สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินพระราชทานเกียรติบัตร ทรงงานฝีพระหัตถ์ตกแต่งเครื่องปั้นดินเผา และทรงเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดนิทรรศการ ณ ชั้น ๑ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ในวันเสาร์ที่ ๑๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๖๑ เวลา ๑๔.๐๐ น. Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn has graciously consented to preside over the Opening Ceremony at the Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty The King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom Province on Saturday 15 December 2018 at 2 pm
19
th The National Ceramics Exhibition
การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 นิทรรศการจัดแสดงระหว่างวันที่ 1 - 20 ธันวาคม 2561 เวลา 10.00 – 16.00 น. (ไม่เว้นวันหยุด) ณ ชั้น 1 ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม The 19th National Ceramics Exhibition Exhibition will be on view from 1 – 20 December 2018 10 am – 4 pm (daily) at the Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom
Credit
เจ้าของและผู้จัดพิมพ์ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 31 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 02 221 3841
Published by The Art Centre, Silpakorn University 31 Na Phra Lan Rd., Phra Borommaharatchawang, Phra Nakorn, Bangkok 10200 Tel. 02 221 3841 Website : www.art-centre.su.ac.th Email : su.artcentre@gmail.com
พิสูจน์อักษร : เมธาวี กิตติอาภรณ์พล ออกแบบและคอมพิวเตอร์กราฟิก : ศุภกานต์ วงษ์แก้ว ถ่ายภาพ : ชัยวัช เวียนสันเทียะ ตกแต่งภาพ : ศรายุทธ ภูจริต พิมพ์ครั้งแรก : พฤศจิกายน 2561 จ�ำนวนที่พิมพ์ : 1,000 เล่ม พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์ภาพพิมพ์ 45/14 หมู่ 4 ถ.บางกรวย-จงถนอม ต�ำบลบางขนุน อ�ำเภอบางกรวย นนทบุรี 11130
Proofreader: Methawee Kittiapornphol Graphic designer: Supphakarn Wongkaew Photographer: Chaiwat Wiansantia Retoucher: Sarayuth Phucharit Publication date: November 2018 (1,000 copies) Printed at Parbpim Ltd. 45/14 Moo.4, Bangkruay-Jongthanorm Rd., Bangkanoon, Bangkruay, Nonthaburi 11130
C
008
010 012
018
028
038
NTENTS
สารจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร Message from the President of Silpakorn University ค�ำน�ำ Preface ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรือ่ ง การแสดงศิลปะ เครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 Announcement of Silpakorn University on The 19th National Ceramics Exhibition สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กับผลงานเครื่องปั้นดินเผาฝีพระหัตถ์ในการแสดง ศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn’s Ceramic Works at the National Ceramics Exhibition บทความพิเศษ สมลักษณ์ ปันติบุญ : ชีวิตที่เป็นหนึ่งเดียวกับดินและความว่างเปล่า Special Article Somluk Pantiboon : Living in Harmony with Clay and Emptiness ศิลปินเครื่องปั้นดินเผาเกียรติคุณ : สุรศักดิ์ แสนโหน่ง Honorable Artist of Ceramics : Surasak Sannong
044
สารบัญ
ผลงานที่ ได้รับรางวัล Award-Winning Entries
ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย
078
ผลงานที่ ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition
116 124
Contemporary Ceramic Art ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft ประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม Ceramic Industrial Prototype
ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft ประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม Ceramic Industrial Prototype
ประวัติศิลปิน Artists’ Profiles
ภาคผนวก Appendix
สารจากอธิการบดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ศิลปะเครื่องปั้นดินเผาเป็นมรดกทางศิลปะที่ทรงคุณค่า อันแสดงออกถึงความงาม สะท้อนถึงภูมิปัญญาของมนุษย์ที่สร้างสรรค์สืบทอดมาจนถึง ปัจจุบัน ผลงานเครื่องปั้นดินเผาในรูปแบบต่างๆ มีการพัฒนาคุณ ภาพให้กลมกลืนกับรสนิยมสากลผสมผสานอย่างลงตัวกับเอกลักษณ์ความเป็นไทย ท�ำให้ผลิตภัณฑ์ดินเผาของไทยได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางทั้งในประเทศและต่างประเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากรจัดให้มีการประกวด และการจัดแสดงนิทรรศการศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติเป็นครั้งแรกในปี 2529 และด�ำเนินการ อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน โดยตระหนักถึงความส�ำคัญในการสนับสนุน และเปิดโอกาสให้ศิลปินไทยสร้างสรรค์ผลงานเครื่องปั้นดินเผาให้เป็นที่ประจักษ์ถึง ทักษะ และความสามารถเฉพาะตน น�ำไปสู่การพัฒนาศักยภาพให้เป็น ที่ยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ อีกทั้งเพื่อส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป เกิดความรู้ ความเข้าใจในสุนทรียะแห่งความงาม ผ่านรูปแบบ และเทคนิคที่หลากหลายในการสร้างสรรค์ผลงานเครื่องปั้นดินเผา เพื่อสามารถเป็นแรงบันดาลใจและแนวทางในการสร้างสรรค์ต่อไป มหาวิทยาลัยศิลปากรรู้สึกซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชด�ำเนินเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 และพระราชทานพระราชานุญาตให้ อัญเชิญงานฝีพระหัตถ์เครื่องปั้นดินเผาในการจัดแสดงนิทรรศการฯครั้งนี้ ในโอกาสนี้ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอขอบคุณบริษั ทไทยเบฟเวอเรจ จ�ำกัด (มหาชน) บริษั ท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) และธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ที่เล็งเห็นความส�ำคัญในการสนับสนุนการประกวด การจัดแสดงนิทรรศการ รวมถึงความร่วมมือเป็นอย่างดีจากคณะกรรมการคัดเลือกตัดสิน ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการด�ำเนินงานในส่วนต่างๆ และศิลปินผู้ส่งผลงานเข้าประกวด อันส่งผลให้การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ส�ำเร็จลุล่วงด้วยดีทุกประการ
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วันชัย สุทธะนันท์) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
Message from the President of Silpakorn University Ceramic art is a type of very precious cultural heritage that has portrayed human wisdom and creative aesthetics for centuries. Thai ceramic art has been continuously enhanced by combining international styles with Thai uniqueness which has led to worldwide appreciation. Silpakorn University has held the National Ceramics Exhibition since 1986 with the objective of supporting ceramic artists in expressing their artistic skills and at the national and international levels. Moreover, this exhibition aims to strengthen student and the public’s understanding of ceramics and the beauty of ceramic art through various inspirational ceramic forms. On this occasion, Silpakorn University is deeply honored by the presence of Princess Maha Chakri Sirindhorn, who is graciously presiding over the opening ceremony of the 19th National Ceramics Exhibition and graciously grants permission to showcase her ceramic art. Silpakorn University is thankful to the Thai Beverage Public Company Limited, PTT Public Company Limited and the Bangkok Bank Public Company Limited, who appreciate the importance of the exhibition and have kindly supported the 19th National Ceramics Exhibition. Lastly, we would like to thank the selection committee, participating artists and the working committee who respectively, have put in many hours of hard work to ensure this exhibition is successful.
(Assistant Professor Wanchai Sutananta Ph.D.) President of Silpakorn University
ค�ำน�ำ
การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติจัดขึ้นเป็นครั้งแรกโดยมติคณะรัฐมนตรี ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2529 และมีการด�ำเนินงานมาอย่าง ต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เป็นครั้งที่ 19 การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ มีการพิจารณาแบ่งประเภทผลงานออกเป็น 3 ประเภท คือประเภท ศิลปกรรมร่วมสมัย ประเภทหัตถกรรม และประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม เพื่อเปิดโอกาสให้ศิลปินไทยสร้างสรรค์ผลงานเครื่องปั้นดินเผา สะท้อนถึงแนวคิด และแรงบันดาลใจ ด้วยรูปแบบ เทคนิคที่หลากหลายอันแสดงออกถึงศักยภาพและเอกลักษณ์เฉพาะตน ในการประกวดศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 มีศิลปินส่งผลงานประเภทต่างๆ รวม 203 คน รวมจ�ำนวนผลงาน ทั้งสิ้น 269 ชุด ส�ำหรับรางวัลจากการประกวดศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 ในประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย ประเภท หัตถกรรม และประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม แบ่งออกเป็นรางวัลยอดเยี่ยม ประเภทละ 1 รางวัล โดยได้รับโล่และเงินรางวัล 100,000 บาท และรางวัลผลงานดีเด่น ประเภทละ 3 รางวัล โดยได้รับโล่และเงินรางวัลๆละ 50,000 บาท และจากผลการคัดเลือกและตัดสินของคณะ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ปรากฏว่ามีศิลปิน ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัยได้รับรางวัลยอดเยี่ยมและได้เป็นศิลปินเครื่องปั้นดินเผาเกียรติคุณ 1 ราย รางวัลดีเด่น 4 ราย รวมผลงานจ�ำนวน 5 ชิ้น ศิลปินประเภทหัตถกรรม รางวัลยอดเยี่ยมไม่มีผู้ได้รับรางวัล รางวัลดีเด่น 4 ราย รวมผลงานจ�ำนวน 4 ชิ้น ศิลปินประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม รางวัลยอดเยี่ยมไม่มีผู้ได้รับรางวัล รางวัลดีเด่น 4 ราย รวมผลงานจ�ำนวน 4 ชิ้น และมีศิลปินได้รับ คัดเลือกผลงานเข้าร่วมแสดงจ�ำนวน 84 ราย รวมผลงานทั้งสิ้น 103 ชิ้น ทั้งนี้ ผลงานที่ ได้รับรางวัล และผลงานที่ ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมแสดง มีการจัดแสดง ณ ศูนย์ศลิ ปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ในระหว่างวันที่ 1 – 20 ธันวาคม 2561 ในโอกาสนี้ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอขอบคุณผู้สนับสนุนการจัดแสดง คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน ศิลปิน และคณะ กรรมการทุกท่านที่ ให้การสนับสนุนและความร่วมมือในการด�ำเนินงานจัดการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติในครั้งนี้จนประสบความส�ำเร็จ ลุล่วงตามวัตถุประสงค์ทุกประการ
(อาจารย์ ดร. ปรมพร ศิริกุลชยานนท์) ผู้อ�ำนวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Preface
The National Ceramics Exhibition was established in 1986 with the intention of the government. The exhibition has been showcasing continuously until it came to the 19th this year. The competition is divided into three categories of works, which are Contemporary Ceramic Art, Ceramic Handicraft and Ceramic Industrial Prototype. This project is to encourage Thai artists to create ceramics in different forms and techniques that can reflect concept and inspiration, as well as potential and uniqueness. In the 19th National Ceramics Exhibition, there are 203 contestants with 269 entries. Awards are given into one first prize award in each category with a trophy award and 100,000 Baht, and three second prize awards in each category, with a trophy award and 50,000 Baht. For this year’s result in Contemporary Ceramic Art category, there is an artist granted first prize award winning entry, resulted that he is honored as the 1st Honorable Artist of Ceramics as well as four second prize award-winning entries. In addition, in the Ceramic Handicraft category, there is no first prize award-winning entry, but 4 second prize award-winning entries were granted. Lastly, in the Ceramic Industrial Prototype category, there is no first prize award-winning entry, but 4 second prize award-winning entries were granted. There are also 84 artists with 103 sets of work selected to exhibit in this exhibition. All award-winning and selected entries are showcased at the Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty King Bhumibol Adulyadej between 1 to 20 December 2018. On behalf of the Art Centre, Silpakorn University, I would like to express my hearty gratitude to all supporting organizations, the jury committee, participated artists as well as the working committee, who make this exhibition successfully complete.
(Paramaporn Sirikulchayanont, Ph.D) Director, Art Centre Silpakorn University
ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 ด้วยมหาวิทยาลัยศิลปากร ก�ำหนดจัดให้มีการประกวด และการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 ขึ้น จึงได้วาง หลักเกณฑ์ไว้ ดังนี้ 1. ประเภทงานเครื่องปั้นดินเผา 1.1 เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย หมายถึง ผลงานเครื่องปั้นดินเผาที่แสดงออกถึงสุนทรียะแห่งคุณค่าหรือกระบวนการทาง ความคิดทางศิลปกรรม โดยผ่านเทคนิค และกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานทางเครื่องปั้นดินเผา 1.2 เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม หมายถึง ผลงานเครื่องปั้นดินเผาที่มีความโดดเด่นด้านการออกแบบ ซึ่งสามารถแสดงออกถึงทักษะ ความช�ำนาญ ความประณีตงดงาม และ/หรือ ผลงานที่มีรากฐานความคิดและเทคนิคอิงประเพณี สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อสนองประโยชน์ ใช้สอยหรือประดับตกแต่ง 1.3 เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม ภายใต้หัวข้อ “Modern Lifestyle” หมายถึง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบเครื่องปั้นดินเผา ที่มีการแสดงออกด้านความงาม ความคิดสร้างสรรค์ มีรูปแบบที่เหมาะสมกับการใช้สอย สามารถน�ำไปผลิตในระบบอุตสาหกรรมได้จริง หมายเหตุ : ผลงานที่ส่งประกวดในแต่ละประเภท จะต้องเป็นผลงานที่ผลิตตามกระบวนการทางเครื่องปั้นดินเผาที่เสร็จสมบูรณ์ ในกรณีที่มีการใช้สี ต้องเป็นสีทางเซรามิคเท่านั้น และเป็นผลงานที่สร้างสรรค์มาแล้วไม่เกิน 2 ปี 2. ขนาดของผลงานศิลปกรรม ผลงานทุกประเภท แต่ละชุด (ชิ้น) ต้องมีขนาดไม่เกิน 4 ตารางเมตร 3. ผู้มีสิทธิ์ส่งผลงาน 3.1 ผู้มีสิทธิ์ส่งผลงานต้องมีสัญชาติไทย คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินไม่มีสิทธิ์ส่งผลงานเข้าประกวด ผลงานฯ ต้องไม่เคยเข้าประกวด และแสดงที่ ใดมาก่อน ยกเว้นการน�ำไปแสดงในรูปแบบศิลปนิพนธ์ ซึ่งเป็นข้อก�ำหนดการส�ำเร็จการศึกษาทุกระดับ 3.2 ศิลปิน 1 ท่าน มีสิทธิ์ส่งผลงานศิลปะเครื่องปั้นดินเผาเข้าประกวดได้ไม่เกินท่านละ 2 ชุด (ชิ้น) ต่อประเภท 3.3 มหาวิทยาลัยศิลปากร ไม่รับผลงานฯ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาเข้าประกวดทุกกรณี หากมีการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น ผู้มีสิทธิ์ส่งผลงานฯ ต้องรับผิดทางแพ่งและอาญา โดยมหาวิทยาลัยศิลปากรไม่มีส่วนร่วมการท�ำความผิดนั้น 4. การส่งผลงานเข้าประกวด ศิลปินจะต้องด�ำเนินการดังนี้ 4.1 กรอกรายละเอียดในแบบพิมพ์ของมหาวิทยาลัย โดยศิลปินจะต้องกรอก ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ และรายละเอียดอื่นๆ ทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษในแบบพิมพ์ด้วยตัวบรรจงตามข้อก�ำหนดของมหาวิทยาลัยศิลปากร 4.2 แนบส�ำเนาบัตรประชาชน พร้อมเซ็นชื่อรับรองส�ำเนาถูกต้อง 4.3 ผลงานที่มีการติดตั้ง ศิลปินต้องแนบหรือเขียนวิธีการติดตั้งผลงานให้ชัดเจนแนบมาพร้อมกับใบสมัคร ยกเว้นบางกรณีที่ศิลปินต้องมา ติดตั้งผลงานด้วยตนเอง คณะกรรมการด�ำเนินงานฯ จะด�ำเนินการติดต่อนัดหมายเป็นกรณี ไป ผู้ส่งผลงานจะต้องติดต่อกับเจ้าหน้าที่ โดยตรงก่อนที่จะมีการติดตั้งผลงาน โดยเจ้าหน้าที่จะเป็นผู้แจ้งพื้นที่ในการติดตั้งผลงานและจะต้องติดตั้งในบริเวณที่ก�ำหนดเท่านั้น 4.4 การส่งผลงานเครื่องปั้นดินเผาทางพัสดุ หรือ การส่งผลงานที่ศูนย์รับผลงานส่วนภูมิภาค จะต้องบรรจุในกล่องไม้หรือหีบห่อกระดาษแข็ง ซึ่งสามารถกันกระแทกและป้องกันการแตกหักเสียหายจากการขนย้ายได้ อนึ่ง ผู้ส่งผลงานในข้อ 4.4 นี้ จะต้องวาดผังการติดตั้งผลงาน แนบมาในใบสมัครที่กรอกรายละเอียดครบถ้วนตามข้อ 4.1 - 4.2 4.5 มหาวิทยาลัยศิลปากรและหน่วยงานผู้รับผลงานจะดูแลผลงานทุกชิ้นที่ส่งเข้าประกวดอย่างระมัดระวังอย่างยิ่ง แต่จะไม่รับผิดชอบ ความเสียหายอันเกิดจากอุบัติเหตุ หรือเหตุอันสุดวิสัย 4.6 ศิลปินผู้ส่งผลงานจะได้รับสูจิบัตรการแสดงฯ ท่านละ 1 เล่ม โดยจะต้องมารับสูจิบัตรด้วยตนเองหรือท�ำหนังสือมอบอ�ำนาจให้ตัวแทน มารับแทน โดยสามารถมารับสูจิบัตร ภายใน 3 เดือน นับจากวันที่เปิดการแสดงนิทรรศการฯ 5. คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอ�ำนวยการ การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 ได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านศิลปะจากสาขาต่างๆมาเป็นคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน ดังนี้
เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย 1. ศาสตราจารย์เกียรติคุณเสริมศักดิ์ นาคบัว 2. ศาสตราจารย์วิโชค มุกดามณี 3. ศาสตราจารย์ญาณวิทย์ กุญแจทอง 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวนิช สุวรรณโมลี 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สยุมพร กาษรสุวรรณ 6. อาจารย์สุโรจนา เศรษฐบุตร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา 7. นายวศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ 8. ผู้อ�ำนวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 9. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ
เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม 1. ศาสตราจารย์เกียรติคุณเสริมศักดิ์ นาคบัว 2. รองศาสตราจารย์ภรดี พันธุภากร 3. รองศาสตราจารย์สุขุมาล เล็กสวัสดิ์ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาธร ชลชาติภิญโญ 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภกา ปาลเปรม 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สืบพงศ์ เผ่าไทย 7. นายสมลักษณ์ ปันติบุญ 8. ผู้อ�ำนวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 9. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ
เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม 1. รองศาสตราจารย์เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวนิช สุวรรณโมลี 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิม สุทธิค�ำ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิพัฒน์ จิตรอารีย์รักษ์ 5. ดร.สมนึก ศิริสุนทร 6. นายอภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล 7. นายพนาสิน ธนบดีสกุล 8. ผู้อ�ำนวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 9. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ
6. การตัดสิน คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินอาจเพิ่มหรือลดรางวัลใดรางวัลหนึ่งได้ตามความเหมาะสม และหากผู้ส่งผลงาน ส่งผลงานผิดประเภท คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินมีสิทธิ์ ไม่พิจารณาผลงานนั้นๆ การตัดสินของคณะกรรมการฯถือเป็นยุติ จะอุทธรณ์มิได้ 7. ผลงานที่จัดแสดง ประกอบด้วย 7.1 ผลงานฝีพระหัตถ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งมหาวิทยาลัยศิลปากรด�ำเนินงานกราบบังคมทูลขอพระราชทาน อัญเชิญเข้าร่วมแสดง 7.2 ผลงานที่ ได้รับการตัดสินให้ได้รับรางวัล และผลงานที่ ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมแสดง 7.3 ผลงานหรือบทความของศิลปิน หรือบุคคลส�ำคัญที่ ได้รับเชิญให้ส่งผลงานเข้าร่วมแสดง ในปีนี้คณะกรรมการอ�ำนวยการได้ลงมติให้จัดแสดงผลงานโดยศิลปินเครื่องปั้นดินเผา“สมลักษณ์ ปันติบุญ” 8. รางวัล คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน จะตัดสินให้รางวัลแต่ละประเภท โดยก�ำหนดรางวัล ดังนี้ 8.1 รางวัลยอดเยี่ยม ประเภทละ 1 รางวัล ได้รับโล่รางวัล และเงินรางวัล 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาทถ้วน) 8.2 รางวัลผลงานดีเด่น ประเภทละ 3 รางวัล ได้รับโล่รางวัลและเงินรางวัลๆละ 50,000 บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน) หมายเหตุ : ผู้ส่งผลงานและได้รับการคัดเลือกจะได้รับเกียรติบัตรทุกท่าน 9. การถอดถอนรางวัล กรณีที่มีผู้ร้องเรียน โดยปรากฏข้อเท็จจริงว่าผลงานที่ ได้รับรางวัลใดรางวัลหนึ่ง เป็นผลงานที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของศิลปินผู้อื่น มหาวิทยาลัยศิลปากรจะแต่งตั้งคณะกรรมการรับการร้องเรียนท�ำหน้าที่พิสูจน์จนได้หลักฐานแน่ชัด และจะมีสิทธิพิจารณาถอดถอนรางวัล และเรียก เงินรางวัลคืนจากศิลปินผู้ท�ำผิด แล้วให้ท�ำประกาศแก่สาธารณะทราบโดยทั่วกัน
10. การยกย่องให้เป็นศิลปินเครื่องปั้นดินเผาเกียรติคุณ ศิลปินที่รับรางวัลยอดเยี่ยมในประเภทเดียวกันรวม 3 ครั้ง หรือรับรางวัลยอดเยี่ยมในประเภทเดียวกัน รวม 2 ครั้ง และได้รับรางวัลดีเด่น ประเภทเดียวกับรางวัลยอดเยี่ยมอีก 2 ครั้ง มหาวิทยาลัยศิลปากร จะมอบเหรียญทองค�ำและเกียรติบัตรยกย่องให้เป็นศิลปินเครื่องปั้นดินเผาเกียรติคุณ ในประเภทที่ได้รบั รางวัล และไม่อนุญาตให้สง่ ผลงานเข้าประกวด การยกย่องให้นบั ตัง้ แต่การแสดงศิลปะเครือ่ งปัน้ ดินเผาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 15 ปี พ.ศ. 2553 เป็นต้นไป 11. กรรมสิทธิ์และสิทธิในการเผยแพร่ ผลงานที่ ได้รับรางวัลยอดเยี่ยมและรางวัลดีเด่น ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร และเจ้าของผลงานฯได้อนุญาตให้มหาวิทยาลัย ศิลปากรมีสิทธิ์ ในการน�ำไปเผยแพร่ ในสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อสารสนเทศสมัยใหม่ทุกประเภท รวมถึงมีสิทธิ์เผยแพร่ ในรูปแบบอื่นๆได้โดยไม่ต้องขอความ ยินยอมจากศิลปิน 12. ก�ำหนดเวลา 12.1 การส่งผลงาน - ในส่วนภูมิภาค ระหว่างวันศุกร์ที่ 27 ถึงวันอาทิตย์ที่ 29 กรกฎาคม 2561 เวลา 10.00 – 16.00 น. - ณ ศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิกส์ เลขที่ 424 หมู่ 2 ต�ำบลศาลา อ�ำเภอเกาะคา จังหวัดล�ำปาง 52130 ติดต่อ คุณเอก ปัญญาบาล หมายเลขโทรศัพท์ 08-1366-4684 - ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (หอศิลป์ มช.) เลขที่ 239 ถนนนิมมานเหมินทร์ ต�ำบลสุเทพ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 ติดต่อ คุณเยาวพา เทพวงศ์ หมายเลขโทรศัพท์ 0-5321-8280 - ในส่วนกลาง ระหว่างวันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม ถึงวันอาทิตย์ที่ 5 สิงหาคม 2561 เวลา 10.00 – 16.00 น. - ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม เลขที่ 6 ถนนราชมรรคาใน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000 ติดต่อ คุณศรายุทธ ภูจริต หมายเลขติดต่อ 09-5174-9159 หรือ 0-3427-3301 12.2 การคัดเลือก และตัดสิน ในวันเสาร์ที่ 11 และวันอาทิตย์ที่ 12 สิงหาคม 2561 12.3 ประกาศผลการตัดสิน วันพฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม 2561 12.4 การแสดงนิทรรศการ จะจัดแสดงนิทรรศการระหว่างเดือนธันวาคม 2561 ถึงเดือนมกราคม 2562 ณ ชั้น 1 ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม 12.5 การรับคืนผลงาน สามารถติดต่อกับเจ้าหน้าที่หอศิลป์สนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม หรือติดต่อที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-3427-3301 หรือ 09-5174-9159 ระหว่างเวลา 10.00 น. – 16.00 น. ดังนี้ - ผลงานที่ ไม่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินให้น�ำออกแสดงในนิทรรศการ ดังกล่าว สามารถรับผลงานคืนได้ ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 20 – วันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม 2561 - ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าแสดงในนิทรรศการดังข้อ 12.4 คณะท�ำงานฯจะแจ้งให้ทราบทันทีที่การแสดงนิทรรศการแล้วเสร็จตาม หมายเลขโทรศัพท์ที่ ได้ให้ไว้ในใบสมัคร และศิลปินสามารถมารับผลงานคืนได้ในเวลาราชการหลังจากวันที่ได้แจ้งให้ทราบ ภายใน 5 วัน ท�ำการ - หากไม่สามารถมารับผลงานด้วยตนเองสามารถมอบฉันทะให้บุคคลอื่นมารับแทนได้ โดยส�ำเนาบัตรของเจ้าของผลงานรับรองส�ำเนา ถูกต้องและระบุว่ามอบหมายให้บุคคลใดมารับแทน พร้อมกับส�ำเนาบัตรของบุคคลที่มารับผลงานแทน - ศิลปินที่ประสงค์จะรับผลงานคืน แต่ไม่สามารถมารับคืนได้ตามวันและเวลาที่ก�ำหนด ขอให้แจ้งเจ้าหน้าที่ฝ่ายนิทรรศการศิลปะเพื่อ นัดหมายวันและเวลาที่จะมารับล่วงหน้า การส่งและการรับคืนผลงานให้ด�ำเนินการในวันและเวลาที่ก�ำหนดในข้อ 12 หากผลงานศิลปกรรมชิ้นใด ศิลปินผู้เป็นเจ้าของผลงานไม่มารับคืนภายใน วันและเวลาที่ก�ำหนดไว้ ให้ถือว่าศิลปินเจ้าของผลงานชิ้นนั้นยินยอมให้มหาวิทยาลัยศิลปากรมีกรรมสิทธิ์ ในผลงานดังกล่าวโดยปริยาย มหาวิทยาลัย ศิลปากรมีสิทธิ์ด�ำเนินการตามที่เห็นสมควร โดยอาจน�ำผลงานศิลปกรรมทั้งหมดหรือบางส่วนไปหารายได้เพื่อประโยชน์ของหน่วยงานหรืออาจน�ำผล งานไปมอบให้สถาบันการศึกษาส่วนราชการหรือองค์กรต่างๆตามสมควร
ประกาศ ณ วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2561
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วันชัย สุทธะนันท์) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
Silpakorn University is holding the 19th National Ceramics Exhibition with these following details. 1. Types of Works 1.1 Contemporary Ceramic Art: ceramics that express artistic aesthetics using ceramic techniques, process and public presentation. 1.2 Ceramic Handicraft: works that are unique in creativity and design, also can clearly express skills, competency, delicacy, beauty, and value in craft, or based on thoughts and techniques that are inspired by traditional craftsmanship, and have function or being decorative crafts by using all ceramics techniques and process. 1.3 Ceramic Industrial Prototype: works created must be completely produced and able to go through industrial production. Works must not submit to any competitions or produced for sale. They must express beauty, creativity, with suitable forms, and must follow the concept of “Modern Lifestyle”. Remarks : All works submitted for this competition must be complete ceramic production with no more than 2 years. Color using in the works must be ceramics colorants only. 2. Submission of Works 2.1 Each artist may submit no more than 2 sets of work per each category, in which each set must not exceed 4 sq.m. Each submitted works must attached photographs or sketch of installation guideline. 2.2 Works in category 1.1, 1.2, 1.3 submitted via post must be packed securely in wooden box or protective cardboard pack age to prevent damages. Silpakorn University will not take any responsibilities on damage of works that are caused from accidents or unpredictable circumstances. Application : - Fill in the application with full name, contact details, and other information in Thai and English. - Artist must attach identification copy with certified signature. - 3D works or works that need to be installed; artists must attach sketch or guideline of installation together with the application form. In some cases, artist needs to install works by himself only. - All artists must inform the Art Centre’s officers prior to any installation of work and must install works at provided space only. 3. Eligibility 3.1 Thai citizens, who are not the jurors of the competition, can submit works that must not have been participated in any previous art competitions or exhibitions, except thesis exhibition, which is part of educational requirements. 3.2 Silpakorn University does not accept any works that violate the intellectual property. If any cases found, artist must be charged with guilt and Silpakorn University do not take any parts of such act. 4. Jurors Silpakorn University invited honorable jurors from various fields for this 19th National Ceramics Exhibition. Contemporary Ceramic Art Professor Emeritus Sermsak Narkbua Professor Vichoke Mukdamanee Professor Yanawit Kunchaethong Assistant Professor Venich Suwanmoli Assistant Professor Sayumporn Kasornsuwan Mrs.Surojana Sethabutra Sanithwong Na Ayutthaya Mr. Wasinburee Supanichvoraparch Director, Art Centre Silpakorn University Secretary, Art Centre Silpakorn University
Juror Juror Juror Juror Juror Juror Juror Secretary Assistant Secretary
Ceramic Handicraft Professor Emeritus Sermsak Narkbua Associate Professor Poradee Panthupakorn Assistant Professor Sukumarl Leksawat Assistant Professor Sathorn Cholchatpinyo Assistant Professor Suppaka Palprame Assistant Professor Suebpong Powthai Mr. Somluk Pantiboon Director, Art Centre Silpakorn University Secretary, Art Centre Silpakorn University
Juror Juror Juror Juror Juror Juror Juror Secretary Assistant Secretary
Ceramic Industrial Prototype Associate Professor Sakesan Tanyapirom Assistant Professor Venich Suwanmoli Assistant Professor Pim Sudhikam Assistant Professor Phipat Chitarirak Dr. Somnuk Sirisoonthorn Mr. Apisit Laisatruklai Mr. Panasin Dhanabadesakul Director, Art Centre Silpakorn University Secretary, Art Centre Silpakorn University
Juror Juror Juror Juror Juror Juror Juror Secretary Assistant Secretary
5. Works for Exhibitions 5.1 H.R.H. Maha Chakri Sirindhorn hand-painted work 5.2 Award-winning and selected entries of works 5.3 Works from guest artists 6. Awards First Prize : one award for each category, receiving trophy award and 100,000 Baht Second Prize : three awards for each category, receiving trophy award and 50,000 Baht 7. Selection Awards for each category may be more or less than what indicated according to the jurors. 8. Withdrawing of the Awards In case of any award-winning works are claimed to violate the intellectual property, a group of committee will consider all evidences and have right to withdraw the award and announce publicly if that piece finally found guilty. 9. Honorable Artist of Ceramics Artist, who has won the first prize of same category for 3 times, or first and second prize of same category for 2 times each, will be honored as Honorable Artist of Ceramics. That person cannot submit works for competition again but will be invited as guest artist instead. 10. Property Rights Works won the awards in category 1.1, 1.2, 1.3 will be property of Silpakorn University, who can promote works in any ways at all.
11. Period of Time 11.1 Submission : 30 July – 5 August 2018 at the Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakornpathom 11.2 Selection : 11 and 12 August 2018 11.3 Announcement : 30 August 2018 12. Exhibition 12.1 December 2018 - January 2019 at the Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakornpathom 13. Collection of Works Works not selected: 20 – 26 August 2018 at Sanamchandra Art Gallery, Silpakorn University, Sanamchandra Campus in Nakornpathom province. Works selected: The working committees will inform the selected artists in advance to collect the artworks at Sanamchandra Art Gallery, Silpakorn University, Sanamchandra Campus in Nakornpathom province. All returned works must be collected within indicated period, unless informing the Art Centre in advance. Collection of works later than period indicated is subject to the property rights of Silpakorn University.
Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn’s Ceramic Works at the National Ceramics Exhibition สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กับผลงานเครื่องปั้นดินเผาฝีพระหัตถ์ในการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ
[1]
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กับผลงานเครื่องปั้นดินเผาฝีพระหัตถ์ ในการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงวาดภาพฝีพระหัตถ์บนเครื่องปั้นดินเผาที่ คณาจารย์จากภาควิชาเครื่องปั้นดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ ได้จัดเตรียมด้วยเทคนิคต่างๆ เมื่อเสด็จมาเป็น ประธานในพิธีเปิดนิทรรศการ นับตั้งแต่การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผา ครั้งที่ 1 ในปีพ.ศ.2525 จนได้ มีการยกระดับการประกวดเป็นการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งจัด การแสดงทุกสองปี โดยในปัจจุบันนี้ถือเป็นครั้งที่ 19 แล้ว และผลงานฝีพระหัตถ์ที่ทรงสร้างสรรค์เสร็จ ในแต่ละปี มหาวิทยาลัยศิลปากรจะน�ำไปเผาเคลือบจนเสร็จสมบูรณ์ และพระองค์ได้พระราชทานให้น�ำ มาจัดแสดงในปีถัดมาของการแสดงเสมอมา ในปีพ.ศ.2529 ได้มีการยกระดับการประกวดเป็นการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงเสด็จเป็นประธานในพิธีเปิดในการแสดงศิลปะเครื่องปั้น ดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 4 ในปีพ.ศ.2533 ได้ทรงงานด้วยฝีแปรงจากพู่กัน เป็นภาพต้นไผ่และโครงกระดูก ลงบนชามดินเผาดิบ เทคนิคสี ใต้เคลือบ (Under glaze) และยังมีแจกันจ�ำนวน 8 ชิ้นที่ศาสตราจารย์ เกียรติคุณคุณหญิง ไขศรี ศรีอรุณ ซึ่งขณะนั้นด�ำรงต�ำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ถวาย ให้ทรงทดลองสร้างสรรค์การเคลือบแบบต่างๆ ในการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 7 ได้ทรงวาดภาพหุ่นยนต์และปาดป้ายสีแดงด้วยแปรง น�ำมาต่อกันจ�ำนวน 3 แผ่น ต่อมาในการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผา ครั้งที่ 8 ทรงใช้ชามที่เผาเคลือบแล้ว ระบายสีบนเคลือบ (Over glaze) เป็นแถบสีฟ้าคราม เขียว เหลือง ส้ม แดง และด�ำ ทรงใช้แปรงป้ายเป็นภาพที่มีลักษณะ เป็นนามธรรมที่แสดงการประสานกันของเส้นและสีอย่างลงตัว จากนั้นในการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 9 ได้ทรงสร้างสรรค์งานด้วยเทคนิคการ เขียนสี ใต้เคลือบ โดยอาจารย์ศุภกา ปาลเปรม ได้เตรียมอุปกรณ์ส�ำหรับตกแต่ง จ�ำนวน 12 สี และ มีพู่กันกลม พู่กันแบน และแปรงหลายขนาด ลงบนดินเผาที่มีรูปทรงเป็นหนังสือกางออก ทรงระบายสี เป็นรูปแจกัน 2 ใบด้านซ้ายของหน้าหนังสือ และวาดกิ่งก้านช่อดอกไม้แตกโน้มไปที่ส่วนด้านล่างของ หน้าหนังสือด้านขวา เมื่อพระองค์ทรงวาดดอกไม้เสร็จทรงจุ่มสีเขียวระบายส่วนที่เป็นพื้นหญ้าเป็นอัน เสร็จสิน้ สมบูรณ์จากนัน้ ทรงลงพระนาม สิรนิ ธร ในช่วงเวลาดังกล่าวนี้ นายสุชาญ พงษ์เหนือ ผูว้ า่ ราชการ จังหวัดนครปฐม ซึ่งมาเฝ้ารับเสด็จ ได้กราบทูลว่าเหล่าบรรดาคณาจารย์ ข้าราชการและพสกนิกรที่มา รับเสด็จในการทรงงานศิลปกรรมครั้งนี้ อยากจะขอให้พระองค์ทรงเมตตาเล่าแนวความคิดเกี่ยวกับ ผลงานฝีพระหัตถ์ชิ้นนี้เพื่อเป็นแนวในการชื่นชมพระบารมี พระองค์ทรงพระสรวลและรับสั่งว่า “วาด ขวดออกลูก” การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 10 ได้ทรงสร้างสรรค์ผลงานด้วยเทคนิค Sgraffito เป็นการตกแต่งผิวภาชนะให้เกิดสี ทรงใช้วิธีการทาน�้ำดินลงบนแผ่นดินที่เตรียมไว้เมื่อน�้ำดินมีความหมาด พอเหมาะจึงทรงใช้เครือ่ งมือขูดแต่งเป็นรูปร่างและรูปร่างทีเ่ กิดขึน้ เป็นรูปสุนขั อยู่ในท่ายืนหันข้าง ภายหลัง จากเสร็จสิ้นจากการทรงงานเครื่องปั้นดินเผาครั้งนี้แล้ว ทรงใช้ชื่อผลงานว่า “เจ้าลิงกัง” ต่อมาในการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 11 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงวาดระบายสี ใต้เคลือบลงบนภาชนะรูปชาม ทรงวาด เป็นรูปอีกาสีแดงอยู่เหนือสนามหญ้าสีเขียว ในส่วนที่เป็นพื้นหลัง มีต้นก้ามปูอยู่หลายต้น และทรงตั้งชื่อ ผลงานชิ้นนี้ว่า “อีกาสีแดงบนสนามหญ้าสีเขียว” จนมาถึงการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผา ครั้งที่ 12 ได้ทรงสร้างสรรค์ผลงานชุด คือ “มือหงิก” ทั้งหมด 3 ชิ้นด้วยกัน ชิ้นที่ 1 ทรงวาดด้วยสีเคลือบสีด�ำเป็นรูปมือ 3 มือ ในชิ้นต่อมาทรงวาดมือ 3 มือด้วย
[2]
สีขาว จากนั้นใช้สีเหลืองระบายประกอบ ส�ำหรับในชิ้นที่ 3 ทรงใช้สีเทาวาดภาพมือตรงกลาง แล้วใช้สี ฟ้าวาดมืออีก 2 มือในด้านซ้ายและขวาของชาม จากนั้นคณะมัณฑนศิลป์จึงได้น�ำไปเผาเคลือบรากุต่อไป เมื่อครั้งเสด็จพระราชด�ำเนินเป็นประธานในพิธีเปิดการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 13 ได้ทรงสร้างสรรค์ผลงานฝีพระหัตถ์ดว้ ยวิธกี ดประทับลาย ซึง่ แม่พมิ พ์มสี องลักษณะ คือเป็นแม่พมิ พ์ดนิ เผา ลวดลายเดี่ยว ใช้วิธีการกดลงบนดินที่ยังนิ่ม อีกลักษณะหนึ่งเป็นแบบลูกกลิ้งที่มีลวดลายรอบๆ ซึ่งเมื่อ กลิ้งลงบนดินนิ่มๆ ก็จะเกิดลวดลายซ�ำ้ ๆ ตามแต่ที่ลูกกลิ้งจะกลิ้งไปส่วนลวดลายจะชัด ลึก หรือ ไม่ชัดนั้น ขึน้ อยูก่ บั แรงกดทีก่ ดลงบนดินนัน้ ๆ พระองค์ได้ทรงกดแม่พมิ พ์ดนิ เผาลายช้าง และเครือเถาดอกไม้ ผลงาน ทั้งหมด 3 ชิ้น ได้ทรงตั้งชื่อว่า “กดแปะ” การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 14 พระองค์ได้ทรงสร้างสรรค์ผลงาน 2 ชิ้นด้วยเทคนิค Sgrafitto ในชิ้นแรกได้ทรงใช้ดินสอด�ำขูดขีดลงบนแผ่นดินเผารูปวงกลมขณะที่ดินก�ำลังหมาด เป็นรูป วัวยืนท่ามกลางทุ่งดอกไม้ มีนกและผีเสื้อบนท้องฟ้า ทรงตั้งชื่อผลงานว่า “นมวัวไทย ปลอดภัย ไม่มี เมลามีน” ส�ำหรับในชิ้นที่ 2 ทรงใช้วิธีเดียวกัน วาดเป็นภาพสุนัข 2 ตัวยืนริมน�้ำ มีต้นไม้ทางขวามือ มีแมวตกลงไปในน�้ำและมีแมวเทวดาบนท้องฟ้า พร้อมทั้งพระอาทิตย์และก้อนเมฆ ทรงตรัสภายหลัง จากทรงงานว่า หมาไล่แมวตกลงไปในน�ำ้ แมวตายก็เลยขึน้ สวรรค์ไป เป็นทีม่ าของชือ่ ผลงาน “แมวไปสวรรค์” ต่อมาในการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 15 พระองค์ได้ทรงสร้างสรรค์ผลงานด้วย เทคนิคการกั้น ซึ่งเป็นการตกแต่งชิ้นงานเครื่องเคลือบให้เกิดลวดลายระหว่างสีของเนื้อดินกับน�้ำดินสี หรือสีของน�้ำเคลือบ หลังจากทรงทอดพระเนตรตัวอย่างผลงานที่ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผาได้จัด เตรียมไว้ และทรงมีพระราชด�ำรัสถามถึงเทคนิควิธีการท�ำ ทรงใช้สีเทียนเขียนลวดลายลงบนชิ้นงาน โดยทรงน�ำเรื่องราวที่ทรงพบเห็นมาถ่ายทอดลงบนชิ้นงานด้วยพระปรีชาสามารถอย่างรวดเร็ว จ�ำนวน หนึ่งชิ้น และทรงพระราชทานชื่อของผลงานโดยทรงมีพระราชด�ำรัสถึงผลงานที่ทรงว่า “ไปเที่ยวทะเล” ประกอบกับที่ทรงใช้สีเทียนเขียนเป็นลายเส้นรูปสัตว์ทะเลชนิดต่างๆ ได้แก่ กุ้ง หอย ปู ปลา และปลาหมึก นอกจากนี้ยังมีรูปเรือใบ และต้นมะพร้าว ผลงานที่ผ่านการเผาเคลือบสมบูรณ์แล้ว ปรากฏเป็นลวดลาย สีฟ้าตัดกับสีส้มได้อย่างงดงาม จนกระทั่งการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 16 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารีทรงสร้างสรรค์ผลงาน “งูกินเค้ก” ด้วยเทคนิคเขียนสี ใต้เคลือบ Blue and White Porcelain โดยใช้น�้ำเคลือบสีฟ้าและน�้ำเงินเขียนลงบนชาม เป็นภาพงู 3 ตัวปรากฏโดยรอบที่ก�ำลังรุมกินเค้กตรง กลางชาม
เรียบเรียงโดย : เมธาวี กิตติอาภรณ์พล ที่มา: - สูจิบัตรการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผา แห่งชาติ โดย มหาวิทยาลัยศิลปากร - สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กับมหาวิทยาศิลปากร (หนังสือเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๘)
ส�ำหรับการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปีพ.ศ.2561 นี้ มหาวิทยาลัยศิลปากร รู้สึกซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชด�ำเนินเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดนิทรรศการ และทรงวาดภาพ ฝีพระหัตถ์บนเครื่องปั้นดินเผาที่คณาจารย์จากภาควิชาเครื่องปั้นดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ได้จัดเตรียม ไว้ โดยในครั้งนี้จะเป็นการเขียนสีบนเคลือบ (Over-glaze Painting Technique)[*] ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้ ในการตกแต่งชิ้นงานเครื่องเคลือบดินเผาที่ผ่านการเผาเคลือบมาแล้ว เป็นที่ประจักษ์ชัดว่า ผลงานศิลปกรรมฝีพระหัตถ์ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา ที่ทรงสร้างสรรค์ไว้นั้นแสดง ถึงพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในการถ่ายทอดอารมณ์และความคิดออกมาเป็นภาพศิลปะได้ ฉับพลัน พระองค์ทรงมีความสนพระทัยในงานศิลปะเครื่องปั้นดินเผาเป็นอย่างมาก ระหว่างเสด็จทอด พระเนตรผลงานที่ ได้จัดแสดงไว้ในแต่ละครั้ง จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ปฏิสันถารกับศิลปิน เครื่องปั้นดินเผาอย่างเป็นกันเอง ทรงสอบถามเทคนิค วิธีการ และความคิดในการแสดงออกในงาน ศิลปะ อันน�ำมาซึ่งความปลาบปลื้มเป็นล้นพ้นแก่ศิลปินและช่างปั้นดินเผาไทย
Her Royal Highness Princess
Maha Chakri Sirindhorn’s Ceramic Works at the National Ceramics Exhibition Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn has painted ceramic works that the faculty members of the Ceramics Department, Faculty of Decorative Arts have prepared with various techniques when HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn graciously presided over the opening ceremony of the exhibition since the 1st Ceramics Exhibition in 1982 and it was held continuously that the contest was promoted as the ‘National Ceramics Exhibition’ until today. The National Ceramics Exhibition is held every two years, and it is presently the 19th exhibition. HRH’s creative ceramic works of each year had been in gloss firing process completely by the Silpakorn University and with the benevolence of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn, they have been exhibited on the next year. In 1986, the contest was promoted as the ‘National Ceramics Exhibition’, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn graciously presided over the opening ceremony of the 4th the National Ceramics Exhibition in 1990. HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn has produced the painting of ceramic works by using the painting brush to sketch the bamboo trees and skeleton on a terracotta bowl with the under glaze technique as well as eight vases dedicated by Professor Emeritus Khunying Khaisri Sri-Aroon, the President of Silpakorn University at that time, for the Princess to try the various types of ceramic glazes. In the 7th National Ceramics Exhibition, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn drew a robot and brushed in red color, and three sheets were then put in order. Later in the 8th National Ceramics Exhibition, the glazed bowl with over glaze in blue, green, yellow, orange, red and black stripes. The abstract form is employed to represent a harmony of lines and colors perfectly. In the 9th National Ceramics Exhibition, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn produced creative ceramic works using the under glaze technique. Assistant Professor Suppaka Palprame prepared 12-color decorations, both round and flat brushes, and brushes in different sizes on the pottery in shape of the unfold book. HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn painted two vases on the left side of the book and drew a bouquet of flowers inclined to the bottom right of the book. Once the flower was painted completely, she dipped a brush in green to paint the grass area to finish it and affix the signature ‘Sirindhorn’. During this time, Mr. Suachan Pongnua, Governor of Nakhon Pathom Province, who welcomed HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn had a speech to the faculty members and personnel, civil servants and public who welcomed HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn at the event, asked HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn to graciously reflected a concept of the respective works as guideline of appreciation, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn laughed, saying “draw a bottle at foaling”. In the 10th National Ceramics Exhibition, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn produced creative ceramic works using the sgraffito technique to decorate and make a pottery colorful. Methodologically, pour over the prepared clay with slip when the clay is bisque, then decorate by using the clay scraper to shaping of a dog in a side-standing position. Once completed, it was named “The Macaque”. Later, in the 11th National Ceramics Exhibition held at the Art Centre, Silpakorn University, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn graciously painted with the under glaze technique on a bowl, a painting of red crow above the green lawn, and many rain trees on the background, it was named “The Red Crow on a Green Lawn”.
[3]
[4]
[5]
[6]
Until the 12th National Ceramics Exhibition, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn produced 3 pieces ceramic works entitled “Crooked Hands”. Firstly, 3 hands painted in black enamel, secondly; 3 hands painted in white enamel, followed by yellow painting, and lastly, in the middle of hand-painted in gray color, and blue on two hands on the left and the right side of the painting bowl. Afterward, they had been further in Raku process by the Faculty of Decorative Arts. On the presiding over the opening ceremony of the 13th National Ceramics Exhibition, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn created works with impressing technique which there are two types of press molds; single pattern that mold presses on soft clay, and roller pattern which rolling is made on soft clay to repeat and repeat again the patterns on a position it is rolled out; the how precise the pattern depends on the extent to which the press exerts on the clay. HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn pressed the pottery mold in elephant and flower figures, a total of three works named “Impressing Decoration”. In the 14th National Ceramics Exhibition, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn created two pieces of works with the sgraffito technique. Firstly; a black pencil is used to carve the surface of a round pottery while it is damp to shape a cow standing amidst of flower pasture, and the birds and butterflies in the sky and named the work “Safe and Melamine-Free Thai Cow Milk”. Secondly, produced using the same technique; draw two dogs standing on the waterfront, trees on the right, and a cat falling into the water, and another cat is in the heaven, and sun and clouds. HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn then said “A dog chases a cat fallen into the water, the dead cat is heavenward, it is the origin of the name “Cat to Heaven”. Later, in the 15th National Ceramics Exhibition, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn produced ceramic works using the wax resist glaze decoration technique to form the pattern between the colors of the clay and slip or glaze colors. After observing sample works prepared by the Ceramics Department, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn had a question about technique and how to make, crayons are used to draw patterns on the work narrating the experienced story on a piece of work skillfully and named it “Go to the Sea”. In addition, the crayons are used to draw various kinds of sea animals such as shrimp, shells, crabs, fish and cuttlefish, as well as sailboats, and coconut trees. The complete ceramic work appears in blue and orange colors gorgeously. Until the 16th National Ceramics Exhibition, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn produced artwork entitled the “Snake Eats Cake”, using the under glaze technique on blue and white porcelain, blue and turquoise glaze colors are employed to paint three snakes eating cake in the middle of the porcelain bowl. For this year, the 19th National Ceramics Exhibition in 2018, Silpakorn University has been of great blessing under the grace of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn graciously presiding over the opening ceremony of the exhibition, and graciously brushed painting on the pottery prepared by the Ceramics Department, Faculty of Decorative Arts, using the over glaze technique. Obviously, the creative ceramic works of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn has reflected her genius and the ability in conveying the feeling and ideas on the artistic works gorgeously. HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn is so interested in the ceramic arts during her visit to the exhibition every time, graciously and friendly interacted with ceramics artists including asking about techniques, methods, and concepts in the artistic expressions, bringing forth enormous joy to Thai ceramic artists and sculptors.
Text by : Methawee Kittiapornphol Translated by : Sirarak Aphonsiriroj Sources: - Exhibition catalogue, The National Ceramics Exhibition by Silpakorn University - Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn and Silpakorn University (Book for Commemorating the 5th Birthday Anniversary of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn, 2 April 2015)
[1]
[4]
การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 14 8 ธันวาคม พ.ศ.2551 ณ หอศิลป์สนามจันทร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ผลงานฝีพระหัตถ์ “แมวไปสวรรค์ ภาพประวัติศาสตร์ หมาไล่แมวตกน�้ำ แมวตายก็เลยขึ้น สวรรค์ไป” เทคนิค Sgraffito ชนิดดิน ดินด่านเกวียน อุณหภูมิ 1,180 C ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 36 ซม.
การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 8 12 ธันวาคม พ.ศ.2539 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ผลงานฝีพระหัตถ์ “ชาม” เทคนิค สีบนเคลือบ ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 43 ซม. และสูง 16 ซม.
The 14th National Ceramics Exhibition 8 December 2008 at Sanamchandra Gallery, Silpakorn University, Sanamchandra Campus Title “Cat to Heaven; A dog chases a cat fallen into the water, the dead cat is heavenward” Technique Sgraffito Materials Local clay (Dan Kwean clay) Temperature 1,180 C Size Diameter 36 cm [2]
การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 7 2 สิงหาคม พ.ศ.2537 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ผลงานฝีพระหัตถ์ “ไม่มีชื่อ” เทคนิค สีใต้เคลือบ ขนาด 18 x 86.5 ซม. The 7th National Ceramics Exhibition 2 August 1994 at the Art Centre, Silpakorn University Title “Untitled” Technique Under glaze Size 18 x 86.5 cm [3]
การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 12 8 ธันวาคม พ.ศ.2547 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ผลงานฝีพระหัตถ์ “มือหงิก 2” เทคนิค รากุ อุณหภูมิ เผาดิบ 900 C และเผาเคลือบ 900 C ขนาด 30 x 35 x 7 ซม. The 12th National Ceramics Exhibition 8 December 2004 at the Art Centre, Silpakorn University Title “Crooked Hands 2” Technique Raku Temperature Biscuit firing 900 C and gloss firing 900 C Size 30 x 35 x 7 cm
The 8th National Ceramics Exhibition 12 December 1996 at the Art Centre, Silpakorn University Title “Bowl” Technique Over glaze Size Diameter 43 cm and height 16 cm [5]
การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 10 15 ธันวาคม พ.ศ.2543 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ผลงานฝีพระหัตถ์ “เจ้าลิงกัง” เทคนิค Sgraffito, ชนิดดิน ดินสโตนแวร์ ดินเหลือง และดินคอมพาวด์ อุณหภูมิ 1,200 C ขนาด 24 x 29 x 1 ซม. The 10th National Ceramics Exhibition 15 December 2000 at the Art Centre, Silpakorn University Title “The Macaque” Technique Sgraffito Materials Stoneware clay, yellow clay and compound clay Temperature 1,200 C Size 24 x 29 x 1 cm [6]
การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 15 1 ธันวาคม พ.ศ.2553 ณ หอศิลป์สนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ผลงานฝีพระหัตถ์ “ไปเที่ยวทะเล” เทคนิค การกั้นเคลือบ ชนิดดิน ดินสโตนแวร์ อุณหภูมิ 1,250 C ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 11.5 ซม. สูง 17.5 ซม. The 15th National Ceramics Exhibition 1 December 2010 at Sanamchandra Gallery, Silpakorn University, Sanamchandra Campus Title “Go to the Sea” Technique Wax resist glaze Materials Stoneware clay Temperature 1,250 C Size Diameter 11.5 cm and height 17.5 cm
ver-glaze Painting Technique [*] การเขียนสีบนเคลือบ การเขียนสีบนเคลือบ เป็นเทคนิคที่ ใช้ในการตกแต่งชิ้นงาน เครื่องเคลือบดินเผาที่ผ่านการเผาเคลือบมาแล้ว ส่วนใหญ่ เคลือบที่ ใช้เคลือบผลิตภัณฑ์จะเป็นเคลือบสีขาว เรียกชนิด ผลิตภัณฑ์นี้ว่า White ware ได้แก่ภาชนะส�ำหรับใช้สอย หรือของประดับตกแต่ง เป็นต้น โดยใช้สีบนเคลือบในงาน เครื่องเคลือบดินเผาในการเขียนสีและลวดลาย
Over glaze technique is a method of decorating pottery, mostly applied with white color on the top of the already fired and glazed surface, this type of product is called white ware, including utensils and decorations, etc., using the ceramic glaze colors to draw and paint.
สีบนเคลือบ (Over glaze colors) เป็นสีที่เตรียมขึ้นโดย เฉพาะส�ำหรับงานเครื่องเคลือบดินเผา มีจุดสุกตัวที่ระดับ อุณหภูมิ 700-800 องศาเซลเซียส เป็นสีสังเคราะห์ที่ผลิต ได้จากกระบวนการทางเครื่องปั้นดินเผา ประกอบไปด้วย ออกไซด์ต่างๆ น�ำมาผสมกันแล้วเผาจนเกิดปฏิกิริยากลาย เป็นสีบนเคลือบ น�ำมาบดให้ละเอียดเป็นผง เมื่อจะใช้งาน จึงน�ำ ผงสีมาบดผสมกับน�้ำ มั น (Medium) ที่ ช ่ ว ยให้ เ กิ ด ความลื่นในการเขียน และใช้กาวที่ ได้จากธรรมชาติผสม เช่ น ยางกระถิ น หรื อ ยางมะขวิ ด เพื่ อ ช่ ว ยให้ สี ยึ ด ติ ด กั บ ผลิตภัณฑ์ ในปัจจุบันมีสีบนเคลือบชนิดพร้อมใช้มีคุณภาพดี สามารถน�ำมาใช้งานได้เลยโดยมิต้องน�ำมาผสมกับวัตถุดิบ อื่น เมื่อเขียนตกแต่งสีบนเคลือบเรียบร้อยแล้ว ต้องน�ำชิ้น งานไปเผาหรือ อบสีที่อุณหภู มิ 800 องศาเซลเซี ย ส สี จึ ง หลอมติดกับผิวของภาชนะ โดยมีอุปกรณ์ที่ ใช้ส�ำหรับเขียน สีบนเคลือบ ได้แก่ ภาชนะบรรจุสี หรือโกร่งบด ภาชนะ บรรจุน�้ำล้างพู่กัน ปากกาเคมีส�ำหรับร่างลาย แป้นหมุนมือ พู่กันขนาดต่างๆ และผ้าส�ำหรับท�ำความสะอาดชิ้นงาน
Over glaze colors are specially prepared for porcelain. The maximum firing temperature is 700-800 degrees Celsius. The synthetic ceramic glaze colors comprise the combined oxides, fired until it produces the transformative reaction becoming glaze colors. Afterwards crush into powder, when used, the crushed powder glazes are mixed with oil (medium) that helps smooth drawing. The combination of natural solution such as acacia or wood apple gum is applied as adhesive solution. At present, there is quality over glaze colors available on the market that can be applied immediately with no additional mixtures. When ceramic glaze decoration is complete, the artwork is fired at the temperature of 800 degrees Celsius or glazed to ensure the firm adhesion on the surface. The equipment for over glaze colors includes paint container, crusher, paintbrush cleaning container, chemical pen for dissolving on a pattern, wheel, painting brush in different sizes, and cloth for cleaning works.
ขั้นตอนการเขียนสีบนเคลือบ 1. ใช้ผ้าท�ำความสะอาดชิ้นงานก่อนลงมือเขียนลาย 2. ใช้ปากกาเคมีร่างลวดลายลงบนชิ้นงาน 3. ใช้พู่กันลงสีตามลวดลายที่ต้องการ และไม่สัมผัสส่วนที่ ลงสีไว้แล้วเพราะอาจท�ำให้สีหลุดลอกได้ 4. น�ำชิ้นงานเข้าเตา เผาที่ระดับอุณหภูมิ 750-800 องศา เซลเซียส บรรยากาศออกซิเดชัน เพื่อให้สีหลอมตัวติด บนผลิตภัณฑ์
Over glaze process 1. Clean the artwork with the cloth before drawing pattern 2. Use a chemical pen to draw the pattern on the artwork 3. Use the brush to paint the desired pattern, avoid exposure of the colored painting because it can cause peeling. 4. Put the piece into the kiln and fired at 750-800 degrees Celsius in the oxidation atmosphere to ensure color adhesion.
ข้อมูลโดย: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุภกา ปาลเปรม และผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรรณณา ธิธรรมมา
Sources : Assistant Professor Suppaka Palprame and Assistant Professor Wanna Thithumma
บทความพิเศษ สมลักษณ์ ปันติบุญ: ชีวิตที่เป็นหนึ่งเดียวกับดินและความว่างเปล่า
ศิลปินรับเชิญ Guest Artist
Living in harmony with Clay and Emptiness
บทความพิเศษ
สมลักษณ์ ปันติบุญ: ชีวิตที่เป็นหนึ่งเดียวกับดินและความว่างเปล่า สมลักษณ์ ปันติบุญ เกิดในปี พ.ศ. 2500 ที่อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ชีวิตในวัยเด็กมีความ ผูกพันและใกล้ชิดกับธรรมชาติมาโดยตลอด ทั้งภูเขาและสายน�้ำที่โอบล้อมบ้านเกิด เมื่อเติบโตขึ้น ไม่ว่าจะย้ายไปที่ ใดก็จะมีภูเขาเป็นทัศนียภาพรอบตัว ขณะนั้นสมลักษณ์ไม่รู้เลยว่าธรรมชาติรอบกาย เหล่านั้น จะมีความหมายต่ออนาคตของเขาเพียงใด รู้เพียงว่าตราบใดที่ยังมองไปแล้วเห็นความเขียวขจี ก็จะเห็นภาพสะท้อนของชีวิตที่ท�ำให้รู้สึกสงบเยือกเย็น สมลักษณ์ จบการศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีเซรามิค จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเรียนก็ได้ทำ� งานในโรงงานเซรามิคควบคูก่ นั ไปด้วย เมือ่ เรียนจบ ก็ได้ท�ำงานเป็นอาสาสมัครร่วมกับกลุ่มองค์การสหประชาชาติและองค์กรระหว่างประเทศ สอนศิลปะ และการท�ำเครือ่ งปัน้ ดินเผาในค่ายผูอ้ พยพกว่า 6 ปี กระทัง่ วันหนึง่ เห็นว่าตนเองยังไม่แตกฉานในความรู้ จ�ำเป็นต้องไปศึกษาต่อ ในปี พ.ศ. 2530 จึงเดินทางไปศึกษาเพิ่มเติมด้านเซรามิคกับอาจารย์ศิลปิน เครื่องปั้นดินเผา ณ ประเทศญี่ปุ่น เมื่อไปเรียนที่ญี่ปุ่น ขั้นแรกอาจารย์ผู้สอนยังไม่ยอมให้ปั้นดิน ต้องไปล้างดิน ล้างขี้เถ้า นวดดินให้ อาจารย์อยู่หลายปี คนญี่ปุ่นจะมีค�ำพูดที่ว่า ต้องท�ำตนเองให้ผสมกลมกลืนกับดินก่อน หมายถึงให้ไป ศึกษาและฝึกฝนเรื่องดินอย่างจริงจังให้เข้าใจดินอย่างถ่องแท้ การท�ำงานเครื่องปั้นดินเผานั้นเป็นทั้ง แรงงาน เป็นวิทยาศาสตร์ และเป็นศิลปะ งานศิลปะและงานฝีมือในประเทศญี่ปุ่นจึงล้วนมาจากแหล่ง เรียนรู้เดียวกัน 30
Special article: Somluk Pantiboon
เมื่อกลับจากญี่ปุ่น สมลักษณ์ได้กลับมายังบ้านเกิด ณ จังหวัดเชียงราย ได้พบดินแดงคุณ ภาพดี เหมาะในการน�ำมาใช้งาน จากบริเวณบ้านป่าอ้อ ต�ำบลนางแล จึงริเริ่มก่อตั้ง “เครื่องปั้นดินเผา ดอยดินแดง” ขึ้นในปี พ.ศ. 2534 เป็นทั้งพื้นที่ ในการท�ำงานและถ่ายทอดองค์ความรู้ไปสู่วงกว้าง เมื่อได้มีอาชีพเป็นคนท�ำเครื่องปั้นดินเผา ท�ำให้สมลักษณ์ตระหนักได้ว่า ชีวิตและงานของเขาล้วน พึ่งพาอาศัยและผสานกลมกลืนกับธรรมชาติอย่างไม่อาจแยกจากกันได้ เขาสรรหาวัตถุดิบนานาชนิด จากธรรมชาติรอบตัวที่เอื้อเฟื้อให้ใช้ในการท�ำเครื่องปั้นดินเผา ทั้งดินและน�้ำยาเคลือบ ดินนั้นหาได้ จากภูเขาที่อยู่ในละแวกใกล้ๆ หรือกระทั่งดินจากนาข้าวและบริเวณที่ชาวนาขุดท�ำบ่อปลา เขาชอบดิน หลากหลายชนิด ดินมีแร่ธาตุที่ให้สีสันและเป็นธรรมชาติ น�้ำยาเคลือบหลักๆหลายชนิดที่ใช้ก็น�ำมาจาก เถ้าถ่านที่หาได้จากท้องถิ่น ทั้งจากเศษไม้ ฟางข้าว เปลือกข้าวหรือใบไม้ เขาเปรียบเทียบการท�ำ เครื่องปั้นดินเผาว่าคล้ายกับการท�ำอาหาร ต้องเข้าใจคุณลักษณะหรือคุณสมบัติของส่วนผสมทั้งหมด ก่อนลงมือท�ำ ทุกวัตถุดิบล้วนมีความสวยงามในตัวเอง วัตถุดิบรอบตัวสามารถน�ำมาสร้างเป็นผลงานได้ และการเรียนรู้ท่ีดีที่สุดก็คือการน�ำวัตถุดิบเหล่านั้นมาทดลองเผาจริง ผลงานเครื่องปั้นดินเผาของสมลักษณ์มีความว่างเปล่าเป็นเป้าหมาย ภาชนะอะไรก็ตามล้วนแต่มีความ ว่างเปล่าอันเป็นสิง่ จ�ำเป็นในการใช้สอย อีกทัง้ จิตวิญญาณของงานช่างฝีมอื นัน้ อยูท่ กี่ ารใช้สอย ถ้าท�ำแล้ว มีคนใช้สอย ก็มีการเคลื่อนไหว ความว่างจึงเป็นจุดมุ่งหมายของการท�ำภาชนะและอาชีพของเขา “ความว่าง” ของเขานัน้ มีหลายความหมายปะปนกันอยู่ในชีวติ ประจ�ำวัน ไม่วา่ จะเป็น เวลาว่าง ความว่าง ความว่างเปล่า ซึ่งเป็นทั้งรูปธรรม และนามธรรม ด้านหนึ่งอาจเต็มไปด้วยเรื่องราวจนไม่มีที่ว่าง แต่ อีกด้านหนึง่ กลับว่างเปล่า แต่กก็ ลับเต็ม เพราะเต็มไปด้วยความว่าง การท�ำงานของสมลักษณ์จงึ เกีย่ วกับ การเติมเต็มความว่างเปล่าอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะการปั้นภาชนะต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ถ้วย จาน ชามนั้น เป็นการสร้างความว่างให้เกิดขึ้นในผลงาน และความว่างเปล่าข้างในนั่นเองที่จะเกิดเป็น รูปทรงใหม่เสมอ
ในการออกแบบภาชนะใดๆนั้น ช่างปั้นจะต้องรู้ว่าการใช้สอยของสิ่งนั้นคืออะไร จึงสามารถออกแบบ ให้เหมาะสมได้ งานที่สมลักษณ์สร้างขึ้นจึงเป็นเอกลักษณ์ และมีความร่วมสมัยเป็นอรรถรส เขาเห็นว่า กระบวนการสร้างสรรค์นั้นจะเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ไม่ว่าจะอยู่ ในวัยใด เพราะการท�ำงานแต่ละชิ้น จะต้องคิดใหม่ เขาเปรียบการสร้างสรรค์ว่าคล้ายกับการเซ็นลายเซ็น สมัยหนุ่มอาจจะเซ็นแบบประณีต เพราะยังมีความกลัว แต่เมื่อเวลาผ่านไปก็จะไม่บรรจงเหมือนเดิมแล้ว แต่กลับจะได้อรรถรส แสดงให้ เห็นถึงช่วงเวลาของชีวิต การสร้างสรรค์นั้นจะเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ไม่มีอายุขัย ทุกคนล้วนต้องเริ่ม จากจุดเดียวกัน แม้จะอยู่ในวัยที่มากขึ้น แต่ถ้าต้องท�ำงานชิ้นใหม่ ก็ต้องคิดใหม่เหมือนกัน การท�ำเครื่องปั้นดินเผาของเขาไม่ใช่เพียงการท�ำงานศิลปะ แต่เป็นการท�ำงานที่สืบทอดต่อกันได้ และ รับใช้ผู้คนได้ด้วย การท�ำงานมีความสวยงามตรงที่ผู้คนน�ำผลงานไปใช้สอยได้จริง แสดงถึงประเพณี ทั้งยังได้ฝากองค์ความรู้ไปยังผู้คนหลายรุ่น วิธีเดียวที่จะสร้างงานโดยหวังว่าจะประสบความส�ำเร็จ ในที่สุดของสมลักษณ์ คือการท�ำงานหนัก พูดให้น้อย และมีสมาธิกับงาน จุดหมายสูงสุดของเขาคือ การท�ำงานให้ดี และสร้างอาชีพที่รักจากสิ่งที่เรียนมา กว่า 30 ปี ในฐานะช่างปั้น ตั้งแต่ได้เริ่มสัมผัสดิน เรียนรู้ขั้นตอนในการท�ำเครื่องปั้นดินเผา และก่อตั้ง พื้นที่ของตนเอง สมลักษณ์ ปันติบุญ ได้ท�ำงานอย่างต่อเนื่อง จริงจัง และสม�่ำเสมอ เมื่อได้สัมผัสและ คลุกคลีกับงานเครื่องปั้นดินเผามากเท่าใด ก็ยิ่งมีความผูกพัน มีความลึกซึ้ง และเห็นความท้าทายที่ รออยู่ เขาเห็นโอกาสที่จะท�ำให้การท�ำเครื่องปั้นดินเผาด�ำเนินต่อไปโดยไม่ต้องติดอยู่กับรูปแบบดั้งเดิม เท่านัน้ แต่สามารถเป็นศิลปะแขนงต่างๆ ซึง่ มีความสัมพันธ์กนั และสือ่ สารผ่านการท�ำเครือ่ งปัน้ ดินเผาได้ โอกาสที่จะพัฒนาการท�ำเครื่องปั้นดินเผานี้เอง จึงเป็นแรงผลักดันให้สมลักษณ์มุ่งมั่นสร้างสรรค์ ผลงานต่อไป
บทความโดย : ชลดา พันธุ์ภักดีดิสกุล ที่มา: - บทสัมภาษณ์ “อาจารย์สมลักษณ์ ปันติบุญ” เผยแพร่ในเว็ปไซต์ยูทูป ทางช่อง URBAN CREATURE เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2561 - สูจิบัตรนิทรรศการ UNITY WITH CLAY : A Contemporary Ceramic Exhibition โดย สมลักษณ์ ปันติบุญ จัดแสดงระหว่างวันที่ 23 พฤศจิกายน – 23 ธันวาคม 2546 ณ สุรพล แกลลอรี่ - สูจิบัตรนิทรรศการ “วาดความว่าง Painting Emptiness” โดย สมลักษณ์ ปันติบุญ จัดแสดงระหว่างวันที่ 5 – 28 มิถุนายน 2558 ณ ขัวศิลปะ จังหวัดเชียงราย 32
Special article: Somluk Pantiboon
[1]
Special article
Somluk Pantiboon: Living in Harmony with Clay and Emptiness Somluk Pantiboon was born in 1957 in Chiang Khong District, Chiang Rai province. His life at childhood had been closely involved with nature; mountains and water steam encircling the dwelling hometown. The places Somluk lived usually been encompassed with mountains and hills landscapes. At childhood, he did not know exactly what the natural environment and surroundings would be meaningful to his future, merely perceived that when looking at the greenery scene, the meaning of calm and peaceful life has been reflective. Somluk Pantiboon graduated Bachelor of Ceramics Technology, Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Lanna Chiangmai Province. During his undergraduate life, he studied and worked for a ceramic factory simultaneously. After graduation, he worked as a volunteer working together with the United Nations and international organizations, was responsible for teaching arts and ceramic making methods at the refugee camps for over 6 years. Until one day he was self-examined, seeing he had not been masterful of knowledge, he then decided to continue study in 1987 in ceramics program taught by the ceramic artist in Japan. While studying in Japan, he initially was assigned to sculptural works by the instructor, but washing clays and ashes and kneading as teacher’s assistant for many years. A Japanese word saying, “A person needs to be harmoniously acclimatized with clay first”, meaning that people should examine and practice about clay profoundly to understand the clay wholly. Pottery work is a combination of physical labor, science, and arts. The artworks and crafts in Japan all are originated from the same source.
When getting back from Japan, Somluk headed for his hometown of Chiang Rai where he discovered good quality red soil that is suitable for use. At the locality of the Ban Pa-or, Nang Lae District, his commencement was to establish “Doi Din Dang Pottery” in 1991 as the workshop and a place where knowledge has been widely disseminated. When becoming a potter, Somluk realized that his lives and works are interdependent and been in harmony with nature. He looked for various natural materials surrounding that promotes making pottery; for instances, clays and glaze materials. Clay derives from the nearby mountains, or even clay from rice farms and surrounding fish farms. He likes the different types of clays. Clay contains minerals in nature. Most of the glaze materials have derived from local ashes, wood scraps, paddies, husks or leaves. He compared making pottery with cooking, namely; you have to understand the attributes or properties of all ingredients before proceeding. All raw materials are fine by and of itself in the property and raw materials surrounding can be employed to create works. Somluk said, “The best way to learn is to try the firing of the raw materials, learning by doing”. The pottery works of Somluk focuses on ‘emptiness’ as goal. All and any containers contain nothing as necessity at utilization. In addition, the spirit of craftsmanship is projected to the ‘usefulness’. When the artwork is employed, followed by movement, the emptiness is therefore the ultimate goal of making pottery and his career. 34
Special article: Somluk Pantiboon
“Empty” according to Somluk, contains a combined meanings manifested in everyday life, whether be a leisure time, space, and vacancy in both substantiality and abstraction. On one hand, it may be filled with stories until there is no space left and on the other hand it may be left unoccupied. The works of Somluck have been closely involved with emptiness unavoidably. Molding out of containers such as cups, plates, bowls, represents the creation of vacancy emerged in the works and the empty space inside always produces an innovative form. At any time of designing a ceramic ware, the potter is supposed to know what utility it is applied for the designed container and the purpose of usefulness corresponds to the design. The works created by Somluk are unique and contemporary. As he views that the creative process has been ever-changing from time to time and each artwork calls for new ideas. In his comparison, “creativity is like signing a signature”, namely; the signature made at young adult age may be fine because signature was affixed apprehensively. However, when a time passes by, the signature that once was fine has been transformed, indicating the age of the life and creativity that has been ever-changing irrespective of the age of people. All things get started from the same source, even when you grow older, and experiencing new works requires re-thinking. According to Somluk, making pottery is not merely an artwork, but it is an inherited work and it serves the people; the fine works that are really applicable and represents customs and tradition. Somluk mentioned knowledge spreading many generations and the way to accomplish works is working harder, lesser talks, more concentration on tasks. His ultimate goal is to working effectively and building a loved career by what’s learned.
Over the past 30 years as a potter, from the experience of touching earth clay, learning how to make pottery, and start-up on own locality, Somluk Pantiboon has been working continuously and actively. The more you have touched and engaged with the pottery works, the more you have profoundly involved and foreseen challenges that wait. He envisions the opportunities in pursuit to the pottery works without clinging to the original pattern, but the various fields of arts that are interrelated and conveyed the communication through pottery works. The opportunity to develop the potteries inspires Somluk to continue his commitment to creative works Text by : Chonlada Panpakdeediskul Translated by : Sirarak Aphonsiriroj Sources: - Interview, “Somluk Pantiboon” published on URBAN CREATURE on 11 September 2018, through YouTube channel - Exhibition Catalogue, “UNITY WITH CLAY: A Contemporary Ceramic Exhibition by Somluk Pantiboon”, 23 November - 23 December 2003 at Surapon Gallery - Exhibition Catalogue, “Painting Emptiness” Exhibition by Somluk Pantiboon”, 5- 28 June 2015 at the Art Bridge Chiang Rai
[1] สมลักษณ์ ปันติบุญ Somluk Pantiboon ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน ขนาด ปีที่สร้าง
“ถ้วย จาน ชาม” เครื่องปั้นดินเผาจัดวาง เคลือบสโตนแวร์ แปรผันตามพื้นที่ 2561
Title Technique Materials Size Year
“Cup, Plate and Bowl” Ceramic installation Stoneware glazed Dimension variable 2018
เครื่องปั้นดินเผาที่เป็นเครื่องใช้ในชีวิตประจ�ำวันและ มีประโยชน์ใช้สอยอย่างหนึ่ง ได้น�ำมาแปรเปลี่ยนสภาพ ให้เป็นงานประติมากรรมที่มาจากข้าวของเครื่องใช้นั้นๆ เช่น ถ้วย จาน ชาม Ceramic cups, plates and bowls, functionally used in our everyday life are transformed into sculptural artworks.
36
Special article: Somluk Pantiboon
Honorable Artist of Ceramics
Surasak Sannong
ศิลปินเครื่องปั้นดินเผาเกียรติคุณ : สุรศักดิ์ แสนโหน่ง
สุรศักดิ์ แสนโหน่ง
Surasak Sannong
- ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (ทัศนศิลป์) คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม - ปวช. สาขาวิจิตรศิลป์ วิทยาลัยอาชีวะศึกษามหาสารคาม - ปัจจุบันเป็นศิลปินเครื่องปั้นดินเผาอิสระ
- BFA (Visual Arts), Faculty of Fine and Applied Arts, Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand - Vocational Certificate (Voc. Cert.), Fine Arts, Mahasarakham Vocational College, Mahasarakham, Thailand - Surasak Sannong is currently works as a ceramic artist.
สุรศักดิ์ แสนโหน่ง นับเป็นศิลปินอิสระที่ผสานเอกลักษณ์ของท้องถิ่นเข้ากับ ผลงานศิลปะเครือ่ งปัน้ ดินเผาได้อย่างลงตัว ผลงานน�ำเสนอเอกลักษณ์สว่ นตน ที่โดดเด่น ส่งผลให้เป็นศิลปินที่มีชื่อเสียงและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เยาวชน ในด้านความมุมานะสร้างสรรค์ผลงานสม�่ำเสมอ นอกจากนี้ยังประสบความ ส�ำเร็จจากเวทีการประกวดในระดับชาติมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในการแสดง ศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปีพ.ศ. 2561 นี้ เขาได้รับ รางวัลยอดเยี่ยม เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย จากผลงานที่ มีชื่อว่า “ความงดงามของความอุดมสมบูรณ์ หมายเลข 2” ท�ำให้ได้รับการ เชิดชูเกียรติเป็นศิลปินเครือ่ งปัน้ ดินเผาเกียรติคณ ุ ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย ล�ำดับที่ 1 ตามเงื่อนไขที่ว่า เป็นศิลปินผู้ได้รับรางวัลยอดเยี่ยม 2 ครั้ง และได้ รับรางวัลดีเด่น 2 ครั้งในประเภทเดียวกัน โดยการยกย่องดังกล่าวนี้เริ่ม ตั้งแต่การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 15 ปี พ.ศ. 2553 เป็นต้นมา
Surasak Sannong is a famous ceramic artist for his perfect combination of his unique ceramic art and local identity. He is certainly regarded as a role model for all young artists in enhancing artist practice. He also succeeds in winning awards from the National Ceramics Exhibition. This year, in the 19th National Ceramics Exhibition, he was granted th eFirst Prize in Contemporary Ceramic Art for his artwork titled “The Beauty of Fertility No.2”. As a consequence, he is honored as the 1st Honorable Artist of Ceramics. This honor is for an artist who has been awarded with the First Prize for 2 times and the Second Prize for 2 times under the same type of work. The announcement of this honor was stated in the 15th National Ceramics Exhibition in 2010 and has been effective since then.
สุรศักดิ์ ถือเป็นแบบอย่างในการสร้างสรรค์ผลงานอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับ รางวัลครั้งแรก คือ รางวัลยอดเยี่ยม เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรม ร่วมสมัย จากการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 15 ในปีพ.ศ. 2553 ด้วยผลงาน “สุข อบอุ่น” จากนั้นในการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผา แห่งชาติ ครั้งที่ 16 พ.ศ. 2555 ได้รับรางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภท ศิลปกรรมร่วมสมัย จากผลงาน “ดินแดนแห่งความสุข หมายเลข 2” ตามด้วย รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย ในการแสดงศิลปะ เครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 17 พ.ศ. 2557 ด้วยผลงาน “ช่วงเวลาแห่ง ความสุข หมายเลข 1” และในการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้ง ที่ 18 พ.ศ. 2559 ได้รับรางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรม ร่วมสมัย จากผลงานในชือ่ เดียวกัน คือ “ช่วงเวลาแห่งความสุข หมายเลข 1” ผล งานเครื่องปั้นดินเผาทั้งหมดล้วนแสดงออกทักษะการสร้างสรรค์จากการใช้ ดินบ้านหม้อและเทคนิคขึ้นรูปด้วยมืออันเชี่ยวชาญ ท�ำให้เกิดรูปทรงที่สะท้อน ถึงแนวความคิดเกี่ยวกับความสุขและความรักที่มีต่อธรรมชาติและการใช้ ชีวิตได้อย่างชัดเจน รางวัลและเกียรติยศเหล่านี้ แสดงให้เห็นถึงความมุมานะ และความตั้งใจที่จะพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างสม�่ำเสมอ
He has been submitting in the National Ceramics Exhibition continuously and had made his first achievement in the 15th National Ceramics Exhibition with a First Prize in Contemporary Ceramic Art for his artwork titled “Happy - Warm”. Later in the 16th National Ceramics Exhibition, he won a Second Prize in Contemporary Ceramic Art for his “Land of Happiness No.2”. In the 17th National Ceramics Exhibition, he was granted Second Prize in Contemporary Ceramic Art for “Moments of Joy No.1”. In the following exhibition, he won a Second Prize in Contemporary Ceramic Art for “Time and Happiness No.1” in the 18th National Ceramics Exhibition. All of these artworks were created by his precise hand forming technique and was made from local clay (Ban Mor clay). The concept of most artworks, which is his fondness of life and nature, is obviously presented through the art forms. These distinctive prizes well present his artistic talent that grows increasingly and regularly.
This year, in the 19th National Ceramics Exhibition his artwork titled “The Beauty of Fertility No.2” is awarded with a First Prize in ในการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 นี้ ผลงานที่มีชื่อว่า Contemporary Ceramic Art. The artwork is inspired by fertile flora “ความงดงามของความอุดมสมบูรณ์ หมายเลข 2” น�ำเสนอความประทับใจ that represents wealth and happiness in life. ในความงามของธรรมชาติเมื่อยามที่พืชพันธุ์ผลิดอก ออกผล อันแสดงความ อุดมสมบูรณ์ ที่ท�ำให้การด�ำเนินชีวิตเปี่ยมด้วยความสุข
Honorable Artist of Ceramics การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 15 พ.ศ. 2553 รางวัลยอดเยี่ยม เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย ชื่อผลงาน “สุข อบอุ่น” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินบ้านหม้อ อุณหภูมิ 800 – 900 °C ขนาด 90 x 150 x 60 ซม. The 15th National Ceramics Exhibition (c.2010) First Prize in Contemporary Ceramic Art Title “Happy - Warm” Technique Hand forming Materials Local clay (Ban Mor clay) Temperature 800 – 900 °C Size 90 x 150 x 60 cm 40
Honorable Artist of Ceramics
Honorable Artist of Ceramics การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 16 พ.ศ. 2555 รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย ชื่อผลงาน “ดินแดนแห่งความสุข หมายเลข 2” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินบ้านหม้อ อุณหภูมิ 800 °C ขนาด 75 x 125 x 65 ซม. The 16th National Ceramics Exhibition (c.2012) Second Prize in Contemporary Ceramic Art Title “Land of Happiness No.2” Technique Hand forming Materials Local clay (Ban Mor clay) Temperature 800 °C Size 75 x 125 x 65 cm
Honorable Artist of Ceramics การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 17 พ.ศ. 2557 รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย ชื่อผลงาน “ช่วงเวลาแห่งความสุข หมายเลข 1” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินบ้านหม้อ อุณหภูมิ 800 - 900 °C ขนาด 70 x 70 x 80 ซม. The 17th National Ceramics Exhibition (c.2014) Second Prize in Contemporary Ceramic Art Title “Moments of Joy No.1” Technique Hand forming Materials Local clay (Ban Mor clay) Temperature 800 - 900 °C Size 70 x 70 x 80 cm
42
Honorable Artist of Ceramics
Honorable Artist of Ceramics การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2559 รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย ชื่อผลงาน “ช่วงเวลาแห่งความสุข หมายเลข 1” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินบ้านหม้อ อุณหภูมิ 1,200 และ 800 °C ขนาด 70 x 120 x 50 ซม. The 18th National Ceramics Exhibition (c.2016) Second Prize in Contemporary Ceramic Art Title “Time and Happiness No.1” Technique Hand forming Materials Local clay (Ban Mor clay) Temperature 1,200 and 800 °C Size 70 x 120 x 50 cm
ผลงานที่ได้รับรางวัล
เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย
CONTEMP RARY CERAMIC ART
First Prize รางวัลยอดเยี่ยม
CONTEMPORARY CERAMIC ART เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย
รางวัลยอดเยี่ยม เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย First Prize in Contemporary Ceramic Art ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด
นาย สุรศักดิ์ แสนโหน่ง “ความงดงามของความอุดมสมบูรณ์ หมายเลข 2” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินบ้านหม้อ 800 °C และ 1,250 °C 182 x 130 x 204 ซม.
Artist Title Technique Materials Temperature Size
Mr. Surasak Sannong “The Beauty of Fertility No.2” Hand forming Local clay (Ban Mor clay) 800 °C and 1,250 °C 182 x 130 x 204 cm
ความประทับใจในความงามของธรรมชาติเมื่อยามที่พืชพันธุ์ผลิดอกออกผล อันแสดงความอุดมสมบูรณ์ ที่ท�ำให้การด�ำเนินชีวิตเปี่ยมด้วยความสุข The artwork is inspired by fertile flora that represents wealth and happiness in life.
48
AWARD-WINNING ENTRIES
50
AWARD-WINNING ENTRIES
second Prize รางวัลดีเด่น
CONTEMPORARY CERAMIC ART เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย
รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Second Prize in Contemporary Ceramic Art ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด
นาย กิตติพศ ประโยชน์มี “สัมพันธ์” ขึน้ รูปด้วยมือ ดิ น พื้ น บ้ า น (จังหวัดเลย) 1,080 °C 100 x 65 x 178 ซม.
Artist Title Technique Materials Temperature Size
Mr. Kittipot Prayotmee “Relation” Hand forming Local clay (Loei clay) 1,080 °C 100 x 65 x 178 cm
เนื่องจากได้รับแรงบันดาลใจจากชีวิตส่วนตน ที่เกิดความคิดว่าชีวิตกับ ชีวิตนั้นสัมพันธ์กัน เช่น ครอบครัว จึงสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม กึ่งนามธรรม โดยใช้รูปทรงอิสระและเส้น ที่ท�ำให้รู้สึกกลมเกลียว Being inspired by personal experience, the artist realizes that every life is connected, like family. This semi-abstract artwork is harmoniously made by using free form and lines.
second Prize รางวัลดีเด่น
CONTEMPORARY CERAMIC ART เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย
รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Second Prize in Contemporary Ceramic Art ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด
นางสาว นริศา นิลพงษ์ “ตัวตน” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์และดินพื้นบ้าน 1,200 °C 160 x 71 x 190 ซม.
Artist Title Technique Materials Temperature Size
Miss Narisa Ninlapong “My Diary” Hand forming Stoneware and local clay 1,200 °C 160 x 71 x 190 cm
เนื่องจากได้รับแรงบันดาลใจมากจากเสื้อผ้าข้าวของเครื่องใช้ส่วนตัวที่ ใช้ ประจ�ำทุกวัน จึงน�ำเสนอผลงานที่บ่งบอกความเป็นตัวตนผ่านเทคนิคทางด้าน เครื่องเคลือบดินเผา โดยใช้เสื้อผ้าของใช้เป็นต้นแบบในการสร้างสรรค์ ตามแบบวัตถุจริงโดยการขึ้นรูปด้วยมือ เพื่อสื่อถึงความเป็นไปได้มากกว่า จานชามหรือแจกันอย่างที่เคยพบเห็นอย่างชินตา Being inspired by personal everyday objects, the artist portrays personal identity through ceramics artworks. The form and image of clothes was made by hand forming to represent the concept and offer possibilities of ceramics creativity that far beyond kitchenware.
52
AWARD-WINNING ENTRIES
54
AWARD-WINNING ENTRIES
second Prize รางวัลดีเด่น
CONTEMPORARY CERAMIC ART เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย
รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Second Prize in Contemporary Ceramic Art ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด
นาย พิเชฐ ธรรมวัฒน์ “เมล็ดพันธุ์แห่งความฝัน หมายเลข 1” ขึ้นรูปด้วยมือ ปักธงชัย อินดี้ เคลย์ และลาวไฟเคลย์ 1,000 °C 180 x 180 x 110 ซม.
Artist Title Technique Materials Temperature Size
Mr. Pichet Thammawat “Seed of Dream No.1” Hand forming Local clay (Pak Thongchai Indie clay and Lao Fai clay) 1,000 °C 180 x 180 x 110 cm
ชีวิตในธรรมชาติล้วนมีการเจริญเติบโตงอกงามอยู่ทุกช่วงเวลา มีการพักพิง พึ่งพาให้ชีวิตซึ่งกันและกัน เกิดความอุดมสมบูรณ์ ความประทับใจเหล่านี้ ก่อเกิดภาพแห่งความฝัน ความสุข ในจินตนาการที่มีต่อธรรมชาติ In every moment, nature always grows gracefully. Every life mutually depends on each other for natural productivity. Being impressed by this, the artwork is to portray the image of dream and happiness in nature.
second Prize รางวัลดีเด่น
CONTEMPORARY CERAMIC ART เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย
รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Second Prize in Contemporary Ceramic Art ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด
นาย อนันท์ วัฒนากอปรกวิน “ธรรมชาติสัมพันธ์” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์ 1,230 °C 84 x 74 x 142 ซม.
Artist Title Technique Materials Temperature Size
Mr. Anan Wattanakorbkwin “Natural Relationship” Hand forming Stoneware clay 1,230 °C 84 x 74 x 142 cm
มนุษย์ สัตว์ และธรรมชาติ อยู่ร่วมกันเป็นเวลายาวนาน มีความสัมพันธ์ เกื้อกูลและพึ่งพิงอาศัยกันทั้งในทางตรงและทางอ้อม ความสัมพันธ์ที่กล่าว มานี้ เป็นลักษณะโดยธรรมชาติของการด�ำรงอยู่ เนื่องจากสัมผัสถึงความ ส�ำคัญของความสัมพันธ์ในสิ่งเหล่านี้ จึงน�ำมาสร้างสรรค์ผลงานเพื่อให้ ผู้พบเห็นได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของสิ่งรอบตัว Human, animal and nature have closely related for ages in every possible way. This kind of relationship is a nature of living things. Seeing the importance of this bond, the artwork is to remind the viewer about the value of things.
56
AWARD-WINNING ENTRIES
Ceramic
เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม
Handicraft
second Prize รางวัลดีเด่น
CERAMIC HANDICRAFT เครื่ อ งปั้นดิน เผาประเภทหัต ถกรรม
รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม Second Prize in Ceramic Handicraft ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด
นาย ดนัย โตอมรพันธุ์ “ฤดูฝนและหมู่เมฆ” ขึ้นรูปแป้นหมุน ขึ้นรูปด้วยมือ sgraffito เคลือบทอง และเขียนสีใต้เคลือบ ดินท้องถิ่นท่าศาลา 1,240 °C 84 x 42 x 80 ซม.
Artist Title Technique
Mr. Danai Toamornphan “Rainy and Cloudy” Throwing, sgraffito, gold luster, hand forming and under glaze Local clay (Tha Sa La clay) 1,240 °C 84 x 42 x 80 cm
Materials Temperature Size
น�ำเสนอผลงานเครื่องปั้นดินเผาหัตถกรรม จากความประทับใจในสิ่งรอบตัว อย่างธรรมชาติ ฤดูกาล สายฝน และหมู่เมฆ This ceramic handicraft is to present the impression of nature, seasons, rain and cloud.
60
AWARD-WINNING ENTRIES
62
AWARD-WINNING ENTRIES
second Prize รางวัลดีเด่น
CERAMIC HANDICRAFT เครื่ องปั ้ น ดิ น เผาประเภทหั ตถกรรม
รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม Second Prize in Ceramic Handicraft ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด
นางสาว ปพิชชา ธนสมบูรณ์ “ภาชนะจากบรรยากาศบนท้องฟ้า” ตัดต่อดินสี (Nerikomi) ดินสโตนแวร์ 1,220 °C 132 x 104 x 140 ซม.
Artist Title Technique Materials Temperature Size
Miss Papitcha Thanasomboon “Above the Surface of the Earth” Nerikomi Stoneware clay 1,220 °C 132 x 104 x 140 cm
ท้องฟ้าเป็นสีสันของธรรมชาติที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ตามฤดูกาล และวันเวลาไม่มีที่สิ้นสุด พระอาทิตย์ขึ้น พระอาทิตย์ตก เกิดขึ้นในทุก ๆ วัน แต่ละวันบรรยากาศของท้องฟ้ามีความสวยงามและให้ความรู้สึกต่างกันไป ขณะที่จ้องมองท้องฟ้าที่ก�ำลังเปลี่ยนสี ท�ำให้เกิดจินตนาการและความสงบ เหมือนเวลาได้หยุดนิ่งละทิ้งจากความวุ่นวายต่าง ๆ จากความประทับใจใน บรรยากาศบนท้องฟ้าและสีสันในช่วงเวลาต่างๆ จึงน�ำดินมาจัดองค์ประกอบ เป็นลวดลายตามเทคนิคตัดต่อดินสีที่สนใจ ออกมาในรูปแบบภาชนะเครื่อง เคลือบดินเผา The sky represents the colorfulness of the nature that has been ever-changing by seasons timelessly. Sunrise and sunset takes place every day and on each day the atmosphere of the sky is splendid providing ones with the different feeling. While staring at the changing sky, the imagination of calmness is like stopping time, experience of tranquil, and leaving from chaos. With the impressive atmosphere of the sky and different colors at different times of the day, the artwork is composited as a pattern by the attractive editing techniques in the form of ceramics.
second Prize รางวัลดีเด่น
CERAMIC HANDICRAFT เครื่ อ งปั้นดิน เผาประเภทหัต ถกรรม
รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม Second Prize in Ceramic Handicraft ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด
นางสาว พรพรรณ สุทธิประภา “บทสนทนาจากภายใน-การเปลี่ยนผ่าน หมายเลข 1” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนไฟฟ้า ดินพอร์ซเลน 1,280 °C 100 x 60 x 87 ซม.
Artist Title Technique Materials Temperature Size
Miss Pornphun Sutthiprapha “Internal Dialog – Transition No.1” Electronic wheel throwing Porcelain 1,280 °C 100 x 60 x 87 cm
กระบวนการท�ำงานเครื่องปั้นดินเผานั้น คล้ายกับการท�ำสมาธิหรือภาวนา ทั้งสองเป็นกระบวนการที่แยกออกจากกันไม่ได้ ผลงานที่สร้างสรรค์จึงเป็น เหมือนภาพสะท้อนของสภาพจิตในช่วงขณะนั้น การจดจ่ออยู่กับงานด้วย เวลาที่ยาวนานและการเคลื่อนไหวที่ซ�้ำไปมานั้น คล้ายกับหลักการวิปัสสนา ในพุทธศาสนา ดังนั้น เมื่อได้เฝ้ามองสังเกตตัวเองผ่านกระบวนการท�ำงาน เช่นนี้ในช่วงเวลาหลายปี โดยมีค�ำครูที่กล่าวไว้ เป็นเครื่องน�ำทาง ว่า “ปชีจิต มีกาย และมีความคิดเป็นมือที่สาม” ซึ่งมีส่วนช่วยอย่างมากในการเฝ้ามอง ธรรมชาติของอารมณ์ ความคิดของตนเอง ยอมรับการมีอยู่ของมัน เมื่อ ตระหนั กได้ ว ่ า ร่ า งกายนี้ เป็ น เหมื อ นภาชนะ ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยความคิ ด และ อารมณ์ต่างๆ ไหลเข้า และออก บางทีซับซ้อน บางทีตรงไปตรงมา มีเกิด และหายไป เป็นธรรมดา อยู่ตลอดเวลา ตัวเราเองไม่สามารถควบคุมมันได้ แต่เพียงเรายอมรับความเป็นไปตามธรรมชาติได้ ก็จะเกิดเป็นความสุขเรียบ ง่ายที่กระทบใจทันที The process in marking ceramics is perhaps similar to practicing meditation or prayer, they both are inseparable. The creative work is like a reflection of mental state at such a moment. Focusing on works for long hours with repeated body movement is similar to the principle of practicing the introspection in Buddhism. Having exanimated of the ‘Self’ to observe own feeling through work process over many years, as the Buddhist teacher says “meditation greatly contributes to follow one’s own emotion in nature, own thoughts, and perceive the existence” As realizing that a physical body is like a container full of thoughts and emotions flowing in and out all the times, sometimes complicated, and sometimes explicit, everything occurs and disappears from time to time, uncontrollable, just notice it naturally, then one may touch an meaningful experience of immediate simple delight. 64
AWARD-WINNING ENTRIES
66
AWARD-WINNING ENTRIES
second Prize รางวัลดีเด่น
CERAMIC HANDICRAFT เครื่ องปั ้ น ดิ น เผาประเภทหั ตถกรรม
รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม Second Prize in Ceramic Handicraft ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด
นาย สุธารักษ์ แสงเทศ “ลูกต้นเป็ดน�้ำ” ขึ้นรูปแป้นหมุน ดินสโตนแวร์ 1,280 °C 143 x 80 x 43 ซม.
Artist Title Technique Materials Temperature Size
Mr. Sutharak Saengtes “Suicide Seeds” Wheel throwing Stoneware clay 1,280 °C 143 x 80 x 43 cm
ได้รับแรงบันดาลใจมากจากลูกตีนเป็ดน�้ำ ซึ่งมีพื้นผิวที่เป็นธรรมชาติ จึงน�ำมาสร้างสรรค์เป็นผลงานเครื่องปั้นดินเผา Being inspired by the natural texture of suicide seeds, the artist depicts such impression through the artwork.
Ceramic Industrial Pr totype เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม
70
AWARD-WINNING ENTRIES
second Prize รางวัลดีเด่น
Ceramic Industrial Prototype
เครื่ องปั ้ น ดิ น เผาประเภทผลิ ตภั ณ ฑ์ ต้ น แบบอุต สาหกรรม
รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม Second Prize in Ceramic Industrial Prototype ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด
นาย กิตติธัช อนันทชาติวงศ์ “ชุดน�้ำชาอโรม่า” หล่อกลวง หล่อตัน และวัสดุผสม ดินสโตนแวร์ และพอร์ซเลน 1,220 °C และ 1,250 °C 90 x 40 x 116 ซม.
Artist Title Technique Materials Temperature Size
Mr. Kittituch Anantachatwong “Aromatic Teapot Set” Drain casting, solid casting and mixed materials Stoneware and porcelain 1,220 °C and 1,250 °C 90 x 40 x 116 cm
การดืม่ ชาเป็นวัฒนธรรมทีส่ บื ทอดกันมานับตัง้ แต่สมัยอดีต ชาแต่ละประเภทนัน้ มีวัฒนธรรมและคุณสมบัติที่แตกต่างกันออกไป ในปัจจุบันประเภทของชา ได้ถูกพัฒนาให้เหมาะสมกับผู้บริโภคที่มีความหลากหลายมากขึ้น โดยการ ออกแบบชุดน�้ำชาในครั้งนี้ได้ออกแบบขึ้นส�ำหรับการชงชาแต่งกลิ่นที่ผู้บริโภค สามารถออกแบบกลิ่นและรสชาติของชาเองได้จากชนิดของใบชา ดอกไม้ และสมุนไพรต่าง ๆ จึงเกิดเป็นแนวคิดในการออกแบบชุดน�้ำชาให้มีความ ร่วมสมัย ผสมผสานวัสดุระหว่างไม้กับเครื่องเคลือบดินเผา และตัดทอนรูป ทรงเรขาคณิตให้เข้ากับการใช้งาน น�ำไปสู่การพัฒนารูปแบบของผลิตภัณฑ์ ผ่ า นกระบวนการอุ ต สาหกรรมเครื่ อ งเคลื อ บดิ น เผา ซึ่ งได้ อ อกแบบและ สร้างสรรค์ผลงานโดยใช้เนื้อดิน พอร์ซเลน และดินสโตนแวร์ผสมสีสัน ที่ หลากหลาย เพิ่มทางเลือกให้กับผู้บริโภค ได้เลือกชุดน�้ำชาให้เข้ากับสไตล์ Drinking tea is a cultural heritage from the ancient time. Each type of tea reflects different cultures and characteristics. Currently, the type of tea has been developed to suit the diverse consumer tastes. In this artwork, the design of the tea set is processed for making flavored tea which flavors and tastes of teas could be created by customer tastes. Consequently, flowers and herbs are originated to the design of contemporary tea sets, combined between wood and porcelain material, and cut geometrical shape suitable to use, leading to the development of the product model through the ceramic industry process where design and creation of the work has employed the porcelain and stoneware, mixture of multiple colors to increase more choices of corresponding tea sets to consumer preferences.
second Prize รางวัลดีเด่น
Ceramic Industrial Prototype
เครื่ อ งปั้น ดิน เผาประเภทผลิต ภัณ ฑ์ต ้นแบบอุ ตสาหกรรม
รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม Second Prize in Ceramic Industrial Prototype ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด
นางสาว นิศานาถ สันติธรรมคต “สิวารัณ” ปั๊มลายต้นแบบ พอกดินน�้ำมัน และแป้นหมุน ดินสโตนแวร์ 1,230 °C 76 x 60 x 26 ซม.
Artist Title Technique Materials Temperature Size
Miss Nisanat Santitamakod “Siwaran” Impressing and wheel throwing Stoneware clay 1,230 °C 76 x 60 x 26 cm
ลวดลายพรรณพฤกษาและลวดลายเรขาคณิตบนผืนผ้าพื้นถิ่นของอินเดีย สูก่ ารถอดรูปแบบองค์ประกอบศิลป์ประยุกต์สผู่ ลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้าน Siwaran ซึ่ ง สื่ อ ถึ งความงามของวัฒ นธรรมที่สั่งสมและมี คุณค่ า ดั่ ง ทองค�ำ รู ป ทรง และสีสนั ได้จากกระแสนิยมและพฤติกรรมการใช้งาน ความชืน่ ชอบ ในปัจจุบนั ได้ร่วมพัฒนากับบริษั ท เปรมประชา คอลเลคชั่น จ�ำกัด ซึ่งสามารถผลิต จากอุตสาหกรรมภายในประเทศได้ “Siwaran” decorating ceramic set is inspired by Indian fabric and flora details. The artwork is to portray the beauty of precious culture. The mainstream trend is presented through the forms and colors. Currently, this industrial prototype is in development with Prempracha’s Collection Co.,Ltd.
72
AWARD-WINNING ENTRIES
74
AWARD-WINNING ENTRIES
second Prize รางวัลดีเด่น
Ceramic Industrial Prototype
เครื่ องปั ้ น ดิ น เผาประเภทผลิ ตภั ณ ฑ์ ต้ น แบบอุต สาหกรรม
รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม Second Prize in Ceramic Industrial Prototype ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด
นาย สรณัฎฐ์ คงนวล “ร่วมสมัยใหม่” หล่อน�้ำดิน เอนโกบดินสี และขูดสางลาย ดินขาวและดินสีอ๊อกไซด์ 1,250 °C 50 x 40 x 45 ซม.
Artist Title Technique Materials Temperature Size
Mr. Sorranat Khongnuan “Ancient to Modern” Slip casting, engobe and carving White clay and oxide clay 1,250 °C 50 x 40 x 45 cm
ต้องการเชือ่ มโยงความประทับใจในรูปทรงของภาชนะไฟสมัยโบราณ (Ancient Pottery) ที่ลดทอนและคลี่คลายปรากฏอยู่บนความเรียบง่ายของรูปทรง สมั ย ใหม่ (Modern Pottery) สู ่ ก ารตกแต่ง พื้น ผิว ขัดสี ขูดลายเส้น สาย แบ่งสัดส่วนการตกแต่งที่น่าสนใจ เคลือบใสด้านในเผาไฟสูงให้คุณสมบัติ แกร่ง ไม่ดูดซึมน�้ำ ติดแผ่นกันรอยขีดข่วนที่ก้นผลิตภัณฑ์ ใช้งานเป็นแจกัน หรือวางประดับตกแต่ง สร้างความน่าสนใจเกิดเป็นเอกลักษณ์การสร้างสรรค์ ในรูปแบบ ร่วมสมัยใหม่ ได้เป็นอย่างดี (Modern Lifestyle Decoration) With the intention to associate the impression with the shape of the ancient pottery that is distorted and emerged in the simplicity of the modern pottery, leading to decoration, incising and carving, clear glaze, and high temperature firing that provides dominant properties of non-water absorbing, embossing a scratch-resistant sheet at the bottom of the product, used as a vase or decoration to create a unique appeal in creativity of modern and contemporary style.
second Prize รางวัลดีเด่น
Ceramic Industrial Prototype
เครื่ อ งปั้น ดิน เผาประเภทผลิต ภัณ ฑ์ต ้นแบบอุ ตสาหกรรม
รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม Second Prize in Ceramic Industrial Prototype ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดย นาย อภิชัย พังจุนัน “ใบบัว” หล่อกลวง VCB 1,200 °C 40 x 40 x 48 ซม.
Artist Title Technique Materials Temperature Size
King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Mr. Apichai Pangjunan “Lotus” Drain casting VCB 1,200 °C 40 x 40 x 48 cm
โครงการออกแบบภาชนะบนโต๊ะอาหารส�ำหรับคนเมืองรักสุขภาพได้รับ แรงบันดาลใจมากจาก ข้าวห่อใบบัว และลวดลายของใบบัวซึ่งแสดงถึงวิถี ชีวิตของคนไทยในอดีต เกี่ยวกับการรับประทานอาหาร น�ำมาพัฒนาและ ออกแบบให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายในปัจจุบัน ซึ่งเป็นคนเมืองที่รักสุขภาพ This kitchenware design for urban living project is inspired by fried rice wrapped in lotus leaf and details of lotus leaf that present Thai’s food culture.
76
AWARD-WINNING ENTRIES
ผลงานที่ได้รับคัดเลือกร่วมแสดง
นางสาว สุนิษา เรืองนา “ฤดูฝน หมายเลข 3” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดินสโตนแวร์ เคลือบขี้เถ้าฟางข้าว 1,250 °C 50 x 40 x 113 ซม. Miss Sunisa Ruangna “Raining Season No.3” Wheel throwing Stoneware clay Ash glazed 1,250 °C
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด Artist Title
นาย จ�ำลอง สุวรรณชาติ “ความเคลื่อนไหวแห่งเส้นสาย ความนุ่มนวลแห่งรูปทรง” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์ เคลือบขี้เถ้า 1,250 °C 80 x 75 x 72 ซม. (2 ชิ้น) Mr. Jarmlong Suwanchat “Movement of Lines and Smoothness of Form” Technique Hand forming Materials Stoneware clay Glazed Ash glazed Temperature 1,250 °C Size 80 x 75 x 72 cm (2 pieces) ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
80
นางสาว จารุวรรณ สวัสดี “สิมมา (สีมา)” ขึน้ รูปด้วยมือแบบแผ่น และเผารมฟาง บรรยากาศรีดักชั่น (Reduction) ดินพื้นบ้านบุรีรัมย์ และดินสโตนแวร์ 1,250 °C 90 x 70 x 200 ซม. (11 ชิ้น) Miss Jaruwan Sawasdee “Sima” Hand forming, slab building and reduction atmosphere Local clay (Buriram clay) and stoneware clay 1,250 °C 90 x 70 x 200 cm (11 pieces)
selected entries for exhibition
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นาย กิตติชัย สุขสุเมฆ “อริยมรรคมีองค์ 8” หล่อประกอบ ดินด�ำ 1,225 °C 184 x 60 x 100 ซม. (8 ชิ้น) Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Mr. Kitthichai Suksumak “Eightfold Path” Casting Black clay 1,225 °C 184 x 60 x 100 cm (8 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials
นางสาว จิตพิสุทธิ์ จีนเขตกรณ์ “วิหารหุ่นยนต์” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 900, 1,100 และ 1,230 °C 198 x 200 x 135 ซม. (28 ชิ้น) Miss Jitpisute Jeenkhetkorn “Robot Temple” Hand forming Local clay (Mae Rim clay from Chiang Mai) Temperature 900, 1,100 and 1,230 °C Size 198 x 200 x 135 cm (28 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นาย กิตติพศ ประโยชน์มี “ใบไม้และชีวิต” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินด่านเกวียน 1,220 °C 169 x 50 x 135 ซม. (2 ชิ้น) Mr. Kittipot Prayotmee “Leaf and Life” Hand forming Local clay (Dan Kwean clay) 1,220 °C 169 x 50 x 135 cm (2 pieces)
CONTEMPORARY CERAMIC ART
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Glazed Temperature
นาย กิตติศักดิ์ ฝั้นสาย “สังสารวัฏ” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินราชบุรี และดินผสม 800 – 1,000 °C 200 x 200 x 10 ซม. Mr. Kittisak Fan-sai “Transmigration” Hand forming Local clay (Ratchaburi clay) and compound clay Temperature 800 – 1,000 °C Size 200 x 200 x 10 cm
82
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นาย กิตติศักดิ์ ฝั้นสาย “รูปขันธ์ หมายเลข 7” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินราชบุรี และดินผสม 800 – 1,000 °C 245 x 123 x 70 ซม. Mr. Kittisak Fan-sai “Corporeality No.7” Hand forming Local clay (Ratchaburi clay) and compound clay 800 – 1,000 °C 245 x 123 x 70 cm
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นางสาว จีรณัฏฐ์ ภักดีรัตน์ “อิน – รูม” ขึ้นรูปด้วยมือ และเอนโกบ ดินสโตนแวร์ 1,220 °C 168 x 76 x 25 ซม. (2 ชิ้น) Miss Jeeranath Phakdeerath “In Room” Hand forming and engobe Stoneware clay 1,220 °C 168 x 76 x 25 cm (2 pieces)
selected entries for exhibition
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Glazed Temperature Size
นาย ชัสภาคย์ ฐิติภากร “ไม่เป็นอิสระ” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์ เผารมควัน 800 – 900 °C 163 x 107 x 200 ซม. (2 ชิ้น) Mr. Chadsaphark Thitipakorn “Dependence” Hand forming Stoneware clay Smoke firing glazed 800 – 900 °C 163 x 107 x 200 cm (2 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค
นาย ดนัย โตอมรพันธุ์ “ตัวตน ความทรงจ�ำ และหัวใจ” ขึ้นรูปด้วยมือ ขูดขีด sgraffito และ photo transfer ชนิดดิน ดินท้องถิ่นท่าศาลา จังหวัด นครศรีธรรมราช อุณหภูมิ 1,240 °C ขนาด 51 x 24 x 67 ซม. Artist Mr. Danai Toamorphan Title “Memorandum and Self Portrait” Technique Hand forming, sgraffito and photo transfer Materials Local clay (Tha Sa La clay from Nakhon Si Thammarat) Temperature 1,240 °C Size 51 x 24 x 67 cm ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นาย ณรงค์ฤทธิ์ เภาจัตุรัส “รูปทรงของวัฒนธรรมไทย” รากุ ดินลาวไฟ 1,155 °C 130 x 30 x 84 ซม. (4 ชิ้น) Mr. Narongrit Phaojatturat “The Form of Thai Culture” Raku Local clay (Lao Fai clay) 1,155 °C 130 x 30 x 84 cm (4 pieces)
CONTEMPORARY CERAMIC ART
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials
นาย ธนสิทธิ์ จันทะรี “สันติภาพบนโต๊ะอาหาร” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินขอนแก่น 1,220 °C 161 x 80 x 52 ซม. (10 ชิ้น) Mr. Thanasit Chantaree “The Table of Peace-building” Hand forming Local clay (Khon Kaen clay) 1,220 °C 161 x 80 x 52 cm (10 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดย นาย ดุริวัฒน์ ตาไธสง “แสนรู้” ขึ้นรูปอิสระ ดินด่านเกวียน 1,100 °C 110 x 80 x 50 ซม. (3 ชิ้น) Nakhon Ratchasima Rajabhat University By Mr. Duriwat Tathaisong “Animal’s Friend” Free forming Local clay (Dan Kwean clay) 1,100 °C 110 x 80 x 50 cm (3 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
มหาวิทยาลัยราชภัฏล�ำปาง โดย นาย สรวิศ มูลอินต๊ะ “ปลดปล่อย” ขึ้นรูปอิสระ วาดเคลือบ และ น�้ำดินสี ดินสโตนแวร์ 1,200 °C 170 x 70 x 80 ซม. (3 ชิ้น) Lampang Rajabhat University By Mr. Soravich Mulinta “Release” Free forming, glazing and clay slip Stoneware clay 1,200 °C 170 x 70 x 80 cm (3 pieces)
selected entries for exhibition
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique
นาย ธาตรี เมืองแก้ว “ครอบครัวแมว” ขึ้นรูปด้วยมือ รากุ และวาดสี ใต้เคลือบ-บนเคลือบ ดินเหมืองกุง และดินสโตนแวร์ 1,100 °C 240 x 122 x 197 ซม. (8 ชิ้น) Mr. Thatree Muangkaew “Cat Family” Hand forming, under glaze, over glaze and raku Materials Local clay (Muangkung clay) and stoneware clay Temperature 1,100 °C Size 240 x 122 x 197 cm (8 pieces) ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นางสาว นพมาส จุลกิจถาวร “ผล” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดิ น พื้ น บ้ า น และดิ น สโตนแวร์ 1,250 °C 124 x 60 x 150 ซม. (8 ชิ้น) Miss Noppamas Jullakittavon “Fruit” Wheel throwing Local clay and stoneware clay 1,250 °C 124 x 60 x 150 cm (8 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Temperature Size
นาย ธีรัช อภิพัฒนา “การถนอมอาหาร (ตาก)” ขึ้นรูปด้วยมือ 1,200 °C 98 x 180 ซม. (22 ชิ้น) Mr. Therach Apipatana “Food Preservation (Drying)” Hand forming 1,200 °C 98 x 180 cm (22 pieces)
CONTEMPORARY CERAMIC ART
84
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นาย พนม ช้างนานอก “มนุษย์” ขึ้นรูปอิสระ ดินบ้านหม้อ จังหวัดมหาสารคาม 400-700 °C 50 x 41 x 170 ซม. Mr. Panom Changnanork “Human” Free forming Local clay (Ban Mor clay from Mahasarakham) 400-700 °C 50 x 41 x 170 cm
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นาย พูนเพิ่ม ตันศิริ “ขาวด�ำ หมายเลข 1” ขึ้นรูปด้วยมือและตกแต่งพื้นผิว ดินสโตนแวร์ 1,250 °C 20 x 15 x 27 ซม. Mr. Phoonperm Tunsiri “Black and White No.1” Hand forming and carving Stoneware clay 1,250 °C 20 x 15 x 27 cm
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นาย ภูริทัต ทองเหลือง “กาลเวลาที่อาวรณ์ ชุด 1” เซรามิกผสมผงเหล็ก ดินคอมพาวด์ 1,200 °C 236 x 80 x 98 ซม. (4 ชิ้น) Mr. Phuritat Thonglung “The Past in My Mind No.1” Ceramic and metal dust Compound clay 1,200 °C 236 x 80 x 98 cm (4 pieces)
selected entries for exhibition
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นางสาว นันทนิตย์ เหง้าพรหมมินทร์ “สายใยรักจากแม่ ชุด 1” ท�ำพิมพ์อัด ดินพื้นบ้าน 800 °C 118 x 70 x 145 ซม. (3 ชิ้น) Miss Nanthanit Ngaophommin “Love from Mother No.1” Pressing Local clay 800 °C 118 x 70 x 145 cm (3 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นางสาว นันทนิตย์ เหง้าพรหมมินทร์ “สายใยรักจากแม่ ชุด 2” ท�ำพิมพ์อัด ดินพื้นบ้าน 1,000 °C 56 x 56 x 130 ซม. Miss Nanthanit Ngaophommin “Love from Mother No.2” Pressing Local clay 1,000 °C 56 x 56 x 130 cm
CONTEMPORARY CERAMIC ART
86
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
ศิลปิน
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Glazed Temperature Size
นาย ศุภศิษฎ์ อัศวอิษณุ “คุณมีหัวใจ ฉันก็มี” ขึ้นรูปด้วยมือ และฟัน เผารมควัน ดินสโตนแวร์ 800 °C 45 x 50 x 80 ซม. Mr. Suppasit Asavisanu “You have a mind, me too” Hand forming and smoke firing Stoneware clay 800 °C 45 x 50 x 80 cm
ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นาย สมพร อินทร์หยุย ชื่อผลงาน “สัตว์มนุษย์” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ อุณหภูมิ 1,230 °C ขนาด 86 x 70 x 75 ซม. (3 ชิ้น) Artist Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Mr. Somporn Inhyui Title “Inhuman” Technique Hand forming Materials Earthenware clay Temperature 1,230 °C Size 86 x 70 x 75 cm (3 pieces)
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นางสาว วาสนา สดใส ชื่อผลงาน “บิดเบือน” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดิน VRU อุณหภูมิ 1,220 °C ขนาด 116 x 342 x 65 ซม. (26 ชิ้น) Artist Valaya Alongkorn Rajabhat University By Miss Watsana Sodsai Title “Distortion” Technique Hand forming Materials VRU clay Temperature 1,220 °C Size 116 x 342 x 65 cm (26 pieces) นางสาว เพ็ชรรัตน์ แสงจันทร์ “ความงามของความเป็นธรรมชาติ” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์ เคลือบฟองอากาศ 1,220 และ 1,020 °C 130 x 80 x 130 ซม. (72 ชิ้น) Miss Pecharat Sangjan “Aesthetics of Nature” Hand forming Stoneware clay Bubble glazed 1,220 and 1,020 °C 130 x 80 x 130 cm (72 pieces)
ศิลปิน
88
selected entries for exhibition
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist
ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นาย สมพร อินทร์หยุย “ความล่มสลายของเทคโนโลยี” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ 1,230 °C 168 x 40 x 100 ซม. (2 ชิ้น) Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Mr. Somporn Inhyui Title “The Fall of Technology” Technique Hand forming Materials Earthenware clay Temperature 1,230 °C Size 168 x 40 x 100 cm (2 pieces)
CONTEMPORARY CERAMIC ART
ศูนย์ศลิ ปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นาย มนตรี ประเสริฐแก้ว ชื่อผลงาน “โรบอท 4.0” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ อุณหภูมิ 1,230 °C ขนาด 40 x 55 x 112 ซม. Artist Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Mr. Montri Prasoetkaeo Title “Robot 4.0” Technique Hand forming Materials Earthenware clay Temperature 1,230 °C Size 40 x 55 x 112 cm
ศิลปิน
ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นางสาว หทัยรัตน์ ปรมัตถ์คุนาสิน “แสง – สี – โลหะ หมายเลข 1” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ 1,230 °C 34 x 26 x 80 ซม. Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Miss Hatairat Proramutkunasin Title “Light-Color-Metal No.1” Technique Hand forming Materials Earthenware clay Temperature 1,230 °C Size 34 x 26 x 80 cm
ศิลปิน
ศิลปิน นางสาว สุกาญจนา กาญจนบัตร ชื่อผลงาน “อาจดูบอบบาง (2018)” เทคนิค น�้ำดินสีบนกระดาษ ชนิดดิน ดินพอร์ซเลน อุณหภูมิ 1,200 °C ขนาด 45 x 45 x 124 ซม. Artist Miss Sukanjana Kanjanabat Title “Might Seem Flimsy (2018)” Technique Slip clay on paper Materials Porcelain Temperature 1,200 °C Size 45 x 45 x 124 cm
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist:
ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นาย เสริมศักดิ์ ทามี “เข้าถ�้ำ” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ 1,250 °C 50 x 35 x 84 ซม. Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Mr. Soemsak Tame Title “Into the Cave” Technique Hand forming Materials Earthenware clay Temperature 1,250 °C Size 50 x 35 x 84 cm
90
selected entries for exhibition
ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นางสาว หทัยรัตน์ ปรมัตถ์คุนาสิน ชื่อผลงาน “แสง – สี – โลหะ หมายเลข 2” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ อุณหภูมิ 1,230 °C ขนาด 41 x 22 x 80 ซม. Artist Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Miss Hatairat Proramutkunasin Title “Light-Color-Metal No.2” Technique Hand forming Materials Earthenware clay Temperature 1,230 °C Size 41 x 22 x 80 cm นาย สุทธิพงศ์ สวัสดี “อบอุ่น” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินรากุ 1,250 °C 50 x 35 x 80 ซม. Mr. Sutthipong Sawaddee “Warm” Hand forming Raku clay 1,250 °C 50 x 35 x 80 cm
ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นาง สมควร กุลวงศ์ “คู่สี” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ 1,200 °C 80 x 84 x 80 ซม. (2 ชิ้น) Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Mrs. Somkhoun Kunlawong Title “Complementary Color” Technique Hand forming Materials Earthenware clay Temperature 1,200 °C Size 80 x 84 x 80 cm (2 pieces)
CONTEMPORARY CERAMIC ART
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist
นาย หัสกร หิรัญสิริโชค “เจ้าตัวป่วน” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินพอร์ซเลน 1,250 °C 56 x 56 x 6 ซม. Mr. Hassakorn Hirunsirichoke “Chao Tua Puan” Hand forming Porcelain 1,250 °C 56 x 56 x 6 cm
ศิลปิน นาย อนันท์ วัฒนากอปรกวิน ชื่อผลงาน “ชีวิตสัมพันธ์” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินสโตนแวร์ อุณหภูมิ 1,230 °C ขนาด 45 x 41 x 165 ซม. (25 ชิ้น) Artist Mr. Anan Wattanakorbkwin Title “Life Balance” Technique Hand forming Materials Stoneware clay Temperature 1,230 °C Size 45 x 41 x 165 cm (25 pieces) ศิลปิน
ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรม ราชินีนาถ โดย นาย เสริมศักดิ์ ทามี ชื่อผลงาน “เทคโนโลยีย้อนยุค” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ อุณหภูมิ 1,230 °C ขนาด 80 x 40 x 84 ซม. Artist Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Mr. Soemsak Tame Title “Retro Technology” Technique Hand forming Materials Earthenware clay Temperature 1,230 °C Size 80 x 40 x 84 cm
92
selected entries for exhibition
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นางสาว พลอยอ�ำไพ ยงค์วงศ์ไกรศรี “ชีวิตที่เติบโต หมายเลข 1” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์ 1,200 °C 110 x 108 x 106 ซม. (10 ชิ้น) Miss Ploy-umpai Yongvongkraisri “Growing Up No.1” Hand forming Stoneware clay 1,200 °C 110 x 108 x 106 cm (10 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดย นาย อมรเทพ กลายกลาง “1 2 3 ปลาฉลามขึ้นบก” ดินผสมสี และขึ้นรูปอิสระ ดินด่านเกวียน 1,250 °C 43 x 48 x 62 ซม. Nakhon Ratchasima Rajabhat University By Mr. Amornthep Klaiklang Title “The Shark is Coming” Technique Colored clay and free forming Materials Local clay (Dan Kwean clay) Temperature 1,250 °C Size 43 x 48 x 62 cm ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
มหาวิทยาลัยราชภัฏล�ำปาง โดย นาย ธมลวัตน์ หิรัญชาติอนันต์ “รังสรรค์ปั้นแต่ง” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน และเอนโกบ ดินสโตนแวร์ 1,220 °C 96 x 41 x 174 ซม. (46 ชิ้น) Lampang Rajabhat University By Mr. Tamonwat Hirunchart-a-nan “Rang San Pan Tang” Wheel throwing and engobe Stoneware clay 1,220 °C 96 x 41 x 174 cm (46 pieces)
CONTEMPORARY CERAMIC ART
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นาถ
นาย พรสวรรค์ นนทะภา “รูปทรงในวิถีชีวิตชนบทอีสาน” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินพื้นบ้าน (ดินบ้านหม้อ) 1,000-1,250 °C 170 x 100 x 204 ซม. (2 ชิ้น) Mr. Pornsawan Nonthapha “Form of Northeastern Life” Hand forming Local clay (Ban Mor clay) 1,000-1,250 °C 170 x 100 x 204 cm (2 pieces)
ศิลปิน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน โดย นาย เดช นานกลาง ชื่อผลงาน “ป่าชายเลน ปากน�้ำปราณ” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินด่านเกวียน อุณหภูมิ 1,200 °C ขนาด 160 x 160 x 145 ซม. (17 ชิ้น) Artist Rajamangala University of Technology Isan By Mr. Dech Nanklang Title “Pak Nam Pran, the Mangrove Forest” Technique Hand forming Materials Local clay (Dan Kwean clay) Temperature 1,200 °C Size 160 x 160 x 145 cm (17 pieces) ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique
มหาวิทยาลัยราชภัฏล�ำปาง โดย นาย อภิชัย เสาร์เปียง “มือบอน” ขึ้นรูปอิสระ ต่อเติมนูนต�ำ่ และวาดสี ดินสโตนแวร์ 1,230 °C 62 x 60 x 79 ซม. Lampang Rajabhat University By Mr. Aphichai Saopiang “Mischief Maker” Free forming, embossing and painting Materials Stoneware clay Temperature 1,230 °C Size 62 x 60 x 79 cm
94
selected entries for exhibition
ศิลปิน ชื่อผลงาน
นาย สุรศักดิ์ แสนโหน่ง “ความงดงามของความอุดมสมบูรณ์ หมายเลข 1” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินบ้านหม้อ อุณหภูมิ 1,250 และ 800 °C ขนาด 82 x 100 x 197 ซม. (6 ชิ้น) Artist Mr. Surasak Sannong Title “The Beauty of Fertility No.1” Technique Hand forming Materials Local clay (Ban Mor clay) Temperature 1,250 and 800 °C Size 82 x 100 x 197 cm (6 pieces) ศิลปิน ชื่อผลงาน
นาย นพอนันต์ บาลิสี “ความประทับใจในความงดงามของ พลังแห่งพฤกษา” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินแม่น�้ำมูล ชนิดเคลือบ เคลือบดินแม่น�้ำ อุณหภูมิ 1,150 °C ขนาด 120 x 123 x 175 ซม. (2 ชิ้น) Artist Mr. Nopanan Balisi Title “The Impression of the PowerfulFlora” Technique Hand forming Materials Local clay (Moon River clay) Glazed River clay glazed Temperature 1,150 °C Size 120 x 123 x 175 cm (2 pieces)
CONTEMPORARY CERAMIC ART
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นาย อริย์ธัช รักสกุล “สมบูรณ์แบบไม่สมบูรณ์แบบ” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์ 1,250 °C 135 x 50 x 50 ซม. (4 ชิ้น) Mr. Aritat Raksakul “Perfectly Imperfect” Hand forming Stoneware clay 1,250 °C 135 x 50 x 50 cm (4 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน โดย นาย เอกราช พลับจะโปะ “บทเพลงรักจากป่า” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินลาวไฟ 1,200 °C 198 x 157 x 132 ซม. (9 ชิ้น) Rajamangala University of Technology Isan By Mr. Aekkarach Plubjapo Title “Love Song from the Forest” Technique Hand forming Materials Local clay (Lao Fai clay) Temperature 1,200 °C Size 198 x 157 x 132 cm (9 pieces)
96
selected entries for exhibition
ศิลปิน
ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นาย อลงกรณ์ ธรรมพิชัย ชื่อผลงาน “แอนดรอยด์” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินเหนียว อุณหภูมิ 1,220 °C ขนาด 34 x 34 x 64 ซม. Artist Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Mr. Alongkon Thumpichai Title “Android” Technique Hand forming Materials Ball clay Temperature 1,220 °C Size 34 x 34 x 64 cm ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นางสาว นริศา นิลพงษ์ “ถ�้ำหลวง” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์ และดินพื้นบ้าน 1,200 °C 120 x 60 x 116 ซม. (15 ชิ้น) Miss Narisa Ninlapong “Tham Luang Cave” Hand forming Stoneware clay and local clay 1,200 °C 120 x 60 x 116 cm (15 pieces)
CONTEMPORARY CERAMIC ART
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Aritst Title Technique Materials Temperature Size
นาย กษิดิษ ชาวงษ์ “จิตวิญญาณแห่งนักรบ” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์ 1,230 °C 80 x 19 x 31 ซม. (3 ชิ้น) Mr. Kasidit Chawong “Warrior’s Heart” Hand forming Stoneware clay 1,230 °C 80 x 19 x 31 cm (3 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด Artist
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดย นาย เกรียงไกร ดวงขจร “ภาชนะจากธรรมชาติ” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดินด่านเกวียน เคลือบขี้เถ้าไม้ 1,250 °C 110 x 80 x 45 ซม. (8 ชิ้น) Nakhon Ratchasima Rajabhat University By Mr. Kriangkrai Duangkhachon Title “Pottery from Nature” Technique Wheel throwing Materials Local clay (Dan Kwean clay) Glazed Wood ash glazed Temperature 1,250 °C Size 110 x 80 x 45 cm (8 pieces) ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
98
นาย วันปภัส ศรีชินเลิศ “ผสมผสานกลิ่นไอ” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดินสโตนแวร์ 1,250 °C 75 x 70 x 180 ซม. (3 ชิ้น) Mr. Wanpaphat Srichinlert “Mixing Scent” Wheel throwing Stoneware clay 1,250 °C 75 x 70 x 180 cm (3 pieces)
selected entries for exhibition
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Glazed Temperature Size
นาย จ�ำลอง สุวรรณชาติ “สุนทรียะแห่งธรรมชาติ” ขึ้นรูปด้วยมือ และเขียนสี ใต้เคลือบ ดินสโตนแวร์ เคลือบเฟลด์สปาร์ 1,250 °C 102 x 100 x 70 ซม. (3 ชิ้น) Mr. Jarmlong Suwanchat “Aesthetics of Nature” Hand forming and under glazed Stoneware clay Feldspar 1,250 °C 102 x 100 x 70 cm (3 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน โดย นาย จักรพงษ์ ฝาชัยภูมิ “ป่ารักษ์น�้ำ” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินลาวไฟ 1,250 °C 140 x 126 x 136 ซม. (4 ชิ้น) Rajamangala University of Technology Isan By Mr. Jakkaphong Fachaiyaphum Title “The Water and Forest” Technique Hand forming Materials Lao Fai clay Temperature 1,250 °C Size 140 x 126 x 136 cm (4 pieces) ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดย นาย ชน ยี่นาง “เคียงคู่” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดินด่านเกวียน 1,280 °C 80 x 65 x 67 ซม. (5 ชิ้น) Nakhon Ratchasima Rajabhat University By Mr. Chon Yeenang “Closely” Wheel throwing Local clay (Dan Kwean clay) 1,280 °C 80 x 65 x 67 cm (5 pieces)
CERAMIC HANDICRAFT
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นาย ธัญเกียรติ กฤษฎาพรอนันท์ “ชามกระดาษ” หล่อน�้ำดิน ดินพอร์ซเลน 1,250 °C 58 x 27 x 28.5 ซม. (2 ชิ้น) Mr.Tanyakiet kritsadapornanan “Paper Bowl” Slip casting Porcelain 1,250 °C 58 x 27 x 28.5 cm (2 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Glazed Temperature Size
นาย นนทนันท์ เปียกบุตร “แจกันใบแปะก๊วย” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดินแม่ริม เคลือบขี้เถ้า 1,250 °C 26 x 26 x 45 ซม. Mr. Nontanan Peakbut “Ginkgo Vase” Wheel throwing Local clay (Mae Rim clay) Ash glazed 1,250 °C 26 x 26 x 45 cm
ศิลปิน ชื่อผลงาน
นาย ปณชัย พณิชสารนันท์ “วิวัฒนาการของเครื่องยนต์ หมายเลข 1” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ชนิดดิน ดินสโตนแวร์ อุณหภูมิ 1,200 °C ขนาด 30 x 26 x 20 ซม. (3 ชิ้น) Artist Mr. Panachai Panichsaranun Title “The Evolution of Engine No.1” Technique Wheel throwing Materials Stoneware clay Temperature 1,200 °C Size 30 x 26 x 20 cm (3 pieces)
100
selected entries for exhibition
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Glazed Temperature Size
นาย เด่น รักซ้อน “ไหปลาร้าอีสาน” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดินด่านเกวียน เคลือบขี้เถ้าไม้เบญจพรรณ 1,250 °C 217 x 79 x 50 ซม. (4 ชิ้น) Mr. Den Raksorn “I-san Jar” Wheel throwing Local clay (Dan Kwean clay) Wood ash glazed 1,250 °C 217 x 79 x 50 cm (4 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นางสาว ปรัชญาพร แก้วมาลัยทิพย์ “ชุดแจกันขนาดจิ๋วส�ำหรับดอกไม้ใบไม้ขนาดจิ๋ว” ขึ้นรูปบนแป้นหมุน แบบแผ่นและแบบบีบ ดินสโตนแวร์ 1,250 °C 110 x 26 x 20 ซม. (24 ชิ้น) Miss Prutchayaporn Kaewmalaithip “Tiny Vases for Tiny Flora” Wheel throwing (slab building and pinching) Stoneware clay 1,250 °C 110 x 26 x 20 cm (24 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นาย ปณชัย พณิชสารนันท์ “วิวัฒนาการของเครื่องยนต์ หมายเลข 2” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดินสโตนแวร์ 1,200 °C 28 x 26 x 18 ซม. (3 ชิ้น) Mr. Panachai Panichsaranun “The Evolution of Engine No.2” Wheel throwing Stoneware clay 1,200 °C 28 x 26 x 18 cm (3 pieces)
CERAMIC HANDICRAFT
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นางสาว วรัญญา นงนุช “จิตใจสัตว์ป่า” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์ 1,230 °C 115 x 22 x 28 ซม. (4 ชิ้น) Miss Waranya Nongnuch “The Mind of Wildlife” Hand forming Stoneware clay 1,230 °C 115 x 22 x 28 cm (4 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดย นาย อิทธินพ สีใส “ชุดน�้ำชารูปแบบนกฮูก หมายเลข 1” ท�ำพิมพ์ หล่อตกแต่ง ขูดขีด และปั้นแปะ ชนิดดิน ดินสโตนแวร์ อุณหภูมิ 1,230 °C ขนาด 33 x 30 x 118 ซม. (5 ชิ้น) Artist Rajamangala University of Technology By Mr. Ittinop Seesai Title “Owl Tea Set No.1” Technique Pressing, casting, incising and embossing Materials Stoneware clay Temperature 1,230 °C Size 33 x 30 x 118 cm (5 pieces) ศิลปิน
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นางสาว วนิดา นวลฉวี ชื่อผลงาน “ปลามหาสนุก” เทคนิค ขึ้นรูปแบบขด ชนิดดิน VRU อุณหภูมิ 1,220 °C ขนาด 42 x 17 x 93 ซม. Artist Valaya Alongkorn Rajabhat University By Miss Wanida Nualchawee Title “Fun Fish” Technique Coiling Materials VRU clay Temperature 1,220 °C Size 42 x 17 x 93 cm
102
selected entries for exhibition
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ โดย นางสาว พิมพ์ลภัส รัศมีประเสริฐสุข “ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกจังหวัดน่าน” หล่อน�้ำดินและลงสี ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ และดินเหนียว 1,200 °C 60 x 50 x 133 ซม. (8 ชิ้น) King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Miss Pimlapat Ratsameeprasoetsuk Title “Beautiful Brocade of Nan” Technique Slip casting and painting Materials Earthenware clay and ball clay Temperature 1,200 °C Size 60 x 50 x 133 cm (8 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดย นาย อิทธินพ สี ใส “ชุดน�้ำชารูปแบบนกฮูก หมายเลข 2” ท�ำพิมพ์ หล่อตกแต่ง ขูดขีด และปั้นแปะ ดินสโตนแวร์ 1,230 °C 35 x 51 x 108 ซม. (6 ชิ้น) Rajamangala University of Technology By Mr. Ittinop Seesai “Owl Tea Set No.2” Pressing, casting, incising and embossing Materials Stoneware clay Temperature 1,230 °C Size 35 x 51 x 108 cm (6 pieces) ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดย นาย ชน ยี่นาง “ไม้กลายเป็นหิน” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดินด่านเกวียน 1,280 °C 53 x 60 x 61 ซม. (2 ชิ้น) Nakhon Ratchasima Rajabhat University by Mr. Chon Yeenang Title “Petrified Wood” Technique Wheel throwing Materials Local clay (Dan Kwean clay) Temperature 1,280 °C Size 53 x 60 x 61 cm (2 pieces)
CERAMIC HANDICRAFT
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นาย พนธกร คุณุรัตน์ “รุ่งอรุณของวันใหม่ หมายเลข 2” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน เอนโกบ และดินพื้นบ้าน ดินสโตนแวร์ 1,250 °C 74 x 31 x 29 ซม. (4 ชิ้น) Mr. Pontakorn Khunurat “A New Day Dawn No.2” Wheel throwing, engobe and local clay Materials Stoneware clay Temperature 1,250 °C Size 74 x 31 x 29 cm (4 pieces) ศิลปิน
ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นาย พนม เสมาทอง ชื่อผลงาน “สีสันแห่งฤดู” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ และลงสี ชนิดดิน ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ อุณหภูมิ 1,230 °C ขนาด 138 x 47 x 78 ซม. (3 ชิ้น) Artist Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Mr. Phanom Semathong Title “Colors of Season” Technique Hand forming and painting Materials Earthenware clay Temperature 1,230 °C Size 138 x 47 x 78 cm (3 pieces) ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique
นาง ล�ำดวน สุริยะป้อ “แจกันศิลาดลลายผ้าซิ่น” หล่อน�้ำดิน สลักลาย ขูดลาย ดินด�ำ และดินสโตนแวร์ 1,260 – 1,300 °C 25 x 25 x 39 ซม. Mrs. Lamduan Suriyapo “Celadon Jar” Slip casting, incising and carving Materials Local clay and stoneware clay Temperature 1,260 – 1,300 °C Size 25 x 25 x 39 cm
104
selected entries for exhibition
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique
นาย พนธกร คุณุรัตน์ “รุ่งอรุณของวันใหม่ หมายเลข 1” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน เผาในหีบ ดินสโตนแวร์ 1,250 °C 130 x 57 x 143 ซม. (4 ชิ้น) Mr. Pontakorn Khunurat “A New Day Dawn No.1” Wheel throwing and saggar firing Materials Stoneware clay Temperature 1,250 °C Size 130 x 57 x 143 cm (4 pieces) ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique
นาย ณัฐสิทธิ์ บุญมา “ส�ำเภาทอง” ขึ้นรูปแบบแผ่น ดินสโตนแวร์ 1,185 °C 73 x 34 x 86 ซม. Mr. Nattasit Boonma “Sailboat” Slab building Stoneware clay 1,185 °C 73 x 34 x 86 cm
นาง ล�ำดวน สุริยะป้อ “หม้อดอกศิลาดล” ลงสี ใต้เคลือบไฟสูง ดินด�ำ และดินสโตนแวร์ 1,260 – 1,300 °C 35 x 35 x 58 ซม. (2 ชิ้น) Mrs. Lamduan Suriyapo “Celadon Pot with Lid” Under glazed and high temperature glazed Materials Black clay and stoneware clay Temperature 1,260 – 1,300 °C Size 35 x 35 x 58 cm (2 pieces)
CERAMIC HANDICRAFT
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique
นาย สุริยา วังบอน “รูปทรงของชีวิต” หล่อแบบ ตกแต่งด้วยมือ ดินผสม ดินด�ำ และดินขาวล�ำปาง 1,280 °C 110 x 80 x 40 ซม. (14 ชิ้น) Mr. Suriya Wangbon “Organic Cyclic Life” Casting and hand decorating Compound clay, black clay and white clay (Lampang) Temperature 1,280 °C Size 110 x 80 x 40 cm (14 pieces) ศิลปิน
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นาย เศกพร ตันศรีประภาศิริ ชื่อผลงาน “แรงฟืน” เทคนิค ขึ้นรูปบนแป้นหมุน และเผาเตาฟืน ชนิดดิน VRU อุณหภูมิ 1,310 °C ขนาด 38 x 38 x 45 ซม. Artist Valaya Alongkorn Rajabhat University By Mr. Sekporn Tansripraparsiri Title “Effects of Firing” Technique Wheel throwing and wood fire Materials VRU clay Temperature 1,310 °C Size 38 x 38 x 45 cm ศิลปิน
ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นาย มนตรี ประเสริฐแก้ว ชื่อผลงาน “หอเอน” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ อุณหภูมิ 1,230 °C ขนาด 70 x 30 x 68 ซม. (2 ชิ้น) Artist Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Mr. Montri Prasoetkaeo Title “Italic Tower” Technique Hand forming Materials Earthenware clay Temperature 1,230 °C Size 70 x 30 x 68 cm (2 pieces)
106
selected entries for exhibition
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นาย ศราวุฒิ โปนา “ขูด ” ขึ้นรูปบนแป้นหมุน และเตาฟืน ดินสโตนแวร์ โคน 10 °C 40 x 40 x 40 ซม. Mr. Sarawut Pona “Scratch” Throwing and wood firing Stoneware clay 10 °C (Cone) 40 x 40 x 40 cm
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นาย สุธารักษ์ แสงเทศ “เปลวไฟระบายสี 2561” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดินสโตนแวร์ 1,280 °C 126 x 86 x 48 ซม. (5 ชิ้น) Mr. Sutharak Saengtes “Flame of Colors 2018” Wheel throwing Stoneware clay 1,280 °C 126 x 86 x 48 cm (5 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน
นางสาว วชิราภรณ์ เงินเมือง “แจกันฉลุ แรงบันดาลใจจากเครื่อง แขวนไทย” เทคนิค ฉลุลาย ชนิดดิน ดินพอร์ซเลน ชนิดเคลือบ เคลือบใส อุณหภูมิ 1,250 °C ขนาด 44 x 30 x 30 ซม. (2 ชิ้น) Artist Miss Wachiraphorn Ngernmuang Title “Carved Vase: Traditional Thai Floral Pendants in Spring” Technique Carving Materials Porcelain Glazed Clear glazed Temperature 1,250 °C Size 44 x 30 x 30 cm (2 pieces)
CERAMIC HANDICRAFT
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials
ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นางสาว ปานทิพย์ สุภาสาด ชื่อผลงาน “หินกับกาลเวลา” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ อุณหภูมิ 1,230 °C ขนาด 106 x 51 x 80 ซม. Artist Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Miss Panthip Supasad Title “Stone and Time” Technique Hand Forming Materials Earthenware clay Temperature 1,230 °C Size 106 x 51 x 80 cm
ศิลปิน
ศิลปิน ชื่อผลงาน
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Glazed Temperature Size
นางสาว สุกัญญา แทนหา “ชุดตกแต่งร้านกาแฟสไตล์วินเทจ ร้าน My Memories” เทคนิค หล่อน�้ำดิน ขึ้นรูปด้วยมือ และลงสี ชนิดดิน Bone China อุณหภูมิ 1,230 °C ขนาด 44 x 30 x 20 ซม. (5 ชิ้น) Artist Miss Sukanya Tanha Title “My Memories Tea Set” Technique Slip casting, hand forming and painting Materials Bone China Temperature 1,230 °C Size 44 x 30 x 20 cm (5 pieces) ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
108
นางสาว ทิพากร ปัดเจริญ “ไม่สมบูรณ์แบบ” หล่อน�้ำดิน และฉลุลาย ดินวิเทรียสไชน่า และดินสโตนแวร์ 1,280 °C 160 x 18 x 86 ซม. (12 ชิ้น) Miss Tipakorn Patcharoen “Incomplete” Slip casting and carving Vitreous China and stoneware clay 1,280 °C 160 x 18 x 86 cm (12 pieces)
selected entries for exhibition
ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นาย ค�ำรณ พวงหิรัญ ชื่อผลงาน “คนกับทะเล” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ อุณหภูมิ 1,230 °C ขนาด 35 x 35 x 85 ซม. Artist Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Mr. Kamron Puanghiran Title “Man and Sea” Technique Hand forming Materials Earthenware clay Temperature 1,230 °C Size 35 x 35 x 85 cm นางสาว ภควรรณ ทองวานิช “The Flowery Afternoon Tea” ขึ้นรูปแบบแป้นหมุน ดิ น กึ่ ง พอร์ ซ เลน เคลือบใส 1,250 °C 65 x 40 x 20 ซม. (6 ชิ้น) Miss Pakawan Thongvanit “The Flowery Afternoon Tea” Wheel throwing Semi-porcelain Clear glazed 1,250 °C 65 x 40 x 20 cm (6 pieces)
CERAMIC HANDICRAFT
ศิลปิน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ โดย นางสาว ชยาภรณ์ เจริญวงษ์ ชื่อผลงาน “โคมไฟเดซี่” เทคนิค หล่อกลวง ชนิดดิน ดินสโตนแวร์ อุณหภูมิ 1,200 °C ขนาด 74 x 60 x 194 ซม. (3 ชิ้น) Artist King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Miss Chayaporn Charoenwong Title “Lazy Daizy” Technique Drain casting Materials Stoneware clay Temperature 1,200 °C Size 74 x 60 x 194 cm (3 pieces)
ศิลปิน
ศิลปิน ชื่อผลงาน
นาย กิตติธัช อนันทชาติวงศ์ “ความประทับใจในการเคลื่อนไหว ของลูกข่าง” เทคนิค หล่อกลวง และวัสดุผสม ชนิดดิน ดินพอร์ซเลน อุณหภูมิ 1,250 °C ขนาด 50 x 50 x 116 ซม. (2 ชิ้น) Artist Mr. Kittituch Anantachatwong Title “Impression of Spinning Top” Technique Drain casting and materials Materials Porcelain Temperature 1,250 °C Size 50 x 50 x 116 cm (2 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
ศิลปิน
นาย กิตติธัช ภูนฤมิต “โคมไฟปลาหมึกยักษ์ หมายเลข 1” ท�ำพิมพ์ และหล่อน�้ำดิน ดินพอร์ซเลน 1,200 °C 50 x 50 x 121 ซม. Mr. Kittithat Phunarumit “Octopus Lamp No.1” Pressing and slip casting Porcelain 1,200 °C 50 x 50 x 121 cm
selected entries for exhibition
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดย นางสาว ชยาภรณ์ เจริญวงษ์ ชื่อผลงาน “โคมไฟเดซี่ผสมผ้า” เทคนิค หล่อกลวง ชนิดดิน ดินสโตนแวร์ อุณหภูมิ 1,200 °C ขนาด 36 x 38 x 158 ซม. Artist King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Miss Chayaporn Charoenwong Title “Lazy Daizy with Fabric” Technique Drain casting Materials Stoneware clay Temperature 1,200 °C Size 36 x 38 x 158 cm นางสาว เยาวเรศ สุทธิศาล “ลายรัศมี” หล่อน�ำ้ ดิน สางลาย สานและทองแดง ดินสโตนแวร์ 1,200 °C 95 x 50 x 84 ซม. (3 ชิ้น) Miss Yaowaret Suthisan “Ratsamee Sculpture” Slip casting, carving, weaving and copper Stoneware clay 1,200 °C 95 x 50 x 84 cm (3 pieces)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ โดย นางสาว ชุติมา เนาว์นิเวศน์ ชื่อผลงาน “ชุดภาชนะอาหารไทยได้รับแรง บันดาลใจมากจากดอกแค” เทคนิค เขียนทอง ชนิดดิน ดินวิเทรียส ไชน่า อุณหภูมิ 1,200 °C ขนาด 52 x 79 x 29 ซม. (6 ชิ้น) Artist King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Miss Chutima Naoniwet Title “Tableware Inspired by White Agasta” Technique Gold luster Materials Vitreous China clay Temperature 1,200 °C Size 52 x 79 x 29 cm (6 pieces)
Ceramic Industrial Prototype
110
ศิลปิน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ โดย นางสาว ธัญรัตน์ อัตตานุชิต ชื่อผลงาน “กุหลาบหิน หมายเลข 2” เทคนิค หล่อตัน ชนิดดิน วิเทรียสไชน่า อุณหภูมิ 1,200 °C ขนาด 60 x 50 x 136 ซม. (6 ชิ้น) Artist King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Miss Thanyarat Attanuchit Title “Echeveria No.2” Technique Solid casting Materials Vitreous China clay Temperature 1,200 °C Size 60 x 50 x 136 cm (6 pieces)
ศิลปิน
ศิลปิน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดย นาย ธวัชชัย อัตตะไพบูลย์ ชื่อผลงาน “การเปลี่ยนแปลงของกล้วยไม้” เทคนิค หล่อตัน และหล่อกลวง ชนิดดิน วิเทรียสไชน่า อุณหภูมิ 1,200 °C ขนาด 60 x 50 x 130 ซม. (5 ชิ้น) Artist King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Mr. Thawatchai Attapaiboon Title “Orchid Transformation” Technique Drain casting and solid casting Materials Vitreous China clay Temperature 1,200 °C Size 60 x 50 x 130 cm (5 pieces)
ศิลปิน
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
ศิลปิน
นาย สรณัฏฐ์ คงนวล “แจกันงาช้าง” หล่อน�้ำดิน สลักลาย และขูดลาย ดินขาวพิเศษ 1,260 °C 43 x 20 x 44 ซม. (2 ชิ้น) Mr. Sorranat Kongnuan “Tusk Vase” Slip casting, carving and incising White clay 1,260 °C 43 x 20 x 44 cm (2 pieces)
selected entries for exhibition
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ โดย นางสาว ธัญรัตน์ อัตตานุชิต ชื่อผลงาน “กุหลาบหิน หมายเลข 1” เทคนิค หล่อกลวง ชนิดดิน วิเทรียสไชน่า (VCB) อุณหภูมิ 1,200 °C ขนาด 60 x 50 x 136 ซม. (7 ชิ้น) Artist King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Miss Thanyarat Attanuchit Title “Echeveria No.1” Technique Drain Casting Materials Vitreous China clay Temperature 1,200 °C Size 60 x 50 x 136 cm (7 pieces) ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นางสาว บูรณิน กาวี ชื่อผลงาน “ความประทับใจในลายเส้น” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ และบีบเส้น ชนิดดิน ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ อุณหภูมิ 1,200 °C ขนาด 62 x 74 x 7 ซม. (9 ชิ้น) Artist Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Miss Buranin Kawi Title “Impression of Lines” Technique Hand forming and extrusion Materials Earthenware clay Temperature 1,200 °C Size 62 x 74 x 7 cm (9 pieces) ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นาง สมควร กุลวงศ์ ชื่อผลงาน “เมล็ด 2 สายพันธุ์” เทคนิค หล่อปั้นติด ชนิดดิน ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ อุณหภูมิ 1,230 °C ขนาด 53 x 27 x 56 ซม. (2 ชิ้น) Artist Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Mrs. Somkhoun Kunlawong Title “Two Genetic Seeds” Technique Embossing Materials Earthenware clay Temperature 1,230 °C Size 53 x 27 x 56 cm (2 pieces)
Ceramic Industrial Prototype
112
ศิลปิน
นางสาว ชนากานต์ แซ่อึ้ง “ชุดกาแฟแมว หมายเลข 1” ท�ำพิมพ์ และหล่อน�้ำดิน ดินพอร์ซเลน 1,200 °C 40 x 40 x 122 ซม. (5 ชิ้น) Miss Chanakan Sae-ung “Cat Coffee Sets No.1” Pressing and slip casting Porcelain 1,200 °C 40 x 40 x 122 cm (5 pieces)
ศิลปิน
ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิต์ิพระบรมราชินีนาถ โดย นางสาว วาสนา สุนันสา ชื่อผลงาน “5 ลีลา” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ อุณหภูมิ 1,200 °C ขนาด 90 x 35 x 4 ซม. (5 ชิ้น) Artist Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Center By Miss Wasana Sunansa Title “Five Movements” Technique Hand forming Materials Earthenware clay Temperature 1,200 °C Size 90 x 35 x 4 cm (5 pieces) ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
114
นางสาว พริมา ปริศวงศ์ “ชามลายผลึก รุ่นปฐมฤกษ์” ขึ้นรูปด้วยจิ๊กเกอร์และจอยรี่ ดินแม่ริม 1,260 °C 60 x 60 x 90 ซม. (4 ชิ้น) Miss Prima Prisawong “The Spring of Crystal” Jiggering and jollying Local clay (Mae Rim clay) 1,260 °C 60 x 60 x 90 cm (4 pieces)
selected entries for exhibition
ศิลปิน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ โดย นางสาว ฐิตาภรณ์ สุนทรสถิตย์ ชื่อผลงาน “ชุดผลิตภัณฑ์ของใช้ภายในอาคารได้ แรงบันดาลใจจากศิลปะในสมัย อยุธยา” เทคนิค ขึ้นรูป หล่อกลวง และเขียนลาย เบญจรงค์ ชนิดดิน ดินวิเทรียสไชน่า อุณหภูมิ 1,200 °C ขนาด 55 x 40 x 43 ซม. (4 ชิ้น) Artist King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Miss Thitaporn Soontornsatit Title “Household Inspired by Ayutthaya Art” Technique Drain casting and painting in five colors Materials Vitreous China clay Temperature 1,200 °C Size 55 x 40 x 43 cm (4 pieces) ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นาย รัชพล ชยะกูรจิรภั ทร “ปิ่นโตที่ ได้รับแรงบันดาลใจจากผลไม้” หล่อกลวง ดินสโตนแวร์ 1,220 °C 39 x 40 x 105 ซม. (8 ชิ้น) Mr. Ratchapon Chayakoonjirapat “Packed Lunch Inspired by Fruits” Drain casting Stoneware clay 1,220 °C 39 x 40 x 105 cm (8 pieces)
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
นางสาว ศิรัมภา จุลนวล “เทริด” หล่อน�้ำดิน ดินพอร์ซเลน 1,220 °C 90 x 50 x 120 ซม. (7 ชิ้น) Miss Sirumpa Chulnual “Sred Vase” Slip casting Porcelain 1,220 °C 90 x 50 x 120 cm (7 pieces)
Ceramic Industrial Prototype
ศิลปิน ชื่อผลงาน เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด Artist Title Technique Materials Temperature Size
Artists’ pr files ประวัติศิลปิน
Anan Apichai Wattanakorbkwin Pangjunan อนันท์ วัฒนากอปรกวิน
อภิชัย พังจุนัน
Born 1 March 1995 Address 588/1 Prachasongkroh 4, Prachasongkroh Road, Din Daeng, Bangkok 10400 E-mail ananwatanakrobkwin@hotmail.com
Born 30 October 1994 Address 35 Wat Pradu, Mueang, Surat Thani 84000 E-mail golfzero07@hotmail.com
Education 2017 - BFA (Ceramics), Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University, Thailand 2013 - Vocational College Diploma in Design, Saowabha Vocational College, Bangkok, Thailand Work 2018 - Ceramic Technician at Harrow International School 2017 - Product Designer at Royal Porcelain Public Company Limited 2014 - Team Art Director Assistant Group Exhibition th 2017 - The 34 Exhibition of Contemporary Art by Young Artist,th the Art and Cultural Center Commemorating the 6 Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakornpathom - Mong-Long, Art Thesis Exhibition at Bangkok Art and Cultural Centre, Bangkok, Thailand - A CUP I MADE Exhibition, Charm-Learn Studio, Bangkok, Thailand 2016 - Sanamchandra Symposium Clay Work, Silpakorn Sanamchandra Palace Campus Nakornpathom, Thailand 2015 - Department of Ceramics Exhibition, the Art Centre of Silpakorn University, Bangkok, Thailand Awards and Honors 2018 - Second Prize in Contemporary Art, the 19th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand 2017 - The Best Thesis Awards 2017 in Ceramics, Silpakorn University Bangkok, Thailand 2016 - Certificate of “International Ceramics Symposium Sanamchandra Clay Work” Nakornpatom, Thailand 2015 - Certificate of “Honor Roll” of Faculty of Decorative Art Bangkok, Thailand
Education 2018 - BFA, Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, Bangkok, Thailand Awards and Honors 2018 - Secondth Prize in Ceramic Industrial Prototype, the 19 National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand
Danai Toamornphan ดนัย โตอมรพันธุ์
Born 21 June 1983, Nakhon Si Thammarat Address 565/80 Siam Nakhon Thani Village, Oomkai Rd., Pakpoon Sub-district, Muang district Nakhon Si Thammarat Province, 80000 E-mail danaitclay@gmail.com Website www.toamornphan.com Education 2011 - MFA, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University, Bangkok,Thailand 2005 - BFA, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi,Thailand Work 2011-2017 - Lecturer, Faculty of Fine and Applied Arts, Ceramics design Burapha University, Chonburi, Thailand 2017- present - Founder of Nakhon Art Space, (Art Learning space and studio), Nakhon Si Thammarat, Thailand Group Exhibition th 2018 - The 19 National Ceramics Exhibition, ththe Art and Cultural Center Commemorating the 6 Cycle Birthday Anniversary of His Majesty The King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom, Thailand 2017 - Ceramics Handicraft, Ceramic center, Lampang, Thailand 2016 -The 13th Dali-Thailand Great Oriental Art Exhibition, Chonburi, Thailand - ART FOR KING Exhibition, Eastern Art & Culture Gallery, Chonburi, Thailand 2015 - Bangkok Clay Connection Exhibition, Hof Art Space, Bangkok, Thailand - My Cup of Tea, Mekong Basin Civilization Museum, Chiang Rai, Thailand 2014 - Lecturer of Thai-Korea Wood Firing Exhibition, Burapha University, Chonburi, Thailand - The 17th National Ceramics Exhibition, Ratchadamnoen Contemporary Art Center, Bangkok, Thailand 2013 - ASEAN Ceramics2013 & ICTA2013, Bitec Bangna, Bangkok, Thailand - Connect Expand+, the National art Gallery, Bangkok, Thailand
2011 2010 2009 2008 2006
- The 57th National Exhibition of Art, the National art Gallery, Bangkok, Thailand - The 25th PTT Art Exhibition “An Ultimate Dream”, the Art Centre, Silpakorn University, Thailand - The 15th National Ceramics Exhibition, Sanamchandra Art Gallery, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakornpathom - The 24th PTT Art Exhibition “Happiness”, the Art Centre, Silpakorn University, Thailand - The 14th National Ceramics Exhibition, Sanamchandra Art Gallery, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakornpathom - The 13th National Ceramics Exhibition, the Art Centre, Silpakorn University, Bangkok
Awards and Honors 2018 - Second Prize in Ceramic Handicraft, the 19th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand 2017 - Special Awards, Ceramics Handicraft, Ceramic center, Lampang, Thailand 2010 - Scholarship from General Prem Tinsulanonda Statesman Foundation 2006 - Second Prize in Ceramic Handicraft, the 13th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand
Kittipot Prayotmee
Kittituch Anantachatwong
กิตติพศ ประโยชน์มี
กิตติธัช อนันทชาติวงศ์
Born 26 November 1995 Address 60/46 Kanchanapisek Road, Bangyai, Nontaburi 11140 E-mail neapneap_1995@hotmail.com
Born 3 March 1995 Address 134/11 Suk Sawat Rd, Phra Pradaeng, Samut Prakan 10130 E-mail bigg.snack98@gmail.com Website www.bigsnack98.wixsite.com/mysite
Education 2018 - Faculty of Decorative Arts, Department of Ceramics, Silpakorn University, Nakornpathom, Thailand Group Exhibition th 2016 - The 18 National Ceramics Exhibition, ththe Art and Cultural Center Commemorating the 6 Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakornpathom Awards and Honors 2018 - Second Prize in Contemporary Art, the 19th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand Artist in Residence 2018 - Ceramics Harmony, Qingdao China 2015 - Ceramics Harmony, South Korea
Education 2017 - BFA (Ceramics Design), Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University, Bangkok, Thailand Work 2018 - Freelance Designer Group Exhibition 2017 - A cup I made, Charmlearn Studio, Bangkok, Thailand 2016 - Silpakorn Ceramic Symposium 2016, Thailand “Sanamchandra Clay Work 2”,ththe Art and Cultural Center Commemorating the 6 Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom, Thailand Awards and Honors 2018 - Secondth Prize in Ceramic Industrial Prototype, the 19 National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand
Narisa Ninlapong
Nisanat Santitamakod
นริศา นิลพงษ์
นิศานาถ สันติธรรมคต
Born Address E-mail
Born 25 May 1996 Address 40/1 M.2 Wang Saem, Makham, Chanthaburi 22150 E-mail niesean@gmail.com
5 December 1995 47/682 Moo 5 Salaya, Phutthamonthon, Nakhon Pathom 73170 Narisa2023@gmail.com
Education 2018 - Bunditpatanasilpa Institute, Thailand Group Exhibition 2018 - Theses Exhibition, Faculty of Fine Arts, Bunditpatanasilpa Institute, Wangna Arts Gallery, Bangkok, Thailand - Arts and Culture in Four Sectors, Wangna Arts Gallery, Bangkok, Thailand 2017 - The 2nd Looking at 1200 Art Exhibition, Wangna Arts Gallery, Bangkok, Thailand Awards and Honors 2018 - 1st Class Honors, Faculty of Fine Arts, Bunditpatanasilpa Institute, Bangkok, Thailand - Selected for the Best Art Thesis Exhibition, the Queen’s Gallery, Bangkok, Thailand 2017 - First runner-up, the Contemporary Porcelain in Nature Conservation Contest, Rajamangala University of Technology Krungthep - Excellent Award in Ceramic Painting by Student Art Contest, Faculty of Fine Arts Academic year of 2016, Wangna Arts Gallery, Bunditpatanasilpa Institute, Bangkok, Thailand - Excellent Award in Creative porcelain by Student Art Contest, Faculty of Fine Arts Academic year of 2016, Wangna Arts Gallery, Bunditpatanasilpa lnstitute, Bangkok, Thailand
Education 2017 - Bachelor of Architecture (Industrial Design), Faculty of Architecture King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang 2013 - Princess Chulabhorn Science High School, Chonburi Awards and Honors 2016 - “Biyan” Ceramic Collection with Prempracha’s Collection Co,.Ltd In Chiang Mai Design Week by TCDC
Papitcha Thanasomboon
Pichet Thammawat
ปพิชชา ธนสมบูรณ์
พิเชฐ ธรรมวัฒน์
Born Address E-mail Website
Born 26 May 1988 Address 19 Moo 1 Thongchainua, Pakthongchai, Nakonratchasima 30150 E-mail chet.tu88@gmail.com
21 September 1995 42 Bangna-Trad 21, Bangna-Trad Rd., Bangna, Bangkok 10260 papitchaearth@gmail.com www.papitcha.wordpress.com
Education 2018 - BFA in Ceramics, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University, Bangkok, Thailand Work 2018
- Manager and Floral Designer at ROSE and PEONY Florist - Owner of Flowers in the Mist Floral Studio - Owner of Flowers in the Vase Ceramics
Group Exhibition 2018 - ATTRA : ART THESIS EXHIBITION, Bangkok Art & Cultural Centre, Bangkok, Thailand - UNTITLED 2, Inthamara 22, Bangkok, Thailand 2017 - A CUP I MADE, Charm-Learn Studio, Bangkok, Thailand - INRELATION 3, Baan Tuek Art Centre, Chiang Mai, Thailand - Hotel Art Fair, Adlib Hotel, Bangkok Thailand - UNTITLED, Sukhumvit 26, Bangkok Thailand Awards and Honors 2018 - Second Prize Ceramic Handicraft, the 19th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand
Education 2014 - MFA (Ceramics), Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University. Bangkok, Thailand 2009 - BFA (Ceramic Design), Rajamangala University of Technology Isan, Nakhonrachasima, Thailand Group Exhibition th 2018 - The 19 National Ceramics Exhibition,th the Art and Cultural Center Commemorating the 6 Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakornpathom 2017 - Bluport Ceramic Art Exhibition, Bluport, HuaHin - Art Exhibition Ban korat wangtabak, Nakonratchasima - Seeswad Art Exhibition, Rueankorat – Chalermwattana, Nakonratchasima 2016 - The 18th National Ceramics Exhibition, the Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakornpathom 2015 - Clay Deang Art Exhibition, Pimay, Nakonratchasima 2014 - Bangkok Clay Exhibition, Bangkok - With Clay, With Friendship, With World Ceramic Art Exhibition, Seoul Tech Museum Of Art, South Korea - Sculpture of 25 Supali Art Exhibition, Bangkok - The 17th National Ceramics Exhibition, Ratchadamnoen Contemporary Art Center, Bangkok, Thailand - Inwardness Art Exhibition, Faculty of Fine Arts, Bunditpatanasilpa Institute Art Gallery 2013 - Ceramic workshop Sculpture Lelief, Wonju city, South Korea 2012 - Ceramic workshop Raku Thai – Indai, Visva – Bharati, Santinikrtan, West Bengal, India Awards and Honors 2018 - Second Prize in Contemporary Art, the 19th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand 2016 - Second Prize in Contemporary Art, the 18th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand 2014 - Second Prize in Contemporary Art, the 17th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand - Scholarship from General Prem Tinsulanonda Statesman Foundation
Pornphun Sutthiprapha พรพรรณ สุทธิประภา
Born 18 June 1979 Address 34 Soi Wattananivej 4, Suttisan rd, Huay Kwang, Bangkok, Thailand 10310 E-mail aor.sutthiprapha@gmail.com Website www.aorsutthiprapha.com
Group Exhibition 2018 - Thematic and free expression, IAC member’s exhibitions, Yingge Ceramics Museum, New-Taipei city, Taiwan - Mino, Travelling exhibition, Sogo Museum of Arts, Yokohama, Japan Education - Hotel Art Fair Bangkok 2018, 137 Pillars, Bangkok, 2011 - MFA, HDK — H.gskolan f.r Design och Kons Thailand thantverk, G.teborg University, Sweden - Collectible Design, by Artling, Art Stage 2018, 2009 - Certificate in Ceramic, Capellag.rden- School of Singapore craft and design, F.rjestaden, Sweden 2017 - The Museum of Yixing City, Yixing City, Wuxi, 2003 - BFA, Faculty of Architectural, department of industrial Jiangsu, China design, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand - Mino, the 11th International Ceramics Competition, Gifu, Japan Work 2016 - Tribute, Ceramic exhibition, Sombatpermpoon 2018 - Participant artist in 2018 International ceramics Gallery, Bangkok workshop, Dankook University,Gyeonggi-do, - RePaper (group), TCDC: Thailand creative & design South Korea center, Bangkok - Participant artist in 2018 Silpakorn Clay Work, 2015 - Geowl, G Mark: Good Design Award 2015, Tokyo Silpakorn University, Petchaburi IT Campus, Design Week, Tokyo, Japan Petchburi, Thailand - Global show, Sintra Konsthanverk, Gothenburg, 2017 - Participant artist in 2017 Macsabal wood Firing Sweden Symposium, Zibo, China - Ten Black Things, the 56th private gallery, - Participant artist in symposium, 4Th “Hong Guang Zi Qi” International Ceramics Art Festival, Yixing, Awards and Honors Jiangsu Province, China 2018 - Second Prize in Ceramic Handicraft, the 19th 2016 - Guest lecturer in ceramic course, bachelor level, National Ceramics Exhibition by Silpakorn department of Applied Art, Ceramic, HDK — University, Thailand H.gskolan f.r Design och Konsthantverk, G.teborg, 2017 - 12 collection’ Award winning, Design Excellence Sweden Award 2017 (Demark), Bangkok, Thailand 2015-2016 - Assistant to Morten Lobner Espersen, - Honorable Mention prize of 11th International Copenhagen, Denmark Ceramics Competition, Mino, Japan 2015-present - Member of IAC, International Academy of 2015 - ‘Geowl’, Award winning, Good Design Award 2015 Ceramics, Switzerland Ceramics consultant and (G MARK), Japan designer at WK Tiles(Thailand) Co,Ltd., Bangkok - ‘Geowl’, Award winning, Design Excellence Award 2015 - Ceramics consultant at Puri Co, Ltd., Bangkok 2015(DEMARK), Thailand 2014 - Participant artist in symposium, “Dialogue #14” 2014 - Honorable Mention prize of the 10th International International Art Symposium, Zavartava, Latvia Ceramics Competition, Mino, Japan 2013-2014 - BA Level final project’s juror at Industrial design department, Chulalongkorn University, Bangkok Artist in Residence 2013-present - Running her own ceramic studio “Small Studios” 2018 - Guest artist, Shigaraki Ceramic Cultural Park, Japan 2017 - Guest artist, Shangyu Celadon.Modern International Solo Exhibition Ceramic Art Center, Zhejiang, China 2016 - Internal Dialog, ceramics and prints exhibition, the 56th Private Gallery, Bangkok, Thailand 2013 - Weaving Indigo, Konsthantverkarna, Stockholm, Sweden
Sorranat Khongnuan
Sutharak Saengtes
สรณัฎฐ์ คงนวล
สุธารักษ์ แสงเทศ
Born 11 July 1985, Surin, Thailand Address 428/1 Moo.7, Prabath, Muang, Lampang 52000 E-mail neavv11@gmail.com
Address 46 Moo.5, Bungsomor, Nongsue, PhathumThani 12170
Education 2008 - BFA (Industrial Art Technology and Ceramic Design), King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, Bangkok, Thailand 2003 - Surawittayakarn School, Surin, Thailand Work 2018
- Designer at Dhanabadee Art Ceramic Co., Ltd.
Group Exhibition th 2018 - The 19 National Ceramics Exhibition, the Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakornpathom 2016 - The 18th National Ceramics Exhibition, the Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakornpathom 2014 - The 17th National Ceramics Exhibition, Ratchadamnoen Contemporary Art Center, Bangkok, Thailand - The Exhibitions of Decals Ceramic for Cup & Saucer “Lampang City of Happiness”, Lampang Ceramic and Handicraft Wholesale and Exhibition Center, Lampang, Thailand 2008 - The 14th National Ceramics Exhibition, Sanamchandra Art Gallery, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakornpathom Awards and Honors 2018 - Secondth Prize in Ceramic Industrial Prototype, the 19 National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand 2017 - Best Alumni of the Faculty Award 2017, the Faculty of Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, Bangkok, Thailand 2014 - Second Prize in Ceramic Industrial Prototype, the 17th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand - Honorable Mention Award, Decals Ceramic for Cup & Saucer “Lampang City of Happiness” Lampang, Thailand
Education - BS (Ceramic Technology), Faculty of Industrial Technology, Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage, Thailand Group Exhibition th 2018 - The 19 National Ceramics Exhibition, ththe Art and Cultural Center Commemorating the 6 Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakornpathom 2016 - The 18th National Ceramics Exhibition, ththe Art and Cultural Center Commemorating the 6 Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakornpathom 2014 - The 17th National Ceramics Exhibition, Ratchadamnoen Contemporary Art Center, Bangkok 2012 - The 16th National Ceramics Exhibition, Sanamchandra Art Gallery, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakornpathom 2010 - The 15th National Ceramics Exhibition, Sanamchandra Art Gallery, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakornpathom Awards and Honors 2018 - Second Prize in Ceramic Handicraft, the 19th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand 2016 - Second Prize in Ceramic Handicraft the 18th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand 2014 - First Prize in Ceramic Handicraft, the 17th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand 2013 - Gold Award of Thailand 2013 World Stamp 2012 - Second Prize in Ceramic Handicraft - Contemporary, of the 16th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand 2011 - Gold Award of the 1st Thai Ceramics Awards (TCA 2011) 2008 - First Prize in Ceramic Handicraft - Contemporary, the 14th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand 2006 - Secondth Prize in Ceramic Handicraft - Terracotta, the 13 National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand
Surasak Sannong สุรศักดิ์ แสนโหน่ง
2012
Born 15 July 1978 Address 186 Nagvichai Road, Tarad, Mahasakham 44000 E-mail sannong83@gmail.com Education 2003 - BFA (Visual Arts), Faculty of Fine and Applied Arts, Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand 1998 - Vocational Certificate (Voc. Cert.), Fine Arts, Mahasarakham Vocational College, Mahasarakham, Thailand Work 2017
Awards and Honors 2018 - First Prize in Contemporary Ceramic Art, the 19th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand 2017 - Research Art Creative Grant 2017, National Research Council of Thailand (NRCT) Project: Contemporary ceramic art from the wisdom of local Sculpture entitled “Exuberance” 2016 - Second Prize in Contemporary Ceramic Art, the 18th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand 2015 - 3rd Prize, the 2nd Krungthai Art Awards, Krungthai Bank 2014 - Second Prize in Contemporary Ceramic Art, the 17th National Ceramics Exhibition - Granted the 14th Silpa Bhirasri Creativity Grants, the Art Centre, Silpakorn University, Bangkok, Thailand 2012 - Second Prize in Contemporary Ceramic Art, the 16th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand 2011 - 3rd Prize, Bronze Medal Award in Sculpture, the 57th National Exhibition of Art by Silpakorn University, Thailand - Subsidiary Prize Winner, the 11th Art of Stucco TPI Polene, Bangkok 2010 - Top Prize Winner, the 25th PTT Art Competition “An Ultimate Dream” - First Prize in Contemporary Ceramic Art, the 15th National Ceramics Exhibition by Silpakorn University, Thailand - Distinguished Prize Winner, Ceramics Design, Creative Culture Thailand Project, Ministry of Culture Thailand, Khon Kaen University
- Ceramic Sculptor, Mahasarakham, Thailand
Solo Exhibition 2009 - Terracotta Art Exhibition, Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand Group Exhibition 2018 - Art Exhibition Project in Contemporary ceramic art from the wisdom of local Sculpture “Exuberance”, Mahasarakham University Mahasarakham, Thailand 2017 - Contemporary Painting, Contemporary Art Center, Bangkok, Thailand 2016 - CLMTV Contemporary Art 2016 Exhibition, Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand - The 2nd Krungthai Art Exhibition, Krungthai Art Gallery, Bangkok. 2015 - The Art Exhibition 71 Years Kamol Tassananchalee & Friends, Ratchadamnoen Contemporary Art Center, Bangkok, Thailand - The 5th Terracotta Art Exhibition, Terracotta Group, Sisaketvittayakhom School, Sisaket, Thailand - Local Sound Group Art Exhibition at Tuntan Gallery, Khon Kaen, Thailand - The 14th Silpa Bhirasri Creativity Grants, the Art Centre, Silpakorn University, Bangkok, Thailand 2014 - The 1st Krungthai Art Exhibition, Krungthai Art Gallery, Bangkok 2013 - 13 Thai Contemporary Artists award Exhibition, The Department of Cultural Promotion, Ministry of Culture, Royal Thai Consulate-General, Los Angeles, U.S.A. - The 13th Art of Stucco TPI Polene Exhibition, Bangkok - The 4th Terracotta Art Exhibition, Terracotta Group, Ratjabhat Sakonnakorn University, Ratjabhat Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand
- The 3rd Terracotta Art Exhibition, Terracotta Group, Ratjabhat Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand - Contemporary Art 2012 by Kasikornbank Exhibition, Bangkok
APPENDIX ภาคผนวก
ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 61 / 2561 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการอ�ำนวยการ การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 ด้วยมหาวิทยาลัยศิลปากร ก�ำหนดจัดการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 ด้วย วัตถุประสงค์ในการส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ และพัฒนารูปแบบ เทคนิคต่างๆในการสร้างสรรค์ผลงานเครื่องปั้นดินเผาของไทย ฉะนั้น เพื่อให้การด�ำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะกรรมการอ�ำนวยการ การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผา แห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 ประกอบด้วยผู้ด�ำรงต�ำแหน่งและผู้มีนามดังต่อไปนี้
1. 2. 3. 4.
นายกสมาคมเซรามิกส์ไทย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ เสริมศักดิ์ นาคบัว อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและกิจการพิเศษ มหาวิทยาลัยศิลปากร . 5. คณบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ 6. คณบดีคณะมัณฑนศิลป์ 7. หัวหน้าภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ 8. หัวหน้าภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 9. หัวหน้าสาขาวิชาออกแบบเซรามิกส์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 10. หัวหน้าภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11. หัวหน้าสาขาวิชาศิลปะจินตทัศน์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 12. หัวหน้าสาขาวิชาออกแบบเซรามิกส์ คณะสถาปัตยกรรมและ การออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 13. ประธานสาขาวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 14. นายวศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ 15. ผู้อ�ำนวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 16. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 17. นางนันทาวดี เกาะแก้ว 18. นายส�ำราญ กิจโมกข์ 19. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง 20. นายศรายุทธ ภูจริต 21. นายวรรณพล แสนค�ำ
ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ
ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการอ�ำนวยการจัดการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 มีหน้าที่ ก�ำหนดระเบียบต่างๆ ในการจัดประกวด การจัดแสดงงาน และการสรรหาบุคคลร่วมในคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน ผลงานศิลปกรรมประเภทต่างๆ
สั่ง ณ วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2561 (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วันชัย สุทธะนันท์) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 440 /2561 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการด�ำเนินงาน การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 ด้วยมหาวิทยาลัยศิลปากร ก�ำหนดจัดการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 ฉะนั้น เพื่อ ให้การด�ำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะกรรมการด�ำเนินงาน การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 ประกอบด้วยผู้ด�ำรงต�ำแหน่งและผู้มีนามดังต่อไปนี้
1. รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. ผู้อ�ำนวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 3. รองอธิการบดี พระราชวังสนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประธานอนุกรรมการฝ่ายบริการสถานที่ และรักษาความปลอดภัย 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สยุมพร กาษรสุวรรณ ประธานอนุกรรมการฝ่ายนิทรรศการ 5. อาจารย์ ดร.ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ ประธานอนุกรรมการฝ่ายสูจิบัตร โปสเตอร์ บัตรเชิญ และสิ่งพิมพ์อื่นๆ 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภกา ปาลเปรม ประธานอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ 7. ผู้อ�ำนวยการกองคลัง มหาวิทยาลัยศิลปากร ประธานอนุกรรมการฝ่ายการเงิน เงินรางวัล และเหรียญรางวัล 8. หัวหน้างานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประธานอนุกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ 9. นายยุทธศักดิ์ รัตนปัญญา ประธานอนุกรรมการฝ่ายรับ-คืนผลงานศิลปกรรม 10. นางสาวดาราพร ครุฑค�ำรพ ประธานอนุกรรมการฝ่ายประเมินผล 11. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประธานอนุกรรมการฝ่ายพิธีการ และเลขานุการ 12. นางนันทาวดี เกาะแก้ว 13. นายส�ำราญ กิจโมกข์ 14. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง 15. นายศรายุทธ ภูจริต 16. นายวรรณพล แสนค�ำ
ที่ปรึกษา ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
ทั้งนี้ คณะกรรมการด�ำเนินงานจักมีหน้าที่ในการด�ำเนินการจัดการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 โดยประสานงานกับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องของมหาวิทยาลัยศิลปากร และหน่วยงานภายนอกให้บรรลุผล ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สั่ง ณ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วันชัย สุทธะนันท์) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 403 / 2561 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 ด้วยมหาวิทยาลัยศิลปากร ก�ำหนดจัดการแสดงศิลปะเครือ่ งปัน้ ดินเผาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 19 ประจ�ำปี 2561 ระหว่างเดือน ธันวาคม 2561 - เดือนมกราคม 2562 ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจัน ทร์ จังหวัดนครปฐม ฉะนั้น เพื่อให้การด�ำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะ กรรมการคัดเลือกและตัดสิน การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 ประกอบด้วยผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง และผู้มีรายนาม ดังต่อไปนี้ เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย 1. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ เสริมศักดิ์ นาคบัว 2. ศาสตราจารย์ วิโชค มุกดามณี 3. ศาสตราจารย์ ญาณวิทย์ กุญแจทอง 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เวนิช สุวรรณโมลี 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สยุมพร กาษรสุวรรณ 6. อาจารย์สุโรจนา เศรษฐบุตร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา 7. นาย วศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ 8. ผู้อ�ำนวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 9. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ
เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม 1. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ เสริมศักดิ์ นาคบัว 2. รองศาสตราจารย์ ภรดี พันธุภากร 3. รองศาสตราจารย์ สุขุมาล เล็กสวัสดิ์ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาธร ชลชาติภิญโญ 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุภกา ปาลเปรม 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สืบพงศ์ เผ่าไทย 7. นาย สมลักษณ์ ปันติบุญ 8. ผู้อ�ำนวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 9. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ
เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม 1. รองศาสตราจารย์ เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เวนิช สุวรรณโมลี 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิม สุทธิค�ำ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิพัฒน์ จิตรอารีย์รักษ์ 5. ดร. สมนึก ศิริสุนทร 6. นาย อภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล 7. นาย พนาสิน ธนบดีสกุล 8. ผู้อ�ำนวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 9. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ
สั่ง ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วันชัย สุทธะนันท์) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 1111 / 2561 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการด�ำเนินงานฝ่ายต่างๆ การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 ตามค�ำสั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 440/2561 ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2561 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการด�ำเนินงาน การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 แล้วนั้น เพื่อให้การด�ำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะอนุกรรมการด�ำเนินงานฝ่ายต่างๆ การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 ประกอบ ด้วยผู้ด�ำรงต�ำแหน่งและผู้มีนามดังนี้ 1. คณะอนุกรรมการฝ่ายบริการสถานที่ และรักษาความปลอดภัย 1. รองอธิการบดี พระราชวังสนามจันทร์ ประธานอนุกรรมการ 2. ผู้อ�ำนวยการกองบริการอาคาร สถานที่และยานพาหนะ อนุกรรมการ พระราชวังสนามจันทร์ 3. หัวหน้างานบริการและสวัสดิการ อนุกรรมการ 4. หัวหน้างานบ�ำรุงรักษาสวนและสนาม อนุกรรมการ 5. หัวหน้างานอาคารและรักษาความปลอดภัย อนุกรรมการ 6. หัวหน้างานยานพาหนะ อนุกรรมการ 7. หัวหน้างานสาธารณูปโภคและซ่อมบ�ำรุง อนุกรรมการ 8. นางรัชญา ภูริโสภณ อนุกรรมการ 9. นายกิตติศักดิ์ เสมอสุข อนุกรรมการ 10. นายเอกชัย ยอดสุวรรณ อนุกรรมการ 11. นายพีระวิทย์ ถวิลกลิ่นซ้อน อนุกรรมการ 12. ว่าที่ร้อยตรีประกิต วิโรจน์ชัยสิทธิ์ อนุกรรมการ 13. นายสกล ทองทวี อนุกรรมการ 14. นายบัณฑิต พยุงเรืองศักดิ์ อนุกรรมการ 15 นายอุเทน ลิ้มเจริญพิพัฒ อนุกรรมการ 16. นายธนันพัชญ์ ภากรณ์ธรเกียรติ อนุกรรมการ 17. นางสาวศศิธร องอาจ อนุกรรมการ 18. นางนันทาวดี เกาะแก้ว อนุกรรมการ 19. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง อนุกรรมการ 20. นางสาวจันจิรา จันทร์ผดุง อนุกรรมการ 21. นายวรรณพล แสนค�ำ อนุกรรมการ 22. นายชัยวัช เวียนสันเทียะ อนุกรรมการ 23. นายศรายุทธ ภูจริต อนุกรรมการ 24. นางสาวณัฐธยาน์ นันทิสิงห์ อนุกรรมการ 25. นางสาวธิติมา สุทธิบุตร อนุกรรมการ 26. นางสาวภคปภา นาถะพินธุ อนุกรรมการ 27. นายศักดิ์ชาย ปลื้มจิตต์ อนุกรรมการ 28. นายสิปปนันท์ สัตบุรุษาวงศ์ อนุกรรมการ 29. หัวหน้างานธุรการ กองบริการอาคาร สถานที่ อนุกรรมการและเลขานุการ และยานพาหนะ 30. นายปัญจพจน์ ชิวปรีชา อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
2. คณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภกา ปาลเปรม 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรรณณา ธิธรรมมา 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สืบพงศ์ เผ่าไทย 4. อาจารย์ศิรัมภา จุลนวล 5. นางสาวดาราพร ครุฑค�ำรพ 6. นายกฤษฎา ดุษฎีวนิช 7. นายชัยวัช เวียนสันเทียะ 8. นายวรรณพล แสนค�ำ 9. นายศรายุทธ ภูจริต 10. นางสาวชลดา พันธุ์ภักดีดิสกุล 11. นางสาวเมธาวี กิตติอาภรณ์พล
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
3. คณะอนุกรรมการฝ่ายสูจิบัตร โปสเตอร์ บัตรเชิญ และสิ่งพิมพ์อื่นๆ 1. นายศรายุทธ ภูจริต 2. นางนันทาวดี เกาะแก้ว 3. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง 4. นายกฤษฎา ดุษฎีวนิช 5. นายวรรณพล แสนค�ำ 6. นายชัยวัช เวียนสันเทียะ 7. นางสาวชลดา พันธุ์ภักดีดิสกุล 8. นางสาวเมธาวี กิตติอาภรณ์พล
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
4. คณะอนุกรรมการฝ่ายการเงิน เงินรางวัล และเหรียญรางวัล 1. ผู้อ�ำนวยการกองคลัง มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. นางดุษณี คล้ายปาน 3. นางสาวเกษณีย์ วันศรี 4. นายส�ำราญ กิจโมกข์ 5. นางสาวจิราภรณ์ ทองแกมแก้ว
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
5. คณะอนุกรรมการฝ่ายรับ-คืนผลงานศิลปกรรม 1. นายยุทธศักดิ์ รัตนปัญญา 2. นายส�ำราญ กิจโมกข์ 3. นางสาวมินตา วงษ์โสภา 4. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง 5. นางสาวจิราภรณ์ ทองแกมแก้ว 6. นายเอกพงษ์ สกุลพันธุ์ 7. นางสาวจันจิรา จันทร์ผดุง 8. นายกฤษฎา ดุษฎีวนิช 9. นายวรรณพล แสนค�ำ 10 นายศรายุทธ ภูจริต 11. นายชัยวัช เวียนสันเทียะ 12. นายรุจฬ์สวัตต์ ครองภูมินทร์ 13. นายเฉลิม กลิ่นธูป 14. นายสิทธิพร กล�่ำศรี 15. นางนันทาวดี เกาะแก้ว
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
6. คณะอนุกรรมการฝ่ายนิทรรศการ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สยุมพร กาษรสุวรรณ 2. อาจารย์ธาตรี เมืองแก้ว 3. นายกฤษฎา ดุษฎีวนิช 4. นายชัยวัช เวียนสันเทียะ 5. นายศรายุทธ ภูจริต 6. นายเฉลิม กลิ่นธูป 7. นายสิทธิพร กล�่ำศรี 8. นายวรรณพล แสนค�ำ
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
7. คณะอนุกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ 1. หัวหน้างานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. นางกัญจราภา แจ่มสวัสดิ์ 3. นายยุทธศักดิ์ รัตนปัญญา 4. นางสาวดาราพร ครุฑค�ำรพ 5. นางนันทาวดี เกาะแก้ว 6. นายศรายุทธ ภูจริต 7. นายชัยวัช เวียนสันเทียะ 8. นายรุจฬ์สวัตต์ ครองภูมินทร์ 9. นางสาวดลนภา พัวพันธ์งาม 10. นายธนตุลย์ เบ็งสงวน 11. นางศรีวรรณ ฤกษ์ชัยรัศมี 12. นางสาวกาญจนา จุลโพธิ์
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
8. คณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผล 1. นางสาวดาราพร ครุฑค�ำรพ 2. นายเอกพงษ์ สกุลพันธุ์ 3. นางสาวจุฑารัตน์ เนียมวิรัตน์ 4. นายรุจฬ์สวัตต์ ครองภูมินทร์
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
9. คณะอนุกรรมการฝ่ายพิธีการ และเลขานุการ 1. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. นางลภัสรดา ทองผาสุก 3. นางนันทาวดี เกาะแก้ว 4. นายส�ำราญ กิจโมกข์ 5. นายเอกพงษ์ สกุลพันธุ์ 6. นางสาวจิราภรณ์ ทองแกมแก้ว 7. นางสาวจันจิรา จันทร์ผดุง 8. นายรุจฬ์สวัตต์ ครองภูมินทร์ 9. นางสาวเมธาวี กิตติอาภรณ์พล 10. นางเอื้อมพร แผนสมบูรณ์ 11. นางประคิ่น สุกเทพ 12. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง 13. นางสาวมินตา วงษ์โสภา
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
ทั้งนี้ ให้คณะอนุกรรมการด�ำเนินงานฝ่ายต่างๆมีหน้าที่ในการด�ำเนินงานจัดการแสดงศิลปะเครี่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 โดยประสานงานกับหน่วยงานต่างๆที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยศิลปากร และหน่วยงานภายนอก ให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สั่ง ณ วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วันชัย สุทธะนันท์) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง ผลการตัดสินรางวัล การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561
ตามประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 ลงวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2561 ได้เชิญชวนศิลปินและหน่วยงานต่าง ๆ ส่งผลงานเข้าร่วมใน การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 นั้น บัดนี้ คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน ได้พิจารณาตัดสินผลงานศิลปะของศิลปินที่ส่งเข้าร่วมในการแสดงในครั้งนี้ แล้วผลปรากฏว่ามีศิลปินได้รับรางวัลประเภท ต่างๆ ดังนี้ เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย รางวัลยอดเยี่ยม นายสุรศักดิ์ แสนโหน่ง รางวัลดีเด่น นายกิตติพศ ประโยชน์มี นางสาวนริศา นิลพงษ์ นายพิเชฐ ธรรมวัฒน์ นายอนันท์ วัฒนากอปรกวิน เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม รางวัลยอดเยี่ยม ไม่มีผู้ได้รับรางวัล รางวัลดีเด่น นายดนัย โตอมรพันธุ์ นางสาวปพิชชา ธนสมบูรณ์ นางสาวพรพรรณ สุทธิประภา นายสุธารักษ์ แสงเทศ
ผลงานชุด “ความงดงามของความอุดมสมบูรณ์ หมายเลข 2” (4 ชิ้น) ผลงานชุด “สัมพันธ์” (2 ชิ้น) ผลงานชุด “ตัวตน” (19 ชิ้น) ผลงานชุด “เมล็ดพันธุ์แห่งความฝัน หมายเลข 1” (2 ชิ้น) ผลงานชิ้น “ธรรมชาติสัมพันธ์”
ผลงานชุด “ฤดูฝนและหมู่เมฆ” (8 ชิ้น) ผลงานชุด “ภาชนะจากบรรยากาศบนท้องฟ้า” (7 ชิ้น) ผลงานชุด “บทสนทนาจากภายใน-การเปลีย่ นผ่าน หมายเลข 1” (3 ชิน้ ) ผลงานชุด “ลูกต้นเป็ดน�้ำ” (5 ชิ้น)
เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม หัวข้อ “Modern Lifestyle” รางวัลยอดเยี่ยม ไม่มีผู้ได้รับรางวัล รางวัลดีเด่น นายกิตติธัช อนันทชาติวงศ์ ผลงานชุด “ชุดน�้ำชาอโรม่า” (13ชิ้น ) นางสาวนิศานาถ สันติธรรมคต ผลงานชุด “สิวารัณ” (8 ชิ้น) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดย นายอภิชัย พังจุนัน ผลงานชุด “ใบบัว” (6ชิ้น) นายสรณัฎฐ์ คงนวล ผลงานชุด “ร่วมสมัยใหม่” (4ชิ้น)
ประกาศ ณ วันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2561
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วันชัย สุทธะนันท์) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง ผลการคัดเลือกผลงานเข้าร่วมแสดง การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561
ตามประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรือ่ ง การแสดงศิลปะเครือ่ งปัน้ ดินเผาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 19 ประจ�ำปี 2561 ลงวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2561 ได้เชิญชวนศิลปินและหน่วยงานต่าง ๆ ส่งผลงานเข้าร่วม ในการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 19 นัน้ บัดนี้ คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน ได้พจิ ารณาคัดเลือกผลงานศิลปะของศิลปินทีส่ ง่ เข้าร่วม ในการแสดงในครัง้ นี้ แล้ว ผลปรากฏว่ามีศลิ ปินได้รบั การคัดเลือกให้ได้รว่ มแสดงผลงานการแสดงศิลปะเครือ่ งปัน้ ดินเผา ครัง้ ที่ 19 ประเภท ต่างๆ ดังนี้ เครือ่ งปัน้ ดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย นายกิตติพศ ประโยชน์ม ี ผลงานชุด “ใบไม้และชีวติ ”(2ชิน้ ) นายกิตติศกั ดิ์ ฝัน้ สาย ผลงานชุด “รูปขันธ์ หมายเลข 7” และ ผลงานชิน้ “สังสารวัฏ” นางสาวจารุวรรณ สวัสดี ผลงานชุด “สิมมา (สีมา)”(11ชิน้ ) นายจ�ำลอง สุวรรณชาติ ผลงานชุด “ความเคลือ่ นไหวแห่งเส้นสายความนุม่ นวลแห่งรูปทรง”(2ชิน้ ) นางสาวจิตพิสทุ ธิ์ จีนเขตกรณ์ ผลงานชุด “วิหารหุน่ ยนต์”(28ชิน้ ) นางสาวจีรณัฏฐ์ ภักดีรตั น์ ผลงานชุด “In Room”(2ชิน้ ) นายชัสภาคย์ ฐิตภิ ากร ผลงานชุด “ไม่เป็นอิสระ”(2ชิน้ ) นายณรงค์ฤทธิ์ เภาจัตรุ สั ผลงานชุด “รูปทรงของวัฒนธรรมไทย”(4 ชิน้ ) นายดนัย โตอมรพันธุ ์ ผลงานชุด “ตัวตน ความทรงจ�ำ และหัวใจ”(2ชิน้ ) นายธนสิทธิ์ จันทะรี ผลงานชุด “สันติภาพบนโต๊ะอาหาร”(10 ชิน้ ) นายธาตรี เมืองแก้ว ผลงานชุด “ครอบครัวแมว”(8 ชิน้ ) นายธีรชั อภิพฒ ั นา ผลงานชุด “การถนอมอาหาร (ตาก)”(22 ชิน้ ) นางสาวนพมาส จุลกิจถาวร ผลงานชุด “ผล”(8 ชิน้ ) นายนพอนันต์ บาลิส ี ผลงานชุด “ความประทับใจในความงดงามของพลังแห่งพฤกษา”(2 ชิน้ ) นางสาวนริศา นิลพงษ์ ผลงานชุด “ถ�ำ้ หลวง”(15 ชิน้ ) นางสาวนันทนิตย์ เหง้าพรหมมินทร์ ผลงานชุด “สายใยรักจากแม่ ชุด 1”(3 ชิน้ ) และ ผลงานชิน้ “สายใยรักจากแม่ ชุด 2” นายพนม ช้างนานอก ผลงานชิน้ “มนุษย์” นายพรสวรรค์ นนทะภา ผลงานชุด “รูปทรงในวิถชี วี ติ ชนบทอีสาน”(2 ชิน้ ) นางสาวพลอยอ�ำไพ ยงค์วงศ์ไกรศรี ผลงานชุด “ชีวติ ทีเ่ ติบโต หมายเลข 1”(10 ชิน้ ) นายพูนเพิม่ ตันศิร ิ ผลงานชิน้ “ขาวด�ำ หมายเลข 1” นางสาวเพ็ชรรัตน์ แสงจันทร์ ผลงานชุด “ความงามของความเป็นธรรมชาติ”(72 ชิน้ ) นายภูรทิ ตั ทองเหลือง ผลงานชุด “กาลเวลาทีอ่ าวรณ์ หมายเลข 1”(4 ชิน้ ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน โดย นายเดช นานกลาง ผลงานชุด “ป่าชายเลนปากน�ำ้ ปราณ”(17 ชิน้ ) โดย นายเอกราช พลับจะโปะ ผลงานชุด “บทเพลงรักจากป่า”(9 ชิน้ ) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดย นายดุรวิ ฒ ั น์ ตาไธสง ผลงานชุด “แสนรู”้ (3 ชิน้ ) โดย นายอมรเทพ กลายกลาง ผลงานชิน้ “1 2 3 ปลาฉลามขึน้ บก” มหาวิทยาลัยราชภัฏล�ำปาง โดย นายธมลวัฒน์ หิรญ ั ชาติอนันต์ ผลงานชุด “รังสรรค์ปน้ั แต่ง”(46 ชิน้ ) โดย นายสรวิศ มูลอินต๊ะ ผลงานชุด “ปลดปล่อย”(3 ชิน้ ) โดย นายอภิชยั เสาร์เปียง ผลงานชิน้ “มือบอน” มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นางสาววาสนา สดใส ผลงานชุด “บิดเบือน”(26 ชิน้ ) นายศุภศิษฎ์ อัศวิษณุ ผลงานชิน้ “คุณมีหวั ใจ ฉันก็ม”ี
ศูนย์ศลิ ปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ พิ์ ระบรมราชินนี าถ โดย นายสมพร อินทร์หยุย ผลงานชุด “สัตว์มนุษย์”(3 ชิน้ ) และ ผลงานชุด “ความล่มสลายของเทคโนโลยี” (2 ชิน้ ) โดย นางสาวหทัยรัตน์ ปรมัตถ์คณ ุ าสิน ผลงานชิน้ “แสง-สี-โลหะ หมายเลข 1” และ ผลงานชิน้ “แสง-สี-โลหะ หมายเลข 2” โดย นายกิตติชยั สุขสุเมฆ ผลงานชุด “อริยมรรคมีองค์ 8”(8 ชิน้ ) โดย นายมนตรี ประเสริฐแก้ว ผลงานชิน้ “โรบอท 4.0” โดย นางสมควร กุลวงศ์ ผลงานชุด “คูส่ ”ี (2 ชิน้ ) โดย นายเสริมศักดิ์ ทามี ผลงานชิน้ “เทคโนโลยียอ้ นยุค” และ ผลงานชิน้ “เข้าถ�ำ้ ” โดย นายอลงกรณ์ ธรรมพิชยั ผลงานชิน้ “Android” นางสาวสุกาญจนา กาญจนบัตร ผลงานชิน้ “อาจดูบอบบาง” นายสุทธิพงศ์ สวัสดี ผลงานชิน้ “อบอุน่ ” นางสาวสุนษิ า เรืองนา ผลงานชิน้ “ฤดูฝน หมายเลข 3” นายสุรศักดิ์ แสนโหน่ง ผลงานชุด “ความงดงามของความอุดมสมบูรณ์ หมายเลข 1”(6 ชิน้ ) นายหัสกร หิรญ ั สิรโิ ชค ผลงานชิน้ “เจ้าตัวป่วน” นายอนันท์ วัฒนากอปรกวิน ผลงานชุด “ชีวติ สัมพันธ์”(25 ชิน้ ) นายอริยธ์ ชั รักสกุล ผลงานชุด “สมบูรณ์แบบ ไม่สมบูรณ์แบบ”(4 ชิน้ ) เครือ่ งปัน้ ดินเผาประเภทหัตถกรรม นายกษิดศิ ชาวงษ์ ผลงานชุด “จิตวิญญาณแห่งนักรบ”(3 ชิน้ ) นายจ�ำลอง สุวรรณชาติ ผลงานชุด “สุนทรียะแห่งธรรมชาติ”(3 ชิน้ ) นายณัฐสิทธิ์ บุญมา ผลงานชิน้ “ส�ำเภาทอง” นายเด่น รักซ้อน ผลงานชุด “ไหปลาร้าอีสาน”(5 ชิน้ ) นางสาวทิพากร ปัดเจริญ ผลงานชุด “ไม่สมบูรณ์แบบ”(12 ชิน้ ) นายธัญเกียรติ กฤษฎาพรอนันท์ ผลงานชุด “ชามกระดาษ”(2 ชิน้ ) นายนนทนันท์ เปียกบุตร ผลงานชุด “แจกันใบแปะก๊วย”(7 ชิน้ ) นายปณชัย พณิชสารนันท์ ผลงานชุด “วิวฒ ั นาการของเครือ่ งยนต์ หมายเลข 1”(3 ชิน้ ) และ ผลงานชุด “วิวฒ ั นาการของเครือ่ งยนต์ หมายเลข 2”(3 ชิน้ ) นางสาวปรัชญาพร แก้วมาลัยทิพย์ ผลงานชุด “ชุดแจกันขนาดจิว๋ ส�ำหรับดอกไม้ใบขนาดจิว๋ ”(24 ชิน้ ) นายพนธกร คุณรุ ตั น์ ผลงานชุด “รุง่ อรุณของวันใหม่ หมายเลข 1”(4 ชิน้ ) และ ผลงานชุด “รุง่ อรุณของวันใหม่ หมายเลข 2”(4 ชิน้ ) นางสาวภควรรณ ทองวานิช ผลงานชุด “The Flowery Afternoon Tea”(6 ชิน้ ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดย นางสาวพิมพ์ลภัส รัศมีประเสริฐสุข ผลงานชุด “ผลิตภัณฑ์ของทีร่ ะลึกจังหวัดน่าน”(8 ชิน้ ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดย นายอิทธินพ สีใส ผลงานชุด “ชุดน�ำ้ ชา รูปแบบนกฮูก หมายเลข 1”(6 ชิน้ ) และ ผลงานชุด “ชุดน�ำ้ ชา รูปแบบนกฮูก หมายเลข 2”(6 ชิน้ ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน โดย นายจักรพงษ์ ฝาชัยภูม ิ ผลงานชุด “ป่ารักษ์นำ�้ ” (4 ชิน้ ) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดย นายเกรียงไกร ดวงขจร ผลงานชุด “ภาชนะจากธรรมชาติ” (8 ชิน้ ) โดย นายชน ยีน่ าง ผลงานชุด “เคียงคู”่ (5 ชิน้ ) และ ผลงานชุด “ไม้กลายเป็นหิน” (2 ชิน้ ) มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นางสาววนิดา นวลฉวี ผลงานชิน้ “ปลามหาสนุก” โดย นายเศกพร ตันศรีประภาศิร ิ ผลงานชิน้ “แรงฟืน” นางล�ำดวน สุรยิ ะป้อ ผลงานชุด “หม้อดอกศิลาดล” (2 ชิน้ ) และ ผลงานชิน้ “แจกันศิลาดลลายผ้าซิน่ ” นางสาววชิราภรณ์ เงินเมือง ผลงานชุด “แจกันฉลุ แรงบันดาลใจจากเครือ่ งแขวนไทย” (2 ชิน้ ) นางสาววรัญญา นงนุช ผลงานชุด “จิตใจสัตว์ปา่ ”(4 ชิน้ ) นายวันปภัส ศรีชนิ เลิศ ผลงานชุด “ผสมผสานกลิน่ ไอ”(3 ชิน้ ) นายศราวุฒิ โปนา ผลงานชิน้ “ขูด” ศูนย์ศลิ ปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ พิ์ ระบรมราชินนี าถ โดย นางสาวปานทิพย์ สุภาสาด ผลงานชิน้ “หินกับกาลเวลา” โดย นายค�ำรณ พวงหิรญ ั ผลงานชิน้ “คนกับทะเล” โดย นายพนม เสมาทอง ผลงานชุด “สีสนั แห่งฤดู”(3 ชิน้ ) โดย นายมนตรี ประเสริฐแก้ว ผลงานชุด “หอเอน”(2 ชิน้ )
นางสาวสุกญ ั ญา แทนหา นายสุธารักษ์ แสงเทศ นายสุรยิ า วังบอน
ผลงานชุด “ชุดตกแต่งร้านกาแฟสไตล์วนิ เทจ ร้าน My Memories”(5 ชิน้ ) ผลงานชุด “เปลวไฟระบายสี 2561”(5 ชิน้ ) ผลงานชุด “รูปทรงของชีวติ ”(14 ชิน้ )
เครือ่ งปัน้ ดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ตน้ แบบอุตสาหกรรม หัวข้อ “Modern Lifestyle” นายกิตติธชั ภูนฤมิต ผลงานชิน้ “โคมไฟปลาหมึกยักษ์ หมายเลข 1” นายกิตติธชั อนันทชาติวงศ์ ผลงานชุด “ความประทับใจในการเคลือ่ นไหวของลูกข่าง”(2 ชิน้ ) นางสาวชนากานต์ แซ่องึ้ ผลงานชุด “ชุดกาแฟแมว หมายเลข 1”(5 ชิน้ ) นางสาวพริมา ปริศวงศ์ ผลงานชุด “ชามลายผลึกรุน่ ปฐมฤกษ์”(4 ชิน้ ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดย นางสาวชยาภรณ์ เจริญวงษ์ ผลงานชุด “โคมไฟเดซี”่ (3 ชิน้ ) และ ผลงานชิน้ “โคมไฟเดซีผ่ สมผ้า” โดย นางสาวชุติมา เนาว์นิเวศน์ ผลงานชุด “ชุดภาชนะอาหารไทยได้รับแรงบันดาลใจมาจากดอกแค”(6 ชิ้น) โดย นางสาวฐิตาภรณ์ สุนทรสถิตย์ ผลงานชุด “ชุดผลิตภัณฑ์ของใช้ภายในอาคาร แรงบันดาลใจมาจาก ศิลปะในสมัยอยุธยา”(4 ชิน้ ) โดย นางสาวธัญรัตน์ อัตตานุชติ ผลงานชุด “กุหลาบหิน หมายเลข 1”(7 ชิน้ ) และ ผลงานชุด “กุหลาบหิน หมายเลข 2”(6 ชิน้ ) โดย นายธวัชชัย อัตตะไพบูลย์ ผลงานชุด “การเปลีย่ นแปลงของกล้วยไม้”(5 ชิน้ ) นางสาวเยาวเรศ สุทธิศาล ผลงานชุด “ลายรัศมี”(3 ชิน้ ) นายรัชพล ชยะกูรจิรภัทร ผลงานชุด “ปิน่ โตที่ได้รบั แรงบันดาลใจจากผลไม้”(8 ชิน้ ) นางสาวศิรมั ภา จุลนวล ผลงานชุด “เทริด”(7 ชิน้ ) ศูนย์ศลิ ปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ พิ์ ระบรมราชินนี าถ โดย นางสาวบูรณิน กาวี ผลงานชุด “ความประทับใจในลายเส้น”(9 ชิน้ ) โดย นางสาววาสนา สุนนั สา ผลงานชุด “5 ลีลา”(5 ชิน้ ) โดย นางสมควร กุลวงศ์ ผลงานชุด “เมล็ด 2 สายพันธุ”์ (2 ชิน้ ) นายสรณัฏฐ์ คงนวล ผลงานชุด “แจกันงาช้าง”(2 ชิน้ )
ประกาศ ณ วันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2561
(ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วันชัย สุทธะนันท์) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรือ่ ง “ศิลปินเครือ่ งปัน้ ดินเผาเกียรติคณ ุ จากการแสดงศิลปะเครือ่ งปัน้ ดินเผาแห่งชาติ คนที่ 1” ตามประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร ลงวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2561 เรือ่ งการแสดงศิลปะเครือ่ งปัน้ ดินเผาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 19 ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 ปรากฏว่า ผลงานเครือ่ งปัน้ ดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย ของนายสุรศักดิ์ แสนโหน่ง ได้รบั การตัดสินให้ ได้รบั รางวัลยอดเยีย่ ม และยังเคยรับรางวัลจากการแสดงศิลปะเครือ่ งปัน้ ดินเผาแห่งชาติไปแล้ว ดังนี้ 1. รางวัลยอดเยีย่ ม การแสดงศิลปะเครือ่ งปัน้ ดินเผาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 15 2. รางวัลดีเด่น การแสดงศิลปะเครือ่ งปัน้ ดินเผาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 16 3. รางวัลดีเด่น การแสดงศิลปะเครือ่ งปัน้ ดินเผาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 17 4. รางวัลดีเด่น การแสดงศิลปะเครือ่ งปัน้ ดินเผาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 18 นายสุรศักดิ์ แสนโหน่ง จึงมีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วน ควรค่าแก่การยกย่องให้เป็นศิลปิน เครือ่ งปัน้ ดินเผาเกียรติคณ ุ ตามความ ข้อที่ 10 ของประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่องการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 มหาวิทยาลัยศิลปากรจึงขอประกาศให้ทราบกันทัว่ หน้าว่า นายสุรศักดิ์ แสนโหน่ง เป็นศิลปินเครือ่ งปัน้ ดินเผาเกียรติคณ ุ ประเภท ศิลปกรรมร่วมสมัย จากการแสดงศิลปะเครือ่ งปัน้ ดินเผาแห่งชาติ คนที่ 1 ตัง้ แต่บดั นีเ้ ป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2561
(ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วันชัย สุทธะนันท์) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
รายชื่อผู้ ได้รับรางวัล จากการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 1-18 (พ.ศ. 2529 - 2559) ครั้งที่ 1
5 - 14 ธันวาคม 2529 ร่วมแสดงในงาน Made in Thailand ณ กรมพาณิชย์สัมพันธ์ 27 ธันวาคม 2529 - 4 มกราคม 2530 ณ งาน “เที่ยวเมืองไทยและเสริมสร้างเอกลักษณ์ไทย” ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
รางวัลเหรียญเงิน
รางวัลเหรียญทองแดง
ศิลปกรรม บริษัท ไทยเทอราเซรามิค จ�ำกัด หัตถกรรม นางผจงจิตต์ เจริญสิริพาณิชย์
ศิลปกรรม อุตสาหกรรม นายทวิส เพ็งสา บริษั ท สยามซานิทารีแวร์ จ�ำกัด นายปรีชา อมรรัตน์ บริษั ท เครื่องสุขภัณฑ์อเมริกันสแตนดาร์ด (ประเทศไทย) จ�ำกัด นายเวนิช สุวรรณโมลี โรงงานเซรามิคอุตสาหกรรมไทย จ�ำกัด นางสาวศุภกา ดอกไม้ หัตถกรรม โรงงานชะเลียงเซรามิคส์ บริษั ท ทรัยเร็กซ์อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด โรงงานเบญจรงค์ทอง นายวันโชค กฤษฎามหาสกุล
ครั้งที่ 2
รางวัลประกาศนียบัตรผลงานดีเด่น
17 - 30 พฤศจิกายน 2530 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ 26 ธันวาคม 2530 - 3 มกราคม 2531 ณ งาน “เทีย่ วเมืองไทยเสริมสร้างเอกลักษณ์ไทย” ของการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทยบริเวณสวนอัมพร 11 - 25 มกราคม 2531 ณ พระต�ำหนักทับขวัญ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม
รางวัลเหรียญทอง
รางวัลเหรียญเงิน
รางวัลเหรียญทองแดง
ศิลปกรรม นายเวนิช สุวรรณโมลี หัตถกรรม บริษัทคณินเซรามิคส์ จ�ำกัด
ศิลปกรรม นายวันชัย กฤษฎามหาสกุล หัตถกรรม โรงงานเก็บเงินลายคราม
ศิลปกรรม นายสิริพุฒ พูลลาภ หัตถกรรม นางผจงจิตต์ เจริญสิริพาณิชย์
ครั้งที่ 3
18 - 29 พฤศจิกายน 2531 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ 2 - 11 ธันวาคม 2531 ณ งานเมดอินไทยแลนด์ กรมพาณิชย์สัมพันธ์ 11 - 25 มกราคม 2532 ณ พระต�ำหนักทับขวัญ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ร่วมแสดงในงาน “เที่ยวเมืองไทยเสริมสร้างเอกลักษณ์ไทย” ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
รางวัลเหรียญทอง
รางวัลเหรียญเงิน
หัตถกรรม บริษั ทไทยอิเสคคิว จ�ำกัด
ศิลปกรรม นายชุมพล อักพันธานนท์ หัตถกรรม บริษั ทจงกลเซรามิค จ�ำกัด
รางวัลชมเชย
รางวัลดีเด่น
รางวัลชมเชย ศิลปกรรม บริษัทคณินเซรามิคส์ จ�ำกัด นายวันชัย กฤษฎามหาสกุล นายวันโชค กฤษฎามหาสกุล นายสิริพุฒ พูลลาภ
รางวัลเหรียญทองแดง
หัตถกรรม นางผจงจิตต์ เจริญสิริพาณิชย์ โรงงานเก็บเงินเซรามิค คุณยายตี๋ เฮงสกุล อุตสาหกรรม อาณาจักรพ่อกู เครื่องปั้นดินเผา
อุตสาหกรรม บริษั ท เซรามิคอุตสาหกรรมไทย จ�ำกัด
ครั้งที่ 4
2 - 20 กรกฎาคม 2533 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ 21 - 31 สิงหาคม 2533 ณ พระต�ำหนักทับขวัญ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ร่วมแสดงในงานเทศกาลท่องเที่ยวไทย ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ร่วมแสดงในงานเมดอินไทยแลนด์ ของกรมพาณิชย์สัมพันธ์
รางวัลยอดเยี่ยม
ศิลปกรรม นางสาวภรดี พันธุภากร หัตถกรรมโดยมีการเคลือบ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ทองประเสริฐศิลป หัตถกรรมโดยไม่มีการเคลือบ กลุ่มปั้นไทย โรงเรียนปากเกร็ด ครั้งที่ 5
รางวัลดีเด่น
ศิลปกรรม นายสมศักดิ์ ชวาลาวัณย์ นางสุโรจนา เศรษฐบุตร หัตถกรรมโดยมีการเคลือบ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด เทพนคร เซรามิค นายบ�ำเหน็จ โกลละสุต บริษั ท เปรมประชา คอลเลคชั่น จ�ำกัด นายสัญญา สมดุลยาวาทย์ หัตถกรรมโดยไม่มีการเคลือบ นายจ�ำปา ชุ่มชาติ นางตี๋ เฮงสกุล นายประจวบ ช้างน�้ำ นายหว่าง สิงห์สาย อุตสาหกรรม บริษั ท รอยัล ปอร์ซเลน จ�ำกัด บริษั ท เวนิช เซรามิคส์ จ�ำกัด ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
30 สิงหาคม - 13 กันยายน 2534 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ 4 กันยายน - 11 ตุลาคม 2534 ณ พระต�ำหนักทับขวัญ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัfนครปฐม 28 พฤศจิกายน - 8 ธันวาคม 2534 ร่วมแสดงในงาน เมดอินไทยแลนด์ ของกรมพาณิชย์สัมพันธ์ ร่วมแสดงในงาน เทศกาลท่องเที่ยวไทย ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
รางวัลยอดเยี่ยม
ศิลปกรรม นายวันโชค กฤษฎามหาสกุล หัตถกรรมมีการเคลือบ นางสุรางค์ โปษกานนท์ หัตถกรรมไม่มีการเคลือบ ศูนย์ศลิ ปาชีพบางไทรในสมเด็จ พระนางเจ้าสิรกิ ติ พิ์ ระบรมราชินนี าถ
รางวัลดีเด่น
ศิลปกรรม นายผดุงศักดิ์ หวังศรีโรจน์ นายวิโชค มุกดามณี นายสุพรรณ คงนวลอินทร์ หัตถกรรมมีการเคลือบ บริษั ท นครไทย เซอรามิค จ�ำกัด บริษั ท เปรมประชา คอลเลคชั่น จ�ำกัด นายฤทธิชัย โตบุญช่วย หัตถกรรมไม่มีการเคลือบ กลุ่มปั้นไทย “เจตน์อ�ำไพ” นางตี๋ เฮงสกุล วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค์
ครั้งที่ 6
28 ตุลาคม - 9 พฤศจิกายน 2535 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ 1 - 14 ธันวาคม 2535 ณ พระต�ำหนักทับขวัญ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพะราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม 18 - 27 ธันวาคม 2535 ณ งานเทศกาลของขวัญปี ใหม่ 2536 กรมส่งเสริมการส่งออก กรุงเทพฯ
รางวัลยอดเยี่ยม
ครั้งที่ 7
รางวัลดีเด่น
ศิลปกรรม นายประสิทธิ์ มุกดามณี นางสาวภรดี พันธุภากร นายวิกร สุนทรจามร นายวิโชค มุกดามณี นายสมลักษณ์ ปันติบุญ หัตถกรรมมีการเคลือบ นายเรวัตร ไชยยารักษ์ นายสมลักษณ์ ปันติบุญ หัตถกรรมไม่มีการเคลือบ นางจริยา สงวนชาติ นายเนาวรัตน์ ไชยเสน นางสาวหทัยรัตน์ ม่วงไหม นายอ�ำนาจ โห้เฉื่อย
3 - 21 สิงหาคม 2537 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ 18 - 21 สิงหาคม 2537 ณ งานท่องเที่ยวนานาชาติ 2537 ศูนย์ประชุมสิริกิตติ์ กรุงเทพฯ 1 - 21 กันยายน 2537 ณ ห้อง Design Gallary ศูนย์บริการออกแบบ กรมส่งเสริมการส่งออกกรุงเทพฯ
รางวัลยอดเยี่ยม
ศิลปกรรม อาจารย์ไพจิตร อิงศิริวัฒน์ (สถาบัน เทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตภาคพายัพ (เจ็ดยอด) จังหวัดเชียงใหม่ หัตถกรรมมีการเคลือบ บริษัท ล�ำปางคูนเซรามิก จ�ำกัด หัตถกรรมไม่มีการเคลือบ บริษัท เปรมประชา คอลเลคชั่น จ�ำกัด อุตสาหกรรม บริษัท รอยัล พอร์ซเลน จ�ำกัด
รางวัลดีเด่น
ศิลปกรรม นายวรวัฒน์ จันทรดี นายวันโชค กฤษฎามหาสกุล นางสาวอัชณา ฉันทอารี หัตถกรรมมีการเคลือบ แผนกเซรามิกส์ ศูนย์ศลิ ปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ พิ์ ระบรมราชินนี าถ บริษั ท เปรมประชา คอลเลคชั่น จ�ำกัด บริษั ท ฟิเนส เซรามิคส์ จ�ำกัด หัตถกรรมไม่มีการเคลือบ บริษั ท ดินดี เทอราคอตต้า จ�ำกัด นายพล คันธจันทน์ นายอนนทร์ วิเศษสวัสดิ์ อุตสาหกรรม บริษั ท ทูเวย์เซรามิค จ�ำกัด
ครั้งที่ 8
12 - 30 ธันวาคม 2539 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ 6 - 11 มกราคม 2540 ณ พระต�ำหนักทับขวัญ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม 17-19 เมษายน 2540 ณ งาน Decorative and Houseware ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิตติ์ กรุงเทพฯ
รางวัลยอดเยี่ยม
รางวัลดีเด่น
ศิลปกรรม นายวรวัฒน์ จันทรดี หัตถกรรมมีการเคลือบ นายวันชัย กฤษฎามหาสกุล หัตถกรรมไม่มีการเคลือบ นายนคร อนันทะประดิษฐ์ ครั้งที่ 9
ศิลปกรรม นายขวัญชัย ค�ำลือศักดิ์ บริษั ท เปรมประชาคอลเลคชั่น จ�ำกัด นายจ�ำลอง คงทอง นายอนนทร์ วิเศษสวัสดิ์ หัตถกรรมมีการเคลือบ ปั้นเคลือบ สตูดิโอ ภาควิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ นายสัมฤทธิ์ สังวาลย์ บริษั ท เปรมประชาคอลเลคชั่น จ�ำกัด หัตถกรรมไม่มีการเคลือบ นางสมควร กุลวงศ์ นายอนุรักษ์ วัฒนากลาง นายอ�ำนาจ โห้เฉื่อย
10 - 30 พฤศจิกายน 2541 ณ อาคารศิลป์ พีระศรี 1 มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม 4 - 13 ธันวาคม 2541 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิตติ์ กรุงเทพฯ พ.ศ. 2542 ณ นิทรรศการในงานของ กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์
รางวัลยอดเยี่ยม
ศิลปกรรม นายอ�ำนวย นวลอนงค์ หัตถกรรมไม่มีการเคลือบ นายนคร อนันทะประดิษฐ์
รางวัลดีเด่น
ศิลปกรรม นายต่อพงษ์ บูรณพิเชษฐ์ นางสาวภรดี พันธุภากร สถาบันศิลปกรรม กรมศิลปากร หัตถกรรมมีการเคลือบ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด บ้านสวนเซรามิค บริษั ท เปรมประชาคอลเลคชั่น จ�ำกัด บริษั ท ล�ำปางคูนเซรามิค จ�ำกัด นายวันชัย กฤษฎามหาสกุล นายสมชาย รัตนวารี นายส�ำเนา รัตนประเสริฐ นางอรัญญา หิรัญวัชรพฤกษ์ หัตถกรรมไม่มีการเคลือบ นายค�ำปัน ค�ำแก้ว นายไพฑูรย์ บุญถนอม นายอนุรักษ์ วัฒนากลาง
ครั้งที่ 10
15 ธันวาคม 2543 - 10 มกราคม 2544 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ 19 - 23 เมษายน 2544 ณ งาน “Bangkok International Gift & Houseware Fair 2001” ศูนย์แสดงสินค้านานาชาติอมิ แพ็ค เมืองทองธานี 1 - 25 พฤษภาคม 2544 ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รางวัลยอดเยี่ยม
ศิลปกรรม นายสยุมพร กาษรสุวรรณ หัตถกรรมไม่มีการเคลือบ นายอ�ำนาจ โห้เฉื่อย ครั้งที่ 11
รางวัลดีเด่น
ศิลปกรรม นายเกษม พฤกษะวัน นางสาวดวงพร ปิยทัศสี นางสาวศรีบรรณา ไชยสิทธิ์ นายสราวุฒิ วงษ์เนตร นายอุดร จิรักษา นายอุเทน รินฟอง หัตถกรรมมีการเคลือบ นายเกษม พฤกษะวัน นายนุกูล นรังสิทธิ์ นางสาวรุ่งนภา ยืนยงวนานนท์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาล�ำปาง หัตถกรรมไม่มีการเคลือบ นายทนงชัย มากไอ นายนคร อนันทะประดิษฐ์ นายพิชัย คุยสูงเนิน ศูนย์ศลิ ปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ พิ์ ระบรมราชินนี าถ โดย นางจริยา สงวนชาติ อุตสาหกรรม บริษั ท คราว์น เซรามิคส์ จ�ำกัด โดย นายคณธร ปวีณวงศ์ชัย บริษั ท จิรภา เซรามิคส์ จ�ำกัด โดย นายธนากร พิทักษ์ ศูนย์ศลิ ปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ พิ์ ระบรมราชินนี าถ โดย นางเพ็ญศรี บุญจง นายวีรชัย กลัดส�ำเนียง
6 - 30 ธันวาคม 2545 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ 5 - 9 มีนาคม 2546 ณ งาน Thailand International Furniture Fair 2003 ศูนย์แสดงสินค้านานาชาติ BITECH โดยกรมส่งเสริมการส่งออก 18 - 23 เมษายน 2546 ณ งาน Bangkok International Gift and Houseware Fair 2003 ศูนย์แสดงสินค้านานาชาติ BITECH โดยกรมส่งเสริมการส่งออก 1 - 25 พฤษภาคม 2546 ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รางวัลยอดเยี่ยม
รางวัลดีเด่น
ศิลปกรรม นางสาวสุทธินี สุขกุล หัตถกรรมมีการเคลือบ นายอุทัย เขนย หัตถกรรมไม่มีการเคลือบ นายพิทักษ์ นิรภัย
ศิลปกรรม นายจิรวุฒิ ด้วงอินทร์ นายรัช รัชนีกร นายสยุมพร กาษรสุวรรณ หัตถกรรมมีการเคลือบ บริษั ท ซีอิ้ง อีส บีลิฟวิ่ง จ�ำกัด นายพิทักษ์ นิรภัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาล�ำปาง นายสุภาพ เรืองเสน หัตถกรรมไม่มีการเคลือบ นายทนงชัย มากไอ นายมะทอ มากไอ อุตสาหกรรม Living Idea Co., Ltd. โดย นายคณธร ปวีณวงศ์ชัย มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ โดย นางสาวจินตนา สหายรักษ์ บริษั ท คราวน์ เซรามิคส์ จ�ำกัด โดย นางสาวนุชจรี สวัสดี
ครั้งที่ 12
9 - 30 ธันวาคม 2547 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ 1 - 9 เมษายน 2548 ณ เทศกาลศิลปวัฒนธรรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 19-24 เมษายน 2548 ณ งานแสดงินค้าของขวัญและงานแสดงสินค้าของใช้ในบ้าน ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี
รางวัลยอดเยี่ยม
ศิลปกรรม นางสาวศรีบรรณา ไชยสิทธิ์ หัตถกรรมมีการเคลือบ นายธนสิทธิ์ จันทะรี
รางวัลดีเด่น
ศิลปกรรม นายจิรวุฒิ ด้วงอินทร์ นางสาวจิราภรณ์ ตุ้ยบุญมา นายเด่น รักซ้อน นายพงศ์ภวัน อะสีติรัตน์ นายพิพัฒน์ จิตรอารีรักษ์ นายรณชิต บุมี นายรัช รัชนีกร นางสาวอรุโณทัย จันทร์คามค�ำ หัตถกรรมมีการเคลือบ นายเกรียงไกร ดวงขจร นายเกษม พฤกษะวัน นายเด่น รักซ้อน ภาควิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ บริษั ท ล�ำปางคูนเซรามิค จ�ำกัด โดย นายเรวัตร ไชยยารักษ์ นายลัคนา วงศ์สวัสดิ์ นายศักรินทร์ ไพรนารี นางสาวสุทธินี สุขกุล นายอุทัย เขนย หัตถกรรมไม่มีการเคลือบ นางสาวอิงอร เพ็ชรเขียว อุตสาหกรรม นางจตุรพร เทวกุล นางสาวบุษรินทร์ ศิริจิตเกษม นางสาววรรธนา พจนาภรณ์ นางสุพงษ์ ลมัยกุล นายเสกสิทธิ์ จันทร์ทอง นายหิรัญ เกิดศิริ
ครั้งที่ 13
7 - 30 ธันวาคม 2549 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ 17 - 22 เมษายน 2550 ณ งานแสดงสินค้าของขวัญและงานแสดงสินค้าของใช้ในบ้าน อาคารชาเลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
รางวัลยอดเยี่ยม
ศิลปกรรม นายรัช รัชนีกร
รางวัลดีเด่น
ศิลปกรรม นายเด่น รักซ้อน นายอมรเทพ มหามาตร นางสาวมุฑิตา ลีตระกูล นางสาวรุ่งนภา ยืนยงวนานนท์ นางสาวศรีบรรณา ไชยสิทธิ์ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ โดย นายพนม เสมาทอง นายสราวุฒิ วงษ์เนตร หัตถกรรมมีการเคลือบ นายดนัย โตอมรพันธุ์ นายนิกร กาบเขียว นายวุฒิชัย พลายด้วง โรงงานศรีวรรณา เซรามิกส์ โดย นางสาวจรัสศรี ธรรมแสน ศูนย์ศลิ ปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ พิ์ ระบรมราชินนี าถ โดย นายสุรชัย เนื่องขจร หัตถกรรมไม่มีการเคลือบ นายนที อนันทะประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นายธีระ ศรีหะสุด มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นายสุธารักษ์ แสงเทศ นางสาวสุภาพร อรรถโกมล อุตสาหกรรม นางสาวขวัญหล้า อยู่แจ่ม นายนฤดม ปิ่นทอง นายนันณรงค์ ชุมขุน S.K.I COMPANY LIMITED โดย นายชัยณรงค์ พงศ์ศศธร นายกิตติชัย สุขสุเมฆ นางสาวอรวรรณ สวนโพธิ์
ครั้งที่ 14
8 - 30 ธันวาคม 2551 ณ หอศิลป์สนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม 21 - 26 เมษายน 2552 ณ งานแสดงสินค้าของขวัญและงานแสดงสินค้าของใช้ในบ้าน ศูนย์แสดงสินค้า อิมแพ็ค เมืองทองธานี 4 - 7 มิถนุ ายน 2552 ณ เทศกาลเทีย่ วเมืองไทย ปี 2552 อาคารชาเลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
รางวัลยอดเยี่ยม
ศิลปกรรม นางสาวศรีบรรณา ไชยสิทธิ์ หัตถกรรมร่วมสมัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นายสุธารักษ์ แสงเทศ
ครั้งที่ 15
รางวัลดีเด่น
ศิลปกรรม นายณัฐวุฒิ นาคสิงห์ นายเด่น รักซ้อน นายธนิษฐ เกื้อสม นายบริรักษ์ ศุภตรัยวรพงศ์ นายรัช รัชนีกร นางสาวสุทธินี สุขกุล หัตถกรรมประเพณี นางสาวสุกัลยา ไชยพิมพ์ หัตถกรรมร่วมสมัย บริษั ท ล�ำปางคูนเซรามิค จ�ำกัด โดย นายเรวัตร ไชยยารักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นายเศกพร ตันศรีประภาศิริ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดย นายอาทิตย์ วงค์ละคร นายสงบ กาวิรุณธ์ นางสาวสุธินี อินทนี นายเสกสรร ตันยาภิรมย์ อุตสาหกรรม นางสาววัชรี ศรีวิชัย นายนรพล รามฤทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นายวิทพล ตะเคียนทอง ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดย นายอาทิตย์ วงค์ละคร สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย นางสาวมิ่งขวัญ วงษ์ชาญศรี
1 ธันวาคม 2553 - 30 มกราคม 2554 ณ หอศิลป์สนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม เมษายน 2554 ณ งาน Bangkok International Gift and Houseware ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี มิถุนายน 2554 ณ งานเทศกาลเที่ยวเมืองไทย โดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
รางวัลยอดเยี่ยม
ศิลปกรรม นายสุรศักดิ์ แสนโหน่ง หัตถกรรม นายสุริยา วังบอน
รางวัลดีเด่น
ศิลปกรรม นายจ�ำลอง สุวรรณชาติ นายบุรินทร์ อินทะแสน นางสาวศรีบรรณา ไชยสิทธิ์ หัตถกรรม นายนที อนันทะประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นายกฤตยชญ์ ค�ำมิ่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นายเศกพร ตันศรีประภาศิริ ต้นแบบอุตสาหกรรม นางสาวขนิษฎา อุดมโชค นายชานนท์ ตันประวัติ นายณัฏฐพงศ์ พรหมพงศธร นายถนัตนนท ข�ำพรหมราช มหาวิทยาลัยบูรพา โดยนางสาวน�้ำทิพย์ เต้กมงคล
ครั้งที่ 16 รางวัลยอดเยี่ยม
1 ธันวาคม 2555 - 20 มกราคม 2556 ณ หอศิลป์สนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม 29 มกราคม - 28 กุมภาพันธ์ 2556 ณ โถงชั้น 1 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
ศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นางสาวรุ้งกาญจน์ โถทอง หัตถกรรมร่วมสมัย มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร โดย นายภูริพันธ์ คืดนอก
ครั้งที่ 17 รางวัลยอดเยี่ยม
รางวัลดีเด่น
ศิลปกรรม นายจ�ำลอง สุวรรณชาติ นายดุริวัฒน์ ตาไธสง นายบุรินทร์ อินทะแสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา โดย นางสาวชญานิษฐ์ พรหมสุวรรณ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดย นายอรรถพล จิระทัศนกุล วิทยาลัยอาชีวศึกษาล�ำปาง โดย นางสาวรุ่งนภา ยืนยงวนานนท์ นายสราวุฒิ วงษ์เนตร นายสุรศักดิ์ แสนโหน่ง หัตถกรรมประเพณี บริษั ท เบญจเมธา เซรามิก จ�ำกัด โดย นายเอ็มโชเฟียน เบญจเมธา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นายศราวุฒิ โปนา หัตถกรรมร่วมสมัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นายสุธารักษ์ แสงเทศ นายอุทัย เขนย อุตสาหกรรม นางสาวกมลชนก ภาณุเวศย์ นางสาวปัทมาวดี จุลภักดิ์ นางสาวสุวิไล ค�ำพิลา
11 พฤศจิกายน - 21 ธันวาคม 2557 ณ หอศิลป์ร่วมสมัยราชด�ำเนิน กรุงเทพฯ
ศิลปกรรม ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดย นางสาวหทัยรัตน์ ปรมัตถ์คุณาสิน หัตถกรรม มหาวิยทาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นายสุธารักษ์ แสงเทศ
รางวัลดีเด่น
ศิลปกรรม นายพรสวรรค์ นนทะภา นายพิเชฐ ธรรมวัฒน์ นายสุรศักดิ์ แสนโหน่ง นายพรนภัส หารค�ำ นายพนม ช้างนานอก หัตถกรรม นายจ�ำลอง สุวรรณชาติ นายชยกร วรกุลคฑาธิป มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นายอิทธิพล บุญประสงค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โดย นายอาร์ต กลิ่นมาลี อุตสาหกรรม นางสาวเยาวเรศ สุทธิศาล นายสรณัฏฐ์ คงนวล
ครั้งที่ 18
12-30 ตุลาคม 2559 ณ ชั้น 1 ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม
รางวัลยอดเยี่ยม
ศิลปกรรม นายพรสวรรค์ นนทะภา
รางวัลดีเด่น
ศิลปกรรม นายพิเชฐ ธรรมวัฒน์ นายวิทวัส ปิยะชัยวุฒิ นายสันติ พรมเพ็ชร นายสุรศักดิ์ แสนโหน่ง หัตถกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา โดย นางสาววีรดา บัวบังใบ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นางสาวมาริษา แก่นเพ็ชร ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นางสาวบูรณิน กาวี ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดย นางสาววาสนา สุนันสา นายสุธารักษ์ แสงเทศ ต้นแบบอุตสาหกรรม นายพินิจ แสงทอง นางสาวเยาวเรศ สุทธิศาล นางสาวศรกมล อยู่ยงค์ นางสาวอรวรา คงไพบูลย์
รายนามศิลปินเครื่องปั้นดินเผาเกียรติคุณ จากการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 15 - 19 : พ.ศ. 2553 – 2561 List of Honorable Artist of Ceramics from the 15th to 19th National Ceramics Exhibition 2010 – 2018
ล�ำดับ No.
รายนามศิลปิน Name
นาย สุรศักดิ์ แสนโหน่ง Mr.Surasak Sannong
1
ประเภทเครื่องปั้นดินเผาเกียรติคุณ Catagory of Honorable Artist of Ceramics
ปี Year
ศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art
พ.ศ.2561 A.D.2018
หมายเหตุ : การยกย่องเกียรติคุณดังกล่าวนี้ เริ่มตั้งแต่การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 15 ปี พ.ศ. 2553 เป็นต้นมา Remark : The announcement of this honor was stated in the 15th National Ceramics Exhibition in 2010 and has been effective since then.
ตารางการส่งผลงานในการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 ประจ�ำปี 2561 จ�ำแนกตามประเภทผลงาน จ�ำนวนผลงานที่ส่ง ได้ร่วมแสดง และได้รับรางวัล Table showing the classification of the exhibits, the submitted works, the selected entries and the award-winning entries of the 19th National Ceramics Exhibition ประเภท Type of Works
จ�ำนวนผลงานทัง้ สิน้ No. of Participants and Submitted Works ศิลปินส่งใน นามส่วนตัว Individual Participants
ศิลปินส่งใน ศิลปิน ผลงาน นามสถาบัน ทัง้ หมด Submitted Institutional Total Works Participants Participants
ผลงานที่ได้รับรางวัล Award-winning Entries
ผลงานร่วมแสดง Selected Entries
รวมศิลปินและผลงาน ทีจ่ ดั แสดงทัง้ สิน้ No. of Exhibits
ยอดเยี่ยม First Prize
ดีเด่น Second Prize
ศิลปิน Artists
ผลงาน Entries
ศิลปิน Artists
ผลงาน Entries
ศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art
51
36
87
110
1
4
41
50
46
55
หัตถกรรม Ceramic Handicraft
37
41
78
105
-
4
29
35
33
39
ผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม Ceramic Industrial Prototype
12
26
38
54
-
4
14
18
18
22
รวมทั้งสิ้น Total
100
103
203
269
1
12
84
103
97
116