มันจะกลายเป็นห้องเก็บของในเวลาต่อมา เนื่องจากสิ่งตกค้าง ต่างๆ ที่หลงเหลือจากการจัดนิทรรศการเเสดงงานศิลปะในเเต่ละครั้ง ได้ฝากสิ่งของมากมายตั้งเเต่ขยะจนไปถึงงานศิลปะ พื้นที่ตรงนั้น กลายเป็นพื้นที่รกร้าง ดูไร้ชีวิต ปี พ.ศ.2553 - พ.ศ.2556 เป็นช่วงปีทผ่ี มได้ปฎิบตั หิ น้าทีเ่ ป็นเจ้าหน้าที่ ของหอศิลปวิทยนิทรรศน์ ห้องเก็บของที่ผมกำาลังพูดถึงเป็นพื้นที่ที่ผม ไม่ชอบเข้าไป ปลายปี พ.ศ.2558 ในฐานะทีผ่ มเคยเป็นผูร้ ว่ มงานในหอศิลปวิทยนิทรรศน์ ผมจึงได้รับคำาเชิญจากผู้จัดการหอศิลป์ซึ่งเป็นผู้คัดสรรผลงานใน นิทรรศการ “THROUGH THE PLACE AND IMAGE (2015)” ให้เข้าร่วมในโปรเจคนิทรรศการคู่กับจุฬญาณนนท์ ศิริผล ผมเลือกเอาร่องรอยต่างๆ ที่หลงเหลืออยู่บนกำาเเพงของห้องเก็บของ ในหอศิลป์ มาเป็นวัตถุดบิ ในการทำางาน ร่องรอยทีเ่ กิดจากกระบวนการ จัดเเสดงนิทรรศการศิลปะในเเต่ละครั้ง ไม่ว่าจะเป็นร่องรอยที่เกิดจาก การเเขวนงาน การซ่อมเเซม ต่อเติม ฯลฯ ไม่รู้ทำาไมผมถึงชอบมอง ร่องรอยพวกนัน้ ชอบคิดว่ามันมีทม่ี าจากอะไร ด้วยกระบวนการเเบบไหน ผมรู้สึกถึงความมีชีวิตชีวาในร่องรอยที่ถูกทิ้งไว้… ในการทำางาน ผมเลือกใช้กระบวนการ rubbing ผลสำาเร็จที่ได้มี ลักษณะคล้ายงานภาพพิมพ์ทพ่ี มิ พ์ขน้ึ ด้วยวิธกี ารทีเ่ รียกว่า embossing และ debossing หลังจากนั้นผม “โยกย้าย” ร่องรอยที่อยู่ในพื้นที่ปิด (private space) ที่มีเเต่บุคคลภายในเท่านั้นที่สามารถเข้าถึงได้ มาจัดเเสดงในห้องนิทรรศการที่เป็นพื้นที่เปิด (public space) ในระหว่างนิทรรศการดังกล่าวกำาลังจัดเเสดง ผมได้ข่าวร้ายจากอดีต เพื่อนร่วมงานว่า หอศิลปวิทยนิทรรศน์กำาลังจะถูกปิดในช่วงเดือน กุมภาพันธ์ของปี พ.ศ.2559 เป็นอีกครั้งที่ผมรู้สึกว่าอนาคตเป็นสิ่งที่ ไม่แน่นอน”
29
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
“Year 2009 was the last year in which the space at the right and left edges of the Art Center, Chulalongkorn University was used as art spaces, before it became storages. Resulted from the left over items from the art exhibition each year; from garbage to works of art were kept, that space became isolated and lifeless. 2010 – 2013 were the period where I worked as a staff at the Art Center. The storage I mentioned was the space I didn’t want to enter. In the last period of 2015, as I used to be a part of the Art Center, I was invited from the manager who curated “THROUGH THE PLACE AND IMAGE (2015)” to join the exhibition cooperating with Chulayarnnon Siriphol. I chose to bring traces that were left over on the walls of the storage and used them as materials to work: traces that were resulted from the process of organizing each exhibition, such as traces from hanging the works, traces from repairing the works, traces from enlarging the works. I don’t know why I liked to look at those traces. I liked to think where they came from, what processes they were resulted from. I felt jolliness in those left over traces… I chose to use the rubbing method in my work. The result was reminiscent to a print created with methods called embossing and debossing. After that, I “moved” the traces which were in a “private space” where only inside staff could access and exhibit them in a “public space”. While the exhibition aforementioned was being exhibited, I heard bad news from my old colleague that the Art Center would be closed down in February 2016. That is another time I felt that the future was uncertain.” 30
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
White Painting (part of White Painting and Brush Stroke series) 2014 - present Painting
“ผมหยุดงานที่ผมเกือบทำาเสร็จเอาไว้เพราะมีหน้าที่อื่น งานภาพเขียน ชิ้นเล็กของผมมันก็ถูกตั้งไว้บนโต๊ะทำางานอย่างเงียบๆ อยู่หลายเดือน จนฝุ่นเริ่มก่อตัวบนผิวงานเป็นชั้นบางๆ ผมตัดสินใจปล่อยมันทิ้งไว้ อย่างนั้น โดยที่ผมไม่เข้าไปจัดการ ผมได้เห็นภาพของสิ่งอื่นที่ต่างไป จากความตั้งใจในตอนเเรก” “I stopped a work that I almost finished because I had other duties. My small painting was left standing on the working table quietly for months. A thin layer of dust began to form on the surface of the painting. I decided to leave it still without me continuing to manage it. I saw another thing that was different from my initial intention.”
Brush Stroke (part of White Painting and Brush Stroke series) 2015 – 2016 Painting
“ผมเริ่มงานด้วยวิธีการเดิม...ลดการจัดการลง ปล่อยให้เหตุการณ์ ต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการเป็นไปโดยไม่ควบคุม ผมปล่อยให้มี ขนของพูก่ นั ติดอยูบ่ นภาพ เม็ดฝุน่ จากไซท์กอ่ สร้างข้างๆอพาร์ทเมนท์ ซากเเมลงทีถ่ กู แปรงพูก่ นั ทับตาย ฯลฯ ทัง้ หมดเป็นส่วนหนึง่ ในเเอคชัน่ ทีผ่ มเคลือ่ นตัวไปรอบๆเฟรมผ้าใบ ผลผลิตทีไ่ ด้คอื ภาพขององค์ประกอบ ที่ไม่ถูกจัด” “I started my work with the same method…lessening managing it; letting various events happening with it without any control. I let hair of brushes, dust particles from a construction site beside the apartment, an insect carcass that was dead by a brush falling onto it, and more things attach on it. All of this is a part of my actions moving around the canvas frame. The result was a picture of an unorganized composition.”
31
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Miti Ruangkritya
Thai Politics no.3 (part of Thai Politics series) 2011 Photograph printed on paper Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Thai Politics no.4 vol.1 & 2 (part of Thai Politics series) 2014 Public domain images Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
>>
....
..
..
ติ เรืองกฤตยา . . มิMiti Ruangkritya
Thai Politics no.3 (part of Thai Politics series) 2011 Photograph printed on paper
“Thai Politics no.3 นำาเสนอภาพต่างๆ ของโปสเตอร์หาเสียง ที่ถูกพ่นสีทับ ที่ได้พบเจอตามท้องถนนของกรุงเทพฯ โปสเตอร์ หาเสียงเหล่านี้แสดงถึงความไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรงระหว่างฝ่าย สนับสนุนที่อยู่ตรงข้ามกันของพรรคเพื่อไทยของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และพรรคประชาธิปัตย์ของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ในระหว่าง ช่วงการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2554” “Thai Politics no.3 includes images taken of graffitied election posters found along the streets of Bangkok. The promotional posters show the intense frustration between opposing supporters of Yingluck Shinawatra’s Pheu Thai Party and Abhisit Vejjajiva’s Democrat Party during the 2011 election.”
Thai Politics no.4 vol.1 & 2 (part of Thai Politics series) 2014 Public domain images
“Thai Politics no.4 vol.1 & 2 (Bangkok Beauties) นำาเสนอ รูปภาพชุดจำานวน 86 ภาพของผู้สนับสนุนหญิง และ 22 ภาพของ ผู้สนับสนุนชาย ของ กปปส. โดยนำามาจากภาพสาธารณะในเฟสบุค และอินสตาแกรม ภาพชุดนี้เป็นการเน้นย้ำาถึงความน่าทึ่งและน่าสนใจ ของการที่ผู้ประท้วงได้เริ่มยืนยันทัศนคติต่อต้านรัฐบาลของพวกเขา ภาพถ่าย ‘เซลฟี่’ และภาพถ่ายบุคคลเป็นสิ่งหนึ่งที่พบได้บ่อยๆ ใน วัฒนธรรมคนหนุ่มสาว และเป็นการปรากฏของวัฒนธรรมดังกล่าว ภายในการแสดงออกเชิงประเพณีถงึ ความรักชาติและการเมือง สิง่ เหล่านี้ ได้เพิม่ อีกหนึง่ มิตใิ ห้กบั การอภิปรายถึงสถานะ การแสดงตน และตัวตน ท่ามกลางการเจริญเติบโตของสื่อสังคมออนไลน์” “Thai Politics no.4 vol.1 & 2 (Bangkok Beauties) presents a series of 86 images featuring female supporters and 22 images featuring male supporters of the People’s Democratic Reform Committee taken from public Facebook and Instagram groups. The project serves to highlight the somewhat intriguing and curious ways protesters have begun assert their anti-government stance. The ‘selfie’ and portrait has become a prevalent part of youth culture and its manifestation within traditional displays of patriotism and politics, adds another dimension to the discussion concerning status, self-projection, and identity in the rise of social media.” Copyright © The Art Centre Silpakorn University
36
เป็นผลงานชุดที่มีการดำาเนินมาอย่างต่อเนื่อง จากการประท้วงใหญ่ครั้งแรกในกรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2549 ซึ่งใน ขณะที่ผลงานชุดนี้สำารวจถึงความแตกต่างของทัศนคติทางการเมือง ในกรุงเทพฯแล้ว ผลงานชุดนี้ยังมุ่งสำารวจความเป็นภาพถ่ายที่ปรากฎ ภายในโลกที่อุดมไปด้วยภาพอีกด้วย การสลับสับเปลี่ยนของเนื้อหา ของผลงานที่เพิ่มเข้ามาในผลงานชุดนี้ไม่เพียงแค่นำาเสนอมิติอัน แตกต่างสู่มุมมองและพฤติกรรมทางการเมืองของผู้คน แต่ยังเป็น วิธีการที่แตกต่างอันนำาไปสู่การที่พวกเขาถูกบันทึกภาพและนำาเสนอ อีกด้วย ทัง้ นี้ ประกอบไปด้วย การจัดแสดงภาพทีเ่ จอในสือ่ สังคมออนไลน์ (Thai Politics no.2 และ 4) ไปจนถึงวิธีการดั้งเดิมแห่ง ภาพถ่ายดิจิตัลและฟิล์ม (Thai Politics no.1, 3 และ 5)” “‘Thai Politics’
“‘Thai Politics’ is an ongoing series developed from the first major protest in Bangkok since 2006. Whilst exploring the differing political attitudes in Bangkok, the project also examines photography within an image rich world. Punctuating each addition to the series is not only a different dimension to people’s political views and behaviours, but also a different approach to how they are captured and presented. This includes curating images found across social media (Thai Politics no.2 and 4) to the more traditional approach of digital and film photography (Thai Politics no.1, 3 and 5).”
37
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Nuttapon Sawasdee
(...---...) Save Our Soul 2015 Fluorescent tube, Morse code Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Sound of Nothing (collaboration with Piyawat Louilarpprasert) 2014 – present Sheet music, live performance, video installation Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
Can I skip this part? 2016 Sleeping pill, pillow, mattress, contact mic, mixer, speaker, TV Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
>> . . ... .
.
.
.
Nuttapon Sawasdee
...
. . ณัฐพล สวัสดี
>>
.
.... .
(...---...) Save Our Soul 2015 Fluorescent tube, Morse code
“sos คือรหัสมอส ขอความช่วยเหลือ โดยชุดสัญญานใช้ ...---... เพื่อขอความช่วยเหลือจากเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ รูปแบบนี้ถูกนำา มาใช้เพื่อสื่อความหมายในงาน โดยงานชิ้นนี้ได้เริ่มต้นจากการที่ ผมฟัง เพลง Whispering ของวง Hariguem Zaboy ซึ่งให้ ความรู้สึกถึงเรือที่กำาลังจะอับปางอยู่กลางทะเลเปลี่ยว ด้วยเสียงร้อง ที่แทรกผ่าน wall of sound ของกีตาร์ที่แหบพร่านั้น ทำาให้เกิด ความสับสนว่าสิ่งที่ได้ยินคือเสียงร้องของเรา หรือ เสียงร้องของ เพลงจริงๆกันแน่ ในอีกแง่ ห้องแสดงงานอาจเป็นเสมือนเรือที่กำาลัง แล่นไปเรื่อยๆ จนมองกลับมาไม่เห็นฝั่ง” “SOS is a Morse code used to ask for help. The signal is …---… to ask for help in emergency occurrences. This form is utilized to convey the meaning in the work. This work starts from when I listened to a song called Whispering by a band called Hariguem Zaboy, which gives a feeling of a ship that is about to drown in the middle of an isolated sea. With the vocals, which is infiltrated through a hoarse wall of guitar sound, making it confusing and not sure whether the sound heard is my voice or the vocals. In the other aspect, the exhibiting room might be like a ship that is sailing slowly to the point that the shore can’t be seen.”
Sound of Nothing “จุดเริ่มโครงการชิ้นนี้เกิดขึ้นตอนที่ผมได้ทำางานชิ้นหนึ่งที่ชื่อว่า (collaboration The Eraser (Until 11.00 - 12.00), 2012 ทีอ ่ นุสาวรีย์ with Piyawat พระเจ้ า ตากสิ น วงเวี ย นใหญ่ มี น ก ั ข่ า วจากไต้ ห วั น ได้ เ ข้ า มาถามผมว่ า Louilarpprasert) เคยได้ยินเสียงม้าร้องไหม 2014 – present Sheet music, live performance, สำาหรับอนุสาวรีย์หรือประติมากรรมต่างๆนั้น โดยกายภาพของมัน video installation
เป็นเพียงวัตถุที่ไม่มีการโต้ตอบใดๆจากตัวของประติมากรรม เป็นเพียง หินที่นิ่งสนิท รอการผุพังตามกาลเวลา แต่ทำาไมตัวอนุสาวรีย์ถึงส่งผล ต่อการรับรู้ความคิดของเรา ราวกับว่ามันมีชีวิต หากจะพูดง่ายๆก็คือ อนุสาวรีย์และประติมากรรมนั้นไม่ได้พูดด้วยตัวของมันเอง แต่พูดด้วย ประวัติศาสตร์ สถานที่ ขนาดของตัวเอง ตัวของอนุสาวรีย์ได้นำาคติ ความเชื่อต่างๆ มาด้วย Copyright © The Art Centre Silpakorn University
42
ผมจึงได้ทาำ งานอัดเสียงต่างๆเหล่านัน้ มาแปลค่าให้ถกู ตีความอีกครัง้ หนึง่ ซึ่งเป็นวิธีเดียวกันกับการจ้องมองตัวอนุสาวรีย์ แต่ผมได้ทำางานแปล ความหมายผ่านการตีความด้วยหูและแปรรูปลักษณ์ของอนุสาวรีย์ ให้อยู่ในรูปของดนตรีคลาสสิค สำาหรับผมนั้นการ “ส่งเสียง” ของตัวประติมากรรมนั้น มีจำานวน ที่เยอะและมากพอที่จะเป็น symphony ได้สักหนึ่งบทเลยทีเดียว มันทั้งยิ่งใหญ่ เจ็บปวดและทรงพลัง มันเป็นการสร้างบทสนทนา ซึง่ กันและกัน โดยเราไม่รวู้ า่ เราพูดกับเขาหรือเขาพูดกับเราอยูฝ่ า่ ยเดียว” “The starting point of this project is from when I created an artwork entitled “The Eraser (Until 11.00 - 12.00), 2012” at the Statue of King Taksin the Great in Wongwian Yai. A Taiwanese journalist came to me and asked if I have ever heard the horse roaring. A physical character of a monument or a statue is a cold object with no responding to sculpture - it is like a big rock, an unanimated, waiting to deteriorate by time. But why monuments/statues largely affect our consciousness and way of thinking as if those objects were alive? Considerably, monuments/statues don’t have their own voices, but they are spoken by history, place, size, so these objects convey some beliefs and myths circulated in one certain society. I recorded a sound from places, and re-interpreted it; which is, to me, similar to a process of looking at a statue (and re-think). Although, I turned from the eyes to the ears. My reinterpretation through the ear has transformed the character of monuments/statues into a piece of classical music. To me, the number of “screaming” monuments/ statues is substantial to composing a symphony, which is massively painful and powerful. This is a composition of dialogues among each other, which we never realize whether we are having a conversation, or they are simply talking to us alone.”
43
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Can I skip “เริ่มต้นจากการที่ผมตั้งคำาถามที่ไม่ควรที่จะถามในชั้นเรียนว่า อะไรคือ this part? sonic art? และ sonic art สามารถเป็นอะไรได้บ้าง ผมไม่เชื่อ 2016 สิ่งที่อาจารย์สอน เมื่อเข้าไปเรียนจริงๆ เสียงถูกทำาให้กลายป็นสิ่งวิเศษ Sleeping pill, pillow, mattress, แต่สาำ หรับผมแล้ว “เสียง” ไม่ได้วเิ ศษไปกว่าจิตรกรรมของ Rembrandt contact mic, หรือเศษขยะศิลปะร่วมสมัยใน Palais de Tokyo เสียงเป็นแค่ mixer, speaker, องค์ประกอบหนึ่งในการสร้างสรรค์ผลงานเท่านั้นเอง เสียงที่แย่ทส่ี ดุ TV จากลำาโพงวิทยุชอ่ ง AM ของชาวบ้าน ผมคิดว่าไพเราะกว่าเสียงสังเคราะห์
จากลำาโพง 8 channel ที่น่าเวียนหัว ไม่ต้องทำาเสียงให้มันประหลาด มากก็ได้ ถ้าผมจะพูดเรื่องเสรีภาพ” “Starting from me asking a question that shouldn’t be asked in class; what sonic art is, and what sonic art can become. I didn’t believe what the teacher taught. When I studied about it, sound was made into a marvelous thing, but for me, “sound” is not more marvelous than Rembrandt’s paintings or contemporary art garbage in Palais de Tokyo. Sound is just a factor in creating works. The worst sound from the speaker of a villager’s radio is to me more sweet-sounding than giddy sound from the speaker of an 8-channel. Sound doesn’t have to be made strange if I would talk about freedom.”
44
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
45
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Phornphop Sittirak
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
48
Time & Accident 2013 Mixed media installation Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
.
.... .. . . ... .
...
.
Phornphop Sittirak
...
พรภพ สิทธิรักษ์
>>
.
...
.
Time & Accident 2013 Mixed media installation
“ความเชื่อที่ว่าการผลิตซ้ำาคือการทำาลายความจริงของต้นเเบบ เป็น วาทกรรมที่คุ้นชินมาอย่างช้านาน การกระทำา / การผลิตที่ซ้ำาของเดิม จะทำาให้ความเป็นต้นฉบับเสื่อมถอยเพราะสิ่งที่เป็นต้นเเบบล้วนมี คุณค่าด้วยความเป็นต้นฉบับด้วยตัวเอง จึงเป็นทีม่ าของการตัง้ คำาถาม ต่อการสร้างงานศิลปะ ที่ว่า หากต้นเเบบมีความไม่สมบูรณ์ในตัวของ มันเอง การกระทำาที่ว่าด้วยการผลิตซ้ำาจะสร้างความไม่สมบูรณ์ออกมา คราวละมากๆด้วยหรือไม่ ในงานครัง้ นีค้ อื การพยายามทีจ่ ะตัง้ คำาถามถึงกระบวนการของการได้มา ซึ่งบรรทัดฐานแห่งความจริง ความงาม ความดี ตลอดจนการตัดสิน ความสมบูรณ์แบบเเละความไม่สมบูรณ์เเบบทั้งในทางสังคม การเมือง เเละความเป็นศิลปะ” “The belief saying that reproduction is devastation of the reality of the original is the discourse that we are familiar with for a long time. A reproduction of the original would make the originality decline as the original has its value of originality on its own. It brings up a question towards creation of works of art; if the original is imperfect on its own, would a reproduction create several imperfect items at once? This work is an attempt to question on a process of acquiring norm; norm of truth, norm of beauty, norm of virtue, to the norm of judging perfection and imperfection socially, politically, and artistically.”
49
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Viriya Chotpanyavisut
Mekong, Menam Art Fleuve (Workshop in Thailand, Spring 2012 with Le Pool P) 2012 Lightjet B&W print on paper Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
54
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
>>
. วิริยะ โชติปัญญาวิสุทธิ์
...
...
.. .. . ..
.
Viriya Chotpanyavisut
. ...
Mekong, Menam Art Fleuve (Workshop in Thailand, Spring 2012 with Le Pool P*) 2012 Lightjet B&W print on paper
“ประเทศไทย เป็นประเทศที่ได้รับอิทธิพลจากปรัชญาพระพุทธศาสนา อย่างลึกซึ้ง ธรรมชาติกลายเป็นส่วนสำาคัญส่วนหนึ่งในชีวิต เราอยู่ใน สถานที่ีซึ่งเต็มไปด้วยความหมายที่โอบอุ้มคำาถามถึงความแข็งแกร่ง และความอ่อนแอของทุกชีวิต สำาหรับผมแล้ว สรรพสิ่งเหล่านี้ต้องถูก ตั้งคำาถามโดยศิลปะ คำาถามเกี่ยวกับชีวิตประจำาวันที่แท้จริงเหล่านี้ ได้ผลักดันตัวผมอย่างรีบเร่งให้สำารวจถึงสัญญะภายใน และสัญญะ แห่งชีวิต ในระหว่างการทำางานเวิร์กชอปนี้ ผมพยายามที่จะ บันทึกความงามชั่วคราวของชีวิตประจำาวันซึ่งมักหนีจากเราไปไกล ผมพยายามที่จะค้นหาความอัศจรรย์เล็กๆ โดยมุ่งเน้นไปที่ความมืดมิด อันเกี่ยวพันกับวัฏจักรแห่งธรรมชาติและชีวิต ผ่านการสังเกตและ การถ่ายภาพสแน็ปช็อต (snapshot) ศิลปะจะเป็นความบอบบาง อันวิจิตร สำาแดงความเคลื่อนไหวอันเจนโลก เต็มไปด้วยเรื่องราวอันมี มนต์ขลัง งานของผมได้กลายเป็นหนึ่งเดียวกับ <<จิตวิญญาณแห่ง สถานที่>> ซึ่งเป็นสถานที่ทั้งเชิงนามธรรมและรูปธรรม”
*
ได้ทำาการจัด เวิร์กชอปทั้งในฝรั่งเศสและ ต่างประเทศ โดยครั้งแรก ถูกจัดขึน้ ในจังหวัดหนองคาย ประเทศไทย ในหมู่บ้านที่ เขตชายแดนติดประเทศลาว ใกล้แม่น้ำาโขงการใช้เวลา ทำางานร่วมกัน ในครั้งนี้ ได้สร้างโอกาสให้จัด นิทรรศการอีก 3 แห่ง 2 แห่ง ในประเทศฝรั่งเศส และ 1 แห่งในประเทศไทย ซึง่ ได้ให้ประสบการณ์ความรู้ ในแต่ละระยะของขั้นตอน การทำางานและการเดินทาง
Le Pool P
55
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
“Thailand is a country deeply influenced by the Buddhist philosophy, nature becomes essential in life. We are living in places full of meanings, carrying questions about every single life’s strength and weakness. For me, these things have to be questioned by art. These questions about the actual daily life, push myself urgently to explore inner signs, signs of life. During this workshop, I tried to capture the temporary beauty of the daily life, which is often getting away from us. By focusing on the darkness related to the cycles of nature and life, I tried to find small miracles, through observation and snapshots. Art would be an exquisite fragility, manifesting sophisticated movement, carrying mythical stories. My work has become one with the «spirit of the place», which is a mental and physical place.”
*
Le Pool P had organized a set of workshops in France and abroad. The first have been taken place in Nong Khai (Thailand) a village at the border with the Laos nearby the Mekong. This shared work-time created an opportunity to set up three exhibitions; two in France and one in Thailand, enlightening each stage of the process and travel. Copyright © The Art Centre Silpakorn University
56
57
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Dusadee Huntrakul dusadeehuntrakul@gmail.com www.dusadeehuntrakul.com EDUCATION 2013 MFA, University of California at Berkeley, CA, USA 2007 BA, University of California at Los Angeles, CA, USA 2000 Non-Degree, Otis College of Art and Design, CA, USA SOLO EXHIBITIONS 2016 “Dusadee + Dusit + Lovers + Dead Ones”, Chulalongkorn Art Center, Bangkok,Thailand 2011 “Excerpt from Love Letters”, Koi Gallery, Bangkok, Thailand 2010 “Brand New 2010”, Bangkok University Art Gallery (BUG), Bangkok, Thailand GROUP EXHIBITIONS 2015 “Beneath the Moon/Sous la Lune”, curated by Khairuddin Bin Hori for Palais de Tokyo at Institute of Contemporary Arts Singapore, Singapore “Hand Drawn Plates”, Adobe Books, San Francisco, USA “Sovereign Asia Art Prize Finalists Exhibition”, Hong Kong, China “Across the Ocean”, Bournemouth Thai Art Festival, United Kingdom 2014 “Fertile Ground: Art and Community in California”, Co-organized by San Francisco Museum of Modern Art and Oakland Museum of California, Oakland Museum of California, CA, USA “Memorandum”, Bangkok University Gallery (BUG), Bangkok, Thailand 2013 “Singapore Biennale 2013 “If the World Changed””, Peranakan Museum, Singapore “The 43rd MFA Exhibition”, Berkeley Art Museum, Berkeley, CA, USA “Sweet Nightmare”, Bangkok University Gallery (BUG), Bangkok, Thailand 2012 “Regional Perspectives”, OSAGE Gallery, Hong Kong, China “Sigma Asia 2”, OSAGE Gallery, Hong Kong, China “Nouva {Arte} Povera”, Bangkok University Gallery (BUG), Bangkok, Thailand 2010 “2nd Station”, WTF Gallery, Bangkok, Thailand “Pasteperfect”, Soul Space Studio, Bangkok, Thailand “Incognito 2010”, Santa Monica Museum of Modern Art (SMMOA), Santa Monica, CA, USA “Ordinariness of the Artist’s House”, Mao Jai Dee Gallery, Chiang-Mai,Thailand 2007 “Can We Sit On It, New Weight Gallery”, Los Angeles, CA, USA “You see my jellyfish. I see your oyster”, curated by Mieke Marple, The Studio, Inglewood, CA, USA
58
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
59
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Latthapon Korkiatarkul l.korkiatarkul@gmail.com EDUCATION 2010 BFA in Visual Arts, Bangkok University, Thailand GROUP EXHIBITIONS 2015 “Through and Place and Image”, The Art Center: Center of Academic Resources, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand 2014 “False Things”, Galerie Steph, Artspace@Helutrans, 39 Keppel Road, Tanjong Pagar Distripark, Singapore 2013 “CURRENCY CRISIS”, Whitespace Gallery, One Sala Daeng 1, Rama 4 Road, Bangkok, Thailand “Spot Art”, ARTrium@MCI, Singapore 2012 “Brand New Art Project 2012”, Bangkok University Gallery, Thailand “Politics of Me”, Bangkok Art and Culture Centre, Thailand “Still Lives”, Soul Space Yoga Studio & Art Gallery, Fl. 2 Westlane Building, Silom Soi 19, Thailand 2011 “Sakid Think”, Degree Project Exhibitions, Super Product CO. LTD, Bangkok, Thailand 2009 “Bualuang 101 Outstanding Artist”, The Bangkok Bank Foundation and Queen Sirikit and Gallery, Bangkok, Thailand
60
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
61
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Miti Ruangkritya miti139@hotmail.com www.mi-ti.com EDUCATION MA in Photojournalism, University of Westminster, London, United Kingdom SOLO EXHIBITIONS 2014 “Uncertain “Christmas 2013 “Imagining “Imagining
States”, 2902 Gallery, Singapore Cup”, CEO Books, Thailand Flood”, Kathmandu Gallery, Bangkok, Thailand Flood”, ICI, Venice, Italy
GROUP EXHIBITIONS 2016 “Omnivoyeur”, Bangkok Art and Cultural Centre, Thailand 2015 “Format International Photography Festival”, UK “Real Estate/Landscape”, Hotel Asia Project, Gallery Soap, Japan “Real Estate/Landscape”, Hotel Asia Project, Bangkok University Gallery, Thailand “Encontros da Imagem”, Portugal “Photo Bangkok”, Thailand “Suwon Photo Festival”, South Korea “Obscura Photo Festival”, Malaysia “Triennial of Photography”, Hamburg, Germany “Tbilisi Photo Festival”, Georgia “Suwon International Photo Festival”, South Korea 2014 “On the Edge and Operation Bangkok with ‘Ise’ Roslisham Ismail”, Bangkok University Gallery, Thailand “Singapore International Photography Festival”, Singapore “Angkor Photography Festival”, Siem Reap, Cambodia “Le Bal”, Paris, France “Xishuangbanna Foto Festival”, China 2013 “Noorderlicht Photofestival”, Netherlands “Arles”, France “Dali Photography Festival”, China “Delhi Photo Festival”, India “Art13”, London, UK “Chobi Mela”, Bangladesh 2012 “Noorderlicht Photofestival”, Netherlands “Singapore International Photography Festival”, Singapore “Angkor Photography Festival”, Siem Reap, Cambodia “Photo Phnom Penh”, Phnom Penh, Cambodia “Menam Art Fleuve”, Ensapc Ygrec, Paris “Temporary Storage #01”, Bangkok Art and Cultural Centre, Thailand “Politics of Me”, Bangkok Art and Cultural Centre 2011 “Space Shift”, featured in ‘Messy Sky’ no 00, vol 2, Le Plateau, Paris, France
62
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
HONOUR AND AWARDS 2015 “Dummy Award”, Fotobook Festival Kassel, Germany “Nominated for Prix Pictet”, The Global Award in Photography and Sustainability, Switzerland “Winner of the ‘Portfolio Reviewers Choice Award’”, Format Photography Festival, UK 2014 “Emerging Artist”, Bangkok University Gallery, Thailand 2013 “Nominated for ‘Best Photographer’ & ‘Best Photo Book’”, Dali Photo Festival, China 2012 “Honourable Mentions, Magenta Flash Forward Emerging Photographers”, UK 2011 “Selected Winners”, Magenta Flash Forward Emerging Photographers, UK RESIDENCY 2016 “Quebec-Bangkok Artists Exchange”, Vu Photo, Quebec City, Canada
63
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Nuttapon Sawasdee sawasdeenuttapon@gmail.com EDUCATION 2010 BFA in Visual Arts, Bangkok University, Thailand GROUP EXHIBITIONS 2015 “LUCIDA”, Speedy Grandma, Bangkok, Thailand “Shutting Space”, Japan Foundation, Seascape Gallery, Chiangmai, Thailand 2014 “The Great Artist of Tomorrow Will Go Underground”, Bangkok Art & Culture Centre, Bangkok, Thailand “Grass Tone Sound Music Festival”, Nakhonratchasima “WubWab”, 80 CM, Bangkok, Thailand “Katuk”,Yet-space, Bangkok, Thailand “Money Faketory : Artist Collective Recognition System”, KUANDU BIENNALE,Taipei National University of the Arts - Kuandu Museum of Fine Arts, Taiwan “Kingdom”, Speedy Grandma, Bangkok, Thailand “Chaos Yesterday and Today”, Dark Horse Experiment, Australia “False Things”, Galerie Steph, Singapore “Brand New Art Project 2013”, Bangkok University Gallery, Thailand 2013 “Spot Art”, ARTrium@MCI, Singapore “CROSS_STITCH : A trans-conceptual exhibition to present the works of young artists”, Bangkok Art & Culture Centre, Bangkok, Thailand “We Come in Peace”, 3rd World Café, Nakhonratchasima, Thailand “Confession the Exhibition”, Tadu Contemporary Art, Bangkok, Thailand 2012 “Art Anti Corruption”, Bangkok Art & Culture Centre, Bangkok, Thailand “Politics of Me”, Bangkok Art and Culture Centre, Bangkok, Thailand 2011 “38.5 Km.”, RMA Institute, Bangkok, Thailand HONOUR AND AWARDS 2013 “Young Thai Artist Award in Photography”, Thailand RESIDENCY 2016 “Live@RAM”, Rockbund Art Museum, Shanghai, China
64
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
65
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Phornphop Sittirak pastelken@gmail.com EDUCATION Present MFA in Visual Arts, Silpakorn University, Thailand 2010 BFA in Thai Art, Silpakorn University, Thailand 2006 College of Fine Arts, Nakhonsrithammarat, Thailand GROUP EXHIBITIONS 2014 “Drowse”, Use Space, Bangkok, Thailand 2012 “The 36th Anniversary of Department of Thai Arts”, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Thailand 2010 “Truth-Substantive”, Lighten Art Gallery, Bangkok, Thailand 2009 “The 26th Exhibition of Contemporary Art by Young Artist”, the Art Centre Silpakorn University, Thailand 2008 “The 25th Exhibition of Contemporary Art by Young Artist”, the Art Centre Silpakorn University, Thailand 2005 “The 16th Toshiba ‘Bring Good Thing to Life’ Art Exhibition”, Thailand HONOUR AND AWARDS 2005 Special Award of the 16th Toshiba “Brings Good Things to Life” Art Competition, Thailand RESIDENCY 2013 “Mite’-Ugro Art Space”, Gwangju, South Korea
66
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
67
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Viriya Chotpanyavisut virriya@hotmail.com vivapolub@yahoo.com www.viriyachot.com EDUCATION 2011 D.N.S.E.P (Honors), L’École Nationale Supérieure d’Arts Paris-Cergy, France 2009 D.N.A.P (Congratulations), l’École Supérieur de Beaux-art de Toulouse, France 2004 BFA, Fine Arts, Rangsit University, Thailand SOLO EXHIBITIONS 2016 “Unnoticed Light”, Schemata Gallery, Bangkok, Thailand 2014 “Quelques Phases Lunaires”, Galerie de Multiples, Paris, France 2012 “Urbain Microscope”, Galerie de Multiples, Paris, France 2010 “Black Protocole”, Galerie Artenact, Paris, France GROUP EXHIBITIONS 2016 “Thailand Eye”, Bangkok Art and Culture Centre, Thailand “While It Lasts”, in collaboration with Tanatchai Bandasak, Tadu Contemporary Art, Bangkok, Thailand “Flower Power,Galerie de Multiples”, Paris, France “A Personal History of Visual Symbiosis”, CMU Art Center, Chiangmai, Thailand 2015 “Thailand Eye”, Saatchi Gallery, London, England “Index”, Galerie de Multiples, Paris, France 2014 “Le Père Noel a les Yeux Bleus”, Galerie de Multiples, Paris, France “Mais avant de Mourir, J’aimerais Savoir Qui Vous Êtes”,Gdm & Cortex Athletico, Bordeaux, France “Proximity”, curated by Pichaya Suphavanij, National Museum in Sxczecin, Poland “Rangsit Photo Festival”, Pattana Gallery, Thailand “Transcollection”, FDAC, Essone, France 2013 “Super Natural”, curated by Chol Janepraphaphan, Bangkok Art and Culture Centre, Thailand “Mystère et Boule de Gomme”, Maison des arts George Pompidou, Cajarc, France “Les Projets Abandonnés”, Galerie Immix, Paris, France 2012 “Temporary Storage#01”, Bangkok Art and Culture Centre, Thailand “Remove Me”, Artothèque de Caen, Caen, France “De l’Eau pour les Oiseaux et les Serpents”, Le Pool P, Galerie Ygrec, Paris “Rendez-vous 12”, African Nation Museum, Cape Town, South Africa “Sélection Copenhagen Photo Festival 2012”, Copenhagen, Denmark “L’Insaisissable”, Galerie Immix, Paris, France “Toom Faab”, Association with Le Pool P, The Reading Room, Bangkok, Thailand “Toom”, Association with Le Pool P, Jom Manee Beach, Nong Khai, Thailand “Jungle Topics”, Menam Art Fleuve, Part1, Agence OHL&CO, Paris, France
68
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
2011
2010
2008 2007
“Rendez-vous 11”, Institute d’Art Contemporain, Villeurbanne, France “Légère éclaircie”, Galerie White Projects, Paris, France “Sélection du 56ème”, Salon de Montrouge, Montrouge, France “Jiw Jaew Jor Lok”, by l’ENSAPC, Foundation d’arts Kadist, Paris, France “Fenêtre sur Rue”, Paris-Cergy/Rouen, Galerie Martainville-Aître Saint-Maclou, Rouen, France “Soirée de Lancement de la Compilation T.O.A.D”, by l’ENSAPC & Tiramizu,la Vitrine, Paris, France “Sélection, La 15 ème Edition du Festival Voies Off”, Cour de l’Archevêché, Arles, France “Dé-Synchronisation”, Espace des Arts Sans Fontière, Paris, France “La Soirée de Performance”, Palais des Arts de Toulouse, France “Hetroclight”, Le claozet, Moncrabeau,France “Exposition d’art plastiques, Le Claouzet,Moncrabeau”, France
HONOUR AND AWARDS 2014 Honorable Mention in Editorial-Personality Category, “the 2014 Moscow International Foto Awards (MIFA’14) Competition” for the winning entry Urbain Microscope
69
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
70
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
71
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
74
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
75
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
“Two men look out through the same bars: one sees the mud, and one the stars.” A Contemporary Art Exhibition: Dusadee Huntrakul Latthapon Korkiatarkul Miti Ruangkritya Nuttapon Sawasdee Phornphop Sittirak Viriya Chotpanyavisut 19 May - 18 June 2016 Curator: Kritsada Duchsadeevanich Catalogue and Graphic Designer: Suppakarn Wongkaew English Text: Polwach Beokhaimook Proofread: Methawee Kittiaponphol Exhibition Design and Installation: The Art Centre, Silpakorn University Special Thanks: Ark Fongsamut Printed at Parbpim Ltd. (700 copies) Copyright the Art Centre Silpakorn University c 2016
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
“สองคนยลตามช่อง คนหนึ่งมองเห็นโคลนตม อีกคนตาแหลมคม เห็นดวงดาวอยู่พราวพราย” นิทรรศการศิลปะร่วมสมัยโดย: ดุษฎี ฮันตระกูล ลัทธพล ก่อเกียรติตระกูล มิติ เรืองกฤตยา ณัฐพล สวัสดี พรภพ สิทธิรักษ์ วิริยะ โชติปัญญาวิสุทธิ์ 19 พฤษภาคม ถึง 18 มิถุนายน 2559 ภัณฑารักษ์: กฤษฎา ดุษฎีวนิช ออกแบบสูจิบัตรและกราฟฟิกนิทรรศการ: ศุภกานต์ วงษ์แก้ว ผู้แปล: พลวัชร์ เบี้ยวไข่มุก พิสูจน์อักษร: เมธาวี กิตติอาภรณ์พล ออกแบบและติดตั้งนิทรรศการ: หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอขอบคุณ: อรรฆย์ ฟองสมุทร พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ภาพพิมพ์ (จำานวน 700 เล่ม) ลิขสิทธิ์ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร c 2559
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Thai Contemporary Art Project 2016
โครงการศิลปกรรมไทย ประจำาปี 2559
A part of exposed: up-and-coming artists project ส่วนหนึ่งของ โครงการสนับสนุนศิลปินรุ่นใหม่ exposed This exhibition is curated by the Art Centre, Silpakorn University
นิทรรศการนี้จัดโดย หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
For More Information: 31 Na Phra Larn Road, Phra Nakorn District, Bangkok, Thailand Facebook: Art Centre Silpakorn University www.art-centre.su.ac.th Copyright Š The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University
Copyright © The Art Centre Silpakorn University