13SilpaBhirasriGrants

Page 1

ทุนสรางสรรคศิลปกรรม ศิลป พีระศรี ครั้งที่ 13 SILPA BHIRASRI CREATIVITY GRANTS 13th


ทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม ศิลป์ พีระศรี AT THE SILPAKORN UNIVERSITY ART GALLERY, WANG THA PHRA

ON MONDAY 19 MAY 2014


th

Title : 13 Silpakorn Bhirasri Creativity Grants Organized : Art Centre, Silpakorn University Published : Art Centre, Silpakorn University Catalogue Design : Saruda Suansa-ard Photographs : Artists Edition : May 2014


ARTISTS KARUNA

PANUMES

DUENCHAYPHOOCHANA

PHOOPRASERT

SONGCHAI BUACHUM

TANASAN PATTANASUTTICHONLAKUN

RONNAPHOB TECHAWONG

WATCHARAPORN

YOODEE

VEERAWAT

SIRIVESMAS


“ข้าพเจ้าบอกแก่เพื่อนของข้าพเจ้าว่าที่จริง เกือบทุกสิ่งที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์เป็นศิลป เมืองของเรา บ้านของเรา เครื่องแต่ง บ้าน รถยนต์ เครื่องแต่งกาย แม้กระทั่งปากกา หมึกซึมของเรา แต่ละสิ่งล้วนเป็นผลอันใด มาจากศิลปทั้งสิ้น”



ศิลปคืออะไร? ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี : เขียน เมื่อไม่กี่วันมานี้เพื่อนของข้าพเจ้าคนหนึ่งถามข้าพเจ้าว่า ศิลปคืออะไร ทำ�ขึ้นด้วยความมุ่งหมายอย่างไร และในประการสำ�คัญก็คือ ทำ�ไมเราจึงต้องจัดการแสดงศิลปกรรมขึ้น ครั้งแรกข้าพเจ้าคิดว่าเพื่อนของข้าพเจ้าคงพูดเล่นตลก ข้าพเจ้าหัวเราะ แต่เขากลับขอร้องอย่าง เป็นงานเป็นการให้ข้าพเจ้าตอบคำ�ถามของเขา เพราะเขารับว่าไม่อาจเข้าใจกิจการอันยุ่งเหยิงที่เราทำ�ไปเกี่ยวกับศิลปเลย ดังนั้นข้าพเจ้าจึงจำ� ต้องอธิบายให้เขาฟังสั้นๆ เท่าที่ปัญญาความสามารถของข้าพเจ้าจะทำ�ได้ ข้าพเจ้าพูดว่า ศิลปคืออะไรนั้น ไม่ใช่ของง่ายที่จะอธิบาย เพราะเป็นการแสดงให้รู้ถึงอำ�นาจเร้นลับชนิดหนึ่งซึ่งบังคับให้มนุษย์ทำ�ศิลป ขึน้ เช่นเดียวกับทีเ่ รารูส้ กึ ในความลึกลับอย่างยิง่ ของจักรวาลหรือสากลจักรวาล และผลอันเกิดจากการหมุนเวียนของมัน แต่ขอให้เราพยายาม ทีจ่ ะแสดงความลึกซึง้ อย่างยิง่ ออกมาเป็นถ้อยคำ�ธรรมดาโดยย่อ ท่านจะเห็นได้วา่ ในธรรมชาติชา่ งประสานกลมกลืนกัน และเป็นความงามอย่าง หาทีเ่ ปรียบมิได้ ก็ทำ�ไมสิง่ ทีเ่ ป็นความมหัศจรรย์ของธรรมชาติทงั้ หลายทีใ่ ห้ความสุขใจแก่เราอย่างมากนัน้ จึงงดงามและบริบรู ณ์ นีแ่ หละคือสิง่ ที่เรียกว่าความลึกลับอันหาที่สุดมิได้ แต่เราไม่ได้พิจารณาในด้านปรัชญา เราเป็นศิลปินเรามองจักรวาลที่งดงามนี้ในวิถีทางสุนทรียะจะเห็นว่า ทุกสิง่ ทีอ่ิ ยูใ่ นกฎของธรรมชาติ ล้วนมีระเบียบ ความเหมาะสมกลมกลืน และความงามอยูท่ งั้ สิน้ ทีนมี้ นุษย์เป็นเพียงจุลนิ ทรียห์ นึง่ ของจักรวาล จึงจำ�เป็นอยู่เองที่ธรรมชาติของมนุษย์ จะต้องขึ้นอยู่กับกฎเกณฑ์อันเร้นลับ และบริบูรณ์ของจักรวาล โดยเหตุผลนี้จะเห็นได้ว่า ตั้งแต่ชีวิตดึกดำ�บรรพ์มนุษย์ รู้สึกจำ�เป็นที่ต้องตกแต่งร้่างกายและสิ่งแวดล้อมของเราให้สวยงาม ต่อมา วิวฒ ั นาการเจริญขึน้ มนุษย์ใช้ศลิ ปไปในทางไสยศาสตร์ เป็นชัน้ ต้น และชัน้ ต่อมาก็เพือ่ ความมุง่ หมายในทางศาสนาและปรัชญา ในทีส่ ดุ ถึงสมัย ที่อารยธรรมเจริญสูงขึ้นอีก มนุษย์ใช้ศิลปเพื่อความสุขทางสุนทรียะบริสุทธิ์ และผลที่ได้รับจากความสุขทางสุนทรียะนี้แหละที่ทำ�ให้มนุษย์เป็น มนุษย์โดยสมบูรณ์ขึ้น โดยอาศัยศิลป มนุษย์จะเขยิบขึ้นสูงถึงขั้นเทียมเทพเจ้า และโดยวิธีนี้มนุษย์จะพ้นจากความป่าเถื่อน และสัญชาติญาณ ของสัตว์โลกธรรมดา ศิลปเท่านั้น (ซึ่งหมายถึงวรรณคดี ดนตรี จิตรกรรม ประติมากรรมและสถาปัตยกรรม) ที่ทำ�ให้มวลมนุษย์เป็นพี่น้องกัน ศิลปเท่านั้น ที่ไม่มีขอบเขตของเชื้อชาติ ไม่มีการแก่งแย่งแข่งขันในผลประโยชน์ ศิลปเป็นสื่อสำ�คัญที่จะยกระดับจิตใจของเราให้อยู่ในอาณาจักรที่สูงสุด และให้ความหวังในอนาคตอันเป็นอุดมคติแก่เรา ข้าพเจ้าบอกแก่เพือ่ นของข้าพเจ้าว่า ทีจ่ ริงเกือบทุกสิง่ ทีส่ ร้างขึน้ โดยมนุษย์เป็นศิลปเมืองของเรา บ้านของเรา เครือ่ งแต่ง บ้าน รถยนต์ เครื่องแต่งกาย แม้กระทั่งปากกาหมึกซึมของเรา แต่ละสิ่งล้วนเป็นผลอันไดมาจากศิลปทั้งสิ้น ถ้าหากท่านเชื่อในความจริงข้อนี้ จะเข้าใจถึง เหตุผลที่ว่า ทำ�ไมในอารยชนจึงมีความกระตือรือร้นในศิลป และทำ�ไมเขาจึงจัดการแสดงศิลปกรรมขึ้นบ่อยๆ ความจริงงานแสดงทางพุทธิ ปัญญาเหล่านี้ล้วนให้การศึกษาแก่จิตใจและขัดเกลาวิญญานของเราให้ประณีตงดงาม ความจริงงานศิลปที่อยู่ในการแสดงย่อมไม่เป็นงานชั้นเยี่ยม หรือถูกรสนิยมของเราไปหมดทุกชิ้น แต่ในงานศิลป 100 ชิ้น ท่าน อาจได้พบงานสักชิ้นหนึ่งซึ่งก่อให้ท่านเกิดอารมณ์ซาบซ่าน สะเทือนใจ ให้ความสุข และเป็นบ่อเกิดให้คิดให้ทำ�ในสิ่งที่ดีงาม นี่แหละคือ ความ สำ�เร็จในเจตนาขั้นสุดท้ายของการแสดงศิลปกรรม

* จากสูจิบัตรการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 6 ซึ่งแสดง ณ กรมศิลปากร ระหว่างวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ถึง 5 มีนาคม 2498


คำ�นำ� หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากรได้รเิ ริม่ โครงการเชิดชูเกียรติศลิ ปินยอดเยีย่ มแห่งประเทศไทย รางวัลทุนสร้างสรรค์ศลิ ป์ พีระศรีขนึ้ เพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการค้นคว้าด้านการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมของศิลปิน โดยเชิญชวนให้ศลิ ปินนำ�เสนอโครงการสร้างสรรค์เพือ่ ให้คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาคัดเลือกผู้สมควรได้รับทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม ศิลป์ พีระศรี จำ�นวน 100,000 บาท ซึ่งในครั้งที่ 13 นี้ได้คัดเลือกผู้ได้รับทุนจำ�นวน 7 ทุน ซึ่งโครงการที่ได้รับคัดเลือกนั้นล้วนเป็นโครงการที่โดดเด่น มีคุณภาพ มีรูปแบบการสร้างสรรค์ที่น่า สนใจ และทำ�ให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรม รางวัลทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรมศิลป์ พีระศรี นี้ เป็นเสมือนกำ�ลังใจอัน สำ�คัญต่อการทำ�งานของศิลปินเพื่อให้สร้างสรรค์ผลงานที่ดีสู่สาธารณะ และเป็นการสนับสนุนให้ศิลปินมุ่งทำ�งานสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง เพื่อ เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาวงการศิลปะร่วมสมัยในประเทศไทย สุดท้ายนี้ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอขอบคุณคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และคณะกรรมการดำ�เนินงานที่ทุ่มเทการทำ�งาน และทำ�ให้โครงการสำ�เร็จลุลว่ งด้วยดี จนทำ�ให้ผลงานทีท่ รงคุณค่าเหล่านีอ้ อกเผยแพร่สสู่ งั คมในวงกว้าง และเป็นแรงบันดาลใจแก่ศลิ ปิน ผูส้ นใจ ศิลปะและนักศึกษาศิลปะ ในการสร้างสรรค์งานต่อไป

อาจารย์ ดร. ปรมพร ศิริกุลชญานนท์ รักษาราชการผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร


Preface Silp Bhirasri’s Creativity Grants is the project initiated by the Art Centre Silpakorn University to encourage artists’ research and creativity. Artists are invited to submit project proposals for 100,000 Baht grant, which will be selected by honorable judges. Seven creativity projects have been selected for the 13th Silpa Bhirasri’s Creativity Grants. All of these selected works distinctly show new body knowledge and enhance for Thai contemporary art circle. This grant is an important support for the artists to develop their works for public and also support them to continue creating art, which benefits Thai contemporary art cycle. The Art Centre Silpakorn University would like to express gratitude to honorable judges and working committees, who put effort in making these valuable art works known to wide public and become source of inspiration to other artists and students.

Paramaporn Sirikulchayanont, Ph.D. Acting Director Art Centre, Silpakorn University


คำ�สั่งหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 10/2555 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำ�เนินงาน โครงการเชิดชูเกียรติศิลปินยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย รางวัลศิลป์ พีระศรี ครั้งที่ 13 ประจำ�ปี พ.ศ. 2556 ---------- ด้วยหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับอนุมัติให้จัดทำ�โครงการเชิดชูเกียรติศิลปิน ยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย รางวัล ศิลป์ พีระศรี ครั้งที่ 13 ประจำ�ปี พ.ศ. 2556 เพื่อเป็นการส่งเสริมศิลปินที่สร้างงานศิลปกรรม พัฒนางานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม ของชาติ และมีผลงานศิลปกรรมที่มีคุณค่าจนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติ และหรือระดับนานาชาติ โดยให้ศิลปินสร้างสรรค์ผลงาน ในระยะเวลาหนึ่ง และรวบรวมผลงานจัดแสดงเพื่อประกาศเกียรติคุณแก่สาธารณชนต่อไป ฉะนั้น เพื่อให้การดำ�เนินงานบรรลุตาม วัตถุประสงค์ของโครงการ จึงแต่งตั้งคณะกรรมการดำ�เนินงานในโครงการฯ โดยมีรายนามดังต่อไปนี้

1. อาจารย์ อำ�มฤทธิ์ ชุสุวรรณ ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. อาจารย์สาครินทร์ เครืออ่อน รองผู้อำ�นวยการหอศิลป์ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ 3. อาจารย์ ดร. ปรมพร ศิริกุลชญานนท์ รองผู้อำ�นวยการหอศิลป์ วังท่าพระ และเผยแพร่งานศิลปะ 4. นางศศิวิมล สันติราษฎร์ภักดี 5. นายยุทธศักดิ์ รัตนปัญญา 6. นางสาวดาราพร ครุฑคำ�รพ 7. นางสาวจุฬาพร พุทธิพงษ์ธนกุล 8. นายพรเพิ่ม เกิดหนุนวงศ์ 9. นางนันทาวดี เกาะแก้ว 10. นางสาวปุณยวีร์ เอี่ยมสกุล 11. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง 12. นางสาวจิราภรณ์ ทองแกมแก้ว 13. นายสำ�ราญ กิจโมกข์ 14. นางสาวโสภา ศรีสำ�ราญ 15. นายสราวุธ ทับทอง 16. นายเอกพงษ์ สกุลพันธุ์ 17. นางเอื้อมพร แผนสมบูรณ์ 18. นายเฉลิม กลิ่นธูป 19. นายวัยวัฒน์ งามสิงห์ 20. นายสิทธิพร กล่ำ�ศรี 21. นางสาวจุฑารัตน์ เนียมวิรัตน์ 22. นางประคิ่น สุกเทพ 23. นางสาวมินตา วงษ์โสภา 24. นายอุทัย อาสนะ

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

ทั้งนี้ให้คณะกรรมการดำ�เนินการ มีหน้าที่ดังนี้ 1. จัดทำ�นิทรรศการโครงการเชิดชูเกียรติศิลปินยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย รางวัลศิลป์ พีระศรี ครั้งที่ 13 ประจำ�ปี พ.ศ. 2556 และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับนิทรรศการ 2. จัดทำ�สูจิบัตร และสิ่งพิมพ์ประกอบนิทรรศการ 3. จัดทำ�ระบบข้อมูลและงานวิชาการในระบบคอมพิวเตอร์สารสนเทศ ทั้งการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และการขยาย บทบาทงานศิลปกรรมไทยสู่นานาชาติ 4. มีอำ�นาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการในการดำ�เนินงานของส่วนต่างๆตามที่เห็นสมควร สั่ง ณ วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2555 (อาจารย์อำ�มฤทธิ์ ชูสุวรรณ) ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร


คำ�สั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 1782 /2555 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือก และตัดสินทุนรางวัลศิลป์ พีระศรี ครั้งที่ 13 โครงการเชิดชูเกียรติศิลปินยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี พ.ศ. 2556 ---------- ตามทีห ่ อศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้จด ั ทำ�โครงการเชิดชูเกียรติศล ิ ปินยอดเยีย ่ มแห่งประเทศไทย รางวัลศิลป์ พีระศรี ประจำ�ปี พ.ศ. 2556 เพื่อเป็นการส่งเสริมศิลปินที่สร้างงานศิลปกรรม พัฒนางานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และมีผลงานศิลปกรรม ที่มีคุณค่าจนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติ และหรือระดับนานาชาติ โดยให้ศิลปินสร้างสรรค์ผลงานในระยะเวลาหนึ่ง และรวบรวมผล งานจัดแสดงเพื่อประกาศเกียรติคุณแก่สาธารณชนต่อไป ฉะนั้น เพื่อให้การดำ�เนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ จึงแต่งตั้ง คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน รางวัลศิลป์ พีระศรี ประจำ�ปี พ.ศ. 2556 ประกอบด้วยผู้แทนจากคณะกรรมการประจำ�หอศิลป์ และ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านศิลปะ ดังมีรายนามต่อไปนี้

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

อาจารย์นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ศาสตราจารย์เกียรติคุณอิทธิพล ตั้งโฉลก ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง รองศาสตราจารย์พิษณุ ศุภนิมิตร อาจารย์สมศักดิ์ เชาวน์ธาดาพงษ์ รองศาสตราจารย์ปริญญา ตันติสุข รองศาสตราจารย์เข็มรัตน์ กองสุข อาจารย์สาครินทร์ เครืออ่อน ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ

สั่ง ณ วันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

(นายภราเดช พยัฆวิเชียร) รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร


ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง ทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม ศิลป์ พีระศรี ประจำ�ปี 2556 โครงการเชิดชูเกียรติศิลปินยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย รางวัลศิลป์ พีระศรี ครั้งที่ 13 ของหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร --------------------------------------- ตามที่หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้จัดทำ�โครงการเชิดชูเกียรติศิลปินยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย รางวัลศิลป์ พีระศรี ขึ้น เพื่อ เป็นการส่งเสริมศิลปินที่สร้างงานศิลปกรรม เพื่อพัฒนางานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และมีผลงานศิลปกรรมที่มีคุณค่าจนเป็นที่ ยอมรับทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ โดยพิจารณาคัดเลือกมอบรางวัล ทุนสร้างสรรค์ เพื่อใช้ในการสร้างสรรค์งานศิลปกรรมแก่ศิลปิน โดย ให้สร้างสรรค์ผลงานในระยะเวลาหนึ่ง จากนั้น จะได้รวบรวมผลงานขึ้นจัดการแสดงผลงานศิลปกรรมเพื่อประกาศเกียรติคุณต่อสาธารณชนต่อไป โดยหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรได้กำ�หนดระเบียบการไว้ดังต่อไปนี้ คือ 1. จุดมุ่งหมายของโครงการ เพื่อส่งเสริมการสร้างสรรค์ศิลปกรรมอันเป็นมรดกทางด้านศิลปวัฒนธรรม ของชาติให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อเผยแพร่ ผลงาน ศิลปกรรมของศิลปินไทยให้เผยแพร่ออกสู่สาธารณชน เสริมสร้างคุณค่าทางสุนทรีย์ พัฒนาความคิดและคุณธรรมของสังคมไทย อันเป็นการ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรมไทย ทั้งในประเทศ และต่างประเทศเพื่อสนับสนุนศิลปินไทย ให้มีความเชื่อมั่นและมีกำ�ลังใจในการ สร้างสรรค์ อันเป็นประโยชน์ต่อวงการศึกษาและวงวิชาการศิลปะสมัยใหม่ของไทยอันเป็นการพัฒนาคุณภาพไปสู่ระดับสากลเพื่อการวิเคราะห์ และการเก็บข้อมูลหลักฐานการสร้างสรรค์ที่จะเป็นประโยชน์ทางด้าน การศึกษา และวงวิชาการศิลปะสมัยใหม่ในประเทศไทย 2. คุณสมบัติของศิลปินที่มีสิทธิสมัครรับรางวัลทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม เป็นศิลปินสัญชาติไทยที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป เป็นผู้ที่ทำ�งานสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีการจัดการแสดงผลงานเผย แพร่ต่อสาธารณชนอย่างสม่ำ�เสมอ มีการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรม หมายถึง การสร้างสรรค์ผลงานประเภทจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ สื่อประสม ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา ศิลปะสิ่งทอ และศิลปะเครื่องประดับ (Jewellery) 3. การสมัคร ศิลปินเป็นผู้สมัครด้วยตนเอง โดยกรอกใบสมัครแล้วส่งใบสมัครด้วยตนเอง ที่หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพมหานคร หรือสมัครทางไปรษณีย์ ส่งที่คุณมินตา วงษ์โสภา หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ถนนหน้าพระลาน กรุงเทพฯ 10200 โดยระบุที่หน้าซองด้วยข้อความว่า (เสนอขอทุนรางวัลศิลป์ พีระศรี ประจำ�ปี 2556) และสามารถสอบถามข้อมูลได้ที่โทรศัพท์ หมายเลข 02–221–3841 หรือ 02–623-6115 ต่อ 11425,11418,11420 เงื่อนไขประกอบการสมัคร

4.1 4.2

4.3

กรอกรายละเอียดลงในใบสมัครขอรับทุนให้ครบทุกข้อ ส่งโครงการเสนอขอรับทุนรางวัลจัดทำ�เป็นรูปเล่ม พร้อมบันทึกข้อมูลลงใน CD ซึ่งประกอบด้วย รายละเอียดข้อมูลเรียงตามลำ�ดับดังนี้ - ประวัติศิลปินไทย – อังกฤษ (ระบุถึงประวัติการศึกษา การแสดงผลงาน และรางวัล) - รูปถ่ายศิลปิน 1 รูป (บันทึกลงใน File JPEG เท่านั้น) - ชื่อโครงการ (ภาษาไทย - ภาษาอังกฤษ) - วัตถุประสงค์ของโครงการ - ความเป็นมา และแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงาน - จำ�นวนผลงาน ประเภท เทคนิค และขนาดของผลงานที่จะสร้างสรรค์ - ขั้นตอน และระยะเวลาในการดำ�เนินการสร้างสรรค์ - ภาพร่างผลงาน (Sketch) หรือ ภาพผลงาน (บันทึกลงใน File JPEG เท่านั้น) ส่งแนวความคิด ข้อมูลรายละเอียด และภาพผลงานที่เคยสร้างสรรค์ในอดีต (Portfolio) ควรระบุ แยกช่วงปีที่จัดแสดงผลงานตามลำ�ดับให้ชัดเจน

โดยบันทึกข้อมูลลงใน CD (บันทึกลงใน File JPEG เท่านั้น)

หมายเหตุ : รูปถ่ายศิลปิน และรูปผลงานในข้อ 4.2 และข้อ 4.3 ให้บันทึกลงใน File JPEG เท่านั้น


5. คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน ต่อไปนี้

คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินประกอบด้วยผู้แทนจากคณะกรรมการประจำ�หอศิลป์ และผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านศิลปะ ดังมีรายนาม

1. อาจารย์นนทิวรรธน์

จันทนะผะลิน

ประธานกรรมการ

2. ศาสตราจารย์เกียรติคุณอิทธิพล

ตั้งโฉลก

กรรมการ

3. ศาสตราจารย์ปรีชา

เถาทอง

กรรมการ

4. รองศาสตราจารย์พิษณุ

ศุภนิมิตร

กรรมการ

5. อาจารย์สมศักดิ์

เชาวน์ธาดาพงษ์

กรรมการ

6. รองศาสตราจารย์ปริญญา

ตันติสุข

กรรมการ

7. รองศาสตราจารย์เข็มรัตน์

กองสุข

กรรมการ

8. อาจารย์สาครินทร์

เครืออ่อน

กรรมการ

9. ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

กรรมการ

10. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

เลขานุการ

6. การตัดสิน

การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นมติเอกฉันท์ จะอุทธรณ์มิได้

7. รางวัล 7.1 รางวัลทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม ศิลป์ พีระศรี ประจำ�ปี 2556 มีจำ�นวน 7 รางวัล เป็นรางวัลเงินทุนสร้างสรรค์ ทุนละ 100,000 บาท คณะกรรมการอาจตัดสินลดหรือเพิ่มรางวัลก็ได้หากพิจารณาเห็นว่ายังไม่มีผู้ใดมีคุณสมบัติที่เหมาะสมที่จะได้รับรางวัลทุนสร้างสรรค์ 7.2 การรับรางวัลทุนสร้างสรรค์ ให้ทำ�ตามข้อตกลงและเงื่อนไขที่คณะกรรมการประจำ�หอศิลป์กำ�หนด หากไม่ดำ�เนินการตาม เงื่อนไข หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจใช้สิทธิ์เรียกร้องให้ผู้ได้รับรางวัลทุนสร้างสรรค์คืนเงินรางวัลพร้อมดอกเบี้ยตามมติที่คณะกรรมการ ประจำ�หอศิลป์พิจารณา 8. การสร้างสรรค์ผลงาน ผู้ได้รับรางวัลทุนสร้างสรรค์จะต้องสร้างสรรค์ผลงานในจำ�นวนและระยะเวลาที่คณะกรรมการประจำ�หอศิลป์พิจารณา โดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการคัดเลือก และตัดสิน 9. กรรมสิทธิ์ของผลงานสร้างสรรค์ ผลงานสร้างสรรค์ของศิลปินทีไ่ ด้รบ ั รางวัลทุนสร้างสรรค์ศล ิ ปกรรม ศิลป์ พีระศรี ประจำ�ปี 2556 จะถูกคัดเลือกจากกรรมการประจำ�หอศิลป์ และผู้ทรงคุณวุฒิทางศิลปะให้เป็นกรรมสิทธิ์ของหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จำ�นวนคนละ 1 ชิ้น ผลงานสร้างสรรค์ของศิลปินที่ได้รับรางวัลทุน สร้างสรรค์ศิลปกรรม ศิลป์ พีระศรี ประจำ�ปี 2556 หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรสงวนสิทธิ์ในการจัดพิมพ์เผยแพร่ผลงานในสูจิบัตร และเอกสาร สิ่งพิมพ์อื่นๆ รวมทั้งระบบสารสนเทศสมัยใหม่ต่างๆ 10. การจัดนิทรรศการ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จะเป็นผู้ดำ�เนินการจัดการแสดงผลงานศิลปกรรมของศิลปินผู้ได้รับรางวัลทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม ศิลป์ พีระศรี ประจำ�ปี 2556 ในรูปของนิทรรศการ ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร หรือหอศิลป์อื่นๆ และดำ�เนินการจัดทำ�สูจิบัตร และสิ่งพิมพ์ที่ เกี่ยวข้อง กำ�หนดเวลา - การส่งใบสมัคร : วันจันทร์ที่ 16 มกราคม – 25 กุมภาพันธ์ 2556 การตัดสินผลงาน : วันเสาร์ที่ 2 มีนาคม 2556 - - ประกาศผลการตัดสิน : วันจันทร์ที่ 25 มีนาคม 2556 - การรับทุนและการสร้างสรรค์ : วันพุธที่ 1 พฤษภาคม 2556 – วันที่ศุกร์ 25 เมษายน 2557 การติดตั้งผลงาน : วันเสาร์ที่ 26 – วันพุธที่ 30 เมษายน 2557 - การแสดงผลงาน : วันพฤหัสบดีที่ 1 พฤษภาคม – วันเสาร์ที่ 24 พฤษภาคม 2557 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - วังท่าพระ กรุงเทพฯ ประกาศ ณ วันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 (นายภราเดช พยัฆวิเชียร) รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร


ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง ผลการคัดเลือก และตัดสินทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรมศิลป์ พีระศรี ครั้งที่ 13 โครงการเชิดชูเกียรติศิลปินยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย รางวัลศิลป์ พีระศรี ประจำ�ปี พ.ศ. 2556 _____________________ ตามประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2555 เรื่องทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรมศิลป์ พีระศรี ครั้งที่ 13 โครงการเชิดชูเกียรติศิลปินยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย รางวัลศิลป์ พีระศรี ประจำ�ปี พ.ศ. 2556 ได้เชิญชวนศิลปินส่งผลงานเข้า ประกวดในโครงการดังกล่าว แล้วนั้น บัดนี้ คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน ได้พิจารณาคัดเลือกผลงานของศิลปินเข้ารับทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรมศิลป์ พีระศรี จำ�นวน 7 ทุน ตามรายนามดังนี้ 1. นางกรุณา ภาณุเมศ 2. นางสาวเดือนฉายผู้ชนะ ภู่ประเสริฐ 3. นายทรงไชย บัวชุม 4. นายธนสาร พัฒนสุทธิชลกุล 5. นายรณภพ เตชะวงศ์ 6. นางวัชราพร อยู่ดี 7. นายวีรวัฒน์ สิริเวสมาศ

โครงการสภาวะความสงบในมิติแสงเงา/ The State of Peace in the Dimensions of Light and Shadow โครงการ “เล็กนั้นงาม หมายเลข ๓”/Small are Beautiful III โครงการ“พื้นที่แห่งความโยงใยระหว่างวัตถุและจิตวิญญาณ”/ “Realm of Inter-relationship between Matter and the Spiritual” โครงการพื้นที่ปฏิสัมพันธ์เสมือน/Virtual Interaction Space โครงการชั่ว-คราว/Transience โครงการในอุทร/In Amnion โครงการก่อนญาน/Beyond Perception

ประกาศ ณ วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556 (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช ) รักษาราชการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยศิลปากร



K

P

ARTWORK


KARUNA

PANUMES “The Peaceful in the dimension of Light and Shadow”

Watching life as different stories features through like the Ensembles of Shadows in shadow puppet master’s show that plays on the screen of life that suffer and joy along the way learning to embrace both sides of life as lessons in achieving the ambition of living.

“สภาวะความสงบในมิติแสงเงา” เฝ้าดูชีวิต ... เรื่องที่แตกต่างกัน ... เหมือน มายาเงาของหนังตะลุง ... ทีฉ่ ายบนหน้าจอของชีวติ ... ให้ตอ้ งทนทุกข์ทรมาน และเป็นสุข ... การเรียนรู้ ... ที่จะยอมรับทั้งสองด้านของชีวิต ... เป็นบทเรียน สำ�คัญในการบรรลุ เป้าหมายของชีวิต 1


“THE STATE OF PEACE IN THE DIMENSIONS OF LIGHT AND SHADOW” OIL ON CANVAS 120 x 160 CM.

NO.1

2

NO.3


NO.5

NO.8

3


“Land”

is the base of every things in the world. High, low, soft and hard, every place has a history and a treasure. Land is the lost part of our everyday world, one that we walk on and often forget it’s importance. Actually it’s quite the opposite land is the most value be and important resource. Land is the meaning of our country and the base of farming which is the cornerstone of Thailand. Land can be compared to our

body it’s an essentrol part of our life.

“ดิน” คือฐานรองรับทุกสิ่งทุกอย่างใน โลก มีความสูง ต่ำ� ลุ่ม ดอน นุ่มและ แข็ ง มี คุ ณ สมบั ติ แ ละมี ป ระวั ติ ศ าสตร์ ของแต่ละพื้นที่แตกต่างกันไป เนื่องจาก พื้นดินเป็นส่วนที่อยู่ต่ำ�สุด เป็นพื้นที่ที่คน เหยียบย่ำ� ในความหมายหนึ่งอาจดูไร้ค่า และไม่มีความสำ�คัญใด แต่ในทางตรงกัน ข้าม “ดิน” ก็เป็นสิ่งที่มีมูลค่าและคุณค่า สูงที่สุดที่ไม่ควรมองข้ามไปได้เลย เพราะ ดินคือความหมายของประเทศ และเป็น สัญลักษณ์ของพืน้ ทีท่ ำ�การเกษตรอันเป็น สัมมาอาชีพหลักของคนไทย “ดิน” จึง เป็นสิ่งสำ�คัญที่เทียบได้กับเนื้อหนังมังสา

กระดูก ผม ขน ฯลฯ อันเป็นส่วนประกอบ ที่สำ�คัญของชีวิต กล่าวได้ว่า คุณค่าของ “ดิน” คือคุณค่าของ “ชีวิต” งานสร้างสรรค์ชุดนี้ เป็นการแสดง ให้เห็นถึงสุนทรียภาพและความงามที่มีใน ธรรมชาติ ที่ส่งผลต่ออารมณ์และความ รู้สึกนึกคิดของมนุษย์ โดยแสดงออกใน รูปแบบที่เรียบง่าย สามัญและธรรมดา ที่สุด ผ่านสัญลักษณ์ของเส้น สีและรูป ทรง ด้วยกระบวนการสร้างสรรค์ทาง ศิลปะ เพื่อสื่อสารไปถึงคุณค่าของ “ดิน” ที่ส่งผลต่อชีวิตและการดำ�เนินชีวิตของ มนุษย์

This creative series shows is intended to display the beauty and harmony in nature in a way that uses simple lines, colors and shapes, the purpose of this is to communicate the value land has in our everyday life.

DUENCHAYPHOOCHANA

PHOOPRASERT


Untitled, 200 x 35 cm. , clay on canvas, 2013

5


6


Line & Line, 200 x 60 cm. , clay on canvas, 2014

7


Memory of nature, 90 x 120 cm. , clay on canvas, 2013

8


Untitled, 230 x 50 cm. , clay on canvas, 2013

9


SONGCHAI BUACHUM Realm of Inter-relationship between Matter and the Spiritual

Environs impact upon every aspect of our understanding of things. All of us have been grasping, absorbing and valuating things generations after generations. As a result, we could say that there are two aspects of meaning in all things. Often times, one is separated from the other, even though the two are inter-related. These two elements come in pair – be it in likeness or in variance, all of which are man-made to highlight their contrast. Earth and sky, external and internal, happiness and suffering, vice and virtue, materiality and the spiritual, self and nothingness, void and non-existence are but some of the examples. Every element in the pairing supports and tops off the other, even in time of confusion and chaos. The instant one hears an “internal voice of consciousness” reverberating, try to focus on that “opposing pairs”. This will lead us onto the path of wisdom, to an appreciation of the same truth, to a spiritual uplifting. This whole process is grounded upon a contemplation of nature, aiming at perceiving the “message” – one that communicates meaning and value 10

from the “inside”, inclusive of an insight into beauty and truth. In that instant, one will also sense some of the attributes of the “Enlightened One” inside us, bit by bit. The underlying idea of my space arrangement is a well-balanced composition of spaces of different sizes, big and small. These large spaces are filled up with interactive activities among the spaces representing ideas, fantasies, and truths – all of which are inter-related, much like touching a silky and coarse texture of objects, or hearing the wind wafting by amid stillness, or seeing light shining on a path amid pitch-darkness. All this are inter-related to one another, flow in and out of one another – on the two-, three-dimensioned spaces, as well as in the spiritual dimension. Relying on the angle of sight and artistic perspective principle, one’s sight is being led to the converging point of the two aspects of truth – i.e., seeing the meaning from the inside out…the inter-relatedness of space, objects and mind…all of which are bonded by one and the same spiritual core.


I Title Size Techniques

“Realm of the Mind” Dimensions variable Paintings, Welding, Wood, Clay, Stone carving, Sculling Boat and VDO

11


Title : “Sound of the State of Mindfulness 1” Size : Dimensions variable Techniques : School Chairs, Skulls and Bells

โครงการ “พืน้ ทีแ่ ห่งความโยงใยระหว่างวัตถุและ จิตวิญญาณ” (Project Name: Realm of Interrelationship between Matter and the Spiritual) แนวคิดในการสร้างสรรค์ สิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์ต่อความ เข้าใจของเราในทุกด้าน เราซึมซับ เรียนรู้ความ หมายรวมถึงการกำ�หนดค่าในทุกสิ่งสืบทอดต่อ เนือ่ งกันมา ในสิง่ เหล่านัน้ จึงมีนยั ยะเป็นสองด้าน บางครั้งถูกแยกออกจากส่วนอื่น ซึ่งเกี่ยวข้อง กัน ในความโยงใยระหว่างสิ่งต่างๆ อันเป็นสิ่ง ที่คู่กัน แม้จะมีความเหมือนหรือแตกต่าง ซึ่งถูก สมมุติขึ้นเพื่อเปรียบเทียบกัน ทั้ง...พื้นดินและ ท้องฟ้า ภายนอกและด้านใน ความทุกข์และสุข ความชั่วและความดี วัตถุและจิตใจ ตัวตนและ

12

ความไม่มี ความดับสูญและความว่าง สิ่ง เหล่านั้นล้วนเป็นส่วนที่ต่อเติมเกื้อกูลกันและ กัน กระทัง่ ในเวลาทีว่ นุ่ วายและสับสน ชัว่ ขณะ ที่แว่วยิน “เสียงแห่งสำ�นึกด้านใน” ค่อยๆ ดังกังวาน ให้ตระหนักถึง “สิ่งคู่ตรงข้าม” นั้น นำ�ไปสู่การก่อเกิดหนทางแห่งปัญญา และความซาบซึ้ ง ในความจริ ง อั น เดี ย วกั น ทั้งเป็นหนทางยกระดับจิตใจ โดยผ่านการ พินิจพิจารณาจากธรรมชาติทั้งมวลสู่การ เข้าถึง คือการเข้าถึง “สาร” อันเป็นสารที่สื่อ ถึงคุณค่าและความหมายจากด้านใน รวมถึง “การหยั่งเห็น” ในความงามและความจริง.... ในขณะนั้นยังบังเกิดความรู้สึกถึงธรรมชาติ แห่งพุทธะภายในตัวเราขึ้น ...ทีละน้อยๆ แนวคิดในการจัดสร้างพื้นที่โดยรวมทั้งหมด คือ การประกอบกันจากสัดส่วนอันพอเหมาะ Title : “Path of the Mind” Size : imensions variable Techniques :Drawing, Welding, Clay, Stone carving and Rope ladder


Title :“As the Fiddle Sound Fades Away” Size :Dimensions variable Techniques : Copy of Photograph on Papers, Copper wire, Papers Clips and Hand cut

ของพื้นที่หลากพื้นที่ ทั้งกว้างใหญ่ไปจนคับแคบลง เป็นพืน้ ทีเ่ พียงน้อยนิด หากแต่เป็นส่วนเติมเต็มพืน้ ที่ กว้างใหญ่เหล่านั้น คือปฏิสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ทาง ความคิด ความฝัน และความจริง อันเชื่อมโยง สัมพันธ์กัน ราวกับได้รู้สึกสัมผัสต่อพื้นผิวอันละมุน และหยาบกร้านในวัตถุ ได้ยินเสียงแห่งสายลมใน ความเงียบงัน ได้เห็นแสงส่องหนทางในความมืด มิดภายใน ซึ่งถ่ายเทและเชื่อมโยงซึ่งกันและกันของ พื้นที่ในระนาบ 2 มิติ และพื้นที่ 3 มิติ รวมทั้งมิติ ทางจิตวิญญาณ อาศัยการมอง อาศัยหลักทัศนีย วิทยาในการสร้างงานศิลปกรรมที่สามารถนำ�ไปสู่ จุดบรรจบของสองฝากฝั่งของความเป็นจริง โดย เห็นความหมายจากด้านในสู่ภายนอกระหว่าง พื้นที่ วัตถุ และใจ.....อันโยงใยในทิศทางแห่งจิตวิญญาณ หนึ่งเดียวกัน

Title : “Light Sound of the State of Mindfulness” Size : Dimensions variable Techniques : Drawings, Papers Clips and Copper wire

13


TANASAN

PATTANASUTTICHONLAKUN Nowadays, interpersonal interaction requires communication devices which have been adjusted in forms of style and connection between sending and receiving methods in order to make promptly response. That leads to the signification of remote sensing, due to the consistency development of all kinds of innovation. It has become cultural globalization in which knowledge and experiences have been shared globally, not belong to any particular nation. It is the effect of the mainstream the current media have become and that response the needs of oneself in the changing era. We are now living among the changes that being served in commercial way. Regarding the development of innovations lately, new vocabularies i.e. “Selfie”, “Like”, “Share”, “Twitter”, or “Follower” have been widely used, and interestingly being parts of our everyday lives. However, we probably could not define it in forms of perception or accession, or it could only be virtual reality which simulates in an acceptable form that allows us to access at all times.

14


N

UN

Technically, the data disperses via cyberspace connect us to other space and time in variety of directions. It could only be a simulation that responses to group of individual’s needs, creates indefinitely symbolic sharing space in society. People are welcome to be part of all kinds of activity, as well as modifying informa-

tion through sending and receiving. The creative piece is based on new methods of development that connects to responsive arts. Visual space is not only as being seen, the change of applied media usage has become the recombination of communication devices. It is responsive to the contemporary with new media that creates differentiated diverse aesthetic experiences in which represents in virtuality. As we are living along with it and become accustomed to it without doubt for this phenomenon. Virtual Interaction Space Project allows audience to be part of the creativity with the simulating method that serves my concept by employing symbols and structures from my imagination. It reflects the connection between individual’s space and objects at present time. The audience could share his or her imagination by creating personal space on the media and make it become public. Its purpose is for everyone to be participate, exchange and share ideas under the domain: http:// www.w-w-w-w-w.com/ and the art pieces in the exhibition. In order for all to receive variety of experiences, not only being an audience but also creator of his or her own creativities. I share the creation of sketch in condition of personal imagination. That is only model of style and experiences which reflects audience’s needs who want to share under the artist’s condition in the context of cultural globalization according to present time in current circumstance: time of changing.

Title : Virtual Interaction Space#V Size: 100 x 110 cm. Technique : Seirgraph

15


Title : Virtual Interaction Space#S Size: 100 x 110 cm. Technique : Seirgraph

Title : Virtual Interaction Space#P Size: 100 x 110 cm. Technique : Seirgraph

Title : Virtual Interaction Space#C Size: 100 x 110 cm. Technique : Seirgraph

Title : Virtual Interaction Space#B Size: 100 x 110 cm. Technique : Seirgraph


Virtual Interaction Space “พื้นที่ปฏิสัมพันธ์เสมือน” ในสภาวะปัจจุบนั การปฎิสมั พันธ์ ระหว่างบุคคล ต้องผ่านรูป แบบและเครือ่ งมือในการสือ่ สาร การสือ่ สารได้ถกู ปรับเปลีย่ น รูปแบบการเชือ่ มโยง ระหว่างวิธกี ารส่งสาร และวิธกี ารรับสาร ให้ ตอบสนองในทันทีในกาลปัจจุบัน ทำ�ให้เราให้ความสำ�คัญ ต่อ การสื่อสารระยะไกล ( Remote sensing ) จากการ ใช้ นวัตกรรมต่างๆที่ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่อง กลายเป็น วัฒนธรรมโลกาภิวัตน์ ที่ความรู้และประสบการณ์ ต่างๆถูก แลกเปลี่ยนกันทั่วโลก ไม่ใช่ความรู้ของชนชาติใดอีกต่อไปอัน เป็นผลจากจากเครื่องมือสร้างสื่อที่ตอบสนองได้อย่างเป็น ปัจจุบันกลายเป็น สื่อกระแสหลักที่ส่งผลต่อความต้องการ ตอบสนองของตนเองในยุคสมัยที่เปลี่ยนไป เรากำ�ลังดำ�เนิน ชีวิตท่ามการเปลี่ยนแปลงที่ตอบสนองในเชิงพานิชย์ จาก การพัฒนา นวัตกรรมต่างๆ จากในระยะเวลาไม่นานที่ผ่าน มาเรา ใช้ ภาษา และศัพท์ ต่างๆมากมายอาทิเช่น “Selfie” “Like” “Share” “Twitter” “Follower” ที่มาเป็นส่วน หนึ่งในชีวิตประจำ�วันที่เป็นการตอบสนองต่อการดำ�เนินชีวิต ที่เป็นส่วนหนึ่งมีส่วนร่วมในหลากหลายเรื่องราวที่สนใจ เป็น พัฒนาไปในวิถีแห่งวิวัฒนาการในปรากฏกาณ์ดังกล่าวเราไม่ อาจแยกแยะการรับรู้และการเข้าถึง ว่าเป็นรูปแบบใดได้บ้าง ครั้งอาจเป็นเพียงแค่รูปแบบ ที่เป็นความจริงแบบความเป็น จริงเสมือน ( Virtual Reality) เป็นการจำ�ลองรูปแบบที่เรา ยอมรับได้ จากเรื่องราวต่างที่ขาดหาย ให้ตอบสนองในทันที่ เราสามารถเข้าถึงได้ทุกช่วงเวลา ทางด้านเทคนิคเป็นเพียง การกระจายข้อมูลผ่าน Cyber Space ที่สามารถจะนำ�พา เราเชือ่ มโยง ไปในพืน้ ทีแ่ ละช่วงเวลาอืน่ ๆนำ�พาไปสูส่ งิ่ ใหม่ๆใน ทิศทางอันหลากหลาย เป็นเพียงภาพสมมุติที่การตอบสนอง ความต้องการส่วนบุคคลเฉพาะกลุม่ สร้างเป็นสังคมพืน้ ทีแ่ ลก เปลี่ยนเชิงสัญลักษณ์ที่ไม่ตายตัว ทุกคนมีสิทธ์เข้าร่วมใน กิจกรรมต่าง ได้ในหลากหลายรูปแบบ ร่วมกระทั่งถึง การมี ส่วนร่วมในการปรับปรุงปรุงแต่งเรื่องราวต่างๆ จากการใช้ งานการส่งสาร การรับ ผลงานสร้างสรรค์ ก็ตงั้ อยูใ่ นวิถกี าร พัฒนาการวิธใี หม่ๆในการเชือ่ มโยง ระหว่าง ศิลปะเชิงโต้ตอบ ไม่ใช่แค่เพียงที่ตาเห็น Visual Space อีกต่อไป ด้วยการ ประยุกต์การใช้สอื่ ต่างๆ ทีร่ ปู แบบการใช้เครือ่ งมือปรับเปลีย่ น ไป ไปเป็นการใช้งานรวมตัวกันใหม่ของเครื่องมือสื่อสาร

( Recombination) เพื่อตอบสนองความเป็นปัจจุบัน ใน สังคมร่วมสมัยด้วยสือ่ สมัยใหม่( New media ) ทีจ่ ะสร้าง ประสบการณ์ทางสุนทรียภาพทีม่ คี วามแตกต่างหลากหลาย แสดงเป็นเพียงลักษณะเป็นความจริงเสมือน ( Virtuality ) ที่ดำ�เนินชีวิตร่วมไปกับเราเป็นความเคยชิน และเราก็ไม่คิด จะตั้งคำ�ถามต่อปรากฏการดังกล่าว โครงการ “ พื้นที่ปฏิสัมพันธ์เสมือน ” ( Virtual Interaction Space Project ) เป็นการเผยแพร่ผลงาน ที่ผู้ชมสามารถมีส่วนร่วมในการ สร้างสรรค์ ด้วยการจำ�ลอง รูปแบบวิธีการการสร้างสรรค์ เพื่อตอบสนองแนวคิดของข้าพเจ้า ด้วยการใช้ สัญลักษณ์ โครงสร้างจากจินตภาพส่วนตัว ในการสร้างสรรค์ อันจะ สะท้อนแนวคิดของการ เชื่อมโยงพื้นที่ วัตถุบนเวลา ที่เป็น ปัจจุบัน ของแต่ละบุคคลที่สามารถเข้าถึงได้แตกต่างเพียง กาลเวลา ด้วยการแบ่งปัน จินตนาการของตนโดยการสร้าง พืน้ ทีส่ ว่ นตนบนเครือ่ งมือสือ่ ให้กลายเป็นพืน้ ทีส่ าธารณะให้ ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในการการสร้างสรรค์แลกเปลี่ยน และสามารถแบ่งปัน การสร้างสรรค์ของผู้ชมผลงานเอง บนพื้นที่ของ Cyber Space ภายใต้ โดเมนเนม http:// www.w-w-w-w-w.com/และผลงานในนิทรรศการ เพือ่ ได้ รับประสบการณ์ทหี่ ลากหลายไม่เป็นเพียงผูช้ มผลงานแต่ยงั เป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานในแนวคิดของตนเอง จากแนวทาง การสร้างสรรค์ส่วนตนของผู้ชม ข้าพเจ้าแบ่งปันการสร้าง ภาพร่างผลงาน ในเงื่อนไขของจินตนาการส่วนตน อันเป็น เพียงการจำ�ลองรูปแบบ จำ�ลองประสบการณ์ และสะท้อน ความต้องการของผู้ชมผลงาน ที่ต้องการแลกเปลี่ยนแบ่ง ปันภายใต้เงือ่ นไขของศิลปิน ทีอ่ ยูบ่ นบริบทของวัฒนธรรม โลกาภิวัตน์จากสภาพวิถีสังคมปัจจุบันที่เรามีส่วนร่วมใน กาลเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลง

17


RONNAPHOB TECHAWONG

Highway 12 No.2 150 x 200 cm. Oil on canvas

18


G “ Transience”

this s eries repres ents the universal symbol traffic. Used in every country around the world has meant the authority is responsible for its own clearly. But when we saw this same symbol to see disability in itself impotent, weak force. Sometimes almost meaningless existence. We have to use other materials such as bricks, wood , rope, tire , oil tank that available in the area. Then be assembled together to create a new one. Languages ​​include handwritten legend unofficially . The definition hidden meaning Reinforces the original story What is the "power". These thematic Reflects a failure to respect the rules. Social rules We humans created it in order to live together happily. We see the power redundancy And transience symbols of power in our country is familiar. Sometimes it is a little plain, and we accept it. But these are just minor things to reflect the structure of the country we live together.

“ชั่ว-คราว” ผลงานชุดนี้แสดงถึงสัญลักษณ์

จราจรอันเป็นสากล ที่ใช้กันในทุกประเทศทั่วโลก มี ค วามหมาย มี อำ � นาจ มี ห น้ า ที่ ใ นตั ว ของมั น เองอย่างชัดเจน แต่ในประเทศเรานั้นเมื่อพบเห็น สัญลักษณ์เดียวกันนี้ กลับดูพิการ ไร้อำ�นาจ อ่อน ด้อยพลังในตัวเอง จนบางครั้งแทบไร้ความหมาย ในการมีอยู่ เราจึงต้องใช้วัสดุอื่นๆ เช่น เชือก ก้อนอิฐ เศษไม้ ถังน้ำ�มัน ยางรถยนต์ เท่าที่หา ได้ในพื้นที่บริเวณนั้น แล้วนำ�มาประกอบสร้างรวม เข้าด้วยกันใหม่ รวมถึงภาษาอธิบายสัญลักษณ์ ที่เขียนด้วยลายมืออย่างไม่เป็นทางการ ให้ความ หมายซ้อนความหมาย ตอกย้ำ�ในเรื่องเดิม สิ่ง นั้นก็คือ “อำ�นาจ” ใจความเหล่านี้ สะท้อนถึงความความล้มเหลวของ การเคารพกฎระเบียบ กติกาทางสังคม ที่มนุษย์ เราสร้างมันขึ้นมาเพื่อใช้ในการอยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุข เราพบเห็นความซ้ำ�ซ้อนทางอำ�นาจ และ ความชั่วคราวในสัญลักษณ์แห่งอำ�นาจในประเทศ ของเราอย่างชินตา ที่บางครั้งก็เหมือนเป็นสิ่งเล็ก น้อย ธรรมดา และเรายอมรับมันได้ แต่สิ่งเล็ก น้อยเหล่านี้เองกลับสะท้อนถึงโครงสร้างใหญ่ของ ประเทศที่เราอยู่ร่วมกัน

19


1

2

1. Ban Khok fan phong 120 x 250 cm. Oil on canvas 2. Mithaphab Lab Koy 120 x 250 cm. Oil on canvas 3. Nong Prachak Public Park 150 x 150 cm. Oil on canvas 4. Highway 12 No.2 150 x 200 cm. Oil on canvas 5. Friendship Road 120 x 250 cm. Oil on canvas 20

4


3

5

21


WATCHARAPORN

YOODEE

Title Technique Size

In Amnion : Period of love. Acrylic, Paper Mixed Color and pencil on Canvas. 170 X 170 cm.


N

E

In Amnion

The origin of these works had started from the sorrow of loss for my first delivered daughter, which inspired me hard to create the set of marvelous sadness to remind the loss of our beloved daughter. After the first display, we had tried ever harder to have a new baby, consulted with doctors and been infertility treatment for almost two years. We finally found that we had lost our babies two times from the first period of developing fetus. With the situations over and over, the thoughts of my great loss and sadness became fully grown and developed more and more to me until I had in minds to express

Title In Amnion : Sweet Home, II Technique Acrylic, Paper Mixed Color and pencil on Canvas. Size 120 X 120 cm.

these experiences into new developed and conceptual artworks to appreciate the valuable happiness from transcendent suffering through and keep on living with conventionality. To create this set of artworks became from the loss of our beloved babies, which I got direct experiences. By using the shape of the organs involved like; uterus, ovary, placenta, amniotic fluid, blood vessel and umbilical cord put together with shape of tree branches as collective structure and imaginary emotional from seeing the pip moving through the ultra sound, which is a sign of a new life has begun and the cells will be slowly developed to be completed as a baby that’s ready to come out to see the new world soon. The time being in fetus is like a small seed that receives nutrient, water and fertilizer until

growing up to be the big strong tree to the world , blooming, giving fruits for people. Therefore in uterus does not mean only a baby to be delivered but can also refer to all seeds, as well as embryos, which need love and tender care for them. The process of these artworks are mixed technique painting, patched together with color paper collage, tinting and / or painting acrylic and black pencils’ sketching on well polished canvas. First to enlarge the sketch on canvas then patched the colored paper-issue into the sketched structure. This step needed time the most because the humidity had to be controlled to match the shade of colors. In some areas, the paper-issue

must be watery to patch over on canvas in order to look like the issue in the body. Colors tinting or painting had to wait until the paper-issues dried completely, especially in the edge connected to paper skins to prevent colors seep into the issue. Painting in each piece had been repeatedly painted over and over at least four times, started with the light color to the darker and darker by leaving the shade of outline to be seen. This method used for looking the complexity and total dimensions of the works. The final works will be retouching with black pencils but not all of them.

23


Title Technique Size

In Amnion : In small world. Acrylic and Paper Mixed Color on Canvas. 150 X 100 cm.

ในอุทร

ท่มี าผลงานชุดน้เี ริม่ ต้น จากประสบการณ์ความโศกเศร้า จากการสูญเสียลูกสาวในวัยแรกเกิดในการ ตั้งครรภ์ คร้ังแรก ทำ�ใหเ้ป็นแรงบันดาลใจอันแรงกลา้ ในการท่ี จะสร้างสรรค์ผลงานข้ึนมา 1 ชุด ในชื่อว่า “ความเศร้า อันงดงาม”เพือ่ ระลึกถึงการจากไปของลูก เมือ่ การแสดง นิทรรศการในคร้งั นัน้ เสร็จสิน้ แล้วยังคงมีความพยายาม และไม่หมดหวังทีจ่ ะมีลกู ได้กลับไปปรึกษาแพทย์และรักษา ภาวะมีบตุ รยากตลอด ช่วงเวลา2ปีตอ่ มาหลังจากนัน้ และ ได้ตง้ั ครรภ์อกี 2คร้งั แต่กเ็ สียลูกไปในไตรมาสแรกของการ ตัง้ ครรภ์อกี ท้งั 2 คร้งั สถานการณ์ทเ่ี กิดข้นึ ซ้ำ�แล้วซ้ำ�เล่า 24

น้ี ทำ�ให้แนวความคิดในเร่อื งราวของความเศร้าและการสูญเสียใน เรื่องเดิมๆยิง่ สุกงอมจนเป็นความตั้งใจอย่างยิ่งท่จี ะสร้างสรรค์ ผลลงานท่เี กิดจากประการณ์ชวี ติ ส่วนน้อี อกมาในรูปแบบผลงาน ศิลปะที่มีพัฒนาการทั้งรูปแบบผลงานและแนวความคิดที่แตก หน่อต่อยอดขึ้นมาและส่งผลทำ�ใหเ้ราได้ซาบซ้ึงถึงคุณค่าของ ความสุขที่ได้รับจากการขา้มผา่นความทุกข์และใช้ชีวิตอย่างเขา้ ใจในธรรมดาของโลก การสร้างสรรค์ผลงานชุดน้ี จึงใช้ที่มาของเรื่องราวการสูญเสีย บุคคลอันเป็นที่รักที่เกิดข้ึนจาก ประสบการณ์ตรงของตนเอง โดยการนำ�รูปทรงของอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับช่วงเวลาของการ ตั้งครรภ์ เช่น มดลูก รังไข่ รก ถุงน้ำ�คร่ำ�และสายสะดือมา ประกอบกับรูปทรงของกิง่ กา้นของตันไม้ใหเ้ปน็ โครงสร้างส่วน รวมของงานทั้งชุด และจินตภาพด้านความรู้สึกที่เกิดข้ึนในงาน ก็มาจากการได้มองเห็นตัวอ่อนท่ีเป็นจุดเล็กๆผา่นจอภาพของ เครื่องอัลตราซาวด์ ณ ตรงจุดเล็กๆจุดนั้น สามารถมองเห็น ความเคลือ่ นไหวคลา้ยท่วงทำ�นองเบาๆนัน่ คือจังหวะการเต้นของ หัวใจ ของสิ่งมีชีวิตตัวน้อยๆ และเป็​็นสัญญาณเริ่มต้น สู่การ มีชีวิตลมหายใจและเลือดเน้ือเซลล์ต์่างๆจะค่อยๆพัฒนาตนเอง จนเป็นร่างกายทารกท่ีสมบูรณ์ ทั้งภายในและภายนอกพร้อม ที่จะออกมาลืมตาสู่โลกภายนอกในเวลาอันไม่ยาวไกลช่วงระยะ เวลาแห่งชีวิต ในครรภ์มารดา ก็เปรียบเสมือนกับเมล็ดพันธ์ุพืช เล็กๆที่กำ�ลังพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโต โดยได้รับสารอาหาร น้ำ�และปุ๋ยจากมือของผู้ปลูกที่เฝ้าโอบอุ้มทะนุถนอมเพื่อให้เมล็ด พันธุ์ไดเ้ติบใหญ่เป็นต้นไม้ที่แข็งแกร่งและแข็งแรงแตกกิ่งกา้น ผลิใบให้ดอกออกผลเพ่อื ใหเ้ปน็ ประโยชน์แก่โลกและมนุษยชาติใน อนาคตในอุทรมารดาจึงเป็นมิได้หมายถึงเพียงทารกทีถ่ อื กำ�เนิด ข้นึ ในครรภ์แต่ยงั หมายถึงในอุทรของพืชพันธุท์ ฟ ี่ มู ฟักเมล็ดเช่น เดียวกับตัวอ่อนที่ต้องการความรักและการปกป้องให้ปลอดภัย จากสิ่งรบกวนหรือภยันตรายที่อาจจะมาทำ�ร้าย รู ป แบบของผลงานเป็ น จิ ต รกรรมเทคนิ ค ผสม ประกอบด้วยการปะติดเยือ่ กระดาษผสมสี การแต้มหรือระบายสี อะคริลิค และการวาดเส้นดินสอดำ� ลงบนผืนผา้ใบที่ขัดกระดาษ ทรายละเอียด กระบวนการใน ขั้นตอนแรกของทำ�งาน หลังจาก ได้ขยายแบบร่างลงบนผา้ใบเริ่มต้นด้วยการปะติดเยื่อกระดาษ ผสมสีลงไปในโครงสร้างลายเส้นส่วนใหญ่ของภาพเกือบทัง้ หมด ก่อน ขั้นตอนการปะติดเยื่อกระดาษเป็นระยะที่เปลืองเวลามาก ท่สี ดุ ต้องควบคุมความช้นื ของกระดาษให้เหมาะสมเพื่อให้​้เฉดสีที่ กลมกลืนไปตามนำ�้หนักท่ีกำ�หนดในพื้นท่ีบางส่วนจะใชเ้ยื่อกระ ดาษแบบเป็นน้ำ�เหลวๆมีเยื่อกระดาษปนอยู่เล็กน้อยเพื่อทาฉาบ ลงไป ให้ได้ลักษณะผิวคล้ายกับเยื่อบางๆในร่างกาย การแต้ม


หรือระบายสีจะต้องรอใหเ้ยื่อกระดาษที่ปะติดไว้ แห้งเสียสนิทก่อน โดยเฉพาะใน บริเวณที่เชื่อมต่อกับผิวกระดาษ เพื่อป้องกันไม่ให้สีซึมเขา้ไปในเน้ือกระดาษท่ียัง เปียกช้นื อยู่ ขนีั้ ตอนการระบายสีในงานแต่ละชิน้ จะแต้มหรือระบายทับซ้อนกันอย่าง น้อยสี่ระดับ น้ำ�หนักโดยเริ่มจากสีอ่อนไปสู่สีท่ีเข้มข้ึนเรื่อยๆ โดยในแต่ละระดับจะมี

การทิง้ ร่องรอยของลายเส้นที่แตกแขนงไว้เพื่อให้ยังมองน้ำ�หนักของสีที่อ่อนกว่าซ่ึง ลงไปก่อนหนา้ วิธีการช่วยทำ�ให้มองเห็นความต้ืน-ลึกและสร้างมิติให้ภาพรวมของ ผลงาน ส่วนการวาดเส้นดินสอดำ�จะอยู่ในกระบวนการตกแต่งภาพขั้นสุดทา้ยซ่ึงไม่ ได้มีการใช้ลายเส้นดินสอในผลงานทุกชิ้น

In Amnion : In the dream. Acrylic and Paper Mixed Color on Canvas. 170 X 150 cm.

25


VEERAWAT

SIRIVESMAS


T

S

B

eyond Perception

According to the experience of the artist, throughout the daily life routine as other people, there are many aspects and role in one people, working as the workman force at the office, a member of the family, and acting as a unit of social culture. I, from this aspect can be noticed many issues that happening in everyday via news, that of course it may be the global news, or even the local issues. Almost of them are reflecting the conflict between human. It may reflect to the cause and effect of actions. All of this information are now feed us through sounds such as Radio news, visual by televisions, newspaper on-line medias, even us are the person who spread out those messages attending or unattendingly. The over layer of chaotic and simplicity All of the noise or unnecessarily messages that surrounding us. If we can notice, they will always have small space between them. For example, all of alphabetical or literary messages, they are space between the words and lines. On the other hands, among of those overwhelming information they will be a space gap between our perceptions. The space gap can be seen as a physical empty space or even duration of time. This always happened in every chaotic situation. These things reflect the power of messages, the dynamic power that

moving surrounding us. It happens (even in every second) and it gone, as a cycle of life. Now we mention about the messages (news in this case) many news, many messages are already edited by editor or I would call manipulator. There are many aspects of the message (we may call the truth) but when the message was published to us just only in some aspect that they want to show. Message has been distorted for some certain purpose. That news are somehow effecting us perceptually and consciously to our emotion, behavior and our attitude. However, as we are the person among the overwhelming messages, our consciousness becomes necessary. It depends on the personal experience how to deal with this stressfulness. Among chaotic situation there will be a tranquility moment hiding in the gap. As a metamorphosis situation to be visual art elements. There are multi layers of situations and activities. Therefore, there are some gaps, space between them.

usage of newspaper is representative of contemporary iconic of message. That transform from digitalize overwhelming message into analogy feel and touch as readymade printing object. Hanging from the ceiling of the exhibition space has been considered as a proposal of the project. It is always considering and developing throughout year to fine an appropriate art form solution. Major icon form has been concluded as an egg form to represent the protection and the birth, which can be notice through multi-layer of hanging strip papers. It can create the semi and distortion illusion of light and form that somehow make a new experience to the audiences to remind them of consciousness and wisdom according to the concept of beyond perception.

Form from Gravity

The content and concept that artist concerns, and the working condition that confronts to the artist, playing with gravity is one of the experimental solutions for installation object. There are many experimental works done by the artist based on this concept and techniques which have been exhibited before this one. It calls the working process. The

27


จากผลของการทำ�งานศิลปะ ผ่านการศึกษาค้นคว้า ทดลอง สั ง เกตการใช้ ชี วิ ต ประจำ � วั น ในฐานะของปุ ถุ ช นคน ธรรมดาทีผ ่ า่ นมา ทัง้ ในมิตขิ องการเป็นอยู่ การเป็นส่วนหนึง่ ของ ครอบครัว การทำ�งาน และวัฒนธรรมของสังคมไทย ข้าพเจ้าเห็น ถึงประเด็นเรือ่ งราวต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ เป็นข่าวในสังคมโลกาภิวฒ ั น์ใน ปัจจุบัน ต่างเต็มไปด้วยเรื่องราวต่างๆที่สะท้อนให้เห็นถึงความ ขัดแย้ง กิเลส ผลประโยชน์ การกระทำ� และผลของการกระทำ� ต่างๆ ปรากฏขึ้นตามหน้าสื่อหลากหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ และสือ่ เครือข่ายสังคม ชุมชนออนไลน์ ซึง่ แทรกซึมเข้ามากลายเป็นส่วนหนึ่งในวิถีประจำ�วันโดยไม่รู้ตัว การ แทรกซ่อนตัวระหว่างช่องว่างของความวุน่ วายและความเรียบง่าย The over layer of chaotic and simplicity ความวุน่ วาย ของสิ่งรบกวน (noise) ที่เกิดขึ้นมีอยู่นั้น ถ้าสังเกตให้ดีจะมีช่อง ว่างเล็กๆซ่อนอยู่ ไม่ว่าจะเป็นช่องว่างระหว่างบรรทัด หรือช่อง ว่างของพื้นที่ว่างของการรับรู้ก็ตาม สิ่งเหล่านี้ต่างสะท้อนให้เห็น ถึงกระแสพลวัตรที่หมุนเวียน การเกิดขึ้น คงอยู่ ดับไป ข่าวสาร ต่างๆ ต่างมีมิติมุมมองที่ถูก “ผู้ปรุงแต่ง” (Manipulator) หยิบยกเฉพาะบางประเด็นมาขยายเพื่อผลบางอย่างที่ถูกซ่อน เร้น ซึง่ ข้อมูลทีถ่ กู ส่งออกอย่างตัง้ ใจปรุงแต่งนัน้ ถึงผูร้ บั สารซึง่ มีทั้งเปิดรับอย่างตั้งใจและไม่ตั้งใจ ย่อมเกิดผลกระทบต่อการรับ รู้ไม่ทางตรงก็ทางอ้อมเสมอ ซึ่งส่งผลกระทบถึงอารมณ์ ความ รู้สึก พฤติกรรม และทัศนคติของผู้รับสารนั่นเอง อย่างไรก็ตาม ท่ามกลางการบ่าไหลของ “ข้อมูลข่าวสารที่ท่วมท้น” การมีสติ ไตร่ตรอง กรองข้อมูล ย่อมขึ้นอยู่กับ สติและทัศนคติของผู้รับ สารนั้นที่จะค้นพบ “ความสงบในสายธารแห่งความโกลาหล”เหล่า นั้น คนทุกคนต่างก็ขวนขวายหาความสงบสุขอยู่ในใจ ท่ามกลาง กระแสเหตุการณ์วุ่นวายต่างๆที่เกิดขึ้นรอบๆตัวเรา บางครั้งเรา อาจจะมีเวลาหลบหลีกปลีกวิเวกจากสภาพแวดล้อมของสังคม อันสับสนอันส่งผลกระทบต่อจิตใจ บางสภาวะซึ่งบ่อยครั้งที่ เราไม่อาจจะหลบหนีหายไปไหนได้ เรายังต้องเผชิญหน้าใช้ชีวิต ดำ�เนินต่อไปท่ามกลางสภาถานการณ์อนั วุน่ วายดังกล่าว อย่างไร ก็ตามบางเวลาบางชัว่ ขณะทีท่ ำ�ให้เราสามารถฉุกคิด มองเห็นหรือ ตระหนักถึงสิ่งที่เกิดขึ้นและเป็นอยู่ และในสภาวะเดียวกัน เรายัง สามารถรับรู้ถึงพื้นที่ว่างทางจิตใจ ที่ทำ�ให้เราเกิดความสงบนิ่ง ท่ามกลางความวุ่นวายได้นั้น ย่อมเป็นสิ่งที่ประเสริฐ การหยุด นิ่งท่ามกลางสิ่งแวดล้อมที่หมุนไป แรงโน้มถ่วงแห่งข่าวสารอัน ล้นทะลัก (The Gravity of Overwhelming Message) เป็นการแสดงจุดยืนท่ามกลางกระแสสารทีไ่ หลผ่าน ผลงานศิลปะ จึงถูกเลือกใช้เป็นสื่ออย่างหนึ่งที่โน้มนำ� ชี้ให้เห็นผ่านสัญญะของ สภาวะสงบนิ่งท่ามกลางความสับสน รูปทรงกับแรงโน้มถ่วง การสร้างและจัดวางรูปทรง ตามแรงโน้มถ่วง (Form from Gravity) จากการต้องการ สร้างสภาวะ บรรยากาศ (Ambient) ให้ผู้ชมสามารถมองเห็น ถึงความวุ่นวาย (Chaotic) และความสงบนิ่ง ว่าง (Tranquility Peaceful) ในพื้นที่เดียวกัน แน่นอน จะต้องนำ�ไปสู่พื้นที่ แสดงความขัดแย้งของสองสถานะ การเลือกใช้วัสดุ เช่น เศษ กระดาษหนังสือพิมพ์ที่ถูกตัดให้มีรูปทรง ขนาดย่อยลง แต่ ถูกนำ�มาใช้ซ้ำ�กันในปริมาณมาก แสดงให้เห็นถึงสภาวะความ วุ่นวายของข่าวสารที่ถูกส่งออกมาอย่างท่วมท้น ที่ดูเหมือนจะ 28


ถูกจัดระเบียบอย่างไร้แบบแผน หรืออีกนัยหนึ่งการจงใจสร้าง ความสับสนอย่างเป็นระเบียบ ผ่านวิธีการทำ�งานของศิลปินที่ได้ เลือกกระดาษหนังสือพิมพ์ที่มีข่าวสารปรากฏอยู่มากมาย โดย ให้ข่าวสารเหล่านั้นถูกเรียงลำ�ดับเปลี่ยนกลับสลับหน้าไม่เหมือน อย่างที่หนังสือพิมพ์ทั่วไปทำ� การคัดเลือกเฉพาะขนาด Format ของกระดาษหนังสือพิมพ์ การคัดเลือกโทนสีของการพิมพ์เฉด และการตัดเปลี่ยนขนาดของกระดาษ เป็นการ ผลงานชิ้นเล็กๆ ผสมกับการจัดวางชิน้ กระดาษทีถ่ กู จัดเตรียมชิน้ เล็กๆ ให้เกิดมวล ปริมาตร เพื่อสร้างรูปทรงหลัก ในขณะเดียวกันชิ้นงานกระดาษ หน่วยย่อยขนาดเล็กเหล่านั้น บางชิ้นก็ได้จงใจซ่อนผลงานที่มีรูป แบบศิลปะเครือ่ งประดับ (Jewelry Art) เพือ่ สะท้อนให้เห็นถึงงาน ศิลปะต่างมิตขิ นาด ทีท่ ำ�หน้าทีเ่ สมือนงานประติมากรรมทีแ่ นบชิด กับร่างกายได้ (Intimacy Sculpture) เป็นอีกทัศนธาตุหนึ่งที่ ต้องการนำ�เสนอถึงความสำ�คัญของ ความเปราะบาง (Fragile) และความสุกสว่าง ยั่งยืน (Lighten, Enlighten) ผ่านทัศนธาตุ กึ่งลวงตา ผ่านการทับซ้อนกันของวัสดุ ซึ่งจะสะท้อนนัยยะถึง ความรู้สึกสงบสุขที่ดูเหมือนจะต้องค้นหา แต่กลับอยู่ที่วิธีคิดและ หรือมุมมอง วัสดุเปราะบางชิ้นเล็กๆนี้จะแทนค่าด้วยวัสดุกระดาษ หนังสือพิมพ์เช่นเดียวกัน ในขณะเดียวกัน วัสดุสุกสว่างก็จะใช้ กระดาษหนังสือพิมพ์ แต่ตา่ งกันทีก่ ารคัดเลือกความเข้มของสีหมึก พิมพ์ที่ต่างกัน และถูกเพิ่มเติมในเชิงสัญลักษณ์ด้วยการวาดเส้น อันจะแสดงถึงการกระทำ� สิ่งที่กระทำ�ลงไปบนสื่อวัสดุนั้นนั่นเอง ผลงาน “ก่อนญาณ” หรือก่อนที่เราจะรับรู้ได้ถึงสิ่งที่ สำ�คัญที่อยู่ใกล้ตัวที่ถูกมองข้ามได้นั้น ไม่ต้องรอให้มีเหตุการณ์ เปลีย่ นแปลงใดมากระทบ แต่ “สติ” และ “ปัญญา” เป็นสิง่ ทีส่ ำ�คัญ ที่ทำ�ให้เราตื่นและรับรู้อยู่กับปัจจุบันเสมอ ผลงาน “ก่อนญาณ” ได้แทนค่าของสิ่งเหล่านี้ที่เกิดขึ้น ผ่านสัญญะและทัศนธาตุทาง ศิลปะ ทัง้ ในมิตเิ ล็กๆของชิน้ งาน จนประกอบกันเป็นมวลปริมาตร ใหญ่ สอดคล้องกับบริบทของพืน้ ทีแ่ สดงงาน การจัดวางวัตถุชนิ้ เล็กๆเข้าด้วยกัน ก่อให้เกิดการบิดเบือนกึง่ ลวงตา (Distortion, Illusion) การซ่อนรายละเอียดเล็กๆในมวลขนาดใหญ่ เช่นการ ซ่อนรายละเอียดของงานในลักษณะมิติของงานเครื่องประดับ แทรกซึมอยู่ในมวลปริมาตรประติมากรรมมหึมา เป็นการทำ�งาน ที่เล่นกับขนาด มิติ และพื้นที่ว่าง เพื่อสร้างเอกภาพในชิ้นงานรวม เดียวกัน และแน่นอน แนวความคิดนีจ้ ะถูกส่งผ่านไปอยูบ่ นวิธกี าร จัดวางงานศิลปะชิน้ นีก้ บั พืน้ ทีว่ า่ งในระดับต่างขนาดและมิติ เพือ่ ให้ ผู้ชมงานสามารถรับรู้ประสบการณ์ใหม่อย่างใกล้ชิดกับประสาท สัมผัสการรับรู้ของมนุษย์เราทั้งก่อนและหลังการชมงานนั่นเอง

BEYOND

PERCEPTION

Technique : Installation art, site specificed, Materials, newspaper, drawing dimension 400 x 400 x 250 cm.

29


30


31


PROC


CESS


KARUNA

34


35


36


DUENCHAYPHOOCHANA 37


38


39

SONGCHAI


40


TANASAN 41


42

RO


RONNAPHOB

43


44

WATCHARAPORN


45


46


47

VEERAWAT


BIO

GRA

PHY


O

A

Y

- Showcase participation of Nanmee fine art award - Showcase participation of Art Taipei 2010 by Number1 gallery 2009 - Showcase participation of the 55th National Art Exhibition By Sinlapakorn University - Showcase participation of the 11th Panasonic Contemporary Painting By Panasonic - Art expo Malasia 2009,Malasia

Karuna Panumes

Born : 26 March 1967, Songkhla Education: : Bachelor of International Painting, Fine Art’s College.Bangkok : Master of Visual Arts, Mahasarakham University. Mahasarakham Workplace: : Fine Arts Department, Vocational College of Roi-Et, Ampor Maeung, Roi-Et 45000. E-mail : dinlay101@gmail.com Mobile : 086 640 2449

Exhibitions

2012 - Showcase participation of The 3rd UOB Painting of The year Competition - Showcase participation of SF Fine art Fair by www.asart.comAnthony 2011 - Showcase participation of the 57th National Art Exhibition By Silpakorn University - Facade, at number1 Gallery,Silom, Bangkok - Showcase participation of The3rd Bangkok Triennale International Print and Drawing Exhibition 2010 - The Beppu Asia Biennale of Contemporary Art 2010,Japan - Showcase participation of Bualaung, Contemporary Painting Bangkok Bank Foundation - Showcase participation of the 56th National Art Exhibition By Silpakorn University

2008 - Showcase participant of the 4th Amata Art Exhibition Award by Amata Foundation - Showcase participation of the 54th National Art ExhibitionBy Sinlapakorn University - Solo Exhibition In The light Shadow,By Number 1 Gallery 2007 - The Work of Contemporary Art Exhibition of 6 Thailand and Vietnam Universities 2007, Hanoi University of Fine Art, Vietnam - The Streams of Water Color Exhibition, Seventy-second Years of King Bhumipol’s Anniversary Art and Cultural Center, Silapakorn University at Pra Rajchawang Sanamjan, Nakorn Patom Province 2006 - Contemporary Art Exhibition of the Northeastern Region, Mahasarakham University

Grants and Awards 2009

- The 31th Second Place Silver Medal of Bualaung, Contemporary Painting Bangkok Bank Foundation - The 8th Second Prize Nan Mee Fine Art Award 2008 - Special Prize of “Bringing Goodness to Your Life” Art Work Competition, by Toshiba, Thailand Company Ltd. - The 30th Second Place Silver Medal of Bualaung, Contemporary Painting, Bangkok Bank Foundation - Honorary selected as a sketcher in the Art Exhibition Project of Her Royal Highness Kalayaniwattana’s Autobiography and Work, by The Office of Contemporary Art and Culture 2007 - Recipient of Art Recreation Scholarship from Statesman Pram Tinnasulanon

49


Duenchayphoochana Phooprasert Born : December 10, 1977, Ayutthaya, Thailand Studio : 27/3 Phrakaow, Bangbal, Ayutthaya, Thailand Tel. (667) 5615706 Education 2009 : M.F.A. Painting, Silpakorn University, Bangkok, Thailand 2001 : B.F.A. Painting, Silpakorn University, Bangkok, Thailand

Chao- Fah Rd., Bangkok, Thailand 2010 : 22nd “Bring Good to Life” by Toshiba Art Competition, The National Gallery, Chao- Fah Rd., Bangkok, Thailand 2010 : The 12th PANASONIC Contemporary Painting Exhibition, National Gallery, Chao- Fah Rd., Bangkok, Thailand 2009 : Young Female Artist of the Year, Baan Lae Suan at Impact Challenger, Muang Thong Thani, Thailand 2009 : The 55th National Art Exhibition of Art, The National Gallery, Chao- Fah Rd., Bangkok, Thailand 2009 : 21st “Bring Good to Life, Toshiba Art Competition at The National Gallery, Chao- Fah Rd., Bangkok, Thailand 2008 : THE WAY TO ART, by Young Artists Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok, Thailand 2006 : Artist Portrait, Artery gallery, Bangkok, Thailand 2004 : Inheritance of Thai Traditional Art, Bangkok, Thailand 2004 : Exhibition of Contemporary Art, by Master & Young Artists, College of Fine Arts, Bangkok, Thailand

Solo Exhibitions

Honor & Awards

2014 : AFTER TO AFTER, DOB Gallery 2012 : Small are Beautiful II, The National Gallery, ChaoFah Rd., Bangkok, Thailand 2009 : Small is Beautiful, Artery Gallery, Bangkok, Thailand

2013

Selected Group Exhibition

Fah

2013 land 2012 land 2012 2012 2011 2011 2010

50

: 13 Thai Contemporary Artists Award, Los Angeles, California, USA : International art Exhibition Ayutthaya Group, Ayutthaya, Thai: THAI TAE, Bangkok Art and Culture Center, Bangkok, Thai: The 58th National Art Exhibition of Art, The National Gallery, Chao- Fah Rd., Bangkok, Thailand : White Elephant in the concrete jungle, Doy-chang coffee , Phaholyothin,Bangkok, Thailand : The 57th National Art Exhibition of Art, The National Gallery, Chao- Fah Rd., Bangkok, Thailand : FOUR VISIONS VII, Jamjuree of Chularongkorn University, Bangkok,Thailand. : The 56th National Art Exhibition of Art, The National Gallery,

2012

2011 2010 2010 2010 2009 2009

: Silpa Bhirasri Creativity Grants, 2013 A Program to Honor Thai Artist of Distinction 12th Grant Serie : Selected as one of Thirteen artist to Published creative works at the Consulate of Thailand in America : Award Winner Silver Medal “The 58th National Art Exhibition of Art” 2012 The National Gallery, ChaoRd., Bangkok : 2nd Artist Support by KTB Krung Thai Bank. “The 57th National Art Exhibition of Art” 2011 The National Gallery, Chao- Fah Rd., Bangkok : Award Winner Silver Medal “The 56th National Art Exhibition of Art” 2010 The National Gallery, Chao- Fah Rd., Bangkok : Outstanding Award 22nd “Bring Good to Life” by Toshiba Art Competition, Thailand : Outstanding Award 12th The 12th PANASONIC Con temporary Painting Exhibition, Thailand : Award Winner Silver Medal “The 55th National Art Exhibition of Art” 2009 The National Gallery, Chao- Fah Rd., Bangkok : Outstanding Award 21st “Bring Good to Life” by Toshiba Art Competition, Thailand


Songchai Buachum Art Instructor of Painting Department. Born : April 17, 1973, Khonkaen, Thailand. Office : Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Napralan Road, Pranakorn, Bangkok, Thailand, 10200. Tel. : 662-2258991, Fax. 662-2258991, Mobile : 081-8093215. E-mail : a.keaw@hotmail.com, pro.keaw@yahoo.com www.rama9art.org/songchai Education

1997-2000 : M.F.A. Painting, Silpakorn University, Bangkok. 1992-1997 : B.F.A. Painting (2nd Hon.) Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok. 1989-1992 : College of Fine Arts, Bangkok. Solo Exhibition 2007

: “Realm of Knowledge” Art Exhibition at The Meta House, Phnom Penh, Cambodia.

Group Exhibitions 2014 - 2008 : Italien - Art-Expo 2013 “Ri-Generazioni da Oriente a Occidente, Thailandia e Ri-torno”, Massarosa, Italy. : 11th ART CAMP, Art Exhibition, National Art Gallery, Thailand. : “HAIKU – Sculpture 2013” International Exhibition for Art Universities, Japan. : Art and Cultural Exchange Program Thai – America Art Exhibition 2012 - 2013 : THAI-VIETNAM Contemporary Art Exhibition 2010, 2011. : 27th, 28th, 29th, 30th Art Exhibition by Members of the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University. : Art Exhibition “IDEACUBES PROJECT” : “VIJITSILPA-SILPATHAI” Art Exhibition of Creative Economy: Art from Thai Intelligence. : Art Exhibition by Instructors of Painting Department, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, 2011. : Art Exhibition of SCG Artist and Designer’s Creation. : ART CAMP PROJECT : Mind Uniting Art Created Operation for Lao Disable People’s Deaf Unit Charity under ThaiLao Artists Partnership. : 6th, 8th, 9th, 10th ART CAMP, Art Exhibition, National Art Gallery, Thailand. : The Art Exhibition “IMAGINE PEACE” : Art Exhibition of “The Color of Beijing”. : “The Silk Road of Arts and Culture Exhibition”, Asean Japan Centre. (Tokyo) : 9th Thai Contemporary Art Project, Silpakorn University wwwwArt Gallery. : Glass Exhibition, The Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts. : 26th Art Exhibition by Members of the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts. Silpakorn University, “OUR BEST RECENT WORKS & GLASS ART PROJECT”. : “Pure Art from Pure Heart” Contemporary Art Exhibition by 15 Artists. : 25th Art Exhibition by Members of the Faculty of Painting Sculpture and Graphic

Arts, Silpakorn University, “The Earth Loves Artists - Artists Love the Earth”. : The Eighth Great oriental Art Exhibition, Art Gallery of Dali University, China. : “Made in Bangkok : Common Currency” D&A Gallery, Design and Arts Collage of Newzealand. : “My Friends” Art Exhibition for the Dogs. 2007-2002 : The 4th, 5th, 6th Thai Contemporary Art Project, Silpakorn University Art Gallery. : 20th, 22nd, 23rd, 24th Art Exhibition by Members of the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University. : The Art Exhibition of “The 60th Anniversary Celebrations of His Majesty’s Accession to the Throne”, Fenesgo Gallery, Tokyo, Japan. : Exhibition Among Four Universities Vietnam-Thai Arts, Hue Gallery and Vietnam Art center, Hanoi, Vietnam. : Art and cultural Exchange of Silpakorn University and Tama Art University 2006 - 2007, Tama Art University, Tokyo, Japan. : RATANAKOSIN ISLAND, Historical Records Art Exhibition on the Occasion of His Majesty the King’s 80th Birthday Anniversary. 2001-1992 : The 44th, 45th, 46th National Exhibition of Art, National Art Gallery. : The 10th, 15th Petroleum Authority Exhibition of Art, Bangkok. : The 2nd, 3rd Panasonic Contemporary Painting Exhibition. : Contemporary Art Exhibition by Thai Farmer Bank. : The 11th, 12th Toshiba “Bring Good Things to Life” Art Competition. : The 23rd Bua Luang Exhibition of Paintings. : Art Exhibition “Taproot of Life – Art and Spiritual Society” The Project of Art with Santi Asoke Community. Awards 2013 : The 13th Silpa Bhirasri Creativity Grants, Art Centre, Silpakorn University. 2000 : 3rd Prize : Bronze Medal, Mixed Media, The 46th National Exhibition of Art. : Award Winner, Toshiba “Brings Good Things to Life” Art Competition, Bangkok. 1992 : First Prize, Graphic Arts, College of Fine Arts. : Second Prize, Drawing, College of Fine Arts. : Honors Prize, Painting, College of Fine Arts.

51


Tanasan Pattanasuttichonlakun

Born may 18 1974 Bangkok Education B.F.A printmaking , Department of fine arts, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabanb,Bangkok M.F.A Graphic Arts at Silpakorn University BKK Present Art teacher at Department of fine arts, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabanb,Bangkok E:mail : tanasan88@hotmail.com Awards

2005 - 1st Prize 51st Krung Thai Bank PCL. National Exhibition of Arts, Bangkok. - Prize “TSGA AWARDS 2005” 2004 - 2nd Prize 50Th Krung Thai Bank PCL. National Exhibition of Arts, Bangkok. - Gold Medal Prize Samart Corp PCL.. - 16th Specially Prize Toshiba “BRINGS GOOD THINGS TO LIFE” Art competition 2000 - Project Sketches and models in celebration of H.M the king’s - 3rd Prize, Bronze Medal, printmaking 45Th National Exhibition of Arts, Bangkok. 1999 - 2nd Prize, Silver Medal, printmaking 44Th National Exhibition of Arts, Bangkok. 1998 - 2nd Prize, Silver Medal, the 15th Exhibition of Contemporary Art by young Artists 1995 - 2nd Prize Student Art Exhibition College of Fine Arts, Bangkok Solo Exhibitions Essence : Existentia Selected Group Exhibitions 2009 -55st National Exhibition of Art , Bangkok Thailand - THE VARIOUS PERSPECTIVES AND ISSUES OF PRINTMAKING 2008 -54st National Exhibition of Art , Bangkok Thailand - Art Exchange 3 Universities - Art ExchangeOkinawa Prefectural University of fine Arts by King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabanb,Bangkok - Visual Arts Pestival 55th Anniversary of the College of Fine Arts - thai - japanese Contemporary Art Exchange Program 2007

52

2006 - An Art Exhibition on The Auspicious Occation of The 60th Anniversary Celebrations of His Majesty’s Accession to The Throne. KMITL. 2005 -51st National Exhibition of Art , Bangkok Thailand - “Thai Art Exhibition” at Art Gallery of The Capital Library, Beijing, China 2004 - The 10th Anniversary of Department of Fine Arts “Art in Tandem with Technology” - The 6 th Panasonic Contemporary painting exhibition National Gallery - Japan Thai Exchange Art Exhibition Kyoten 4 Toyama Cultural Museum , Japan -50st National Exhibition of Art , Bangkok Thailand - 16 Toshiba “BRINGS GOOD THINGS TO LIFE” Art competition - 1st samart Corp Art competition - The 5 Decade Anniversary the College of fine arts Exhibition - The 26th Bua Luang Exhibition of painting,2004 - New face new phase 50 Artlsts 2003 - Japan Thai Exchange Art Exhibition at Kita Nippon Press Co., Ltd. Gallery, Japan - Seacon Square Art Exposition to celebrate the auspicious occasion of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn’s 4th Cycle birthday anniversary 2002 - 48st National Exhibition of Art , Bangkok Thailand -10th Asian Art Biennale, Bangladesh - The 4th Panasonic Contemporary painting exhibition - Art Exhibition “Printmaking Work Exchange by Students from Tama Art university & Graphic Art Department, The faculty of Painting Sculpture and graphic Arts, Silpakorn University 2000 - The members of College of fine Arts The 6th art Exhibition at nationaln Gallery - The 3rd International Biennial of Graphic Arts - Bitola Macedonia 2st mini Arts Students of by King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabanb,Bangkok 1999 - Sketches and Models in Celebration of H.M the king’s - 45st National Exhibition of Art , Bangkok Thailand - The 9Th International Biennial Print & Drawing Exhibition R.O.C. - Exhibition “Images Refuge in Thailand” Commeemorating 25 Years of Co- operation between the Royal Thai Government and UNHCR 1998 - Art Exhibition Group by Changmaung - 44st National Exhibition of Art , Bangkok Thailand - The 15th Exhibition of Contemporary Art by young Artists ( Silpa bhirasri ) - Philip Morris Group of Companies Art Exhibition, Thailand 1997 - 1st mini Arts Students of by King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabanb,Bangkok - 12 Contemporary Art Exhibition, Petroleum Authority of Thailand - Contemporary Art Exhibition, Thailand By Thai Farmers Bank 1996 - Art Exhibition by Students of College of Fine Art , Bangkok


Ronnaphob Techawong Born in Phayao province, Thailand 1996

BFA, Silpakorn University, Bangkok, Thailand

2002

MFA, Silpakorn University, Bangkok, Thailand

Currently Associate Dean for Academic Affairs and Research Faculty of Fine and Applied Arts, Art Department, Khon Kaen University, Thailand Solo Exhibitions 2012 Informal, Lakmaung art gallery, Khon Kaen, Thailand On the Way, Art & Culture gallery Khon Kaen University and Art space, MiteUgro Gwang-ju South Korea Selected Group Shows 1993 The 10th exhibition of Contemporary Art by Young Artists, Gallery of Silpakorn University, Bangkok, Thailand Toshiba “Bring Good Thing to Life� Juried Show, The National Gallery, Bangkok, Thailand Landscape Painting Exhibition, Gallery of Silpakorn University, Bangkok, Thailand The 13th exhibition of Contemporary Art by Young Artists, Gallery 1996 of Silpakorn University, Bangkok, Thailand The 2nd Panasonic Contemporary Painting Exhibition, The National Gallery, Bangkok, Thailand The 42nd of National Art Exhibition, Gallery of Silpakorn University, Bangkok, Thailand The 15th Exhibition of contemporary art by young artists, Gallery of 1998 Silpakorn University, Bangkok, Thailand Sri Kluk Khan Ka Nhun, Banbangkok Gallery, Bangkok, Thailand 1999 Art Exhibition of Faculty of Painting, Gallery of Silpakorn University, 2001 Bangkok, Thailand 2002 8th Anniversary of the Establishment of the Faculty of Fine and Applied Arts, Faculty of Fine Arts Gallery, Khon Kaen University, Thailand 9th Anniversary of the Establishment of the Faculty of Fine and 2003 Applied Arts, Faculty of Fine Arts Gallery, Khon Kaen University, Thailand In the Box, The Silom Galleria, Bangkok, Thailand 60th Anniversary of College of Fine Arts Exhibition, The National 2004 Gallery, Bangkok, Thailand 10th Anniversary of the Establishment of the Faculty of Fine and Applied Arts, Faculty of Fine Arts Gallery , Khon Kaen University, Thailand 11th Anniversary of the Establishment of the Faculty of Fine and 2005 Applied Arts, Faculty of Fine Arts Gallery , Khon Kaen University, Thailand Contemporary Art Exhibition : Mekong River Project, Art and Culture Center, Khon Kaen University, Thailand 12th Anniversary of the Establishment of the Faculty of Fine and 2006 Applied Arts, Faculty of Fine Arts Gallery , Khon Kaen University, Thailand Sufficiency Economy, Gallery of Silpakorn University, Bangkok, Thailand 13th Anniversary of the Establishment of the Faculty of Fine and 2007 Applied Arts, Faculty of Fine Arts Gallery , Khon Kaen University, Thailand Artist Self Portrait, Silom Galleria, Bangkok, Thailand inspiration from the Buddhist the artist Thai - Chinese Art, Gallery of Silpakorn University, Bangkok, Thailand Water: water, Gallery of Silpakorn University, Bangkok, Thailand stream of water color, Gallery of Silpakorn University. Sanam Chan Palace Campus, Nakhon Pathom 14th Anniversary of the Establishment of the Faculty of Fine and 2008 Applied Arts, Faculty of Fine Arts Gallery , Khon Kaen University, Thailand Nude, Silom Galleria, Bangkok, Thailand Art no wall Project, Tokyo, Japan. (Is exhibition in school in Tokyo)

2009 15th Anniversary of the Establishment of the Faculty of Fine and Applied Arts, Faculty of Fine Arts Gallery , Khon Kaen University, Thailand

Mindfulness, Gallery of Silpakorn University, Bangkok, Thailand

16th Anniversary of the Establishment of the Faculty of Fine 2010 and Applied Arts, Faculty of Fine Arts Gallery , Khon Kaen University, Thailand Department of Visual Arts 1st , Faculty of Fine Arts Gallery , Khon Kaen University, Thailand Pleasure, Gallery of Silpakorn University, Bangkok, Thailand 17th Anniversary of the Establishment of the Faculty of Fine 2011 Arts Gallery, Faculty of Fine Arts Gallery , Khon Kaen University, Thailand Department of Visual Arts 2nd, Gallery of Bangkok art and centre, Thailand 13 years of living water utility hopes, Gallery of Bangkok art and centre, Thailand 8th Anniversary of the Establishment of the Faculty of Fine 2012 and Applied Arts, Faculty of Fine Arts Gallery , Khon Kaen University, Thailand Department of Visual Arts 3rd, Gallery of Bangkok art and centre, Thailand http://www.bacc.or.th Silpa Bhirasri, Gallery of Silpakorn University, Bangkok, Thailand Temperature, Gallery of Silpakorn University, Sanam Chan Palace Campus, Nakhon Pathom On the way, Artist Resident at Art Space Mite-Ugro Gwang-ju south Korea. 19th Anniversary of the Establishment of the Faculty of Fine 2013 and Applied Arts, Faculty of Fine Arts Gallery , Khon Kaen University, Thailand Department of Visual Arts 4th, Rajthani Srivanalai Gallery, Ubonrajthani, Thailand Experimental materials, M Gallery, Vientiane, LOAS HONOUR Silpa Bhirasri Scholarship , Bangkok, Thailand 1992 Award Certificate of Recognition Thailand Art Award, 1995 Bangkok, Thailand The 2nd Art Green Imaginary, Bangkok, Thailand 1996 Special Prize Hitachi Technology and Future of New Generation , Bangkok, Thailand Silpa Bhirasri Creativity Grants, Bangkok, Thailand 2013

53


Watcharaporn Yoodee

Born December 23, 1970 Nakornphanom,Thailand. Address 25/1 Soi Phrapinit, Sathon Rd., Thungmahamek, Sathon, Bkk., 10120 Thailand. E-mail meowwat@yahoo.com Tel. (+66)089-228-5019 Education

1990-1996 B.F.A. (Thai Art ) Silpakorn University, Bangkok. 1997-1999 M.F.A. (Painting) Silpakorn Universiy, Bangkok. 2001-2002 Italian Government Guarantee, Painting Course, Accademia di Belle Arti, Torino,Italy. Work Experience 1995-1996 Register’s Work of Art of Rama IX Art Museum Foundation. 1997-1999 Manager of Art Exhibition of Baan Bangkok Gallery. 1999-2000 Great Art Instructor at Faculty of Fine Art, Bunditpatanasilpa Institute. 2000-Present Art Instructor, Faculty of Fine Art, Durakitbundit University. Solo Exhibition 2011 -Art Exhibition “Beautiful Sadness” at The Gallery of Art and Decorative Arts Silpakorn University Bangkok. 2001 - Paper Sculpture Art Exhibition “COME ALIVE…CAT” at Rakunomushi Gallery, Osaka, Japan. 2000 -Paper Works and Mini Sculpture Art Exhibition “KEEP IN GRAY MIND” at Pattravadee Gallery and Theatre, Bangkok. 1999 -Paper Works Art Exhibition “WINTERLY WINDOW” at Baan Bangkok Gallery, Bangkok. 1998 -Recent Paper Works “SOMEONE IN TIME”at AD HOC Restaurant, Prasumen Rd., Bangkok. 1995 Women Artists Group Exhibition 2012 -Art exhibition “Hers Story” at Thai Bank Museum, Siam Commercial Bank. 2011 -Women Artists Exhibition 100th Year of Internationnal Women’s Day at National Gallery. 2008 - Art exhibition 24th Anniversary of Women for Foundation at National Gallery. 2007 - Four Women Artists Art Exhibition “IN HER MIND” at Number 1 Gallery. 2006 - Art Exhibition “HERS 03” by HERS GROUP at Hof Art Gallery. 2002 - Art Exhibition “Duo Artists Thai-Finland” at The Student’s Library of Turin, Italy. 1998 - Art Exhibition “WOMANIFESTO – II” Second International Woman’s Art Exchange at Saranrom Park, Bangkok. -Art exhibition “Woman Opportunity” by HERS GROUP at Tadu Contemporary Art, Bangkok. 1997 - “Art and Reflection” Organized by HERS GROUP Art Exhibition at The National Gallery, Bangkok. -Women’s Art Exhibition for Youth at The Gallery Hall International Bangkok. Other Group -Art Camp 2013 Program by the Education Fund for the Promotion of Art under 2013 the General Prem Tinsulanonda Statesmen Foundation at Khao-Yai Nakronrajasima Province. 2012 -Art Camp 2012 Program by the Education Fund for the Promotion of Art under the General Prem Tinsulanonda Statesmen Foundation at Rayong Province. - Art Exhibition “READING EUROPE” at G23 Art Gallery, Srinakharinwirot University. -Thai Art Exhibition 36 thyear Anniversary Thai Art Department at Queen Sirikit

54

Art Gallery. -Art in the Reign of King Rama IX “Thai Trends from Localism to Internationalism” at Bangkok Art and Culture Center. (BACC) 2011 -Artist in “Lineation of Art” by Thai-Romanian Artists under the Project of Artists Exchanged from 2 Countries at the Village Museum “Dimitrie Gusti”, Bucharest Romania. -Art Exhibition “LOVE” by Members of The Faculty of Fine and Applied Arts, Dhurakij Pundit University, @BONGALLERIA, Bon Marche Market Park. 2010 - Art Exhibition by Members of The Faculty of Fine and Applied Arts, Dhurakij Pundit University, Jamjuree Gallery. 2009 -Art Exhibition “Painting to Enhance Awareness of The Environmental Crises” A study of The Royal Environmental Development Project for artistic Creation at Queen Sirikit Art Gallery. 2007 -Art Exhibition “C.O.M.A” Cat Ordinary Mega Art at Artery Art space. 2005 -Thai Art Exhibition at Art Gallery of the Capital Ibray, Beijing, China. 2004 -Art exhibition “THE ANIMALS FARM” at All Season Place, Witayu Rd., Bangkok. 2000 -Art exhibition “THAI ART 2000 “Introduction of Contemporary Thai art Organized by Thai Art Foundation, Amsterdam, Netherlands. 2000 -Art exhibition “THAI – ITALIAN ART SPACE 2000” at Art Center, Silpakorn University, Bangkok. - Exhibition painting of Master’s Degree, Silpakorn University at Silpa Bhirasri Building I, Sanam-chan Palace Campus, Nakornphathom. - Contemporary Art Exhibiion in Commemoration of 55th Anniversary of The Faculty Painting Sculpture & Graphic Arts, Silpakorn University at National Gallery, Bangkok. 1996 - Art exhibition Group at Hemlock Restaurant, Bangkok. - Golden Jubilee Exhibition 50 Years of Thai Art on The Auspicious of Fiftieth Anniversary (Colden Jubilee) Celebration of His Majesty’s Accession to TheThrone at The Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok. 1995 - Thai Art Exhibition, The Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok. - Art Exhibition by the students of the Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok. - The 12nd Contemporary Art Exhibition by Yong Artist, Bangkok. - Art Thesis Exhibition by The Graduation Class of The Faculty of Painting, Sculpture, and Graphic Arts , Silpakorn University, Bangkok. 1994 -Art Exhibition by The Student of The Faculty of Painting, Sculpture, and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok. 1993 -The 39th National Exhibition of Art, Bangkok. 1992 - The contemporary Art Exhibition Promoted by Thai Farmer Bank Bangkok. - The 16th Bualuang Art Exhibition, Bangkok. - Art Exhibition Group of The Australian Embassy’s Direct Aids Program Fund, Bangkok. - Art Exhibition by The Student of The Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok. - The 3rd Toshiba bring Good Thing to Life, Bangkok. Awards 2013 - Silpa Bhirasri Creative Grants 13rd : 2013, A Program to Honour Thai Artists of Distinction 13rd Series : 2013. 2010 - Special Award, Ganesha’s Sculpture competition in Commemoration of 66th Anniversary of Silpakorn University. 1995 -The Thai Farmer Bank Award, The12nd Contemporary Art Exhibition by Yong Artist, Bangkok. Grants 2001 -Italian Government Guarantee, Painting Couse, Accademia Albertina di Belle Arti, Torino, Italia. 1998 -The Chair of Silpakorn University Board’s Scholaship. 1994 - Musium Yipinsoi’s Scholaship. 1992 -The Australian Embassy’s Direct Aids Program Fund.


Veerawat Sirivesmas

Born 24 May 1971, Bangkok Thailand Lecturer Office: Department of Jewellery Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University. 31 Na Pra Lan Rd. Praborommaharajawang, Bangkok 10200 Thailand. Tel. (662) 6236115-22 Ext. 1287 Fax Ext. 1288 Cellular 081-4851831 E-mail address ajarnwat@yahoo.com , veerawatsi@ gmail.com Education 2001-2006 Doctor of Philosophy (Ph. D.) title: A New Model of Instruction and Learning in Contemporary Jewellery Education, (Mphil in related topic) Birmingham Institute of Art and Design, Birmingham City University (BCU), Birmingham, UK. Diploma in Jewellery design, Instituto Europeo di Design, Milan Italy. 1998 Certificate in Sculpture, Academia di Belle Arti, Florence, Italy. Bachelor of Fine Art (second honor), 1990-1994 Major Sculpture. Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Art, Silpakorn University, Bangkok , Thailand. Exhibitions 2013 Group Exhibition, ‘MILAN BRESCIA BANGKOK’ Silpakorn Art Center, Sanamchandra Campus, Nakornpathom, Thailand Group Exhibition, jewelry design department “ Stay Adorn Stop Amnesty Bill” Gallery of Art and Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University, Bangkok, Thailand ‘Re-Think’ 6 artists, curated by Pasutt Karnasut, Bangkok Art and Cultural Center (BACC), Bangkok, Thailand Group Exhibiton ‘Conservation Art workshop’ by the Graduate School Silpakorn University, Nakornpathom, Thailand. Group Exhibition ‘ Bronze Casting Project’ by Department of Sculpture, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Art, Gallery PSG, Silpakorn University, Bangkok, Thailand. Solo Exhibition ‘Silent Dialogue’ Installation

at Size Specific, Galleri Seni, College of Art and Design, Universiti Teknologi MARA, Shah Alam, Malaysia. Group Exhibition 5 Thai Artists, ‘Mecchaniche della Meraviglia’ Curated by Prof. Albano Morandi, Fondazione Vittorio Leonesia, Brescia, Italy 2012 Group exhibition. All About Gold, Contemporary Jewellery, Curated by Terry Hunt, The School of Jewellery, BIAD. Birmingham UK. 2011 Group exhibition, Stone Sculpture. Department of Sculpture, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Art Gallery, Nakornpathom. Thailand Group exhibition, Thai-Nordic, “Weather” Silpakorn Art Center, Bangkok Thailand. Group exhibition, Thai- Italian Art and Cultural Exchange, Villa Bottini, Lucca, Italy. 2010 Group exhibition, (Sculpture) ‘Portrait Sculptures of King Rama IX’ Department of Sculpture, Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Art. Gallery of Krungthai Bank, Bangkok, Thailand. 2009 Group exhibition, (Jewelry) ‘Open Jewelry Box’ an exhibition of Department of Jewelry Design, and Yong Jin Chung, Yong Il Jeon, from Kookmin University, at Gallery of Art and Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University, Bangkok, Thailand.

55


ขอขอบคุณ ผู้มีอุปการะคุณ ศิลปิน คณาจารย์ และผู้มีส่วนร่วมทุกท่าน ในโครงการเชิดชูเกียรติศิลปินยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย รางวัล ศิลป์ พีระศรี ครั้งที่13 ประจำ�ปี 2556 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

อาจารย์นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ศาสตราจารย์เกียรติคุณอิทธิพล ตั้งโฉลก ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง รองศาสตราจารย์พิษณุ ศุภนิมิตร อาจารย์สมศักดิ ์ เชาวน์ธาดาพงษ์ รองศาสตราจารย์ปริญญา ตันติสุข รองศาสตราจารย์เข็มรัตน์ กองสุข อาจารย์สาครินทร์ เครืออ่อน


ทุนสรางสรรคศิลปกรรม ศิลป พีระศรี ครั้งที่ 13 SILPA BHIRASRI CREATIVITY GRANTS 13th



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.