1
กระแสศิลปะร่วมสมัยยุคโลกาภิวต ั น์ในปัจจุบน ั ได้เกิดการเปลีย ่ นแปลงอย่างน่าสนใจ ผลงานศิลปะ เริ่มตั้งค�ำถามกับตัวตน สังคม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ หรือบริบทต่างๆที่อยู่รายรอบ และเริ่ม มีขอ ้ สงสัยจากสิง่ ทีย ่ ด ึ ถือกันมาแต่ชา้ นาน ทุกสิง่ นีล ้ ว้ นเกิดขึน ้ เพราะโลกได้กา้ วเข้าสูย ่ ค ุ ไร้พรมแดน ทีซ่ งึ่ ข้อมูลข่าวสารได้หลัง่ ไหลเข้ามาสูผ ่ ค ู้ นได้อย่างง่ายดายผ่านเทคโนโลยีโลกเสมือนจริง/โซเชียล เน็ตเวิร์ค ซึ่งกินระยะเวลามาหลายทศวรรษ ศิลปะเริ่มเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเป็นไปได้ใหม่ๆ ศิลปะมิจ�ำเป็นต้องอยู่ในพื้นที่มโนทัศน์แห่งทัศน ธาตุศิลปะอีกต่อไป แต่ได้ข้ามศาสตร์ความรู้ไปมากันอย่างสนุกสนาน กิจกรรมบางอย่างได้กลับ กลายเป็นศิลปะ ไม่วา่ จะเป็นการค้นหาเรือ ่ งราว (ใหม่) ทางประวัตศ ิ าสตร์ หรือการเดินทางเพือ ่ ค้นหา ความเป็นไปได้ในวัตถุต่างๆ ศิลปะช่างดูกว้างไกลและไร้ขอบเขตมากขึ้นทุกที ศิลปะอาจเป็นสิ่ง ห่างไกลของผู้คน แต่ในขณะเดียวกัน กิจกรรมต่างๆเหล่านี้ได้เข้าถึงผู้คนกลุ่มอื่นได้ง่ายดายกว่า ที่เคยผ่านมาเสียอีก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับกระบวนการในการท�ำความเข้าใจในผลงานศิลปะประเภทต่างๆ การที่เราจะเข้าใจผลงานศิลปะที่ละลายสุนทรีย์เดิมออกและเข้าสู่ระบอบสุนทรีย์ใหม่นี้ คือการมอง กิจกรรมต่างๆเหล่านั้นด้วยการเปิดกว้าง และมองว่าสิ่งที่อยู่ตรงหน้านั้นต้องการจะสื่อสารอะไร มากกว่าที่จะมองว่ามันเป็นศิลปะอย่างไร แต่สิ่งหนึ่งที่ไม่ควรมองข้ามคือ “สาระ” ที่ซ่อนเร้นจาก ชิ้นงานนั้นๆ
2
การข้ามศาสตร์และหาความเป็นไปได้ใหม่ทางศิลปะเริ่มปรากฏกายออกมาในพื้นที่ทางศิลปะใน หลายๆพื้นที่ (แม้จะไม่ใช้พื้นที่หลัก) กิจกรรม/การกระท�ำดังกล่าวได้ ท้าทายความหมายที่แท้จริง ของศิลปะที่เคยยึดถือกันมา และการท้าทายดังกล่าวนี้มิใช่เป็นเพียงแค่ในรูปแบบการแสดงออก เท่านั้น หากแต่ยังเป็นการท้าทายในเรื่องราวที่ศิลปะนั้นก�ำลังกล่าวถึง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวทาง ประวัติศาสตร์ที่เคยเชื่อผ่านมา หรือเรื่องราวทางสังคมที่ศิลปินได้เข้าไปอยู่กับบริบทนั้นๆจริงๆ และเก็บเกีย ่ วเรือ ่ งราวมาแสดงออกทางศิลปะ หรือแม้แต่การตัง้ ค�ำถามกับประวัตศ ิ าสตร์รากเหง้า ของศิลปะวัฒนธรรมไทย
ซึง่ อีกไม่ชา้ ศิลปะร่วมสมัยไทยอาจแปรเปลีย ่ นไปจากสภาพคุน ้ ชินอย่างทีเ่ ป็นอยูท ่ ก ุ วัน หากแต่การ เปลีย ่ นแปลงนีเ้ ราเองต้องศึกษาความเป็นมาทางวัฒนธรรมร่วมสมัยให้แน่ชด ั เสียก่อนเพือ ่ ทีจ ่ ะรับ ของ “ใหม่” มาอย่างไม่ฉาบฉวยจนเกินไป เมือ ่ พูดถึงวัฒนธรรมร่วมสมัยดังกล่าวนี้ พืน ้ ทีท ่ ส ี่ ามารถ รวบรวมและฉายภาพความเป็นมาทางวัฒนธรรมปัจจุบันได้ชัดเจนแห่งหนึ่ง ก็คือ พื้นที่ของการ แสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ซึง่ พืน ้ ทีด ่ งั กล่าวนีอ ้ าจถูกมองว่าเป็นพืน ้ ทีเ่ ก่าหรือกระแสหลักทีม ่ ก ั มีผล งานศิลปะที่ยึดตามแนวทางการสร้างสรรค์ของคนยุคก่อน แต่หากมองอีกมุมหนึ่งก็จะพบเส้น ทางของพัฒนาการทางศิลปะที่มีความหลากหลายที่ปรากฏสายธารที่ไหลอย่างต่อเนื่องของ วัฒนธรรม ถึงแม้สายธารนี้จะไม่ไหลเชี่ยว หากแต่คือล�ำธารที่รวบรวม/หล่อเลี้ยงรากเหง้าของ วัฒนธรรมที่ฉายภาพของการแปรเปลี่ยนทีละเล็กละน้อย การก้าวกระโดดอาจมีความจ�ำเป็นต่อ การพัฒนา แต่การก้าวเดินและค่อยๆศึกษาความเป็นไปอย่างช้าๆ ก็มีความจ�ำเป็นต่อพัฒนาการ ของศิลปะร่วมสมัยไทยเช่นกัน ตลอดระยะเวลากว่า 6 ทศวรรษ (การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งแรกจัดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2492) เวทีการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติได้เดินทางเก็บเกีย ่ วศิลปินทีส ่ ร้างสรรค์ผลงานศิลปะทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพ มาอย่างต่อเนื่อง และพื้นที่ดังกล่าวนี้ได้มอบความรู้ ความเข้าใจ และภาพส�ำคัญต่อประวัติศาสตร์ ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัยในประเทศไทย ครัง้ นีก ้ ารแสดงศิลปกรรมแห่งชาติได้กา้ วสูค ่ รัง้ ที่ 62 และมีรางวัลสูงสุดคือรางวัลประกาศนียบัตร เกียรตินย ิ ม อันดับ 1 เหรียญทอง โดยภาพรวมของผลงานทัง้ หมดทีไ่ ด้รางวัลล้วนมีความน่าสนใจ ในมิติทางของวัฒนธรรม (ไทย) เกือบทุกชิ้นงานมีการกล่าวถึงความจริงทั้งในมิติทางความเชื่อ สังคมและวัฒนธรรม แม้กระทั่งผลงานที่เป็นการใช้สื่อใหม่ที่น่าตื่นเต้นก็ยังคงพูดในเรื่องราวดัง กล่าวเช่นกัน ทัง้ นีก ้ ารแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครัง้ ที่ 62 ได้มผ ี ลงานทีผ ่ า่ นคัดเลือกเข้ารับรางวัลประกาศนียบัตร เกียรตินย ิ มในเหรียญประเภทต่างๆทัง้ สิน ้ จ�ำนวน 14 รางวัล โดยรางวัล ประกาศนียบัตรเกียรตินย ิ ม นั้นจะแบ่งเป็นแต่ละประเภทได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ และสื่อประสม
3
เริ่มจากผลงานประเภทจิตรกรรม รางวัลสูงสุด คือ รางวัลประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ 2 เหรียญเงิน ได้แก่ผลงานของ นายประดิษฐ์ ตัง้ ประสาทวงศ์ ในผลงานชือ ่ “ค�ำสอนพระพุทธ หมายเลข 1” ด้วยเทคนิคสีน�้ำมัน จากแนวความคิดที่ว่า “พระพุทธเจ้าตรัสบอก ‘ดับไฟไหม้บนศีรษะยังไม่เร่งด่วน เท่ารู้ อริยสัจ 4’ ท�ำให้ต้องคิดนึกถึงค�ำกล่าวที่ว่า ‘เห็นหน้ากันเมื่อเช้า สายตาย สายสุขอยู่สบาย บ่ายม้วย บ่ายยังรื่นเริงกาย เย็นดับชีพนา เย็นอยู่หยอกลูกด้วย ค�่ำม้วยดับสูญ’ ชีวิตไม่แน่นอน สอนตนให้รีบละบาปบ�ำเพ็ญบุญ” ในผลงานชิ้นนี้มีความน่าสนใจที่ฝีไม้ลายมือหรือทักษะในการน�ำ เสนอจนกลายเป็นภาพจ�ำของศิลปินท่านนีก ้ ว็ า่ ได้ ภาพชายชราแววตาครุน ่ คิดกับสิง่ ทีเ่ กิดขึน ้ กับตนเอง (สังขาร/ความไม่แน่นอน) ช่างดูไร้อารมณ์แต่กด ็ ำ� รงไปด้วยการค้นหาบางอย่างเพือ ่ ให้หลุดพ้น สายตา ทีจ ่ อ ้ งมาสูผ ่ ชู้ มราวกับว่าต้องการจะสือ ่ สารเรือ ่ งราวต่างๆทีผ ่ า่ นมาในชีวต ิ พร้อมๆกับบอกว่าให้ละทิง้ เสีย เพราะไม่มีอะไรที่แน่นอน ในรางวัลต่อมาของประเภทจิตรกรรม คือ รางวัลประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ 3 เหรียญ ทองแดง ซึ่งมีผู้ที่ได้รับรางวัลทั้งสิ้นจ�ำนวน 3 ท่านดังนี้ 1. นางสาวจารุวรรณ เมืองขวา ในผลงานชื่อ “กุศโลบายจากธรรมชาติ” ด้วยเทคนิคจิตรกรรม ผสม ด้วยแนวความคิดที่ว่า “ในวิถีชีวิตของคนไทยแฝงไปด้วยความรู้ภูมิปัญญาต่างๆ มากมาย ที่ เป็นประโยชน์ในการสร้างความสุข ความผูกพันและความสัมพันธ์ระหว่างคนในสังคมให้อยู่ร่วมกันได้ อย่างสันติสุข ซึ่งหนึ่งในความรู้และภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น คือ กุศโลบาย หรือ อุบาย เช่น เรื่องเล่านิทานและสุภาษิตส�ำนวนไทย ที่เอาไว้สอนลูกสอนหลานให้ปฏิบัติอยู่ในครรลองที่ดี รู้จัก แบ่งปัน มีนำ�้ ใจ รักใคร่สามัคคี ช่วยเหลือซึง่ กันและกันฉันพีน ่ อ ้ ง กุศโลบายหรืออุบายเหล่านัน ้ ถูกปลูก ฝังและหยัง่ รากลึกอยูใ่ นแง่คด ิ วิถก ี ารด�ำเนินชีวต ิ ของคนไทยและประเพณีพน ื้ บ้าน ได้แก่ การลงแขก ท�ำนา การปลูกบ้านเรือน การสร้างวัดวาอาราม การถ่ายทอดความรูท ้ างช่าง ทัง้ ในการเขียนรูปในงาน จิตรกรรมฝาผนัง เป็นต้น ทัง้ หมดนีค ้ อ ื เรือ ่ งราวทีน ่ ำ� มาปรับใช้กบ ั งานศิลปะโดยใช้เทคนิคผสมและวัสดุ ผสม เช่น การเข้าไม้ ท�ำเดือยหางเหยี่ยว การแกะไม้ การปั้นปูนดินสอพอง การติดประดับกระจก การ ปิดทอง เพื่อแสดงถึงศรัทธาที่มีต่อภูมิปัญญาพื้นบ้าน ซึ่งเป็นค�ำสอนจากบรรพบุรุษของเราผ่านการ ผสมผสานระหว่างเรื่องราวทางอุดมคติไปสู่จินตนาการในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ” 4
นายประดิษฐ์ ตั้งประสาทวงศ์ “ค�ำสอนพระพุทธ หมายเลข 1” สีน�้ำมัน, 260 x 180 ซม.
นายณัฐิวุฒิ พวงพี “นัย สองบ้าน หมายเลข 1” สีน�้ำมันบนผ้าใบ, 153 x220 ซม.
ความโดดเด่นของผลงานชิ้นนี้คือการเลือกวัสดุน�ำมาสร้างสรรค์ที่มีมิติในการเล่าเรื่องราวที่มิได้เป็นเพียงแค่ 2 มิติเท่านั้น การน�ำวัสดุ อย่างกระจกเข้ามาอยู่ในผลงานชิ้นดังกล่าวนั้นสามารถสะท้อนมิติทางเวลาได้มากกว่าหนึ่ง กระจกมีการสะท้อนผู้ชมงานที่เป็นปัจจุบัน ขณะเข้ามาอยูใ่ นผลงานทีม ่ ก ี ารเล่าเรือ ่ งและแสดงออกตามแบบประเพณี นับได้วา่ ผลงานชิน ้ ดังกล่าวดึงดูดผูช ้ มและเวลาเข้ามาอยูใ่ นผล งานศิลปะได้อย่างน่าสนใจ 2. นายณัฐิวุฒิ พวงพี ในผลงานชื่อ “นัย สองบ้าน หมายเลข 1” เทคนิคสีน�้ำมันบนผ้าใบ ด้วยแนวความคิดที่ว่า “ในสังคมของวัตถุ ที่มนุษย์ได้ทอดทิ้งเรื่องราวของความรู้สึก เรื่องราวของความสัมพันธ์ จนท�ำให้มนุษย์ลืมถ้อยค�ำที่แสดงภาวะของความรู้สึกภายในและ ถ้อยค�ำที่แสดงเรื่องราวของจิตใจ การสร้างภาพอดีต ปัจจุบัน ภาพของภาวะเวลา การประกอบกันระหว่างคนกับพื้นที่ สิ่งที่ถูกพรากไป เพือ ่ ให้คนเห็นคุณค่าและหาสมดุลของความสุขทีแ ่ ท้จริงด้วยการสร้างเนือ ้ หาภาษาและความหมายในเชิงสัญลักษณ์” ในงานชิน ้ นีเ้ ป็นการ น�ำเสนอเรื่องราวที่เกี่ยวกับความรู้สึกและความทรงจ�ำบางอย่างที่ไม่อาจย้อนกลับไป ศิลปินถ่ายทอดภาพผ่านการใช้สีโทนเดียว และ ปรากฏเปลวเพลิงให้ผู้ชมคิดต่อถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นในภาพ และยังมีรูปร่างของร่างกายมนุษย์ที่ว่างเปล่ามีเพียงแต่สีขาวปราศจากราย ละเอียดใดๆ ราวกับวิญญานที่ไร้ร่างปรากฏอยู่ในพื้นที่เดียวกันแต่ต่างเวลา
5
หนังสือน�ำชม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 62 ประจ�ำปี 2559
นางสาวจารุวรรณ เมืองขวา “กุศโลบายจากธรรมชาติ” จิตรกรรมผสม, 195 x 190 ซม.
3. นายสิรท ิ ต ั เตชะพะโลกุล ในผลงานชือ ่ “ความสุขของชีวต ิ หมายเลข 6” เทคนิคดินสอ และสีอะครีลค ิ บนผ้าใบ ด้วยแนวความคิดทีว่ า่ “ความสุขของชีวต ิ คืออะไร?” จากแนวความ คิดสั้นๆง่ายๆนี้ในผลงานสามารถบอกเล่าสิ่งต่างๆและสาระต่างๆมากมายได้อย่างไม่รู้จบ ค�ำถามง่ายๆว่าความสุขคืออะไร ดูเหมือนว่าจะเป็นค�ำถามที่ดูเป็นสาธารณะมาก หากแต่ใน ผลงานกลับปรากฏความเป็นปัจเจกในค�ำตอบสูงมาก เห็นได้จากผลงานเป็นการเขียน เหมือนกับตัวอักษรที่มีมวลรวมกันเป็นหลุมลึก และรายละเอียดที่เป็นรูปร่างนั้นเกิดจาก การเขียนด้วยมือวนไปวนมาซ�้ำแล้วซ�้ำเล่าจนเกิดน�้ำหนักและมิติที่ไม่รู้จบ การทบทวนตัว เองในค�ำถามดังกล่าวนั้นคือกระบวนการท�ำงานในผลงานศิลปะดังกล่าว ค�ำตอบอาจจะไม่ ปรากฏเป็นรูปธรรม หากแต่ในกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้นั้น คือการทบทวนและ พินิจตนเองผ่านการเขียนข้อความวนไปมาอย่างไม่รู้จบ หรือในการทบทวนสิ่งต่างๆดัง กล่าวนี้คือความสุขที่แท้จริงของเขา
นายสิริทัต เตชะพะโลกุล “ความสุขของชีวิต หมายเลข 6” ดินสอและสีอะครีลิคบนผ้าใบ, 141 x 201 ซม.
ผลงานต่อมา คือ ผลงานประเภทประติมากรรม ซึ่งในครั้งนี้มีรางวัลสูงสุด คือ รางวัลประกาศนียบัตร เกียรตินย ิ ม อันดับ 1 เหรียญทอง ได้แก่ นาย ประสิทธิ์ วิชายะ ในผลงานชือ ่ “ชีวต ิ ทีเ่ สียสมดุล” เทคนิค ประติมากรรมวัสดุผสม ด้วยแนวความคิดที่ว่า “ในสังคมปัจจุบัน มนุษย์เราอาจต้องตัดสินใจ ในบาง สถานการณ์ทผ ี่ ด ิ ไปจากขนบจารีตทีส ่ งั คมเคยยึดถือ อันเกิดจากแรงยัว่ ยุของกิเลส ความอยากได้ อยาก มี ฯลฯ น�ำมาสู่ความมืดบอดอย่างไร้สติในการด�ำรงชีวิต เป็นภาวะเสียศูนย์ เสียสมดุล ไปจากวิถีที่ควร จะเป็นไปตามครรลองคลองธรรม ผลงานชิน ้ นีส ้ อ ื่ ให้เห็นถึงความเปราะบางของชีวต ิ และเตือนตนให้มส ี ติ ในการด�ำเนินชีวิต” ความโดดเด่นของผลงานชิ้นดังกล่าวนี้ คือการเลือกใช้รูปทรงที่เป็นรูปแทนมนุษย์ โดยการท�ำให้รป ู ทรงดังกล่าวเอนเอียงราวกับว่าก�ำลังจะล้ม (เสียสมดุล) อันเนือ ่ งมาจากการกระท�ำต่างๆ ในพฤติกรรมของมนุษย์ ร่างกายมนุษย์ที่ปรากฏในผลงานนั้นมีอยู่ 2 เพศซึ่งอาจเป็นผลกระทบซึ่งกัน และกันที่มาจากการตัดสินในบางอย่างที่ผิดครรลองคลองธรรม ผลงานชิ้นนี้ราวกับเครื่องมือเตือนสติ เตือนใจ
6
นายประสิทธิ์ วิชายะ “ชีวิตที่เสียสมดุล” เปลือกไข่ ,เรซิน ,ไฟเบอร์กลาส,แท่งถ่าน, 93 x 60 x 214 ซม.
รางวัลต่อมา คือ รางวัลประกาศนียบัตรเกียรตินย ิ ม อันดับ 3 เหรียญทองแดง ซึง่ มีผู้ที่ได้รับรางวัลทั้งสิ้นจ�ำนวน 2 ท่านดังนี้ 1. นายสุรชัย ดอนประศรี ในผลงานชือ ่ “เมล็ดกับเปลือก” เทคนิคเชือ ่ มโลหะ ด้วย แนวความคิดทีว่ า่ “การสะท้อนแง่มม ุ ในเรือ ่ งของเมล็ดพันธุพ ์ ช ื ซึง่ ได้รบ ั ผลกระทบ จากความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือที่เรียกว่าการตัดแต่ง พันธุกรรม ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อโครงสร้างของพืชและผลไม้ น�ำรูปทรงของ เมล็ดผลไม้มาสร้างสรรค์เป็นงานประติมากรรมในลักษณะขยายขนาด ผสมกับการ แทนค่าวัสดุ จากการใช้วัสดุโลหะส�ำเร็จรูป (ฝาครอบเหล็ก) มาสร้างเป็นรูปทรง
หนังสือน�ำชม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 62 ประจ�ำปี 2559
รางวัลต่อมาคือรางวัล ประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ 2 เหรียญเงิน ได้แก่ นายพรสวรรค์ นนทะภา ในผลงานชื่อ “ความทรงจ�ำในวิถีชีวิตชนบทอีสาน” เทคนิคดินเผาบ้านหม้อ ไม้แกะ ด้วยแนวความคิดที่ว่า “การด�ำรงอยู่ที่เรียบง่าย โดยด�ำเนินไปบนวิถแ ี บบพอเพียงเป็นการเน้นสังคมเกษตรกรรมแบบอินทรียท ์ อ ี่ ด ุ ม สมบูรณ์ ด้วยพืชพันธุ์ ธัญญาหารทีเ่ ป็นสิง่ จ�ำเป็นบนพืน ้ ฐานของการมีชวี ต ิ น�ำมาสู่ ร่างกายที่สมบูรณ์และความสงบสุขแห่งจิตใจเมื่อร่างกายแข็งแรง จิตใจก็มีสุข สังคมก็เป็นสุข” ในผลงานนี้ความโดดเด่นอยู่ที่เทคนิคการท�ำเครื่องปั้นดินเผาที่มี ฝีมอ ื ทีแ ่ ปลกแตกต่างออกไปจากงานเครือ ่ งปัน ้ ดินเผาทีพ ่ บเห็น ความดิบ ความไม่ สมบูรณ์ รอยแตกร้าวที่ปรากฏในผลงานนั้นล้วนเกิดขึ้นจากความเป็นธรรมชาติ ของวัสดุ การไม่บงั คับหรือกะเกณฑ์ใดๆให้ออกมาสมบูรณ์นน ั้ สะท้อนถึงแนวความ คิดที่เรียบง่าย พอเพียง พอมี แบบสังคมเกษตรกรรม แต่พื้นผิวหน้าของผลงาน ก็ยงั ปรากฏความตัง้ ใจทีเ่ กิดจากร่องรอยในขณะปัน ้ ขึน ้ รูป ผลงานของศิลปินท่าน นีเ้ ราอาจเห็นจากหลายๆครัง้ ทีผ ่ า่ นมา ในทุกๆครัง้ สิง่ ต่างๆทีก ่ ล่าวมาก็ปรากฏเด่น ชัดตั้งแต่ครั้งก่อนจนถึงครั้งปัจจุบัน นั่นเท่ากับว่าศิลปินจงใจที่จะพอเพียง และ พอดีกับการแสดงออกของผลงาน
นายพรสวรรค์ นนทะภา “ความทรงจ�ำในวิถีชีวิตชนบทอีสาน” ดินเผาบ้านหม้อ ไม้แกะ, 270 x 140 x 230 ซม.
นายสุรชัย ดอนประศรี “เมล็ดกับเปลือก” เชื่อมโลหะ,จัดวางโลหะส�ำเร็จรูป, 245 x 248 x 81 ซม.
7
ของเมล็ดพันธุพ ์ ช ื ทีท ่ ะลักออกมา ในลักษณะการจัดวาง เพือ ่ เชือ ่ มประเด็นในเรือ ่ งความ ผิดปกติของเปลือกกับเมล็ด ซึง่ มีทม ี่ าจากผลกระทบด้านการตัดแต่งพันธุกรรมนัน ่ เอง” 2. นางสาว อิสรีย์ บารมี ในผลงานชื่อ “ชีวิตของอิสรีย์” เทคนิคปั้นหล่อไฟเบอร์กลาส ด้วยแนวความคิดทีว่ า่ “การเฝ้ามองและส�ำรวจความมีชวี ต ิ ด้วยความทุกข์ยากและอ่อน ล้าของฉัน การท�ำความเข้าใจตนเอง การปลอบโยนปล่อยวาง เพือ ่ น�ำพาตัวตนไปสูช ่ วี ต ิ ทีแ ่ สวงหาความอิสระจากเหตุแห่งทุกข์ ดังทีก ่ ล่าวมาข้างต้นนีเ้ พือ ่ เป็นแรงบันดาลใจน�ำ เสนอผลงานผ่านรูปทรงและกระบวนการทางประติมากรรมตามทัศนคติ”
นางสาวอิสรีย์ บารมี “ชีวิตของอิสรีย์” ปั้นหล่อไฟเบอร์กลาส, 240 x 120 x 205 ซม.
8
ผลงานประเภทที่ 3 คื อ ผลงานประเภทภาพพิ ม พ์ ซึ่ ง มี ร างวั ล สู ง สุ ด คื อ รางวั ล ประกาศนียบัตรเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงินจ�ำนวน 2 ท่าน ซึ่งผลงานแรกเป็นของ นายจักรี คงแก้ว ในผลงานชื่อ “หน้าผา หมายเลข 2” เทคนิค แม่พิมพ์แกะไม้ ด้วย แนวความคิดที่ว่า “หน้าผาหินที่เกิดขึ้นจากมือมนุษย์เพื่อน�ำหินไปใช้เป็นวัสดุในการ ก่อสร้างต่างๆ ยังคงเต็มไปด้วยความงามของจังหวะและร่องรอยพื้นผิวที่สวยงามใน ชัน ้ หินเต็มไปด้วยความน่าอัศจรรย์ในความยิง่ ใหญ่ของภูเขาทีส ่ งู ตระหง่านในวันวานแต่ แล้ววันหนึง่ ก็แปรสภาพเพือ ่ การด�ำรงอยูข่ องอีกหลายชีวต ิ ในผลงานบอกเล่าด้วยร่อง รอยเล็กๆ ของพืน ้ ผิวผาหินโดยให้ความส�ำคัญในทุกๆ รายละเอียดคล้ายกับการวาดเส้น เป็นนัยว่าทุกสิ่งมีความงามแฝงอยู่เพียงแต่ความงามในบางครั้งก็ต้องใช้ใจที่ละเอียด อ่อนพอทีจ ่ ะรับรูถ ้ งึ ความงามนัน ้ ” ในผลงานนีม ้ ไิ ด้มค ี วามสลับซับซ้อนอะไรมากมายแต่ อย่างใด เป็นเพียงการถ่ายทอดความงามที่ปรากฏตรงหน้าอย่างตรงไปตรงมาเท่านั้น แต่ สิ่ ง ที่ น ่ า สนใจคื อ ต้ น แบบนั้ น มาจากภาพของภู เ ขา/หน้ า ผาที่ เ กิ ด จากการท� ำ อุตสาหกรรมของมนุษย์ ศิลปินหยิบยกแง่งามจากการท�ำลายล้างธรรมชาติของมนุษย์
และอีกหนึ่งรางวัลเดียวกันคือรางวัล ประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ 2 เหรียญเงิน ซึ่งเป็นผลงานของ นายญาณวิทย์ กุญแจทอง ในผลงานชื่ อ “หยดที่ จ างหายของฤดู ฝ น” เทคนิ ค ภาพพิ ม พ์ สี ธรรมชาติ จากใบชา คราม น�้ำผึ้ง กล่องไม้ และข้อมูลการท�ำงาน ด้วย แนวความคิดทีว่ า่ “การสร้างฟาร์มโซลาร์เซลล์บนพืน ้ ที่ 2,500 ไร่ เพือ ่ ผลิตกระแสไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ รอบพืน ้ ทีไ่ ร่ของข้าพเจ้าถึงแม้ จะเป็นเพียงผืนป่าเล็กๆ แต่ก็เป็นตัวอย่างที่เห็นได้ชัด ที่ส่งผลกระทบ ต่อผืนป่า ที่ข้าพเจ้าได้ประสบอยู่ในขณะนี้ พืชหลายชนิดเริ่มล้มตาย และก�ำลังสูญพันธ์ไปจากผืนป่าที่เคยอุดมสมบูรณ์แห่งนี้ ประเด็น ส�ำคัญเรือ ่ งการตัดไม้ทำ� ลายป่า การเผาไหม้ของเชือ ้ เพลิงต่างๆ ก่อให้ เกิดสภาวะเรือนกระจก ส่งผลให้วงจรของฝนเกิดอุปสรรค และปัญหา สิ่งแวดล้อมเกิดขึ้น ฝนตกน้อยกว่าปกติ ปริมาณฝนตกน้อยลง เกิด ฝนทิ้งช่วงอย่างรุนแรง ท�ำให้เกิดภัยแล้งความชุ่มชื้นของผืนดินและ อากาศ ฝนก�ำลังจางหายไป อย่างน่าใจหาย ผลงาน หยดฝนทีจ ่ างหาย ของฤดู ฝ นกระบวนการสร้ า งภาพพิ ม พ์ สี ธ รรมชาติ ชิ้ น นี้ เป็ น ภาพ สะท้อนเพื่อตอกย�้ำ เตือนสติ ให้มนุษย์ ได้ตื่นรู้ถึงวิกฤตที่เกิดขึ้นใน ขณะนีแ ้ ละหันกลับมาช่วยกันดูแลการใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ อย่าง
นายจักรี คงแก้ว “หน้าผา หมายเลข 2” แม่พิมพ์ไม้, 128 x 184 ซม.
9
หนังสือน�ำชม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 62 ประจ�ำปี 2559
ให้มค ี วามพิเศษแตกต่างไปจากแนวทางการสร้างสรรค์เพือ ่ การต่อต้าน การกระท�ำของมนุษย์ต่อธรรมชาติ วิธีน�ำเสนอเช่นนี้กลับท�ำให้เราเห็น ว่าในสิง่ ทีแ ่ ท้จริงของธรรมชาตินน ั้ มีความงามแฝงอยูใ่ นทุกๆอณู แม้ กระทัง่ ในสิง่ ทีถ ่ ก ู ท�ำลายไปแล้วก็ตาม ในผลงานนีค ้ วามพิเศษอีกอย่าง หนึ่งคือทักษะที่พิเศษในเทคนิคการแกะแม่พิมพ์ไม้ที่มีความละเอียด อ่อนอย่างมาก ศิลปินสามารถถ่ายทอดรายละเอียดให้เหมือนจริง มี มิติและมีความเย้ายวนมากกว่าผลงานเหมือนจริงธรรมดาๆ ทั่วๆ ไป
ทะนุถนอมเพื่อให้สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและผืนป่าผืนโลกนี้ ได้อยู่ ควบคูก ่ บ ั มนุษยชาติบนผืนโลกใบนีไ้ ด้อย่างยัง่ ยืน” ในผลงานชิน ้ ดังกล่าว นี้ กายภาพของชิ้นงานอาจมองเป็นงานนามธรรมไร้รูปทรงที่จับต้องได้ หากแต่สิ่งที่ซ้อนอยู่เบื้องหลังนั้นคือสัจจะที่แท้จริงของโลกที่เราก�ำลัง ประสบเจออยู่ ภาวะที่ธรรมชาติถูกท�ำลายจากน�้ำมือมนุษย์เป็นเรื่องใหญ่ ที่ควรหันกลับมามอง ซึ่งศิลปินท่านนี้เล็งเห็นความส�ำคัญของธรรมชาติ และต้องการจะสื่อสารกับผู้คนภายนอกถึงภาวะที่เป็นอยู่ของธรรมชาติ ด้วยผลงานศิลปะ ผลงานชิน ้ ดังกล่าวนีจ ้ งึ เน้นทีก ่ ระบวนการมากกว่าสุนทรีย์ ทางการมองเห็นในผลงานศิลปะ แต่อย่างไรก็ตามความงามที่ปรากฏใน ผลงานก็สามารถน�ำไปสู่สาระของตัวผลงานได้ รางวั ล สุ ด ท้ า ยของประเภทภาพพิ ม พ์ ได้ แ ก่ ร างวั ล ประกาศนี ย บั ต ร เกียรตินย ิ ม อันดับ 3 เหรียญทองแดง ซึง่ เป็นผลงานของ นางสาวจิรนันท์ จุลบท ในผลงานชือ ่ “แตกพันธุ” ์ เทคนิคภาพพิมพ์ 3 มิติ ด้วยแนวความ คิดที่ว่า “ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีก้าวล�้ำพัฒนาปรับเปลี่ยน โครงสร้างการผลิตและรูปแบบให้สอดคล้องเข้ากับสภาวะกระแสนิยม บริโภค วัฒนธรรมและสังคมปัจจุบัน เพื่อตอบสนองความต้องการใน การบริโภคของมนุษย์ จึงเป็นแรงบันดาลใจผ่านจินตนาการ การประยุกต์ คิดค้นดัดแปลงพันธุกรรมพืชผักและผลไม้ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ธรรมชาติ และแทรกซึมความประหลาดในพืชผักและผลไม้ ซึ่งก่อให้เกิด ความงาม ความรู้สึกและมุมมองใหม่ในผลงานภาพพิมพ์สามมิติ” ในผล งานชิน ้ ดังกล่าวนีค ้ วามน่าสนใจคงหนีไม่พน ้ กระบวนการประกอบร่างของ ผลงานภาพพิมพ์ให้มีมิติที่มากกว่าระนาบ 2 มิติเดิมๆ ภาพพิมพ์ 3 มิติ คือจุดเด่นที่น่าสนใจของผลงานชิ้นดังกล่าว การผสมพันธุ์ระหว่างงาน ประติมากรรมกับผลงานภาพพิมพ์นน ั้ มีความแปลกใหม่ดว้ ยรูปร่างทีเ่ กิด 10
นายญาณวิทย์ กุญแจทอง “หยดที่จางหายของฤดูฝน” ภาพพิมพ์สีธรรมชาติ จากใบชา คราม น�้ำผึ้ง กล่องไม้ และข้อมูลการท�ำงาน, 127 x 119 ซม.
ผลงานประเภทสุดท้าย คือ ผลงานประเภทสื่อประสม ซึ่งในครั้งนี้มี รางวัลสูงสุดคือ ประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ 1 เหรียญทอง เป็นผลงานของ นายวุฒน ิ ท์ ชาญสตบุตร ในผลงานชือ ่ “การประกอบ สร้างของเปลือกนอกในความจริงเสมือน หมายเลข 3” ด้วยแนว ความคิดทีว่ า่ งานดังกล่าวคือ “งานศิลปะในรูปแบบสือ ่ ประสมทีส ่ ะท้อน ภาพ สังคมร่วมสมัยที่การแสดงออกซึ่งตัวตนและอัตลักษณ์ในเครือ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ก� ำ ลั ง ถู ก ขั บ เคลื่ อ นและแปรผั น ไปตามการ ปฏิสม ั พันธ์ในพืน ้ ทีเ่ สมือนของโลกอินเตอร์เน็ต การได้รบ ั การยอมรับ ในสังคมเสมือนได้กลายมาเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความส�ำคัญเป็น อย่าง ยิ่งต่อการด�ำรงชีวิตของปัจเจกชนในยุคสมัยปัจจุบัน ส่งผลให้ภาพ ลักษณ์ของบุคคลในสังคมออนไลน์สามารถแปรผันไปได้ ตลอดเวลา เพี ย งเพื่ อ ให้ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ในเชิ ง บวกจากบุ ค คลอื่ น ๆในสั ง คม เสมือน ปรากฏการณ์ทางสังคมเช่นนี้ก่อให้เกิดค่านิยม ทางสังคมที่ บิดเบีย ้ วและท�ำให้ปจ ั เจกชนเกิดการให้คณ ุ ค่ากับภาพลักษณ์ทฉ ี่ าบฉวย ไม่มั่นคง อีกทั้งลดทอนสามัญส�ำนึกในการตระหนักรู้ถึงคุณค่าที่แท้ จริงแห่งความเป็นมนุษย์” ในผลงานชิ้ น ดั ง กล่ า วได้ ส ร้ า งความน่ า ตื่ น เต้ น กั บ พื้ น ที่ ก ารแสดง ศิลปกรรมแห่งชาติอย่างมาก ทีว่ า่ ด้วยเรือ ่ งประเด็นของงานทีม ่ ก ี ารใช้ สื่ออื่นๆ หรือสื่อสมัยใหม่เข้ามาเกี่ยวข้อง และด้วยแนวความคิดของ ผลงานนั้นสอดคล้องกับเทคนิคได้อย่างลงตัว ในงานชิ้นดังกล่าวนี้ สามารถเห็นกระบวนการที่คิดไตร่ตรองอย่างครบถ้วนของศิลปิน ไม่
นางสาวจิรนันท์ จุลบท “แตกพันธุ์” ภาพพิมพ์ 3 มิติ, 230 x 155 x 65 ซม.
11
หนังสือน�ำชม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 62 ประจ�ำปี 2559
ขึน ้ ผนวกกับเรือ ่ งราวทีก ่ ล่าวถึงการแตกพันธุใ์ หม่ของพืชผักทีเ่ ป็นผล มาจากการคิดค้นของมนุษย์ราวกับการดัดแปลงธรรมชาติให้ตรง ความต้องการของมนุษย์
นายวุฒินท์ ชาญสตบุตร “การประกอบสร้างของเปลือกนอกในความจริงเสมือน หมายเลข 3” สื่อประสม, 280 x 280 x 280 ซม.
12
ว่าจะเป็นการแก้ปัญหาด้วยเรื่องพื้นที่ที่มีจ�ำกัดในกฏเกณฑ์ของการส่ง ผลงานเข้าประกวด การกั้นพื้นที่ที่สามารถอยู่ได้ด้วยตัวเอง และยังอีก ทั้งด้านเทคนิคในการติดตั้งที่มีความปราณีตลงตัว ซึ่งท�ำให้ผู้ชมมุ่ง เข้าไปสู่เนื้อหาของงานได้อย่างไม่มีอะไรมาปิดกั้น ในเรื่องแนวความคิด ของผลงานประเด็นทีว่ า่ ด้วยค�ำว่า “เปลือก” ก็ปรากฏออกมาอย่างเด่น ชัดในส่วนของประติมากรรมที่แขวนลอยแตกอยู่ในอากาศ และยังอีก ทั้งศิลปินเลือกใช้ภาพวีดีโอฉายทับ (Video Projection Mapping ) ลงบนวัตถุ ซึง่ เน้นย�ำ้ ความไม่มอ ี ยูจ ่ ริง (ทีเ่ ป็นเปลือกทีฉ ่ าบฉวย) ในโลก เสมือนได้อย่างน่าสนใจ วีดีโอที่ฉายลงบนเรือนร่างแตกลอยราวกับสิ่ง ที่เกิดขึ้นชั่วคราวและก็สลายไป เป็นเพียงแค่แสงที่ต้องการระนาบฉาย ทับอาจเป็นความจริงเพียงแค่ชั่วขณะ พอหมดแสงภาพเหล่านั้นก็จาก ไป รางวัลต่อมาคือรางวัล ประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ 2 เหรียญ เงิน ได้แก่ผลงานของ นางสาวสุนน ั ทา ผาสมวงค์ ในผลงานชือ ่ “สภาวะ ของความทุกข์” เทคนิคสื่อประสม (ถักและตัดวัสดุ) ด้วยแนวความคิด ที่ “ต้องการน�ำเสนอ ‘ความทุกข์’ ผลของการเหนี่ยวรั้งและยึดติดใน สภาวะจิตใจของผู้สร้างสรรค์ท่ีได้รับจากประสบการณ์ความทรงจ�ำใน อดีต การพลัดพรากจากบุคคลอันเป็นที่รักเป็นเวลาอันยาวนาน น�ำมา ถ่ายทอดผ่านเส้นสีดำ� ทับซ้อนก่อรูปทรงคล้ายร่างกายมนุษย์มล ี ก ั ษณะ ห้อยย้อยจากเพดานทิง้ น�ำ้ หนักลงสูส ่ ว่ นล่างในรูปแบบกึง่ นามธรรม ติด ตั้งด้วยรูปแบบศิลปะการจัดวางในพื้นที่เฉพาะ เพื่อสื่อความหมายใน
รางวัลต่อมาคือรางวัล ประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ 3 เหรียญ ทองแดง ได้แก่ นาย ไชยันต์ นิลบล ในผลงานชื่อ “แรงงานและการ ดิน ้ รนสูช ่ วี ต ิ ใหม่” เทคนิค ประกอบสังกะสี เชือ ่ มโลหะ ด้วยแนวความ คิดทีว่ า่ “มนุษย์ทอ ี่ ยูใ่ นชนชัน ้ แรงงาน ทีต ่ อ ้ งใช้พลังร่างกายอย่างหนัก ดิ้นรนตรากตร�ำท�ำงานแลกค่าตอบแทน เพื่อให้มีชีวิตที่ดีขึ้น จึงน�ำ เสนองานในรูปแบบศิลปกรรมสือ ่ ประสม ทีม ่ รี ป ู ทรงท่าทางของมนุษย์ ห่อหุ้มด้วยวัสดุสังกะสีและตะกั่ว” ในผลงานชิ้นนี้สิ่งที่ปรากฏออกมา เด่นชัดคือแรงและก�ำลังทั้งในแง่ของแนวความคิดและเทคนิคการ สร้างสรรค์ผลงาน กลุม ่ คนชนชัน ้ แรงงานขนาดเท่าจริงในท่าทางอิรย ิ าบถ
นางสาวสุนันทา ผาสมวงค์ “สภาวะของความทุกข์” สื่อประสม (ถักและตัดวัสดุ), 270 x 280 ซม.
13
หนังสือน�ำชม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 62 ประจ�ำปี 2559
สภาวะของความทุกข์ สะท้อนผลกระทบจากความผิดพลาดของชีวิต ครอบครัว ที่เคยได้รับของตนเอง” ในผลงานนี้มีการกล่าวถึงความ ทุกข์โดยน�ำเสนอผ่านเทคนิคการถักลวดที่ดูซับซ้อน ด้วยเทคนิคดัง กล่าวตอบสนองแนวความคิดที่ว่าด้วยการยึดติดเหนี่ยวรั้งพันกันจน หาต้นและปลายไม่ได้ ความทุกข์ดังกล่าวเกาะกุมจิตใจ รูปทรงมนุษย์ ที่ ถู ก ห้ อ ยกลั บ หั ว นี้ อ าจกล่ า วแทนได้ ถึ ง การพลั ด พราก แต่ ก าร พลัดพรากนีย ้ งั คงเป็นก้อนเนือ ้ ทีเ่ กาะกุมจิตใจจนกลายเป็นความทุกข์ ในผลงานนี้ชิ้นงานน�ำเสนอความทุกข์ผ่านการเลือกใช้วัสดุได้อย่างน่า สนใจ
นายไชยันต์ นิลบล “แรงงานและการดิ้นรนสู่ชีวิตใหม่” ประกอบสังกะสี เชื่อมโลหะ, 280 x 230 x 165 ซม.
ที่ก�ำลังท�ำงานก่อสร้างอยู่นั้น ท�ำให้ประติมากรรมกลุ่มนี้ดูสมจริงที่มีทั้งพละก�ำลังและความอ่อนล้าจากการท�ำงาน การทีศ ่ ล ิ ปินเลือกใช้วส ั ดุทเี่ ป็นโลหะทีข่ น ึ้ สนิมนัน ้ ราวกับว่าคน (ทีเ่ ปรียบเปรยเป็นโลหะ) เหล่านีไ้ ด้ผา่ นการใช้งานจริง จนถึงที่สุดจนมีการอ่อนล้า (ขึ้นสนิม) แต่ก็ยังคงดิ้นรนท�ำงานต่อไป สังเกตได้วา่ ผลงานทีไ่ ด้รบ ั รางวัลส่วนมากจะน�ำเสนอผ่านร่างกายมนุษย์ซงึ่ เป็นตัวแทนในหลายๆเรือ ่ งราวทัง้ กิเลส สังขาร ความทุกข์ ส่วนมากคงหนีไม่พ้นเรื่องราวปรัชญาที่ได้จากพุทธศาสนา ซึ่งแสดงให้เห็นว่าในพื้นที่การแสดง ศิลปกรรมแห่งชาตินี้ เรื่องราวที่ถูกน�ำมาเสนอผ่านศิลปะมักจะหนีไม่พ้นเรื่องราวดังกล่าว และยังเน้นย�้ำความคิด ดังกล่าวเป็นอย่างมาก ซึ่งเท่ากับว่าในสังคมศิลปะ (ในพื้นที่การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ) มีความสนใจเรื่องราว ทีเ่ กีย ่ วกับปรัชญาพุทธศาสนาและตีความผ่านผลงานศิลปะ ฉะนัน ้ ผลงานศิลปะก็กลายๆว่าจะเป็นภาพ/ภาษาทีเ่ คียง ข้างการตีความในเรื่องราวปรัญชาในพุทธศาสนาดังกล่าว 14
หนังสือน�ำชม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 62 ประจ�ำปี 2559
สิง่ ทีน ่ า่ สนใจในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครัง้ นี้ คือ ศิลปะประเภทสือ ่ ประสมทีท ่ ำ� ออกมา ได้นา่ ตืน ่ เต้นซึง่ เริม ่ ฉีกทางออกจากขนบเดิมๆ ในผลงานของ วุฒน ิ ท์ ทีม ่ ก ี ารจัดวางรูปกาย มนุษย์ในลักษณะ 3 มิติ แขวนลอยอยู่ในอากาศ และปรากฏภาพวีดีโอเคลื่อนไหวฉายทับไป บนวัตถุ (ร่างกายที่แตกลอย) ซึ่งถือว่าท�ำได้น่าสนใจในพื้นที่การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ นับเป็นเวลาหลายปีในประเภทสื่อประสมจะมีงานที่เข้าข่ายงานประเภทดังกล่าวนับตั้งแต่ นางสาวเพ็ญแข เพ็งยา ซึ่งล่าสุดในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 51 ที่ผลงานมีการ “เล่น” กับสื่อในทิศทางดังกล่าว ในผลงานประเภทสื่อประสมสิ่งที่ต้องท�ำให้ได้คือการน�ำ เสนอค�ำว่า “สื่อ” ออกมาให้โดดเด่น ชัดเจน และท�ำออกมาให้ ‘สื่อ’ แตกต่างไปจาก ‘วัสดุ’ ในผลงานส่วนมากสิ่งที่ปรากฏเด่นชัดคือวัสดุที่มีการผสมที่หลากหลาย แต่วัสดุต่างๆมิได้ แสดงตนในฐานะสือ ่ อย่างเต็มก�ำลัง แต่อย่างไรก็ตามงานศิลปะในยุคสมัยโลกาภิวต ั น์นี้ การ แบ่งแยกประเภทอาจมิได้มค ี วามจ�ำเป็นมากเท่าไรนัก ทุกสิง่ ได้กา้ วข้ามและลืน ่ ไหลไปมา หาก แต่ในพื้นที่การแสดงศิลปกรรมแห่งชาตินี้ยังมีกฏเกณฑ์ในการคัดเลือกเพื่อที่จะจัดแบ่ง ประเภทหมวดหมู่ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะเพื่อประโยชน์ทางการศึกษาที่ค่อยๆเรียนรู้และสืบเสาะ ความเปลี่ยนแปลงต่างๆทางศิลปะร่วมสมัยในประเทศไทย
กฤษฎา ดุษฎีวนิช 15
16