At the Main Hall, Art Centre, Silpakorn University (Wang Thapra) 9 March – 5 April 2018
เจ้าของและผู้จัดพิมพ์ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 31 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 02 221 3841 Website: www.art-centre.su.ac.th FB: Art Centre Silpakorn University Email: su.artcentre@gmail.com ออกแบบและคอมพิวเตอร์กราฟิก ศรายุทธ ภูจริต แปลภาษาและพิสูจน์อักษร เมธาวี กิตติอาภรณ์พล พิมพ์ครั้งแรก มีนาคม 2561 จำ�นวนที่พิมพ์ 700 เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ภาพพิมพ์ 45/14 หมู่4 ถนนบางกรวย-จงถนอม ตำ�บลบางขนุน อำ�เภอบางกรวย นนทบุรี 11130 โทรศัพท์ 02 879 9154
วัฒนธรรม และ ศิลปะ
ศาสตราจารย์ ศิลป พีระศรี เขียน เขียน ยิ้มศิริ แปลจาก Culture & Art
ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาตินั้น ปรากฏว่ามีอยู่หลายสมัยที่พุทธิ ปัญญาของมนุษย์ไม่มีความสูงส่ง แต่ทว่ามีก�ำ ลังจิตเข้มแข็ง มีบางสมัยที่มนุษย์ มีความเจริญก้าวหน้าอย่างใหญ่หลวง แต่มนุษย์กลับสูญเสียความเข้มแข็งด้าน กำ�ลังจิตไป ในยุคเรานี้ จะเห็นได้ว่าสมองของมนุษย์ได้สร้างความสำ�เร็จในกิจการ ต่าง ๆ อย่างน่าชื่นชม แต่เมื่อพิจารณาในแง่ความก้าวหน้าของจิตใจแล้ว เราก็ ยังอยู่ในระดับต่ำ�มาก มนุษย์ได้ค้นพบพลังงานปรมาณู ส่งดาวเทียมขึ้นไปสู่ห้วง อวกาศเพื่อเป็นบริวารของดวงอาทิตย์และได้บรรลุผลทางความเร็วอันน่าตื่นใจ ด้วยเครื่องจักรกล สิ่งมหัศจรรย์ทั้งหลายแหล่เกิดจากพลกำ�ลังและความรุนแรง อันมหาศาลนั้น แทนที่จะให้ความอภิรมย์ กลับบดขยี้จิตใจของเราลงไป ชี วิ ต ได้ ก ลายเป็ น สิ่ ง ที่ ป ราศจากเนื้ อ หา และดู เ หมื อ นว่ า ประเทศยิ่ ง เจริญขึน ้ เท่าใดประชาชนพลเมืองก็ยงิ่ จะต้องทำ�งานหนัก เพือ ่ ชดใช้มวลแห่งความ ต้องการอันเป็นสิง่ เทียมมากขึน ้ เท่านัน ้ ตัง้ แต่เช้าจนค่�ำ ประสาทของเราเต็มไปด้วย ความเคร่งเครียดไม่เคยผ่อนคลาย มิฉะนั้นก็หาไม่พอใช้พอกิน เราว้าวุ่นมาก จน วันหนึง่ ๆ ไม่มเี วลาแหงนดูฟา้ ว่ามีเมฆหรือแจ่มใส เราผละหนีจากธรรมชาติอน ั เป็น ดุจมารดาที่ให้แต่สิ่งดีสิ่งงามแก่ชีวิตของเราไปอย่างผิดทาง ก็เพื่อที่จะสร้างโลก แห่งความหวาดกลัวและความเกลียดชัง สิ่งที่ร้ายที่สุดก็คือเจ้าลัทธินิยมวัตถุอัน น่าพรั่นพรึงนั้น กำ�ลังข่มขู่มนุษย์ทุกรูปทุกนามไปทุกหนทุกแห่ง ปัจจุบันนี้มนุษย์ พากันคิดว่า อารมณ์รู้สึกนึกคิดที่กอปรด้วยความเมตตาสงสารรักใคร่ซึ่งกันและ กันนั้น เป็นสิ่งที่ผิด มนุษย์ได้รับการสอนให้เป็นผู้ปราศจากความเมตตาปรานี ให้ มีแต่ความโลภหลงและยึดวัตถุเป็นที่ตั้ง การทีจ ่ ะสร้างแนวต่อต้านลัทธิวต ั ถุนย ิ มนัน ้ ก็ตอ ้ งอาศัยหลักสำ�คัญ ๒ ประการ คือ หลักธรรมอันบริสุทธิ์ทางศาสนา ประการหนึ่ง และ ศิลป อีกประการ หนึ่ง แท้จริงนั้น จากประจักษ์การทั้งหลายแหล่ ศิลป ก็คืออาหารของจิตใจและ พุทธิปัญญาของมนุษย์เรา ไม่ว่าวรรณกรรม, ดนตรี, จิตรกรรม, ประติมากรรม และมัณฑนะศิลป เราได้ประสบแต่ความเพลิดเพลินเจริญใจ ความสงบเยือกเย็น และบ่อเกิดของความหวังอันสูงส่ง ศิลปทำ�ให้เราเป็นคนดี รักใคร่ซึ่งกันและกัน ทำ�ให้เรามีภาวะเป็นมนุษย์ที่แท้จริง ฉะนั้น ศิลปจึงเป็นสิ่งจำ�เป็นที่จะขาดเสียมิได้ สำ�หรับชีวิตที่มีวัฒนธรรมของชาติ ซึ่งบรรดาบุคคลที่เจริญแล้วทั้งหลายต่าง สนับสนุนส่งเสริมทั้งในด้านศีลธรรมและด้านการเงินอย่างเต็มที่ ดังนั้น จึงได้มี การเปิดการแสดงแข่งขันศิลปกัน ทั้งภายในประเทศชาติของตนเองและระหว่าง นานาชาติ ขึ้นทุก ๆ รอบปี ทุกบ้านทุกเมืองมีการสร้างอาคารขึ้นเป็นศูนย์กลาง ศิลป สร้างหอศิลปและพิพิธภัณฑ์ศิลปขึ้นสำ�หรับประชาชนได้ชื่นชมสมบัติมีค่า ยวดยิง่ ของชาติ บรรดาประเทศทัง้ หลายต่างมีการตกแต่งสถานทีร่ าชการด้วยงาน จิตรกรรมและประติมากรรม มีการส่งงานศิลปกรรมชิน ้ สำ�คัญ ๆ ระหว่างประเทศ ไปแสดงยังประเทศอื่น เพื่อแลกเปลี่ยนความชื่นชมในรสนิยมทางศิลปซึ่งกันและ กันการกระทำ�เหล่านีท ้ งั้ หมด เกิดขึน ้ ได้กด ็ ว้ ยอาศัยศรัทธาปสาทะ กอปรด้วยความ มุง่ มัน ่ อย่างแรงกล้าทีจ ่ ะรักษาไว้ซงึ่ แสงเพลิงอันรุง่ โรจน์ทางพุทธิปญ ั ญา ให้มชี วี ต ิ อยู่ได้ ในยุคที่มนุษย์ก�ำ ลังตกอยู่ในห้วงอันตรายที่จะกลายเป็นทาสของสิ่งผูกมัด ทางกาย ในโบราณสมัย ประเทศไทยเรามีศิลปกรรมเกี่ยวกับศาสนาอันน่านิยม ชมชื่น ซึ่งคนไทยทุกคนต้องภาคภูมิใจ แต่น่าเสียดายที่ไม่มีใครต้องการสร้าง
งานศิลปเพื่อส่วนบุคคล หรือสร้างขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะตน ดังนั้น จึงไม่มี การเขียนการปั้นรูปเหมือน ไม่มีงานจิตรกรรมตกแต่งปราสาทราชวัง ไม่มีภาพ เขียนตกแต่งบ้านขุนนางหรือผูด ้ ม ี เี งิน ไม่มงี านประติมากรรมประดับประดาอาคาร บ้านช่องหรือสวนอุทยาน การสร้างงานศิลปเกี่ยวกับศาสนานั้นก็เพื่อที่จะเสริม ส่งศรัทธาปสาทะของพุทธศาสนิกชน ในทำ�นองเดียวกัน การสร้างงานศิลปอัน สวยงามก็เพื่อที่จะเสริมส่งความต้องการของบุคคลเป็นการส่วนตัว ซึ่งก่อให้เกิด ความจำ�เป็นขึ้นเป็นประเพณี ด้วยเหตุนี้เอง ความนิยมชมชอบในศิลปปัจจุบันจึง อุบัติขึ้น ศิลปทีเ่ กีย ่ วกับศาสนาในประเทศไทยเรานัน ้ ถ้ามิได้อยูท ่ เี่ หตุผลทางด้าน ความต้องการหรือเหตุผลทางด้านเศรษฐกิจแล้ว ก็กลายเป็นศิลปเกีย ่ วกับการค้า ไป เมือ ่ ศิลปินไทยเริม ่ เนรมิตงานศิลปร่วมสมัยปัจจุบน ั (กับนานาประเทศ) เป็นการ ส่วนตน จึงมีนอ ้ ยคนทีม ่ ค ี วามสนใจเลือ ่ มใสในกิจกรรมทางพุทธิปญ ั ญาใหม่นี้ ตรง กันข้าม โดยเหตุผลทางความคิดและความรู้สึกตามประเพณีนิยม คนส่วนมาก ไม่เข้าใจ ว่าศิลปนั้น คือส่วนหนึ่งของชีวิตทางด้านวัฒนธรรม ซึ่งไม่อาจหยุดนิ่ง อยู่ตามสภาพเดิมได้ กล่าวคือต้องแปรเปลี่ยนไป โดยประการฉะนี้เอง ความคิด สร้างงานศิลปอันเป็นต้นฉบับไม่ซ�้ำ แบบกับใครของศิลปินปัจจุบน ั จึงเกิดขึน ้ ซึง่ แม้ พิจารณาในแง่ศล ิ ป จะไม่ถงึ ขัน ้ สำ�เร็จสมบูรณ์ ก็ยงั มีคณ ุ ค่ากว่างานลอกแบบหรือ ่ ที่ เลียนแบบงานศิลปโบราณ ซึง่ ได้กระทำ�ซ้�ำ ซากกันมานับเวลาเป็นศตวรรษ ๆ เพือ จะยืนยันข้อเท็จจริงในเรื่องนี้ จำ�ต้องกล่าวถึงภาพเขียนบรรยายเรื่องรามเกียรต์ิ หรือชาดก ว่าภาพเขียนเหล่านัน ้ มิใช่ศล ิ ปเนรมิต ย่อมเป็นสิง่ แน่วา่ ศิลปินอาจเขียน หรือปั้นหรือสลักลายเส้นเป็นเรื่องอะไรก็ได้ที่ตนชอบ แต่งานนั้นต้องแปลความ หมายคุณลักษณะของเรื่องที่ทำ�เป็นของตนเอง ซึ่งจะต้องเป็นเรื่องใหม่ มิฉะนั้น แล้ว เราก็ตกแต่งประดับประดาเคหสถานบ้านเรือนด้วยรูปถ่ายจากศิลปกรรมชั้น สูงของโบราณเสียจะดีกว่า สิง่ ทีน ่ า่ เศร้าใจในเรือ ่ งศิลปปัจจุบน ั นีก ้ ค ็ อ ื ศิลปกรรมเกือบทัง้ สิน ้ ทีจ ่ ด ั แสดงในงานแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ๙ ครั้งที่แล้ว ๆ มา ซึ่งกรมศิลปากรได้จัด ขึ้นนั้น ไม่มีเลยสักชิ้นเดียวที่ทางราชการได้ซื้อไปติดตั้งตามสถานที่ราชการ งาน ศิลปกรรมแต่ละชิ้นซึ่งทำ�ขึ้นในระยะ ๙ ปีที่แล้วมาจึงสูญหายกระจัดกระจายไปสิ้น ถึงเวลาแล้วที่ควรตระหนักว่า ขณะนี้ประเทศเพื่อนบ้านของเราเขาส่ง เสริมศิลปกันมาก แต่เราเองยังคงปล่อยให้เป็นไปตามยถากรรม ขออย่าให้เรา ลวงตัวของเราเองเพราะว่าเรามีรถยนต์ มีโทรทัศน์ มีเครื่องบิน และอื่น ๆ อีก มากมาย ซึง่ สิง่ เหล่านีม ้ ไิ ด้เป็นเครือ ่ งสำ�แดงถึงความมีวฒ ั นธรรมของไทยเลย สิง่ ซึง่ เป็นเครือ ่ งแสดงวัฒนธรรมนัน ้ ก็คอ ื การแสดงออกซึง่ ความรูส ้ ก ึ ทางด้านจิตใจ และพุทธิปญ ั ญา จากการแสดงออกดังกล่าวนีแ ้ หละทีท ่ �ำ ให้เราเกิดความภาคภูมใิ จ และรู้สึกไม่น้อยหน้าใคร เมื่อไรหนอเราจึงจะเริ่มเข้าใจในความจริงข้อนี้กันเสียที? บรรดาศิลปินและคณะดำ�เนินงาน งานแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ยังมี ความมัน ่ ใจว่า ด้วยการเปิดเผยเช่นนี้ วันหนึง่ เขาอาจปลอบปลุกประชาชนผูร้ บ ั ผิด ชอบให้เกิดความสนใจในศิลป ซึง่ หมายถึง วัฒนธรรมของไทย ขึน ้ ได้ วัฒนธรรม ไทยนัน ้ มิได้หมายถึงแต่เพียงว่าเราแต่งตัวอย่างไร เราทักทายปราศรัยกันอย่างไร หรือเรานัง่ เก้าอีแ ้ ทนทีจ ่ ะนัง่ พับเพียบกับพืน ้ หากหมายถึงความคิดทางสมอง ความ รู้สึกจากส่วนลึกภายใน และความบันดาลทางจิตใจของเรา นั่นคือลักษณะอัน แท้จริงของชาติ ไม่มส ี ง่ิ ใดทีแ ่ สดงออกซึง่ ความรูส ้ ก ึ ทางวัฒนธรรมยิง่ ไปกว่า ศิลป
CULTURE & ART
By Professor Silpa Bhirasri
In the history of mankind periods are recorded of intellectual regress combined nevertheless with a strong spirituality and, vice versa, periods of great progress lacking any spiritual aims at all have occurred. In our age the human brain has achieved stunning results, but spiritually we are at very low ebb. Man has discovered atomic energy, sent artificial planets into orbit round the sun and attained a fantastic velocity with his machines. And all these wonderful things, by their monstrous violence and force, crush our spirit instead of soothing it. Life has become artificial and it seems that the more civilized a country is, the harder its citizens have to work in order to pay for a mass of artificial needs. From morning to night man’s nerves are extremely tense, never relaxing lest his private financial budget should run into a deficit. We rush so much that one day we shall not have the time to see whether the sky is cloudy or clear. We have gone astray from Nature, our benevolent Mother, to create a world of fear and hatred. And the worst is that this horrible materialism is imposed upon all people all over the world. Sentimental feeling is a fault – man is taught to be brutal, cynical, and materialistic. To counterbalance the trend to materialism there are still two powerful means pure religious principles and Art. Indeed, art in all its manifestations is the food of our intellect and spirit. In Iiterature, in music, in painting and sculpture and in decorative arts we find pleasure, serenity and the source of high aspirations. Through art we become good; we love each other; we become truly humanized. Art is such an indispensable necessity for the cultural life of the nations that all civilized people sponsor it both morally and financially in a lavishing way. National and international competitions and exhibition are organized all the year round in every town of every nation. Centres of art are built, galleries and museums represent for every citizen his most precious heritage. In most countries, it is compulsory by law to apply works of painting and sculpture to public buildings. Masterpieces are sent from one country to another for reciprocal appreciation. All this is done with faith and integrity to keep alive the flame of the intellect in an age menaced to become a slave of physical matter. In Thailand, in the past, we had a splendid religious art of which every Thai must be proud. Unfortunately, as there was no demand for art by private persons, nor was art made for private purposes, no portraits, no mural decoration for palaces, no pictures
for nobles or well-to-do people, no statuary to embellish houses or gardens were ever made. Now, while religious art serves to support the emotive feeling of the believer, art made for private purposes serves to respond to traditional necessity for surrounding ourselves with beautiful objects; hence art appreciation. As far as our country is concerned, once religious art was no more in demand or, for economic reasons it became commercial, and when Thai artists started to create individual contemporary art, only few persons took a favourable interest in this new intellectual activity. Indeed, for sentimental traditional reasons, to the contrary, many people did not understand that Art, being a living part of Culture, cannot be static, and, as such, an original conception, even if not quite successful in its artistic realization, is far better than copies or imitations of what has been repeated for centuries. To insist that our artists must go on illustrating scenes from the Ramayana epic or from the Jataka means the end of creative Art. Of course, an artist may paint or model, or engrave any subject he likes, but his work must be a personal interpretation of that subject, he must say something new. Otherwise, it would be much better to decorate our houses with photographic reproductions of old classic art. The regrettable result of this situation has been that of almost all the works exhibited in the Nineth National Exhibitions of art, organized by the Fine Arts Department, not one has been officially acquired by the government to enrich an official building one by one, the works done in the last nine years have been dispersed. The time has come to realize that while all our neighboring countries do so much for art, we still drift hopelessly at slack water. Let us not delude ourselves with all our motor-cars, television-sets, jet airplanes, etc.-they do not represent Thai culture. This is represented by intellectual and spiritual expression. This is what we ought to be proud of. It is in this sphere that we should feel second to nobody. WHEN SHALL WE START TO UNDERSTAND THIS REALITY? Artists and the organizers of National Exhibitions still have faith that through such displays they will one day be able to awake among responsible people the interest in art which means THAI CULTURE. Thai culture does not only mean how we dress, how we salute each other or squat on the floor instead of sitting in a chair. It means our mental capacity, our inner feelings, our spiritual aspirations, that is to say, our real racial character. Nothing more than ART expresses CULTURE.
คำานำา หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ดาำ เนินการโครงการเชิดชูเกียรติศล ิ ปินยอดเยีย ่ มแห่งประเทศไทย รางวัลทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม ศิลป์ พีระศรีขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ เกิดการค้นคว้าด้านการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมของศิลปิน โดยเปิดโอกาสให้ศิลปินนำาเสนอ โครงการสร้างสรรค์เพือ ่ ให้คณะกรรมการผูท ้ รงคุณวุฒจ ิ ากหลากหลายสาขาพิจารณาคัดเลือกผู้ สมควรได้รับทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม ศิลป์ พีระศรี จำานวน 150,000 บาท โครงการนี้ได้ดำาเนิน มาจนถึงครัง้ ที่ 17 ซึง่ ได้คด ั เลือกผูไ้ ด้รบ ั ทุนจำานวน 7 ทุน ล้วนเป็นโครงการทีท ่ าำ ให้เกิดองค์ความรู้ ใหม่ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมและมีเอกลักษณ์ทโี่ ดดเด่น รางวัลทุนสร้างสรรค์ศล ิ ปกรรม ศิลป์ พีระศรี นี้ เป็นเสมือนกำาลังใจอันสำาคัญต่อการทำางานของศิลปินเพื่อให้สร้างสรรค์ผลงานที่ ดีสส ู่ าธารณะ และเป็นการสนับสนุนให้ศล ิ ปินมุง่ ทำางานสร้างสรรค์อย่างต่อเนือ ่ ง เพือ ่ เป็นส่วนหนึง่ ในการพัฒนาวงการศิลปะร่วมสมัยในประเทศไทย สุดท้ายนี้ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอขอบคุณคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และคณะ กรรมการดำาเนินงานทีท ่ ม ุ่ เทการทำางานและทำาให้โครงการสำาเร็จลุลว่ งด้วยดี จนทำาให้ผลงานทีท ่ รง คุณค่าเหล่านี้ออกเผยแพร่สู่สังคมในวงกว้าง และเป็นแรงบันดาลใจแก่ศิลปิน ผู้สนใจศิลปะและ นักศึกษาศิลปะ ในการสร้างสรรค์งานต่อไป
อาจารย์ ดร.ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ ผู้อำานวยการ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Preface The Art Centre, Silpakorn University has initiated Silpa Bhirasri’s Creativity Grants project to encourage artists’ research and creativity. Artists are invited to submit project proposals for 150,000 Baht grant, which will be selected by honorable judges. Seven creativity projects have been selected for the 17th Silpa Bhirasri’s Creativity Grants. All of these selected works distinctly show new body knowledge and enhance for Thai contemporary art circle. This grant is a significant support for the artists to strengthen their works for public and also support them to continue creating art, which benefits Thai contemporary art cycle. The Art Centre Silpakorn University would like to express gratitude to honorable judges and working committees, who put effort in making these valuable art works known to public and become source of inspiration to other artists and students.
Paramaporn Sirikulchayanont, Ph.D. Director of the Art Centre, Silpakorn University
โครงการเชิดชูเกียรติศิลปินยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย รางวัลทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม ศิลป์ พีระศรี เป็นทุนรางวัล สำ�หรับศิลปินสัญชาติไทยที่ทำ�งานสร้างสรรค์มาอย่างต่อเนื่อง และมีอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้มีโอกาสนำ�เสนอโครงการ สร้างสรรค์เพือ ่ ให้คณะกรรมการผูท ้ รงคุณวุฒจ ิ ากหลากหลายสาขาพิจารณาคัดเลือกผูส ้ มควรได้รบ ั ทุนและมีระยะเวลา ในการทำ�งาน 1 ปี เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการค้นคว้าด้านการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมของศิลปิน รางวัล ทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรมศิลป์ พีระศรี นี้ เป็นเสมือนกำ�ลังใจอันสำ�คัญต่อการทำ�งานของศิลปินเพื่อให้สร้างสรรค์ผล งานที่ดีสู่สาธารณะ และเป็นการสนับสนุนให้ศิลปินมุ่งทำ�งานสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนา วงการศิลปะร่วมสมัยในประเทศไทย โครงการนี้ได้ด�ำ เนินมาจนถึงครั้งที่ 17 ซึ่งได้คัดเลือกผู้ได้รับทุนจำ�นวน 7 ทุน ล้วนเป็นโครงการที่ท�ำ ให้เกิดองค์ความรู้ ใหม่ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมและมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น ได้แก่ 1. นายธงชัย ยุคันตพรพงษ์
โครงการ “มหากาพย์แห่งมิติเลื่อมพราย”
2. นายธีรพล หอสง่า
โครงการ “อัศวินสองล้อ”
3. นายนพไชย อังควัฒนะพงษ์
โครงการ “ความสุข(บนภาพ) เล็กๆ ประเทศไทย”
4. นายสันติ ทองสุข
โครงการ “พลังชีวิต”
5. นายสุรเดช วัฒนาประดิษฐชัย
โครงการ “ภาพสะท้อนการทารุณในเด็ก”
6. นายสุวิทย์ มาประจวบ
โครงการ “นิทรรศการศิลปะ ทะเล –เปลี่ยน”
7. นายอุทัย นพศิร ิ
โครงการ “ยุบ,พอง”
Silpa Bhirasri’s Creativity Grants project aims to encourage artists’ research and creativity. Thai artists, over 35 years old, are invited to submit project proposals for grant, which will be selected by honorable judges. All of these selected works distinctly show new body knowledge and enhance for Thai contemporary art circle. This grant is a significant support for the artists to strengthen their works for public and also support them to continue creating art, which benefits Thai contemporary art cycle. Seven creativity projects have been selected for the 17th Silpa Bhirasri’s Creativity Grants are as follow. 1. Thongchai Yukantapornpong
“Epic of Luminous Space”
2. Teerapon Hosanga
“Knight/Night Rider”
3. Nopchai Ungkavatanapong
“Little Happiness (Pictures) Thailand”
4. Santi Thongsuk
“Life Energy”
5. Suradech Wattanapraditchai
“Child Abuse”
6. Suwit Maprajuab
“Sea-change Art Exhibition”
7. Utai Nopsiri
“Aspiration”
CONTENT SELECTED PROJECTS THONGCHAI YUKANTAPORNPONG 12 TEERAPON HOSANGA 16 NOPCHAI UNGKAVATANAPONG 20 SANTI THONGSUK 24 SURADECH WATTANAPRADITCHAI 28 SUWIT MAPRAJUAB 32 UTAI NOPSIRI 36
PROCESS OF WORKS
BIOGRAPHY
56
APPENDIX
42 64
SELECTED PROJECTS
THONGCHAI YUKANTAPORNPONG
มหากาพย์แห่งมิติเลื่อมพราย Epic of Luminous Space โครงการสร้างสรรค์ศิลปกรรม “มหากาพย์แห่งมิติเลื่อมพราย” มีจุดประสงค์เพื่อ ศึกษาและทดลองสร้างสรรค์งานศิลปะภาพพิมพ์ ให้หลุดพ้นจากกรอบข้อจำ�กัดด้าน มิติและรูปลักษณ์ โดยวิธีการนำ�เสนอผลงานเชิงศิลปะจัดวาง (Installation Art) ผ่านรูปแบบ “โคมผัด” แห่งวัฒนธรรมล้านนา ซึ่งเป็นโคมกระดาษที่หมุนได้ด้วย ความร้อนของหลอดไฟภายในตัวโคม กระดาษทีใ่ ช้ประกอบทำ�โคมคืองานภาพพิมพ์ ไม้ที่พิมพ์ลวดลายขาวดำ�ในรูปแบบศิลปะนามธรรม ด้วยโคมไฟจำ�นวน 84 ใบ แต่ละใบต่างมีลวดลายเฉพาะ และจังหวะการหมุนที่แตก ต่างกัน บ้างหมุนเร็ว เนิบช้า และหยุดนิ่ง แสดงดุลภาพในความงามของแสงและ เงา ความเคลื่อนไหวและนิ่งสงบ เพื่อสะท้อนถึงความศรัทธา และความเชื่อทางพุทธ ศาสนาในสัจจะการเกิดดับของชีวิต The “Epic of Luminous Space” project aims to create a brand-new way of printmaking art by challenging its limited dimension and form. The artwork consists of Thai Lanna turning lantern that turn around by heat, also known as “Khom Phat”. All the wood-printmaking of each lantern presents abstract forms in black and white.
“มหากาพย์แห่งมิติเลื่อมพราย” โคมกระดาษจากภาพพิมพ์ไม้จ�ำ นวน 84 ใบ จัดวางแปรผันตามพื้นที่ “Epic of Luminous Space” 84 Lanterns with woodblock prints, variable
All the 84 lanterns show different designs and different rates of movement. Some goes fast, some goes slowly and some stays still. The installation is to show the beauty of balancing light and shadow, movement and stillness, which implies the truth about life and death in Buddhism.
13
14
“มหากาพย์แห่งมิติเลื่อมพราย” โคมกระดาษจากภาพพิมพ์ไม้จำ�นวน 84 ใบ จัดวางแปรผันตามพื้นที่ “Epic of Luminous Space” 84 Lanterns with woodblock prints, variable
TEERAPON HOSANGA อัศวิน สองล้อ Knight/Night Rider โครงการศิลปะ อัศวิน สองล้อ คือการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมที่มุ่งสะท้อน ปรากฏการณ์การสร้างอัตลักษณ์ของกลุ่มวัยรุ่นที่นิยมขี่รถจักรยานยนต์ หรือ รถมอเตอร์ไซค์ โดยมีคำ�เรียกวัยรุ่นที่มีอัตลักษณ์ทางสังคมแบบนี้ว่า “เด็กแว้น” มอเตอร์ไซค์คอ ื เครือ ่ งมือทีว่ ย ั รุน ่ ใช้สร้างอัตลักษณ์ใหม่ให้กบ ั ตนเอง เพือ ่ สือ ่ สารกับ ผู้พบเห็นโดยเฉพาะคนในวัยเดียวกัน และเพศตรงข้าม ว่าตนเองโตเป็นผู้ใหญ่แล้ว สามารถควบคุมยานพาหนะได้อย่างเก่งกาจ รวมทัง้ สามารถตกแต่งมอเตอร์ไซค์ของ ตนได้อย่างสวยงาม ซึ่งหมายถึงการมีก�ำ ลังทรัพย์เพียงพอ และโตพอที่จะตกแต่ง ตามรสนิยมความชอบของตนโดยไม่ต้องขออนุญาตบิดามารดา (แต่ ยังคงต้องขอ เงินบิดามารดา) แสดงออกถึงความเป็นเด็กและผู้ใหญ่ในคนเดียวกัน โครงการศิลปะ อัศวิน สองล้อ ใช้รถมอเตอร์ไซค์มาเป็นวัตถุดบ ิ ในการสร้างสรรค์งาน ประติมากรรม เรือ ่ งราวและความหมายทีม ่ าพร้อมมอเตอร์ไซค์นเี้ องคือส่วนสำ�คัญที่ ใช้ในการสร้างผลงานศิลปะที่รูปแบบของการสร้างสรรค์สามารถบ่งบอกอัตลักษณ์ ตัวตนที่มีลักษณะเฉพาะ ทั้งยังสามารถบ่งชี้แนวคิด รสนิยมความเชื่อ และรูปแบบ การดำ�เนินชีวิตของมนุษย์ผ่านงานศิลปะ A creative project entitled ‘Knight/Night Rider’ is a sculptural creation that is aimed at reflecting a phenomenon of teenagers’ identity creation through with a reference to motorcycle. Their social identity is broadly known as Dek-Vanz or Moto Punk. For these teenagers, the motorcycle is treated as a tool for creating their new identity as well as communicating with their peers and opposite gender. They want to communicate that they are fully grown enough to be able to control and decorate the vehicle themselves. Owning a motorcycle implies that they are able to secure a sufficient budget for it on their own, while others at the same age cannot. Furthermore, decoration implies that they are matured enough to decorate the vehicle the way they like without being given permission form parents. Motorcycles are used as raw materials for creating the sculptures in this ‘Knight/Night Rider’ project. Narratives and definitions embedded in the raw materials are treated as important sources that contribute to specific identity as well as concept, taste, beliefs, and life styles of their teenagers. “สูบคู่กู้โลก” สื่อผสม 60 x 120 x 200 ซม. “Thai Twin” Mixed media 60 x 120 x 200 cm 16
“สูบคู่กู้โลก” สื่อผสม 60 x 120 x 200 ซม. “Thai Twin” Mixed media 60 x 120 x 200 cm
18
“ไม้กระดกยกล้อ” สื่อผสม 60 x 100 x 250 ซม. “Up or Down” Mixed media 60 x 100 x 250 cm
19
NOPCHAI UNGKAVATANAPONG ความสุข (บนภาพ) เล็กๆ ประเทศไทย Little Happiness (Pictures) Thailand อะไรคือความสุข? มีหนทางที่จะบันทึกหรือเก็บมันได้หรือไม่? ภาพถ่ายอาจเป็นวิธีหนึ่งที่สามารถถ่ายทอดความหมายของสิ่งที่เป็น นามธรรมนี้ในรูปแบบของภาษาภาพที่เป็นสากลได้ โครงการ “ความสุข (บนภาพ) เล็กๆ ประเทศไทย” เสนอการขยายขอบเขตของการสร้างสรรค์และการตีความความหมายของ สิง่ ทีเ่ รียกว่า “ความสุข” เริม ่ จากการตัง้ สมมติฐานว่าความสุขมีรป ู แบบทีแ ่ ตกต่างหลากหลาย ขึน ้ อยูก ่ บ ั ทัศนคติของคนทีบ ่ น ั ทึก ภาพ รวมทั้งมุมมองและการตีความของผู้สร้างสรรค์ ซึ่งอาจเหมือนหรือต่างจากการตีความของผู้ชม นิยามของความสุขและ ้ า่ งออกไป การทดลองประกอบไปด้วยการออกสังเกตและ การค้นหาวิธก ี ารบันทึกมันในมิตต ิ า่ งๆ อาจทำ�ให้เราได้ภาพของสิง่ นีต หาวิธีบันทึกเป็นภาพแบบ 3 มิติด้วยการคาดเดาว่ารูปแบบของภาพชนิดนี้จะเสนอระยะและมิติที่ต่างออกไปจากเดิม ต่อมาการ ทดลองถูกปรับเปลี่ยนและลดทอนการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลลงจนกลับมาสู่หลักการพื้นฐานของกล้องรูเข็ม โดยประกอบวัตถุ บันทึกภาพขึน ้ จากสิง่ ของธรรมดา เช่น หม้อหุงข้าว หรือเครือ ่ งปิง้ ขนมปัง ซึง่ วัตถุเหล่านี้ ครัง้ หนึง่ เคยทำ�หน้าทีม ่ อบความสุขให้ กับผู้ใช้งานมัน เครื่องใช้ในชีวิตประจำ�วันเก่าๆ ที่เสียหายและถูกทิ้งขว้างจึงกลับมีชีวิตและมีความหมายอีกครั้ง ตอนนี้เป็นวัตถุ บันทึกและอาจเก็บความสุขที่ซ่อนอยู่ในห้วงเวลาของกิจวัตรประจำ�วัน ในระหว่างช่วงเวลา 10 เดือนของการดำ�เนินโครงการนี้ ทีม ่ ท ี งั้ ประสบความสำ�เร็จและไม่ส�ำ เร็จ ภาพทีไ่ ด้อาจไม่ได้แสดงนามธรรมของความสุขทีน ่ ย ิ ามโดยผูส ้ ร้างสรรค์ แต่ผลลัพธ์ของ ความสำ�เร็จของภาพที่เรียกว่าความสุขควรถูกตัดสินจากการตีความของผู้ชม
20
“วัตถุดูภาพ” สื่อผสม แปรผันตามพื้นที่
“Photo Viewer” Mixed media Dimension variable
21
“วัตถุบันทึกภาพ (กล้องกระป๋อง)” สื่อผสม แปรผันตามพื้นที่
“Photo Taker (Can Camera)” Mixed media Dimension variable
What is ‘happiness’? Is there a way to save or store it? Photographs could be a way to universally convey their meanings in the form of visual language. The project “Little Happiness (Pictures) Thailand” extends the creativity and interpretation of what is called ‘happiness.’ It starts with the assumption that happiness has different aspects and manifestation, depending on the attitude of the person who records them, including the points of view and interpretations of the creators, which may or may not be the same as the audiences’. How to define happiness and find a way to contextually record it allows us to create unconventional and unfamiliar pictures. This project’s experimentations consist of the observation of everyday life ‘happiness’ and an attempt to find ways to record it in 3D images format, with the expectation that this type of photograph could uncover and expose the scene’s overlapped layers of depth to our eyes. Later on, trying to exclude digital technology, several handmade pinhole cameras were fabricated by assembling used materials and found objects, such as rice cookers or toasters. These objects once served their users with joyfulness in everyday life. The damaged and abandoned objects had come back alive and meaningful again. They are now documenting hidden happiness occurred in daily life. During the ten-month period of this project implementation, there were both successful and failure learning. The outcome images may not represent the abstract of happiness defined by the creator, alternatively, it should be judged by the viewers’ interpretations.
22
23
SANTI THONGSUK พลังชีวิต Life Energy แนวความคิดของผลงานชุดนี้ได้มาจากการอ่าน การฟัง และการลงมือ ปฏิบัติ ในการฝึกให้เกิดพลังชีวิตที่ดี เช่น การฝึก การทำ�สมาธิ นั่ง นอน การฝึกให้เกิดพลังในร่างกายด้วยท่าทางต่างๆ เช่น ท่าพระสารีบุตร ท่าพระอานนท์ การท่องคาถา มนตรา การสวดมนต์ ถึงยังไม่แตกฉาน เรื่องที่เขียนมาทั้งหมด แต่เข้าใจว่าจะนำ�ความรู้เหล่านั้นมาพัฒนางาน ศิลปะอย่างไร เช่น การเพ่งมองไปที่ทิวทัศน์ที่มีแม่น้ำ� ต้นไม้ ภูเขา และ เกิดความรูส ้ ก ึ อย่างไรต่อสิง่ นัน ้ แล้วนำ�ภาพความรูส ้ ก ึ นัน ้ มาถ่ายทอดเป็น งานจิตรกรรม ที่มีวิญญาณทางธรรมชาติออกมา The artworks are inspired by reading, listening and practicing through meditative postures for positive life energy. Despite untruly understanding, I realize how to turn that knowledge into artwork. By attentively looking at the nature, I was inspired by feelings at the moment and eventually portray these spiritual paintings.
“ลมพัดก้อนหิน” จิตรกรรมผสม 150 x 200 ซม. “Wind with Rock” Mixed painting 150 x 200 cm 24
“ลมพัดปลายหญ้า” จิตรกรรมผสม 150 x 200 ซม. “Wind Blowing Grass” Mixed painting 150 x 200 cm
“วันสบาย หมายเลข 2” จิตรกรรมผสม 150 x 200 ซม. “Fine Day No.2” Mixed painting 150 x 200 cm 25
“อากาศดีริมน้ำ�” จิตรกรรมผสม 150 x 200 ซม. “Nice Water Front” Mixed painting 150 x 200 cm
“วันสบาย หมายเลข 1” จิตรกรรมผสม 150 x 200 ซม. “Fine Day No.1” Mixed painting 150 x 200 cm
26
“ลมเบาๆ” จิตรกรรมผสม 150 x 200 ซม. “Gently” Mixed painting 150 x 200 cm
“น้�ำ ไหล” จิตรกรรมผสม 150 x 200 ซม. “Flowing Water” Mixed painting 150 x 200 cm
27
“ตุ๊กตาของหนู” สีอะครีลิค 160 x 140 ซม. “My Doll” Acrylic 160 x 140 cm
SURADECH WATTANAPRADITCHAI ภาพสะท้อนการทารุณในเด็ก Child Abuse ผลงานได้รบ ั แรงบันดาลใจมาจากเหตุการณ์ทเ่ ี ด็กผูห ้ ญิงถูกทำ�ร้ายร่างกาย ทารุณกรรม ถูกทอดทิ้ง และต้องกลายเป็นเด็กเร่ร่อน จึงเกิดความต้องการให้สังคมไทยใน ปัจจุบันหันมาเหลียวแลและรวมถึงช่วยเหลือ เพื่อให้สังคมกลายมาเป็นสังคมที่น่า อยู่แบบเดิม วัสดุหลากหลายชนิด ได้แก่ ผ้าขาว สำ�ลี ใยสังเคราะห์ ผ้าโปร่งแสง ถูกนำ�มาใช้เพื่อ รองรับความคิดที่สื่อถึงสภาพร่างกายและจิตใจที่บอบสลายนั้น These pieces was inspired by an incident where a girl was physically abused, neglected and was forced to become a street child. It was created to entice society to give a helping hand to these children so that Thai society can be a nice place like it once was. Various materials, cotton and synthetic fabrics, are applied here to represent those unfortunate children.
29
30
1
2
3
4
1 “สาวน้อย” สีอะครีลิค 160 x 140 ซม.
2 “เด็กน้อย” สีอะครีลิค 160 x 140 ซม.
3 “เด็กเร่ร่อน หมายเลข 1” สีอะครีลิค 160 x 140 ซม.
4 “เด็กข้างถนน” สีอะครีลิค 160 x 140 ซม.
“A Little Girl” Acrylic 160 x 140 cm
“A Little Child” Acrylic 160 x 140 cm
“A Stray Child No.1” Acrylic 160 x 140 cm
“A Street Child” Acrylic 160 x 140 cm
“ไม่มีชื่อภาพ” สีอะครีลิค 160 x 140 ซม. “Untitled” Acrylic 160 x 140 cm
SUWIT MAPRAJUAB นิทรรศการศิลปะ ทะเล – เปลี่ยน Sea-change Art Exhibition หากโลกต้องดำ�เนินไปด้วยความเปลี่ยนแปลง มนุษยชาติและสัตว์ต่างๆต้อง น้อมรับต่อความเป็นไปทางธรรมชาติด้วยความ “สดุดี” สรรพสิ่งทั้งหลายที่ ก่อเกิดขึ้นมาจากโลกใบนี้ยังดำ�รงชีวิตอยู่และต้องปรับตัวตามภาวะความเป็น ไปของโลกอย่างงดงาม ความเปลี่ยนแปลงของโลกที่มีมิติลี้ลับซับซ้อน เป็น เพราะถึงเวลาทีจ ่ ะต้องเปลีย ่ นแปลงเป็นเพราะผลพวงจากความคิดอันชาญฉลาด ของมนุษย์ที่สรรค์สร้างสิ่งต่างๆ เพื่อรับใช้ความสุข ของตนเองเศษซากของ อารยะธรรมทีเ่ กิดขึน ้ จากการสร้างสรรค์ของมนุษย์ได้สง่ ผลกระทบแก่ธรรมชาติ และสัตว์ต่างๆ กุ้ง หอย ปู ปลา เป็นสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลก็ได้ รับผลกระทบเช่นกันและต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาวะของการ เปลีย ่ นแปลงสิง่ ที่ เกิดขึน ้ อย่างจำ�ยอมโดยไม่มเี สียงบ่นให้มนุษย์ได้รบ ั ฟังเพือ ่ จะแก้ไขข้อผิดพลาด ของตัวเองและจะได้รับมือกับหายนะที่จะตามมาในไม่ช้านี่เอง หาก กุ้ง หอย ปู ปลา คือสิ่งมีชีวิตเล็กๆ มนุษย์เองก็ไม่ต่างอะไรกับสัตว์ พวกนี้เลยเพราะโลกใบนี้มันกว้างใหญ่ไพศาลเหลือเกิน ด้วยแรงบันดาลใจที่ได้ เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงและปรับตัวของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเล จึงสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมรูปทรงของสัตว์เล็กๆ ตามชายฝัง่ ทะเลจาก เศษของถังบรรจุภณ ั ฑ์ทางเคมี สีสน ั ต่างๆ กระตุน ้ เตือนให้เห็นถึงภาวะของการ ปรับตัวของสัตว์เล็กๆตามชายฝั่งทะเล เพื่อเป็นสื่อสะท้อนให้เห็นว่าพฤติกรรม การใช้ชีวิตของมนุษย์ ได้ส่งผลกระทบถึงสัตว์เล็กๆ หรือสิ่งแวดล้อมไปจนถึง โลกทั้งใบ
“Moon Fish No.3” เชื่อมโลหะ 20 x 170 x 100 ซม. “Moon Fish No.3” Metal welding 20 x 170 x 100 cm
32
33
If this world were to change every second, all living creatures and earthlings must fully embrace the rules of mother nature with humble ‘admiration’. Mortals still carry on living and surviving gracefully through all the changes that occur progressively. World’s change has its mysterious dimension due to the fact that time has eventually come and as a result of our mankind’s brilliance which creatively invents wonders to serve own utmost satisfactions. Those old scarps of our civilization which arises from mankind’s creations somehow affect our mother earth terribly. So does those wildlife such as shrimps, clams, crabs, and fish which live by the beach and in the ocean. They have to adapt their lives to survive the swift change willingly without providing any complains to humans for the sake of their wills to survive and cope with incoming disasters. If those shrimps, clams, crabs, and fish are just small creatures, then humans are no different in this vast world. As I have witnessed these changes and these marine creatures’ adaptations, my inspiration drives wild. I am proudly presenting you this piece of art, sculptures of small sea livings. They are made of small fragments of chemical containers in various colours in order to raise awareness of the stage of animal adaptation by the coast and reflect living habits of mankind which badly affect the quality of life in animals and eventually our mother nature herself.
“Moon Fish” เชื่อมโลหะ 15 x 80 x 60 ซม. “Moon Fish” Metal welding 15 x 80 x 60 cm 34
“Moon Fish No.2” เชื่อมโลหะ 20 x 130 x 100 ซม. “Moon Fish No.2” Metal welding 20 x 130 x 100 cm
35
UTAI NOPSIRI ยุบ พอง Aspiration ไม้ เป็นวัสดุที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวแต่เดิมอยู่แล้ว โดยมองเห็นความงามที่ พิเศษของตัวเนือ ้ ไม้ ซึง่ มีความแข็งแกร่งและดูออ ่ นโยนในขณะเดียวกัน มีความ ไม่ถาวรจนเกินไป มีผก ุ ร่อน มีเน่าเปือ ่ ยยุย ่ ได้ ซึง่ คุณสมบัตเิ หล่านีด ้ ค ู ล้ายคลึง หรือใกล้เคียงกับความหมายปรัชญาแห่งพุทธศาสนาในหัวข้อของความไม่จรี งั ซึ่งเป็นหัวข้อหนึ่งที่ได้หยิบยืมแนวคิดปรัชญาแห่งพุทธศาสนามาอธิบายตัว ผลงาน และแนวทางในการสร้างสรรค์ผลงานโดยรวมทั้งหมดที่ผ่านมา โดย ได้กล่าวถึงหลักปรัชญาพุทธที่เห็นว่ามีความสอดคล้องและไปด้วยกันได้ และ กลมกลืนด้วยวิธก ี ารสร้างสรรค์หรือเทคนิคทีจ ่ ะสร้างตัวผลงานและแนวความ คิดที่จะต้องอธิบายให้เข้าใจไปในทางเดียวกัน ในขณะที่ตัวงานสร้างจากวัสดุไม้สักทอง โดยการประกอบขึ้นทีละแผ่น ก่อรูป ขึ้นให้เกิดรูปทรงที่ต้องการอธิบายแต่ละความหมายของแต่ละชิ้นของผลงาน จากการอาศัยประสบการณ์ทไ่ี ด้เรียนรูใ้ นทักษะเชิงช่างทีไ่ ด้ลองผิดลองถูกจน ได้ตกผลึก นำ�มาเป็นเทคนิควิธก ี ารเฉพาะเป็นของตนเอง โดยอาศัย “ลิม ่ ” เป็น ตัวประสานยึดเกาะของแต่ละแผ่น ซึ่งได้ประกอบทุกๆ แผ่นให้รวมกัน เกิดรูป ทรงที่ได้กำ�หนดไว้ก่อนแต่แรก แนวความคิดทีไ่ ด้รบ ั แรงบันดาลใจ จากการกำ�หนดรูถ ้ งึ การมีอยูข่ องลมหายใจ เข้าและออก ซึ่งเป็นหนทางหนึ่งที่จะเข้าถึงการมีอยู่ของสติ สมาธิ และปัญญา
1
36
1 “ยุบ พอง หมายเลข 1” ประกอบไม้ 60 x 70 x 90 ซม.
2 “ยุบ พอง หมายเลข 2” ประกอบไม้ 60 x 70 x 90 ซม.
3 “ยุบ พอง หมายเลข 3” ประกอบไม้ 60 x 70 x 90 ซม.
4 “ยุบ พอง หมายเลข 4” ประกอบไม้ 60 x 70 x 90 ซม.
“Aspiration No. 1” Wood assembling 60 x 70x 90 cm
“Aspiration No. 2” Wood assembling 60 x 70 x 90 cm
“Aspiration No. 3” Wood assembling 60 x 70 x 90 cm
“Aspiration No. 4” Wood assembling 60 x 70 x 90 cm
2
4
3
37
Wood is one of the materials with its unique aesthetics. Its strength and softness are represents at once. Though it seem durable, it can be decayed when its time has come. Seeing these qualities remind me of Buddhism lesson on impermanence which is the concept of these artworks. The materials, technique and concept that I have worked with, always correlate with each other. As time goes by, I have learned many things from my practice. I finally found my specialized woodcraft skills that get along well with the concept. By deliberately wedging teakwood, piece by piece, the concept is also portrayed in each sculpture. These artworks are inspired by Buddhism lesson, believing that watching the breath in and out is one gateway to enter state of concentration, mindfulness and wisdom.
38
39
PROCESS OF WORKS
THONGCHAI YUKANTAPORNPONG
42
43
TEERAPON HOSANGA
44
45
NOPCHAI UNGKAVATANAPONG
ชุดที่ 1 - 3D Set 1 - 3D ขั้นตอนที่ 1 เลือกวัตถุ อุปกรณ์ที่จะใช้ในการออกตระเวนบันทึกภาพ (กล้อง 2 ตัว และร่มกันแดด/ฝน) Step 1 Select objects for documenting photos (Two cameras and an umbrella). ขั้นตอนที่ 2 ออกตระเวนบันทึกภาพ ด้วยการใช้กล้อง 2 ตัว พร้อมกัน Step 2 Document photos, using two cameras at once. ขั้นตอนที่ 3 เลือกภาพจากการถ่ายพร้อมกัน 2 ภาพ จากกล้อง 2 ตัว ประกอบกันให้สามารถดูเป็น 3 มิติ ส่ง lab อัดภาพ Step 3 Select photos taken by two cameras and convert them into a 3D photo. Send them to the photo lab for printing. ขั้นตอนที่ 4 ประกอบวัตถุดูภาพ แบบ1 และ 2 ภาพ Step 4 Assemble photo viewer for 1-2 photos.
46
ชุดที่ 2 - ประกอบวัตถุบันทึกภาพขึ้นเอง Set 2 -Making the photo taker ขั้นตอนที่ 1 ออกตระเวนเลือกหาวัตถุ อุปกรณ์ที่จะใช้ในการประกอบวัตถุบันทึกภาพ Step 1 Collect objects for making a photo taker. ขั้นตอนที่ 2 ประกอบวัตถุบันทึกภาพ Step 2 Assemble a photo taker. ขั้นตอนที่ 3 ออกตระเวนเลือกหาสถานที่ และวางวัตถุบันทึกภาพ Step 3 Find a location for placing the photo taker. ขั้นตอนที่ 4 เก็บวัตถุบันทึกภาพ นำ�ภาพมาล้าง เลือกภาพ scan ส่ง lab อัดภาพ Step 4 Collect the placed photo taker. Develop the film and scan selected photos. Send them to the photo lab for printing. ขั้นตอนที่ 5 ประกอบวัตถุดูภาพ แบบ1 และ 2 ภาพ Step 5 Assemble photo viewer for 1-2 photos.
47
SANTI THONGSUK
48
49
SURADECH WATTANAPRADITCHAI
50
51
SUWIT MAPRAJUAB
52
53
UTAI NOPSIRI
54
55
BIOGRAPHY
THONGCHAI YUKANTAPORNPONG Born 1960 Bangkok, Thailand Address 80/11 Soi Sukhapiban 13, Changpuak, Muang Chiangmai 50300, Thailand Workplace Faculty of Fine Arts, Chiangmai University 239 Huaykwang Rd., Chiangmai, 50200, Thailand Tel. 086 919 7007 E-mail kaithongchai@hotmail.com Education BFA ,MFA (Graphic Arts), Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok Group Exhibition 2017 - 9 Chiang Mai Temples in Woodblock Print, Kyoto City International Foundation, Kyoto, Japan 2016 - Edition Link Program, Bupodo Gallery, Tokyo, Japan - Tokyo Zokei University and Chiang Mai University Joint Exhibition, Tokyo Zokei University Art Museum, Japan 2015 - Thai Italy & Europe Friendship 2015, Rome, Italy - Japanese Tea Contemporary Art Exhibition, Bangkok Art & Culture Centre, Bangkok 2014 - Contemporary Prints Exhibition, Gallery West, Tokyo, Japan 2013 - Prints and Words International Exchange Exhibition, Okinawa Prefecture, Japan 2012 - Season Change, A.C.S. Gallery, Nagoya, Japan 2011 - Thai International Exchange Show, LA Artcore Gallery at the Brewery Annex USA Awards and Honors 2014 - Project for Series of Chiang Mai’s 9 Main Temples Landscape by Woodblock Printmaking, National Research Council of Thailand 2011 - 11th Silpa Bhirasri Creativity Grants 2006 - Grand Prize 7th International Print Triennale de Chamalie’res France 2003 - Visiting Artist Residency Program, Funded by the Marie Eccles Caine Foundation, Utah State University, USA 2002 - Research Program for Japanese Woodblock Printmaking: JSPS, the Japan Society for the Promotion of Science and the National Research Council of Thailand 2001 - Workshop Program for Japanese Woodblock Printmaking: Nagasawa Art Park Artist in Residence on Awaji Island, Hyogo, Japan
58
TEERAPON HOSANGA Born 18 April 1980 Address 92 Moo 7, Nongpaklong Subdistrict, Muang District, Nakhonpratom 73000 E-mail teeraponhosanga@hotmail.com Tel. 089 056 7867 Education MFA (Sculpture), Faculty of Painting, Sculpture and Painting, Silpakorn University, Bangkok, Thailand Work 2009 - Present - Instructor at Sculpture Department, the Faculty of Painting, Sculpture, and Graphic Arts, Silpakorn University Solo Exhibition 2016 - Superabundant Aesthetic, PSG Art Gellery, The Faculty of Painting, Sculpture, and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok, Thailand 2011 - The Image of Light-based Phenomena, a l l d a y : c o f f e e, Nakornpathom, Thailand 2010 - The Form of Formless, WTF Gallery, Bangkok, Thailand 2006 - Listen in Silent, part of ‘Brand New’ project initiated by the Faculty of Visual Arts, Bangkok University, Bangkok University Art Gallery, Bangkok, Thailand 2005 - [RE]write the City, F[ake] gallery, a mobile gallery moving around Prasumane Fort, Mahakarn Fort, and Prang Phuthorn Community in Bangkok, Thailand Group Exhibition 2014 - Gadget-Boys, People’s Gallery, Bangkok Art and Culture Centre, Bangkok, Thailand 2011 - RAW, Numthong Gallery, Bangkok, Thailand - Young Blood Sculptors, PSG Gallery, Bangkok, Thailand 2010 - 3rd Silpakorn University Research Fair, Art and Culture Centre, Nakornpathom, Thailand 2009 - Artitude, organized by an artist group called ‘56 Degree’, HOF Art Gallery, Bangkok, Thailand 2005 - I’m just thinking, Hemlock Restaurant, Bangkok, Thailand Awards and Honors 2016 - Granted research fund by National Research Council of Thailand, “Wheelie Art” project 2012 - Granted Humanity and Social Science Scholarship from Office of the Higher Education Commission Thailand for PhD Studies 2004 - Selected as a Brand New Artist by Bangkok University Gallery Research Presentations 2017 - A research presentation entitled “Wheelie Art” at the multi-function room, Bangkok Art and Culture Center, Bangkok, Thailand 2016 - A research presentation entitled “New Media Sculpture: Style and Taste on Wheelie Art” in the 9th Silpakorn University International Conference on Academic research and Creative Arts: Integration of Art and Science, Nakornpathom, Thailand
59
UTAI NOPSIRI Born Tel. Education
19 May 1970, Chachoengsao 09 5458 8219 BFA (painting), Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University
Solo Exhibition 2016 - Wooden Art Exhibition by Taiwan, Japan and Thailand, CAM Art Space, Taipei, Taiwan 2014 - Capturing Moments, 100 Tonson Gallery, Bangkok Thailand Group Exhibition 2010 - Liberation, 100 Tonson Gallery, Bangkok Thailand 2007 - Only Appearance, 100 Tonson Gallery, Bangkok Thailand Awards and Honor 2006 - 2nd Prize, Krung Thai Bank Award, the 52nd National Exhibition of Art, Silpakorn University, Bangkok, Thailand 2005 - Bronze Medal Award in Sculpture, the 51st National Exhibition of Art, Silpakorn University, Bangkok, Thailand
60
SANTI THONGSUK Born March 23, 1969 ,Ubon Ratchathani, Thailand Address 69/1201 Far Rangsit, Buangyeethor, Thanyaburi, Phathumthani, Thailand Education 1994 - BFA (Painting), Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University Exhibition 2008 2007 2006 2005 2004 2003 2002 2001 2000 1994 1990 -
The Rhythm of the Heart, D Gallery Royal Phuket Marina, Phuket, Thailand The 8th Dimension, Art Gallery of Art and Design, Faculty of Decorative Art, Silpakorn University, Bangkok, Thailand Siriraj Associates with Artists project, in an occasion of His Majesty the King’s 60th Anniversary Accession to the Throne, organized by the Faculty of Medicine, Siriraj Hospital, Sala Siriraj 100 Years and at the 100th Years Building of Somdet Phra Srinagarindra Boromarajajononi Her Royal Highness, Thailand Good Morning Bangkok, Art Center, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand Neo-Nationalism, Art Center of Chulalongkorn University, Bangkok,Thailand Spirits of the Oriental, Empire Tower, Bangkok, Thailand Thai Ways of Life and Beliefs on Canvas, Silpakorn University, Bangkok, Thailand Beauty on Body Figure, Baan Rachawat, Bangkok, Thailand The Power of Human Beings, Thavibu Gallery, Bangkok, Thailand Asian Art Today Thailand Cambodia, Lao and Myanmar, Silom Galleria, with travel exhibition in Malaysia and Singapore Heaven on Earth, the Miracle of Mekhong River cooperate with Tourism Authority of Thailand at World Trade Center, Bangkok, and exhibited in Nongkhai Province SCOPOLAMINE, Art Exhibition at Tadu Art Gallery, SIAM Art Space, MIFA Music Academy, Space Art Singapore 2001 – The World’s Premier Contemporary Asian Art Fair, Singapore Refugees in Thailand Tresors’94 the International Fine Art Antiques Fair Asia, Singapore Group Show of Australian Embassy’s scholarship students, Bangkok, Thailand (Awarded Australian scholarship)
Awards and Honors 1996 - Awarded Outstanding Old Student of Ubon Ratchathani Vocational College, Ubon Ratchathani, Thailand - Awarded Outstanding Vocational Student of Department of Vocational Education 1995 - Winning of Thailand Contemporary Art Competition by Panasonic - Winning of Thailand Contemporary Art Competition by Thai Farmers Bank 1994 - Winning of “for a Better Life” art competition by Toshiba (Thailand) - Winning of First Prize (Gold Medal) from Bangkok Bank’s Bua Luang Art competition - Fourth place winner of Thailand Art Awards 1994 - First prize winner of ASEAN Art Awards 1994, Singapore 1992 - Winning of Australian Embassy scholarship 1990 - Third place winner of an art exhibition to celebrate Her Majesty the Queen’s 60th Birthday Anniversary by Asian Institute of Technology - Winning of Australian Embassy scholarship
61
SURADECH WATTANAPRADITCHAI Born Address Tel. Education
1971 August 9 Vincent Gallery, 25/5 Pradit Road, Tambon Nai Muang, Muang District, Kalasin 46000 085 852 2006 BFA, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University
Exhibition 2010 - The 56th National Exhibition of Art, the National Gallery, Bangkok, Thailand 2009 - The 55th National Exhibition of Art, the National Gallery, Bangkok, Thailand - The 33rd Bualuang Painting Competition 2008 - The 54th National Exhibition of Art, the National Gallery, Bangkok, Thailand - The 32nd Bualuang Painting Competition 2007 - The 31st Bualuang Painting Competition 2006 - The 52nd National Exhibition of Art, the Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King, Silpakorn University, Sanamchandra Palace Campus, Nakorn Pathom, Thailand - The 30th Bualuang Painting Competition 2005 - The 29th Bualuang Painting Competition - The 51st National Exhibition of Art, the Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King, Silpakorn University, Sanamchandra Palace Campus, Nakorn Pathom, Thailand 1997 - Golden Jubilee of His Majesty the King’s Reign at the Siam Commercial Bank 1995 - The 19th Bualuang Painting Competition - The 12th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists, the Art Centre, Silpakorn University, Bangkok, Thailand 1994 - Exhibition of Contemporary Art, Kasikorn Bank - The 11th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists, the Art Centre, Silpakorn University, Bangkok, Thailand - VI Toshiba Bring Good Things to Life - The 18th Bualuang Painting Competition - The 40th National Exhibition of Art, the Art Centre, Silpakorn University, Bangkok, Thailand 1993 - Exhibition of Contemporary Art, Kasikorn Bank - The 17th Bualuang Painting Competition - The 39th National Exhibition of Art, the Art Centre, Silpakorn University, Bangkok, Thailand - The 10th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists, the Art Centre, Silpakorn University, Bangkok, Thailand
62
1992 - The 16th Bualuang Painting Competition - The 38th National Exhibition of Art, the Art Centre, Silpakorn University, Bangkok, Thailand - Exhibition of Contemporary Art, Kasikorn Bank - The 9th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists, the Art Centre, Silpakorn University, Bangkok, Thailand 1991 - The 8th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists, the Art Centre, Silpakorn University, Bangkok, Thailand - The 37th National Exhibition of Art, the Art Centre, Silpakorn University, Bangkok, Thailand - The 15th Bualuang Painting Competition Awards and Honors 2016 - 1st Award Winning, the 18th Panasonic Contemporary Painting Exhibition 2015 - Second prize, the 2nd Krungthai Art Awards 2015 2014 - Honorary Mention prize, the White Elephant Art Award 2013 - The Excellent Prize, by Thai Beverage Public Company Limited 2010 - Distinguished Prize, the 25 th PTT Art Exhibition 2009 - Outstanding Prize, The 11th Panasonic Contemporary Art Exhibition 2008 - Outstanding Prize, the 10th Panasonic Contemporary Art Exhibition - The 2nd Prize, the Fourth Amata Art Award 2007 - Outstanding Prize, the 9th Panasonic Contemporary Art Exhibition - 1st Prize, “Mong Singha Pan Silp”, 75th Anniversary of Singha Corporation Co., Ltd 2006 - 3rd Prize, 8th Panasonic Contemporary Art Exhibition 1995 - 3rd Prize, 2nd Amata Art Award, Amata Foundation
SUWIT MAPRAJUAB Born Address Tel. E-mail
19 May 1981 29 Baankao-Nongsamed, Nangrong District, Burirum, Thailand 31110 087 929 4304 rahoum2009@hotmail.com
Education - Baan Nang Rong School (Yuthakarn Rathvidyakarn) - Baan Nang Rong School - Rajamangala Institute of Technology, Northeastern Campus, Nakhon Ratchasima - BFA, 2nd class Honors, Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Arts, Sipakorn University - MFA (Sculpture), Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Arts, Sipakorn University Exhibition 2014 - ON – NUCH, Tadu-Thai Yarnyon Contemporary Art @ Sukhumvit 87, Thailand - Enjoy This Moment, Baan Tuek Art Center, Chiang Mai, Thailand - 5 QUESTION FORMS, the National Gallery, Thailand - HIS MAJESTY KING BHUMIBOL ADULYADEJ, Chopratumtong, Bangkok, Thailand 2013 - BIG – BACK, the National Gallery, Thailand - Colony, Gallery Seescape, Chiang Mai, Thailand - Sawatdee Anxiety, Whitespce Gallery, Bangkok, Thailand 2012 - SIG, A+ 789 Art Society (directed by Hof Art), Thailand 2010 - Sculpture Exhibition on the Auspicious Occasion of His Majesty the King Rama 9 Anniversary Celebration, Chinatown, Bangkok, Thailand 2011 - Maybe Questions, Maybe Answers, Sanamchandra Palace Library, the central Library, Silpakorn University, Thailand - Grand Opening City Art Center Gallery, Italy 24, Silom Road, Bangkok, Thailand - 2011 Bangkok Korean Festival Love Thailand, Thailand Cultural Center, Bangkok, Thailand - Thai – Lao PDR, M Gallery, Vientiane, Laos - SURVIVORS, Whitespace Gallery, Bangkok, Thailand - SEE – FOOD, Creative house BANGKOK inspired by TOYOTA Thailand - Thai – Laos, M Gallery, Vientiane, Laos - Woman Art exhibition, Eight Thonglor Thailand - Silpa Bhirasri Memories III, Double Dogs Café Thailand 2009 - Aesthetics of Body by 500 Artists Presented by Artery Gallery, Silom Galleria, Bangkok, Thailand - Sculpture Group 52, Krungthai Art Gallery, Chinatown, Bangkok, Thailand 2008 - Bring Good Thing to life Art Competition, the 20th Toshiba art Competition, - Stop the Global Warming for our Future, the 23rd PTT Art Exhibition - Who-Man Graduate Student Sculpture Exhibition, Presented by Artery Gallery, Silom, Bangkok, Thailand
2005 - Young Thai Artist Award (Sculpture), Siam Cement Foundation, Thailand - The 52nd National Exhibition of Art, Silpakorn University, Bangkok, Thailand - Inspired by the King, Playground 2004 - The 13th International Children and Youth Poster Contest, the United Nations Population Fund 2003 - One – 2 – Call Freedom 2000 - Clean and Clear Environment with Recycle, Drawing Contest on the Environment Day, the Office of Public Health and Environment, Nakhon Ratchasima Municipality 2002 - International Children and Youths Drawing Contest, the United Nations Population Fund 2001 - Thai Youth with Respect, the United Nations Awards and Honors 2009 - Scholarship from General Prem Tinsulanonda Stateman Foundation 2008 - Special Prize 20 Toshiba “bring Good Thing to life” Art Competition - Distinguished Prize the 23rd PTT Art Exhibition “ Stop the Global Warming for our Future“, Laos - “The Royal Bangkok Sports Club Certificate of Achievement” 2005 - Grand Prize Winner “Young Thai Artist Award 2005’s”, Siam Cement Foundation (Sculpture), Thailand - 1st Prize, Gold Medal, Sculpture Section, the 52nd National Exhibition of Art, Thailand - Artist Assistant for “THE INTERNALTIONAL SCULPTURE AND ENVIRONMENT on the Auspicious of His Majesty’s Accession to the Throne The Esteem World Plants Celebration, Royal Flora Ratchaphruek 2006, Chiang Mai,Thailand 2004 - 2nd Winning Prize, 13th International Children and Youth Poster Contest, the United Nations Population Fund - Thawan – Siam Commercial Scholarship - Artist Assistant for “The International Symposium of Monumental sculpture” Project in Celebration on the Auspicious occasion of ,H.R.H Princess Mahachakri Sirindhorn’s 50th Anniversary, Songkhla ,Thailand 2003 - Excellent Prize, “One – 2 – Call Freedom Refill Card Contest”, Phra Phikanet Scholarship 2002 - Admirable Prize, “International Children and Youths Drawing Contest”, the United Nations Population Fund - King Bhumibol Scholarship 2001 - Admirable Prize, the United Nations Population Fund - Bangkok Bank Foundation Fund 2000 - 2nd Winning Prize (High school), Drawing Contest on the Environment Day, the Office of Public Health and Environment, Nakhon Ratchasima Municipality 63
NOPCHAI UNGKAVATANAPONG Born Education
1959, lives and works in Bangkok, Thailand 1987 - M.F.A. (Fine Arts) University of Cincinnati, Ohio. U.S.A. 1985 - B.F.A. (Fine Arts) Art Academy of Cincinnati, Ohio. U.S.A.
Solo Exhibition 2012 - Awkward, People’s Gallery, Bangkok Art and Culture Centre, Bangkok, Thailand 2008 - Generosity: Works from 1990-1994, Ruthe G. Pearlman Gallery, Cincinnati, Ohio, U.S.A. 1999 - Neutral, Mary Baskett Gallery, Cincinnati, Ohio, U.S.A. 1998 - Primary Colors, Bangkok Playhouse, Bangkok, Thailand 1996 - Nudge, Bangkok University Art Gallery, Bangkok, Thailand 1995 - Sculpture, Art Forum, Bangkok, Thailand 1994 - Untitled, University of Illinois, Chicago, Illinois, U.S.A. 1993 - Awkward Moment, 1708 Gallery, Richmond, Virginia, U.S.A. - Crazy, Galbreath Gallery, Lexington, Kentucky, U.S.A. - Floor Sculpture, Rochester Arts Commission, Rochester, Michigan, U.S.A. 1992 - Sculpture, Acme Art Co., Columbus, Ohio, U.S.A. 1991 - Ain’t Talkin’ ‘Bout Love, Artemisia Gallery, Chicago, Illinois, U.S.A. 1990 - Relation/Ships, Koster Gallery, Cincinnati, Ohio, U.S.A. 1985 - Drawing and Sculpture, Carnegie Art Center, Covington, Kentucky, U.S.A. 1984 - Painting and Sculpture, Cincinnati Commission on the Arts, 4th Street Gallery, Cincinnati, Ohio, U.S.A. Group Exhibition 2016 - Alie-Nation, Silpakorn University Art Centre, Bangkok, Thailand 2015-16 - Thailand Eye: Contemporary Thailand Art,Saatchi Gallery, London, United Kingdom and Bangkok Art and Culture Centre, Bangkok, Thailand 2013 - Singapore Biennale 2013: If the World Changed, Peranakan Museum, Singapore 2009 - Global Warming: S.U. Art Center, Bangkok, Thailand - Distinguished Encounters, Sombat Permpoon Gallery,Bangkok 2008 - BKK226: BANGKOK ART AND CULTURE CENTRE, Bangkok, - Made in Bangkok: Common Currency, Design and Art College of New Zealand, New Zealand 2007 - Prana, Chulalongkorn Art Center, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand - Let’s Talk About Love, Bangkok University Gallery, Bangkok, Thailand - Experience Art, Project Zero, Central World Plaza, Bangkok, Thailand 64
2006 - The Exhibition by Artists from SU. And TAU., Art Centre, Silpakorn University, Bangkok, Thailand 2005 - Neo-Nationalism, Chulalongkorn Art Center, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand - OTOP Artists, Painting, Sculpture and Graphic Arts Gallery, Silpakorn University, Bangkok, Thailand - 22nd The Member of the Faculties of Painting, Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Queen’s Gallery, Bangkok, Thailand 2004 - Oh, Bangkok University, Bangkok, Thailand 2002 - Small World, Art Center, Silpakorn University, Bangkok, Thailand 1999 - VS, National Art Gallery, Bangkok, Thailand - No Guarantee, SCA Gallery, Sydney, Australia 1998 - Fact-Fiction, Tadu Contemporary Art, Bangkok, Thailand 1995 - Between, Allegheny College, Meadville, Pennsylvania, U.S.A. 1994-96 - Asia/America, The Asia Society, New York, New York travels to: Tacoma Art Museum, Washington; Walker Art Center, Minneapolis; Honolulu Academy of Fine Arts, Hawaii; Center for the Arts at Yerba Buena Gardens, San Francisco; MIT List Visual Arts Center, Cambridge, Massachusetts; Blaffer Gallery, University of Houston, Texas, U.S.A. 1993 - Works on Paper, Kharkiv Art Museum, Kharkiv, Ukrain - Form out of Context, Spaces, Cleveland, Ohio, U.S.A. 1992 - Salon, Art in General, New York, New York, U.S.A. - September Competition, Alexandria Museum of Art, Alexandria, Louisiana, U.S.A. 1991 - Ohio Selection X, Cleveland Center for Contemporary Arts, Cleveland, Ohio, U.S.A. - Biennial III, The Contemporary Art Center, Cincinnati, Ohio, U.S.A. - Living with Art 3, Miami University Art Museum, Oxford, Ohio, U.S.A. 1990 - Midwestern Sculpture, South Bend Art Museum, Indiana, U.S.A. 1988 - Habitations, Mind, Memories & Spirits, Quinlan Gallery, Chicago, Illinois, U.S.A. - Works off Walls: Exhibition 280, Huntington Art Museum, West Virginia, U.S.A. 1984 - Landscape 84, Contemporary Arts Center, Cincinnati, Ohio, U.S.A. 1983 - Object’ 83, Contemporary Arts Center, Cincinnati, Ohio, U.S.A.
Awards and Honors 2004 - Silpa Bhirasri Creativity Grants 2004, Thailand 2001 - National Endowment for the Arts and in part Weston Art Gallery commissions (Nuts Society Project at Weston Art Gallery, Cincinnati, Ohio, U.S.A.) 1991 - Biennial III, Contemporary Arts Center & in part from the Ohio Arts Council’s New Works Program, U.S.A. 1990 - Aid to Individual Artist Grant, Summerfair, Inc. and the Zaring National Corporation, U.S.A. 1987 - Award of Excellence, Works Off Walls, Huntington Art Museum, West Virginia, U.S.A. 1986 - Aid to Individual Artist Grant, Summerfair, Inc. and the Zaring National Corporation, U.S.A. 1985 - Stephen H. Wilder Traveling Grant, Art Academy of Cincinnati, Ohio, U.S.A. 1983-85 - Aid to Individual Artist Grant, XTEC Foundation, Ohio, U.S.A. Artist in Residency 2003 - Gresol Art, Girona, Spain 2002 - Ecole Nationale d’Arts de Paris-Cergy, Cergy, France - Headlands Center for the Arts, Sausalito, California, U.S.A. 1999 - Ecole des Beaux-Arts de Saint-Etienne, Saint-Etienne, France
65
APPENDIX
คำาสั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 1618/2559 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินโครงการทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 17 ประจำาปี พ.ศ. 2560 ----------ตามที่หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้จัดทำาโครงการทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 17 ประจำาปี พ.ศ. 2560 เพื่อเป็นการส่งเสริม ศิลปินทีส ่ ร้างงานศิลปกรรม พัฒนางานสร้างสรรค์ศล ิ ปวัฒนธรรมของชาติ และมีผลงานศิลปกรรมทีม ่ ค ี ณ ุ ค่าจนเป็นทีย ่ อมรับทัง้ ในระดับชาติ และหรือ ระดับนานาชาติ โดยให้ศิลปินสร้างสรรค์ผลงานในระยะเวลาหนึ่ง และรวบรวมผลงานจัดแสดงเพื่อประกาศเกียรติคุณแก่สาธารณชนต่อไป ฉะนั้น เพื่อ ให้การดำาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ จึงแต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน ทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 17 ประจำาปี พ.ศ. 2560 ประกอบด้วยผู้แทนจากคณะกรรมการประจำาหอศิลป์ และผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านศิลปะ ดังมีรายนามต่อไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ศาสตรเมธีนนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ศาสตราจารย์เกียรติคุณอิทธิพล ตั้งโฉลก ศาสตราจารย์เกียรติคุณปรีชา เถาทอง ศาสตราจารย์เกียรติคุณพิษณุ ศุภนิมิตร ศาสตราจารย์เกียรติคุณเข็มรัตน์ กองสุข อาจารย์ปัญญา วิจินธนสาร อาจารย์อำามฤทธิ์ ชูสุวรรณ อาจารย์วศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ ผู้อำานวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ
สั่ง ณ วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
67
ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง ทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม “ศิลป์ พีระศรี” โครงการทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 17 ประจำ�ปี 2560 ของหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ---------------------------------------ตามที่หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้จัดทำ�โครงการทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมศิลปินที่สร้างงานศิลปกรรมเพื่อพัฒนา งานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และมีผลงานศิลปกรรมที่มีคุณค่าจนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ โดยพิจารณาคัดเลือก มอบทุนรางวัลสร้างสรรค์ เพื่อใช้ในการสร้างสรรค์งานศิลปกรรมแก่ศิลปิน โดยให้สร้างสรรค์ผลงานในระยะเวลาหนึ่ง จากนั้น จะได้รวบรวมผลงานขึ้น จัดการแสดงผลงานศิลปกรรมเพื่อประกาศเกียรติคุณต่อสาธารณชนต่อไป โดยหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ก�ำ หนดระเบียบการไว้ดังต่อไปนี้ คือ 1. จุดมุ่งหมายของโครงการ 1.1 เพื่อส่งเสริมการสร้างสรรค์ศิลปกรรมอันเป็นมรดกทางด้านศิลปวัฒนธรรมของชาติให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 1.2 เพื่อเผยแพร่ผลงานศิลปกรรมของศิลปินไทยให้เผยแพร่ออกสู่สาธารณชน เสริมสร้างคุณค่าทางสุนทรีย์ พัฒนา ความคิดและคุณธรรมของสังคมไทย อันเป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรมไทย ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ 1.3 เพื่อสนับสนุนศิลปินไทยให้มีความเชื่อมั่นและมีกำ�ลังใจในการสร้างสรรค์ อันเป็นประโยชน์ต่อวงการศึกษาและวง วิชาการศิลปะสมัยใหม่ของไทยอันเป็นการพัฒนาคุณภาพไปสู่ระดับสากล 1.4 เพื่อการวิเคราะห์และการเก็บข้อมูลหลักฐานการสร้างสรรค์ที่จะเป็นประโยชน์ทางด้านการศึกษา และวงวิชาการศิลปะ สมัยใหม่ในประเทศไทย 2. คุณสมบัติของผู้สมัคร 2.1 เป็นศิลปินสัญชาติไทยที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป 2.2 เป็นผู้ที่ทำ�งานสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีการจัดการแสดง ผลงานเผยแพร่ต่อสาธารณชน อย่างสม่ำ�เสมอ 2.3 มีการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรม หมายถึง การสร้างสรรค์ผลงานประเภทจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ สื่อประสม ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา ศิลปะสิ่งทอ และศิลปะเครื่องประดับ (Jewelry) 2.4 หากเป็นศิลปินที่เคยได้รับรางวัลทุนสร้างสรรค์ฯ มาก่อนจะต้องมีระยะเวลาจากครั้งที่ได้รับทุนจนถึงปัจจุบัน ไม่ต่ำ�กว่า 5 ปี 3. การสมัคร 3.1
ศิลปินเป็นผู้สมัครด้วยตนเอง โดยกรอกใบสมัครแล้วส่งใบสมัครด้วยตนเอง ที่หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพมหานคร หรือสมัครทางไปรษณีย์ ส่งที่คุณมินตา วงษ์โสภา หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ถนนหน้า พระลาน กรุงเทพฯ 10200 โดยระบุที่หน้าซองด้วยข้อความว่า (เสนอขอทุนรางวัลศิลป์ พีระศรี ประจำ�ปี 2559) และสามารถสอบถามข้อมูลได้ที่โทรศัพท์ หมายเลข 02–221–3841 หรือ 02–623-6115 ต่อ 11425,11418
4. เงื่อนไขการสมัคร 4.1 ศิลปินต้องกรอกรายละเอียดลงในใบสมัครขอรับทุนให้ครบทุกข้อ 4.2 ศิลปินต้องเสนอโครงการสร้างสรรค์ศิลปกรรมที่ต้องการจะทำ�ในระยะเวลาที่ได้รับทุน โดยต้องเป็นโครงการที่ยังไม่ ได้เริ่มต้นดำ�เนินการเท่านั้น โครงการเสนอขอรับทุนต้องจัดทำ�เป็นรูปเล่ม พร้อมบันทึกข้อมูลลงใน CD ประกอบด้วย รายละเอียดข้อมูลเรียงตามลำ�ดับดังนี้ - ประวัติศิลปินไทย – อังกฤษ (ระบุถึงประวัติการศึกษา การแสดงผลงาน และรางวัล) - รูปถ่ายศิลปิน 1 รูป (บันทึกลงใน File JPEG เท่านั้น) - ชื่อโครงการ (ภาษาไทย - ภาษาอังกฤษ) - วัตถุประสงค์ของโครงการ - ความเป็นมา และแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงาน - จำ�นวนผลงาน ประเภท เทคนิค และขนาดของผลงานที่จะสร้างสรรค์ - ขั้นตอน และระยะเวลาในการดำ�เนินการสร้างสรรค์ - ภาพร่างผลงาน (Sketch) หรือ ภาพผลงาน (บันทึกลงใน File JPEG เท่านั้น) - แนวความคิด ข้อมูลรายละเอียด และภาพผลงานที่เคยสร้างสรรค์ในอดีต (Portfolio) ควรระบุแยกช่วงปีที่จัดแสดงผลงานตามลำ�ดับให้ชัดเจน โดยบันทึกข้อมูลลงใน CD (บันทึกลงใน File JPEG เท่านั้น) หมายเหตุ : รูปถ่ายศิลปิน และรูปผลงานในข้อ 4.2 และข้อ 4.3 ให้บันทึกลง ใน File JPEG เท่านั้น
68
4.3 ผลงานที่อยู่ในชุดที่เสนอโครงการต้องไม่เป็นส่วนหนึ่งของผลงานในกระบวนการศึกษา และในขณะเดียวกันต้องไม่ นำาผลงานนั้นไปใช้ในการศึกษา ขอทุน หรือส่งประกวดในเวทีอื่นๆ 5. คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านศิลปะ ดังมีรายนามต่อไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ศาสตรเมธีนนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ศาสตราจารย์เกียรติคุณอิทธิพล ตั้งโฉลก ศาสตราจารย์เกียรติคุณปรีชา เถาทอง ศาสตราจารย์เกียรติคุณพิษณุ ศุภนิมิตร ศาสตราจารย์เกียรติคุณเข็มรัตน์ กองสุข อาจารย์ปัญญา วิจินธนสาร อาจารย์อำามฤทธิ์ ชูสุวรรณ นายวศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ ผู้อำานวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ
6. การตัดสิน - ผู้สมัครจะต้องมานำาเสนอโครงการด้วยตนเอง ประกอบกับไฟล์โครงการใน CD ที่ได้ส่งมาพร้อมใบสมัครในวันคัดเลือกและตัดสิน - การตัดสินของคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินถือเป็นมติเอกฉันท์ จะอุทธรณ์มิได้ 7. รางวัล 7.1 ทุนรางวัล “ ศิลป์ พีระศรี” ประจำาปี 2559 มีจาำ นวน 5 - 7 รางวัล เป็นเงินรางวัลทุนสร้างสรรค์ ทุนละ 150,000 บาท คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินอาจตัดสินลดหรือเพิ่มรางวัลก็ได้หากพิจารณาเห็นว่ายังไม่มีผู้ใดมีคุณสมบัติ ที่เหมาะสมที่จะได้รับรางวัลทุนสร้างสรรค์ฯ 7.2 การรับรางวัลทุนสร้างสรรค์ฯ ให้ทำาตามข้อตกลงและเงื่อนไขที่คณะกรรมการประจำาหอศิลป์กำาหนด หากไม่ดำาเนิน การตามเงื่อนไข หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจใช้สิทธิ์เรียกร้องให้ผู้ได้รับรางวัลทุนสร้างสรรค์ฯ คืนเงินรางวัล พร้อมดอกเบี้ยตามมติที่คณะกรรมการประจำาหอศิลป์พิจารณา 8. การสร้างสรรค์ผลงาน ผู้ได้รับรางวัลทุนสร้างสรรค์ฯ จะต้องสร้างสรรค์ผลงานในจำานวนและระยะเวลา ที่คณะกรรมการประจำาหอศิลป์พิจารณา โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน 9. กรรมสิทธิ์ของผลงานสร้างสรรค์ 9.1 ผลงานสร้างสรรค์จากศิลปินทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ประจำาปี 2560 จะถูกคัดเลือกจากคณะกรรมการคัดเลือก ตัดสินให้เป็นกรรมสิทธิ์ของหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จำานวนคนละ 1 ชิ้น ซึ่งหอศิลป์ มีสิทธิ์ในการนำาผลงานชิ้น นั้นไปเผยแพร่หรือทำาให้เกิดประโยชน์แก่องค์กรในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งได้ในอนาคต 9.2 หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรขอสงวนสิทธิ์ในการเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ของศิลปินที่ได้รับทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ประจำาปี 2560 ในสูจิบัตร เอกสารสิ่งพิมพ์ ระบบสารสนเทศสมัยใหม่ และในรูปแบบอื่นๆ ตามสมควร 10. การจัดนิทรรศการ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จะเป็นผู้ดำาเนินการจัดการแสดงผลงานศิลปกรรมของศิลปินผู้ได้รับทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ประจำาปี 2559 ในรูปของนิทรรศการ ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร หรือหอศิลป์อื่นๆ และดำาเนินการจัดทำาสูจิบัตรและสิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 11. กำาหนดเวลา -
การส่งใบสมัคร การตัดสินผลงาน ประกาศผลการตัดสิน การรับทุนและการสร้างสรรค์
: : : :
-
การติดตั้งผลงาน การแสดงผลงาน
: :
วันพุธที่ 4 มกราคม – วันเสาร์ที่ 14 มกราคม 2560 เดือนมกราคม 2560 เดือนกุมภาพันธ์ 2560 งวดที่ 1 เดือนมีนาคม 2560 งวดที่ 2 เดือนมิถุนายน 2560 งวดที่ 3 เดือนกันยายน 2560 เดือนกุมภาพันธ์ 2561 เดือนกุมภาพันธ์ – เดือนมีนาคม 2561
ประกาศ ณ วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร 69
คำาสั่งหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 4/2559 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำาเนินงาน โครงการทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 17 ประจำาปี พ.ศ. 2560 ----------ด้วยหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับอนุมัติให้จัดทำาโครงการทุนรางวัล”ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 17 ประจำาปี 2560 เพื่อเป็นการส่งเสริมศิลปินที่ สร้างงานศิลปกรรม พัฒนางานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และมีผลงานศิลปกรรมที่มีคุณค่าจนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติ และหรือระดับนานาชาติ โดยให้ศล ิ ปินสร้างสรรค์ผลงานในระยะเวลาหนึง่ และรวบรวมผลงานจัดแสดงเพือ ่ ประกาศเกียรติคณ ุ แก่สาธารณชนต่อไป ฉะนัน ้ เพือ ่ ให้การดำาเนินงานบรรลุตาม วัตถุประสงค์ของโครงการฯ จึงแต่งตั้งคณะกรรมการดำาเนินงานในโครงการฯ โดยมีรายนามดังต่อไปนี้ 1. อาจารย์ ดร.ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ 2. นางศศิวิมล สันติราษฎร์ภักดี 3. นายยุทธศักดิ์ รัตนปัญญา 4. นางสาวดาราพร ครุฑคำารพ 5. นางลภัสรดา ทองผาสุก 6. นางนันทาวดี เกาะแก้ว 7. นายกฤษฎา ดุษฎีวนิช 8. นายชัยวัช เวียนสันเทียะ 9. นายศรายุทธ ภูจริต 10. นายรุจฬ์สวัตต์ ครองภูมินทร์ 11. นายสำาราญ กิจโมกข์ 12. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง 13. นางสาวจิราภรณ์ ทองแกมแก้ว 14. นางสาวจันจิรา จันทร์ผดุง 15. นายเอกพงษ์ สกุลพันธุ์ 16. นางสาวเมธาวี กิตติอาภรณ์พล 17. นางเอื้อมพร แผนสมบูรณ์ 18. นายเฉลิม กลิ่นธูป 19. นางสาวจุฑารัตน์ เนียมวิรัตน์ 20. นายสิทธิพร กล่ำาศรี 21. นางประคิ่น สุกเทพ 22. นางสาวมินตา วงษ์โสภา 23. นายวรรณพล แสนคำา
ประธานกรรมการ ผู้อำานวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรรมการเลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
ทั้งนี้ให้คณะกรรมการดำาเนินการ มีหน้าที่ดังนี้ 1. จัดทำานิทรรศการโครงการทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 17 ประจำาปี 2560 และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับนิทรรศการ 2. จัดทำาสูจิบัตร และสิ่งพิมพ์ประกอบนิทรรศการ 3. จัดทำาระบบข้อมูลและงานวิชาการในระบบคอมพิวเตอร์สารสนเทศ ทั้งการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และการขยายบทบาทงานศิลปกรรมไทยสู่นานาชาติ 4. มีอำานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการในการดำาเนินงานของส่วนต่างๆ ตามที่เห็นสมควร
สั่ง ณ วันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2559
(อาจารย์ ดร.ปรมพร ศิริกุลชยานนท์) ผู้อำานวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
70
ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง ผลการคัดเลือกและตัดสินทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 17 ประจำาปี พ.ศ. 2560 _____________________ ตามประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร ลงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 เรื่องทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม “ศิลป์ พีระศรี” โครงการทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 17 ประจำาปี พ.ศ. 2560 ได้เชิญชวนศิลปินส่งผลงาน เข้าประกวดในโครงการดังกล่าวแล้วนั้น บัดนี้ คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน ได้พิจารณาคัดเลือกผลงานของศิลปินเข้ารับทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” จำานวน 7 ทุน ตามรายนามดังนี้ 1. นายธงชัย ยุคันตพรพงษ์ โครงการ “มหากาพย์แห่งมิติเลื่อมพราย” / Epic of Luminous Space 2. นายธีรพล หอสง่า โครงการ “อัศวินสองล้อ” / Knight/Night Rider 3. นายนพไชย อังควัฒนะพงษ์ โครงการ “ความสุข(บนภาพ) เล็กๆ ประเทศไทย” / Little Happiness(Pictures)Thailand 4. นายสันติ ทองสุข โครงการ “พลังชีวิต” / Life Energy 5. นายสุรเดช วัฒนาประดิษฐชัย โครงการ “ภาพสะท้อนการทารุณในเด็ก” / Child Abuse 6. นายสุวิทย์ มาประจวบ โครงการ “นิทรรศการศิลปะ ทะเล –เปลี่ยน” / Sea-change Art exhibition 7. นายอุทัย นพศิริ โครงการ “ยุบ,พอง” / Aspiration
ประกาศ ณ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
71