RMUTT 62-1 - Introduction to City Planning - Chapter 4

Page 1

การวางผังเมือง เชียงใหม่ กลุ่ม 1 : บทที่ 4 การศึกษาสภาพทั่วไปของ นครเมืองเชียงใหม่ PRESENTATION SLIDES

1.นายพั ชรพล ตรีโยธา เลขที่ 1 2.นายวรินทร บัวรักษ์ เลขที่ 2 3.นายปริวัฒน์ จันทร์ศรี เลขที่ 5 4.นายธนพงษ์ ศรีสุวรรณ เลขที่ 7 5.นายวัชรกรณ์ วิชัยดิษฐ เลขที่ 10 6.นายทศพล พิ นแก้ว เลขที่ 12

7.นายไนยชน พุ่ มทอง เลขที่ 16 8.นายรวิภาส พงษ์เภา เลขที่ 24 9.นายอธิปภัคคิ์ ตรีธีรโรจน์ เลขที่ 25 10.นายคเณศ ศิลา เลขที่ 26 11.นายพฤกษ์ บุบผะเรณู เลขที่ 29 12.นายนราทัศน์ หนูวุ่น เลขที่ 46

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 : สถ.4/2


ที่ตั้งและอาณาเขต ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปมีสภาพพื้ นที่ เป็นภูเขาและป่าไม้ มีที่ราบอยู่ตอนกลางตาม สองฟากฝั่งแม่น้าปิง มีภูเขาที่สูงที่สุดใน ประเทศไทยคือ ดอยอินทนนท์ สูงประมาณ 2,565.3355 เมตร อยู่ในเขตอาเภอจอมทอง นอกจากนี้ยังมีดอยอื่นที่มีความสูงรองลงมา อีกหลายแห่ง • เช่น ดอยผ้าห่มปก สูง 2,285 เมตร ดอย หลวงเชียงดาว สูง 2,170 เมตร ดอยสุเทพ สูง 1,601 เมตร สภาพพื้ นที่แบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะคือ •


ที่ตั้งและอาณาเขต •

พื้ นที่ภูเขา ส่วนใหญ่อยู่ทางทิศเหนือ และทิศตะวันตกของจังหวัด คิดเป็นพื้ นที่ ประมาณร้อยละ 80 ของพื้ นที่จังหวัดเป็น พื้ นที่ป่าต้นน้าลาธาร ไม่เหมาะสมต่อการ เพาะปลูก

พื้ นที่ราบลุ่มและที่ราบเชิงเขา กระจาย อยู่ทั่วไประหว่างหุบเขาทอดตัวในแนว เหนือ-ใต้ ได้แก่ ที่ราบลุ่มน้าปิง ลุ่มน้าฝาง ลุ่มน้าแม่งัด เป็นพื้ นที่ที่มีความอุดม สมบูรณ์เหมาะสมต่อการเกษตร


ที่ตั้งและอาณาเขต อาณาเขต • ทิศเหนือ รัฐฉานของสหภาพเมียนมาร์ โดยมีสันปันน้าของดอยคา ดอย ปกเกล้า ดอยหลักแต่ง ดอยถ้าป่อง ดอยถ้วย ดอยผาวอก และดอย อ่างขาง อันเป็นส่วนหนึ่งของทิวเขาแดนลาว เป็นเส้นกั้นอาณาเขต • ทิศใต้ อาเภอสามเงา อาเภอแม่ระมาด และอาเภอท่าสองยาง (จังหวัด ตาก) มีร่องน้าแม่ตื่นและสันปันน้า ดอยเรี่ยม ดอยหลวงเป็นเส้นกั้น อาณาเขต


ที่ตั้งและอาณาเขต • ทิศตะวันออก อาเภอแม่ฟา้ หลวง อาเภอเมือง เชียงราย อาเภอแม่สรวย อาเภอ เวียงป่าเป้า (จังหวัดเชียงราย) อาเภอเมืองปาน อาเภอ เมืองลาปาง(จังหวัดลาปาง) อาเภอบ้านธิ อาเภอเมืองลาพู น อาเภอป่าซาง อาเภอเวียง หนองล่อง อาเภอบ้านโฮ่ง และอาเภอลี้ (จังหวัดลาพู น) ส่วนที่ติดจังหวัดเชียงรายและ ลาปาง มีร่องน้าลึกของแม่น้ากก สันปันน้า ดอยซาง ดอยหลุมข้าว ดอยแม่วัวน้อย ดอย วังผา และดอยแม่โตเป็นเส้นกั้นอาณาเขต ส่วน ที่ติดจังหวัดลาพู นมีดอยขุนห้วยหละ ดอยช้าง สูง และร่องน้าแม่ปิงเป็นเส้นกั้นอาณาเขต


ที่ตั้งและอาณาเขต • ทิศตะวันตก อาเภอปาย อาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน อาเภอขุนยวม อาเภอแม่ลา น้อย อาเภอแม่สะเรียง และ อาเภอสบเมย (จังหวัด แม่ฮ่องสอน) มีสันปันน้า ดอยกิ่วแดง ดอยแปรเมือง ดอยแม่ยะ ดอยอังเกตุ ดอย แม่สุรินทร์ ดอยขุนยวม ดอย หลวง และร่องแม่ริด แม่ออย และสันปันน้า ดอยขุนแม่ตื่น เป็นเส้นกั้นอาณาเขต


ที่ตั้งและอาณาเขต

• จังหวัดเชียงใหม่มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่าเพี ยงประเทศเดียว และมีพื้นที่ ติดต่อ ใน 5 อาเภอ ได้แก่ • 1) อาเภอแม่อาย : 4 ตาบลได้แก่ ตาบลแม่อาย ตาบลมะลิกา ตาบลแม่สาว ตาบลท่า ตอน เมืองที่ติดต่อคือ เมืองยอน รัฐฉาน • 2) อาเภอฝาง : 2 ตาบลได้แก่ ตาบลม่อนปิ่น และตาบลแม่งอน เมืองที่ติดต่อคือ บ้านโป่งป่าแขม เมืองต่วน รัฐฉาน • 3) อาเภอเชียงดาว : 1 ตาบลได้แก่ ตาบลเมืองนา เมืองที่ติดต่อคือ บ้านน้ายุม เมืองต่วน รัฐตองยี


ที่ตั้งและอาณาเขต • 4) อาเภอเวียงแหง : 3 ตาบลได้แก่ ตาบลเปียงหลวง ตาบลเมืองแหง ตาบลแสนไห เมืองที่ติดต่อคือ บ้านบางใหม่สูง บ้านปางเสือเฒ่า บ้าน กองเฮือบิน เมืองต่วน รัฐตองยี • 5) อาเภอไชยปราการ : 1 ตาบลได้แก่ ตาบลหนวงบัว เมืองที่ติดต่อคือ บ้านโป่งป่าแขม เมืองต่วน รัฐฉาน • รวมระยะทางทั้งสิ้น 227 กิโลเมตร พื้ นที่เขตแดนส่วนใหญ่เป็นป่าเขา ทา ให้ไม่สามารถปักหลักเขตแดนได้อย่างชัดเจน จึงเกิดปัญหาเส้นเขตแดน ระหว่างประเทศบ่อยครั้ง


ประวัติเมืองเชียงใหม่ ่ ทีป ่ รากฏในตานานว่า "นพบุรีศรีนครพิ งค์เชียงใหม่" เมืองเชียงใหม่ มีชือ เป็นราชธานีของอาณาจักรล้านนาไทยมาตั้งแต่พญามังรายได้ทรงสร้างขึ้น เมื่อ พ.ศ.1839 และเมืองเชียงใหม่ได้มีวิวัฒนาการสืบเนื่องกันมาใน ประวัติศาสตร์ตลอดมา • เชียงใหม่มีฐานะเป็น นครหลวงอิสระ ปกครองโดยกษัตริย์ราชวงศ์มังราย ประมาณ 261 ปี (ระหว่าง พ.ศ.1839 -2100) ในปี พ.ศ. 2101 • เชียงใหม่ได้เสียเอกราชให้แก่กษัตริย์พม่าชื่อบุเรงนอง และได้ตกอยู่ภายใต้ การปกครองของพม่านานร่วมสองร้อยปี จนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช และพระบาทสมเด็จพระพุ ทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ทรง ช่วยเหลือล้านนาไทยภายใต้การนาของพระยากาวิละและพระยาจ่าบ้านในการ ทาสงครามขับไล่พม่าออกไปจากเชียงใหม่และเมือง เชียงแสนได้สาเร็จ • •


ประวัติเมืองเชียงใหม่ • พระบาทสมเด็จพระพุ ทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช สถาปนาพระยากาวิละเป็นเจ้าเมือง เชียงใหม่ ในฐานะเมืองประเทศราชของไทย และมีเชื้อสายของพระยากาวิละ ซึ่งเรียกว่า ตระกูลเจ้าเจ็ดตน ปกครองเมืองเชียงใหม่ เมืองลาพู นและเมืองลาปางสืบต่อมาจนกระทั่ง ใน รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ ัว ได้โปรดให้ปฏิรูปการ ปกครอง หัวเมืองประเทศราช ได้ยกเลิกการมี เมืองประเทศราชในภาคเหนือ จัดตั้งการ ปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล เรียกว่า มณฑลพายัพ และเมื่อปี พ.ศ.2476 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ ปรับปรุงการปกครองเป็นแบบจังหวัด เชียงใหม่จึงมีฐานะเป็นจังหวัดจนถึงปัจจุบัน


ลักษณะทางกายภาพ โครงสร้างของชุมชน การอยู่อาศัย ่ ความรุ่งเรือง ความรกร้างและผ่านร้อนหนาวจนมี เมืองเชียงใหม่นับว่าเป็นดินแดนที่สั่งสมความเป็น ‘ตัวตน’ ผ่านประเพณี ความเชือ อายุเมืองที่เข้าสู่ปีที่เจ็ดร้อยยี่สิบถ้วนแล้วในปีนี้ (พ.ศ.2559) ซึ่งนับได้ว่าเมืองศูนย์กลางแห่งล้านนาเมืองนี้ ได้เข้าสู่วัยที่ครบ ‘หกสิบรอบ’ แห่งปีนัก กษัตริย์ อันเปรียบได้กับการที่เมืองเชียงใหม่รองรับคนที่มีอายุขัยวัย ‘หกรอบ’ มาแล้วถึงสิบช่วงด้วยกัน เป็นสิ่งที่น่าภาคภูมิใจและต้องการความ เข้าใจ ไตร่ตรองถึงการเปลี่ยนแปลงไปในภายภาคหน้าของเมืองในระดับอายุขนาดนี้ ที่ยังคงต้องรองรับวิถีชว ี ิตที่เปลี่ยนไปทุกๆ วันและส่งผล กระทบต่อ ‘อดีต’ อันมีคุณค่าผ่านกาลเวลาที่สั่งสมกันจนเป็น ‘รากเหง้าแห่งตัวตน’ เมืองเชียงใหม่ ซึ่งเป็นคุณค่าที่มิได้จะหาซื้อกันตามกาดและร้าน สะดวกซื้อได้ง่ายๆ เนื่องเพราะเป็นการหล่อหลอมรวมกันจากรุน ่ สู่รน ุ่ จากยุคสู่ยุคและจากภายในรากแก่นของความเชื่อ ค่านิยม การดาเนินชีวิต วีถี ทางแห่งธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี ที่สะท้อนบน ‘ถิ่นที่’ ในลุ่มน้าแม่ระมิงค์ปิงนครแห่งนี้เพี ยงเท่านั้น ทาให้คาว่า ‘จิตวิญญานแห่งถิ่น ที่’ ในอดีตนั้น มีเมืองประวัติศาสตร์ (Historic City) หลายๆ เมืองที่ได้ถูกทาลายไปและร่องรอยของอาร ธรรมนั้น กลายเป็นสิง ิ าสตร์ ไร้คน ่ ที่ถูกลืมหายไปทางประวัตศ จดจาและกล่าวถึง ถ้ามิได้มีการจารึกให้คงอยู่ในหน้าหนังสือ หรือเป็นข้อมูลให้เก็บไว้อ่านและศึกษาแล้วไซร้ ก็อาจจะเป็นสิ่งที่ โลกใบนี้ไม่เคยได้รับรู้กันไว้เลยว่า ‘เคยมี’ ก็เป็นได้ ซึ่งสิ่งหนึ่ง ที่ความเจริญก้าวหน้าทางโบราณคดีและในวงการการศึกษา ประวัติศาสตร์ได้ผลักดันไว้เมื่อกว่าสามสิบห้าปีที่แล้ว ก็คือการ เกิดข้อฅกลงในการเก็บรวบรวม ให้คุณค่าของอารยธรรม ประวัติศาสตร์และศิลปะวิทยาการต่างๆ ที่เกิดขึ้นผ่านกาลเวลา ทั่วโลก ได้สามารถขึ้นทะเบียนไว้ และได้รับการคุ้มครอง


ความสัมพั นธ์ทางสังคม ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการขยายอานาจของรัฐทีเ่ กิดขึ้นในแม่แจ่มช่วงทศวรรษ 2520-2540 ได้เปลี่ยนระบบ ความสัมพั นธ์ของชุมชนชาวแม่แจ่มอย่างไพศาลและลึกซึ้ง ทั้งในมิติระบบความสัมพั นธ์ภายในและภายนอก รูปแบบการผลิต การถือครองที่ดน ิ การสร้างความหลากหลายในดาเนินวิถีชีวต ิ การเปลี่ยนแปลงวิธีคิดและการผลิตความหมายของสมบัตช ิ ุมชนขึ้นมาใหม่ เป็นต้น ทั้งนี้เพราะการ สถาปนาอานาจรัฐเหนือพื้ นที่ เช่น การประกาศเขตป่าอนุรักษ์ การพั ฒนาสาธารณูปโภค รวมทั้งการขยายตัวของทุนผ่านรูปแบบต่างๆ เช่น การ ส่งเสริมชาวแม่แจ่มปลูกพื ชเศรษฐกิจทดแทนการปลูกฝิ่น ซึ่งเป็นการเปลี่ยนระบบการผลิตจากยังชีพเป็นการผลิตเชิงพาณิชย์อย่างเต็มรูปแบบ มีการใช้ต้นทุนต่างๆ ทั้งที่ดิน เงินทุน การว่าจ้างแรงงานอย่างเข้มข้น รวมทั้งการพึ่ งพาระบบตลาดในทุกมิตเิ ป็นสาคัญ เงื่อนไขเหล่านี้ กลายเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในพื้ นที่ โครงสร้างทางสังคม การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ เพื่ อศึกษาลักษณะการดาเนินชีวิตและบทบาทของชาวจีนในตาบลช้างม่อย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่ อศึกษาปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมของท้องถิ่น โครงสร้างทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของเชียงใหม่ที่มีส่วนต่อการ ผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมของชาวจีน และเพื่ อศึกษาผลจากการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมที่มีส่วนต่อ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ของชาวจีนและการเปลี่ยนแปลงของเมืองเชียงใหม่ การวิจัยเป็นลักษณะของการวิจัยเชิงคุณภาพ คือ เป็นการทาความเข้าใจปรากฏการณ์ สภาพของปัญหา หรือสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง ใช้วิธีการค้นคว้าจาก ข้อมูลเอกสาร การสัมภาษณ์ การศึกษาประวัตช ิ ุมชนชาวจีนในเขตตาบลช้างม่อย การสังเกต อย่างมีส่วนร่วมและการบันทึกประจาวัน นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์อย่างละเอียดโดยใช้ใน เชิงพรรณนา และการวิเคราะห์จะเป็นไปตามสภาพความ เป็นจริง ผลการวิจัยพบว่า ชุมชนดั้งเดิมของชาวจีนในจังหวัดเชียงใหม่ตง ั้ อยู่บริเวณวัดเกตการามต่อมาได้ขยายตัวข้ามมาอยู่อก ี ฝั่งหนึ่งของริมฝั่งแม่น้าปิงโดยมาตัง ้ ชุมชนรอบๆ ตลาดวโรรส ถนนท่าแพ ซึ่งเดิมเป็นแหล่งอาศัยของชาวมอญ ไทยใหญ่และชาวตองสู ต่อมาชาวจีนได้ขยายชุมชนไปยังเขตถนน ช้างม่อยใหม่ตั้งแต่วัดชมพู ข้ามคลองแม่ข่า เลียบตลาดวโรรสด้านเหนือแม่น้าปิง ชาวจีนส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพขายปลีกโดยใช้ส่วนหน้าของ บ้านเป็นร้านค้าด้านหลังเป็นที่พักอาศัย ซึ่งเป็นครอบครัวขนาดใหญ่และบ้านมักอยู่รวมกันในกลุ่มเครือญาติ ด้วยการปลูกบ้านติด ๆ กันโดยไม่ มีรั้วกั้น ปัจจุบันความเป็นอยู่ได้เปลี่ยนแปลงไปคือเมื่อมีครอบครัวแล้วจะแยกย้ายกันไปตั้งถิน ่ ฐานใหม่แต่ชาวจีนยังคงมีบทบาทสาคัญด้าน การค้าและเศรษฐกิจเช่นเดิม


การใช้ประโยชน์จากที่ดิน เผยแพร่กฎกระทรวงมหาดไทย ให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมืองเชียงใหม่ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2562 ลงนาม โดยพลเอก อนุ พงษ์ เผ่าจินดา รมว.มหาดไทย ให้ไว้ ณ วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 แห่ง พ.ร.บ.การผัง เมือง พ.ศ.2518 และมาตรา 26 วรรคหนึ่ง และมาตรา 26/1 แห่ง พ.ร.บ.การผังเมือง พ.ศ. 2518 ซึ่งแก้ไขเพิ่ มเติมโดยพ.ร.บ.การ ผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 ออกกฎกระทรวง ให้เพิ่ มความวรรคสี่ของข้อ 8 แห่งกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมือง เชียงใหม่ พ.ศ.2555 ว่า “การกาหนดความสูงของอาคารที่ห้ามดาเนินการตามวรรคสาม มิให้ใช้บังคับกับการใช้ จดทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 1260 ฟากใต้จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1001 ฟากตะวันตกจดเส้นขนานระยะ 165 เมตร กับศูนย์กลางทาง หลวงแผ่นดินจดโรงพยาบาลสันทราย” เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ เพื่ อแก้ไขเพิ่ มเติมข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดน ิ ตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมือง รวมเมืองเชียงใหม่ พ.ศ. 2555 ในที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยในพื้ นที่บางส่วนของบริเวณหมายเลข 2.5 ให้สามารถใช้ ประโยชน์ที่ดินเพื่ อการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์ ที่เกี่ยวข้องกับการสาธารณสุขได้ โดยไม่มีการจากัด ความสูงของอาคาร จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้


4.3.3 โครงสร้างพื้ นฐาน


4.3.3.1 สาธารณูปโภค 1.

ระบบคมนาคมขนส่ง การคมนาคมในเทศบาลเมือง เชียงใหม่หลักๆ คือ ทางถนน ประกอยด้วยถนน 4 ลาดับศักดิ์ ดังนี้

ถนนสายประธาน เป็นถนนเชื่อมระหว่างจังหวัดและภาค เส้นทางคมนาคมระหว่างภูมิภาค (กรุงเทพฯ) เดินทางโดย ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ผ่านจังหวัดลาพู น ลาปาง ตาก กาแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี ลพบุรี อ่างทอง อยุธยา และเชื่อมต่อกับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1 เข้าสู่จังหวัดปทุมธานี และกรุงเทพมหานคร รวม ระยะทางประมาณ 695 กิโลเมตร ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 106 (แยกทางหลวง หมายเลข 1 (เถิน) - ต่อเขตเทศบาลนครเชียงใหม่) เป็นถนน ขนาด 2 ช่องจราจร มีแนวเส้นทางเริม ่ จากทางแยกถนน พหลโยธิน (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1) อาเภอเถิน จังหวัดลาปาง ผ่านอาเภอลี้ อาเภอบ้านโฮ่ง อาเภอเวียง หนองล่อง อาเภอเมือง จังหวัดลาพู น และตัดเข้าตัวเมือง เชียงใหม่ สิ้นสุดที่อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เส้นทางนี้ เป็นเส้นทางลัดจากถนนพหลโยธิน ที่สามารถเชื่อมต่อไป ยัง สถานที่สาคัญ เช่น อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ อุทยาน แห่งชาติออบหลวง โดยไม่ต้องผ่านตัวเมืองเชียงใหม่ แต่ไม่ เป็นที่นิยมนักเนื่องจากช่วงอาเภอเถิน ถึงอาเภอลี้ (รอยต่อ ระหว่างจังหวัดลาปางและจังหวัดลาพู น) เป็นทางแคบ ตัดขึ้น ภูเขาสูง และคดเคี้ยวมาก จึงไม่เหมาะในการสัญจรในเวลา กลางคืน


ถนนสายหลัก เชื่อมโยงระหว่างชุมชนสาคัญ ได้แก่ ถนน ศรีภูมิ ถนนอารักษ์ ถนนมูลเมือง ถนนราชเชียงแสน ถนน เจริญเมือง ถนนสุเทพ ทางหลวง1004 ถนนสายรอง เชื่อมจุดต่างในชุมชนกับถนนสายหลัก ได้แก่ ถนนสิงหราช ถนนราชดาเนิน ถนนพระปกเกล้า ถนนเวียง แก้ว ถนนสายย่อย เป็นถนนเข้าสูพ ่ ื้ นที่ต่างๆในชุมชน ได้แก่ ตรอก ซอยต่างๆ ระบบขนส่งสาธารณะในเขตเทศบาลเมือง ได้แก่ 1.รถสอง แถว(รถแดง) 2.รถรอบคูเมือง 3.จักรยานยนจ์รับจ้าง


2. ระบบไฟฟ้า การไฟฟ้าของจังหวัดอยู่ในความ รับผิดชอบของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขตเหนือ รับซื้อ กระแสไฟฟ้าจาก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ณ แหล่งผลิตแม่เมาะ จังหวัดลาปาง มีสถานีควบคุมการจ่าย ไฟฟ้า 5 สถานี จานวนการไฟฟ้า 32 แห่ง ในปี 2553 จานวน ผู้ใช้ไฟฟ้าทั้งสิ้น 567,201 ราย ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ใช้ใน จังหวัด 2,264.45 ล้านหน่วย สามารถให้บริการไฟฟ้าได้ ครอบคลุม 25 อาเภอ สาหรับหมู่บ้าน ที่ไม่สามารถขยายเขต ระบบจาหน่ายได้เนื่องจากสาเหตุหลายประการ ได้แก่ เป็น หมู่บ้าน ที่อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ แหล่งต้นน้าลาธาร ลุ่ม น้า เขตป่าอนุรักษ์ อุทยานแห่งชาติ เป็นต้น ซึ่งหลายแห่งมี การติดตั้งเครื่องผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

3. ระบบประปา การประปาในจังหวัดเชียงใหม่ มี จานวน 6 แห่ง ได้แก่ การประปาเชียงใหม่ การประปาฮอด การประปาสันกาแพง การประปาฝาง การประปาแม่ริม การ ประปาแม่แตง มีกาลังการผลิตรวมทั้งสิ้น 54.83 ล้าน ลูกบาศก์เมตร ปริมาณการใช้น้า 25.33 ล้านลูกบาศก์เมตร มี จานวนผู้ใช้น้า 112,685 ราย โดยในเขตอาเภอเมืองเชียงใหม่ มีผู้ใช้น้าประปามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 69.04 ของจานวน ผู้ใช้ประปาทั้งหมดของจังหวัด

การประปาส่วนภูมิภาค สาขาเชียงใหม่ (ชั้นพิ เศษ)


4.3.3.2 ระบบสาธารณูปการ 1. สถานศึกษา ในอาเภอเมืองเชียงใหม่ทั้งหมด • โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด สพม. อาเภอเมืองเชียงใหม่ ทั้งหมด 4 แห่ง • โรงเรียนประถมศึกษา สังกัด สพป. อาเภอเมืองเชียงใหม่ ทั้หมด 31 แห่ง • โรงเรียนสาธิต อาเภอเชียงใหม่ ทั้งหมด 2 แห่ง

ม.เชียงใหม่

ม.พายัพ

ม.แม่โจ้

ราชภัฏเชียงใหม่

• โรงเรียนนานาชาติ ทั้งหมด 2 แห่ง • โรงเรียนเอกชน ทั้งหมด 22 แห่ง • มหาวิทยาลัย 7 แห่ง -

ม.เชียงใหม่ ม.แม่โจ้ ม.นอร์ทเชียงใหม่ เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ราชภัฏเชียงใหม่ ม.พายัพ ม.ฟาร์อีสเทิอร์น

ม.นอร์ทเชียงใหม่


สถานศึกษา ในบริเวณคูเมืองทั้งหมด 7 แห่ง

โรงเรียน 5 แห่ง - โรงเรียนหอพระ - โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย - โรงเรียนธรรมราชศึกษา - โรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ - โรงเรียนพุ ทธิโศภน วิทยาลัย 2 แห่ง

- วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ - วิทยาลัยอาชีวะศึกษาเชียงใหม่


2. สถานพยาบาล

ในอาเภอเมืองเชียงใหม่ ทั้งหมด 14 แห่ง

• โรงพยาบาลค่ายกาวิละ • โรงพยาบาลช้างเผือก • โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ • โรงพยาบาลเชียงใหม่ราม • โรงพยาบาลราชเวชเชียงใหม่ • โรงพยาบาลลานนา • โรงพยาบาลสวนปรุง •

โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

• โรงพยาบาลแมคคอร์มิค • โรงพยาบาลเชียงใหม่เมดิคอล เซ็นเตอร์ • โรงพยาบาลเชียงใหม่ใกล้หมอ • โรงพยาบาลเทพปัญญา

• โรงพยาบาลเทพปัญญา 2


3. สถานีดบ ั เพลิง ในอาเภอเมืองเชียงใหม่ทั้งหมด 9 แห่ง • สถานีดับเพลิง เทศบาลสุเทพ • สถานีดับเพลิง ช้างเผือก ศรีวิชัย(เอราวัณ) • สถานีดับเพลิง บ้านเด่น • สถานีดับเพลิง ประตูเชียงใหม่

• สถานีดับเพลิง ป่าตัน • สถานีดับเพลิง สันป่าข่อย • สถานีดับเพลิง เทศบาลเมืองเชียงใหม่ • สถานีกู้ภัย เทศบาลเมืองเชียงใหม่ • ศูนย์ปฏิบัติการอาสาสมัครป้องกันภัย

ในบริเวณคูเมืองเชียงใหม่ 2 แห่ง -

สถานีดับเพลิง ประตูเชียงใหม่

-

ศูนย์ปฏิบัติการอาสาสมัครป้องกันภัย


4. สถานีตารวจ ในคูเมืองทั้งหมด 2 ตาแหน่ง • สถานนีตารวจภูธรเชียงใหม่ • ตารวจท่องเที่ยวเชียงใหม่ (ท่าแพ)

5. สวนสาธารณะ ในคูเมืองทั้งหมด 1 แห่ง • สวนสาธารณะหนองบวกหาด


4.3.4 สถาปัตยกรรม 4.3.4.1 ลักษณะการใช้อาคาร ่ ตกต่างกัน ตัวอาคารไม่เพี ยงแต่ออกแบบเพื่ อประโยชน์การใช้งาน การแบ่งประเภทอาคาร ตามลักษณะอาคารทีแ เท่านั้น แต่ยังต้องคานึงถึงความสอดคล้องในทางกฎหมายด้วย โดยเจ้าของอาคารต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น อาคารเพื่ อ การอยู่อาศัย เช่น บ้าน คอนโดฯ ทาวน์เฮ้าส หรืออาคารพาณิชย์ ต้องเข้าใจถึงประเภทอาคารที่ตัวเองเป็นเจ้าของ อย่างถูกต้อง เพื่ อใช้ประโยชน์จากตัวอาคารให้เหมาะสม สอดคล้องกับประเภทอาคารของตัวเอง ไม่ใช้อาคารอย่าง ผิดประเภท พระราชบัญญัตค ิ วบคุมอาคาร ได้กาหนดนิยามของอาคารประเภทต่าง ๆ ไว้ดง ั นี้ ่ ยู่อาศัย คือ อาคารซึ่งโดยปกติบุคคลใช้อยู่อาศัยได้ทั้งกลางวัน และกลางคืนไม่ว่าจะถาวรหรือชั่วคราว เช่น บ้านเดี่ยว 1.อาคารทีอ

2.ห้องแถว คือ อาคารที่ก่อสร้างต่อเนื่องกันเป็นแถวยาวตั้งแต่สองคูหาขึ้นไปมีผนังแบ่งอาคารเป็นคูหา และประกอบด้วยวัสดุไม่ ทนไฟเป็นส่วนใหญ่ 3.ตึกแถว คือ อาคารที่ก่อสร้างต่อเนื่องกันเป็นแถวยาวตั้งแต่สองคูหาขึ้นไปมีผนังแบ่งอาคารเป็นคูหาและประกอบด้วยวัสดุทนไฟ เป็นส่วนใหญ่


4.3.4.2 รูปแบบทางสถาปัตยกรรม แต่เดิมนั้นยุคแรกๆ จะเน้นเพื่ อความจาเป็นต่อการดารงชีวิต ยังไม่ได้เน้นถึงความสวยงาม ต่อมาจึงคิดรูปแบบได้ ซับซ้อนมีการเขียนแบบก่อนลงมือก่อสร้าง ตลอดจนคิดคานวณถึงเรื่องของน้าหนัก แสง ยึดถึงสถานภาพทาง ภูมิศาสตร์กระแสทางลมพั ดผ่าน และความเชื่อถือก็จะทาให้รูปแบบของสถาปัตยกรรมแตกต่างกันออกไปด้วย ปัจจุบันนี้รูปแบบง่ายๆ เป็นแท่ง เป็นกล่องไม่รุงรัง ไม่คานึงถึงธรรมชาติมากนัก เพราะความเจริญทางเทคโนโลยี สามารถทาให้มนุษย์เอาชนะธรรมชาติได้ด้วยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ จึงมีส่วนทาให้มนุษย์สร้างรูปแบบทาง สถาปัตยกรรมได้ตามความต้องการ วัตถุที่ใช้ทางานทางสถาปัตยกรรมนั้น จะมีความแตกต่างกันไปตามยุคสมัย เช่น หินไม้ อิฐศิลาแลง ซีเมนต์ เป็นต้น สถาปัตยกรรมแบ่งออกได้เป็น 3 แขนง ดังนี้คือ 1.

สถาปัตยกรรมออกแบบก่อสร้าง เช่น การออกแบบสร้างตึกอาคาร บ้านเรือน เป็นต้น

2. ภูมิสถาปัตย์ เช่น การออกแบบวางผัง จัดบริเวณ วางผังปลูกต้นไม้ จัดสวน เป็นต้น 3. สถาปัตยกรรมผังเมือง ได้แก่ การออกแบบบริเวณเมืองให้มีระเบียบ มีความสะอาด มีความรวดเร็วในการติดต่อ และถูกหลัก สุขาภิบาล


4.3.5 ภูมิทัศน์ เมืองเชียงใหม่ - องค์ประกอบภูมิทศ ั น์ประวัตศ ิ าสตร์ เพื่ อการอนุรก ั ษ์เมืองเก่า จังหวัดเชียงใหม่ ่ ปี เมืองเก่าเชียงใหม่เป็นเมืองที่มป ี ระวัติศาสตร์สืบทอดมา 716 ปี (สร้างเมือ พ.ศ. 1839) เป็นแหล่งมรดกวัฒนธรรมที่สาคัญของชาติในปัจจุบันที่ยังคง หลงเหลือร่องรอยของแหล่งอารยธรรม ที่มีคุณค่าทางด้านภูมิทัศน์ทาง ธรรมชาติ ด้านภูมิทัศน์ชุมชนเมือง ด้านสถาปัตยกรรม ด้านวัฒนธรรม ความเชื่อ ประเพณีล้านนา และมีองค์ประกอบที่สาคัญของเมือง ได้แก่ กาแพงเมือง คูเมือง โบราณสถานต่างๆที่สาคัญ ที่กระจายตัวอยู่ทง ั้ ภายใน และภายนอกเขตพื้ นที่เมืองเก่า ซึ่งสิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงสภาพความ เป็นอยู่ วิถีชีวิต และพั ฒนาการความเจริญของเมืองเก่าเชียงใหม่ ในช่วง สมัยต่างๆที่สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบน ั งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา องค์ประกอบภูมิทัศน์ประวัติศาสตร์ เพื่ อการอนุรักษ์เมืองเก่า เชียงใหม่ โดยเริม ่ จากการศึกษาข้อมูลทางการด้านประวัติศาสตร์ ภาพถ่ายเก่า เพื่ อ นามาวิเคราะห์เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงเมืองจากองค์ประกอบทาง กายภาพของเมือง ได้แก่ ระบบเส้นทางน้า โครงข่ายคมนาคม การตั้งถิ่น ฐาน พื้ นที่ว่าง และโครงสร้าง สถาปัตยกรรมของเมือง โดยสามารถ วิเคราะห์องค์ประกอบของเมืองจากช่วงสมัยการปกครองเมืองได้ 8 ช่วง สมัย เพื่ อทราบถึงสิง ่ ที่หลงเหลืออยู่ สิง ่ ที่หมดคุณค่าลงแต่ยังคงรูปแบบไว้ และสิ่งที่สูญหายไป

ตราสัญลักษณ์โครงการ ผลักดันเชียงใหม่ สู่เมืองมรดกโลก


ผลจากการวิจัยพบว่าพั ฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของเมือง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 1839 ถึงปัจจุบันปี พ.ศ. 2562 บนพื้ นฐานการ เปลี่ยนแปลงจากองค์ประกอบทางกายภาพของเมือง สามารถ แบ่งพื้ นที่เสนอแนวทางในการอนุรักษ์ออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับเมือง ระดับย่าน และระดับองค์ประกอบของเมือง ซึ่งการ อนุรักษ์นั้นควรยอมรับการพั ฒนาของเมืองในยุคปัจจุบัน โดยไม่ การปฏิเสธสิง ่ ใหม่อย่างสิน ้ เชิง แต่จะอนุรักษ์โดยการคงหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ และบทบาทของเมืองเก่าไว้ เพื่ อรักษา องค์ประกอบทางกายภาพให้คนสามารถได้รับรู้ถึงเรื่องราวทาง ประวัติศาสตร์ และคงคุณค่า เอกลักษณ์ของความเป็นเมืองเก่า สืบเนื่องต่อไป


4.3.6 จินตภาพ เมืองเชียงใหม่ การค้นหาและสร้างแผนผังเฉพาะในการอนุรักษ์ การออกแบบย่าน เพื่ อการอนุรักษ์และกลยุทธ์การจัดการเมืองประวัติศาสตร์ ศูนย์กลางอาณาจักรล้านนาอย่างเชียงใหม่ ให้ยั่งยืนตามกรอบ ของ UNESCO ด้วยการชูคุณค่าอันเป็น และกรอบพั ฒนาภูมิ ทัศน์ของเมืองประวัติศาสตร์มรดกโลกแบบ H.U.L.(Historic Urban Landscape) กระบวนการทางาน 1.สารวจจินตภาพของเมืองจากชุมชนในพื้ นที่เมืองเชียงใหม่ โดย ใช้การสารวจและสัมภาษณ์ภาคประชาชนถึงบทบาทความเป็นมา ประวัติศาสตร์ จินตภาพการรับรู้และการประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน ของพื้ นชุมชนและพื้ นที่เมือง 2.ประมวลข้อมูลที่ได้จากภาคสนาม นามาสังเคราะห์ เงื่อนไข ปัญหาและความต้องการ และภาพในอนาคต(จินตภาพ) จากคนใน พื้ นที่ 3.จัดการประชุมเพื่ อการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน จานวน 2 ครั้ง เพื่ อระดมความคิดเห็นและร่วมสร้างภาพอนาคตของพื้ นที่ ร่วมกัน เพื่ อนาไปเป็นข้อสรุปในการจัดทาการออกแบบขั้นต้น (Preliminary Design) ต่อไป


สภาพสังคมของจังหวัดเชียงใหม่ ประชากร

จังหวัดเชียงใหม่มป ี ระชากรรวมทัง ้ สิ้น 1,651,988 คน แยกเป็น ชาย 805,154 คน หญิง ่ 82.16 คน/ตร.กม. (ข้อมูล ณ วันที่ 28 กันยายน 2555) 846,834 คน ความหนาแน่นเฉลีย ประชากรชนกลุ่มน้อยในจังหวัด (ข้อมูล ณ 30 กรกฎาคม 2554) มี จานวน 72,791 คน กระจายตามอาเภอต่าง ๆ ใน 17 อาเภอ โดยแยกเป็น

1) บุคคลบนพื้ นที่สูง

จานวน 7,184

คน

2) อดีตทหารจีนคณะชาติ จานวน 643

คน

3) จีนฮ่ออพยพ

จานวน 204

คน

4) จีนฮ่ออิสระ

จานวน 1,950

คน

5) ผู้พลัดถิน ่ สัญชาติพม่า จานวน 366

คน

6) ผู้หลบหนีเข้าเมืองจากพม่า (มีถน ิ่ ที่อยู่ถาวร) จานวน 1,785 คน 7) ผู้หลบหนีเข้าเมืองจากพม่า (อยู่กับนายจ้าง) จานวน 3,331 คน

8) ไทยลื้อ

จานวน 266

คน


่ ูงทีเ่ ป็นชาวเขา 9) ชุมชนบนพื้ นทีส

จานวน 3,728

คน

่ ูงทีไ่ ม่ใช่ชาวเขา จานวน 35,490 คน 10) ชุมชนบนพื้ นทีส 11) บุตรของชนกลุ่มน้อยกลุม ่ ต่างๆ จานวน 17,844 คน อาเภอที่มีประชากรชนกลุ่มน้อยมากที่สุด ได้แก่ อาเภอฝาง รองลงมา ได้แก่ อาเภอเชียงดาว อาเภอแม่อาย และอาเภอเวียงแหง


สภาพสังคมของจังหวัดเชียงใหม่ ภาษา

่ เรียกว่า ภาษาราชการที่ใช้ในจังหวัดเชียงใหม่ ใช้ภาษาไทยเป็นหลัก และมีภาษาท้องถิ่น ซึง “ภาษาคาเมือง” ซึ่งแต่ละท้องถิ่นของภาคเหนือมีลก ั ษณะของภาษา ที่คล้ายๆกัน จะแตกต่างกันเฉพาะ สาเนียงและศัพท์บางคา ศาสนา ประชากรจังหวัดเชียงใหม่มผ ี ู้นับถือ ศาสนาพุ ทธ

91.80 %

ศาสนาอิสลาม 1.17% ศาสนาคริสต์ 5.60% ศาสนาพราหมณ์ฮินดูซิกส์ 0.02% ศาสนาอื่น ๆ

1.41%


4.4.2 ประเพณี วัฒนธรรม


สามาถแบ่งได้ เป็น 5 ประเพณี/วัฒนธรรม หลักๆได้ดังนี้

1. ประเพณียี่เป็ง "ประเพณียี่เป็ง" หรือ ประเพณีเดือนยี่ หรือประเพณี ลอยกระทงแบบล้านนา ซึ่ง ประเพณีนี้งดงามจนใครที่ อยากไปสัมผัสกับความ ตระการตาเหล่านี้สักครั้ง

2. ประเพณีเข้าอินทขิล

ชาวเชียงใหม่ จะร่วมกัน ประกอบพิ ธี บูชาอินทขิล อัน เป็นเสาหลักเมือง ซึ่งอยู่ที่วัด เจดีย์หลวง ใจกลางเมือง เชียงใหม่ การประกอบพิ ธีบูชา เสาอินทขิลนี้ก็เพื่ อให้เกิดความ ร่มเย็นเป็นสุขในบ้านเมือง

3. (สะรีปี๋ใหม่เมือง เชียงใหม่) - การจัดขบวนแห่และสรง น้าพระพุ ทธสิหิงค์ - ขี่รถถีบกาลางจ้อง - รดน้าดาหัวผู้สูงอายุ - ขนทรายเข้าวัด - การแสดงพื้ นเมือง - การสาธิตศิลปะพื้ นบ้าน - การเล่นน้าสงกรานต์ ปี ใหม่เมืองรอบคูเมือง ฯลฯ


สามาถแบ่งได้ เป็น 5 ประเพณี/วัฒนธรรม หลักๆได้ดังนี้

4. ประเพณีแห่ไม้ค้าโพธิ์ แห่ไปตามเมืองจอมทอง อาเภอจอมทอง จนถึง วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร เป็นประเพณีที่สืบ ทอดกันมานานกว่า 200 ปี ตามตานานเกิดขึ้นที่ อาเภอเภอจอมทอง ถือเป็นแห่งแรกของประเทศ ไทย และแห่งเดียวในโลก ประเพณีแห่ไม้ค้าโพธิ์ กลายเป็นต้นแบบของการแห่ไม้ค้าสะหลีของชาว ล้านนา จนได้รับความนิยมไปทัว ่ ภาคเหนือ และเป็น ประเพณีที่เริ่มมีชื่อเสียงโด่งดัง และได้รับความ นิยมอย่างมาก

5. มหกรรมไม้ดอกไม้ประดับ "มหกรรมไม้ดอกไม้ประดับ" ซึ่งถือเป็นงานประเพณีอัน ่ งสืบ สาคัญอีกงานหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม่ ที่จัดต่อเนือ ทอดเป็นประจาทุกปี งานจะจัดขึ้นในช่วงต้นเดือน กุมภาพั นธ์ ณ สวนสาธารณะหนองบวกหาด อาเภอ เมือง จังหวัดเชียงใหม่ -

การประกวดนางงามบุปผชาติและขบวนแห่บุปผชาติ นิทรรศการทางการเกษตร การประกวดไม้ดอกไม้ประดับประเภทต่างๆ การประกวดจัดสวน การออกร้านของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร


สามารถแบ่ง ประเพณี/วัฒนธรรม ตามเดือน ได้ดังนี้


4.4.2 ประเพณี วัฒนธรรม

เดือน มกราคม

1. งานไม้แกะสลักบ้าน ถวาย อาเภอหางดง มี การจาหน่าย และสาธิต การแกะสลักไม้ และ หัตถกรรมพื้ นบ้าน

4.4.2 ประเพณี วัฒนธรรม


4.4.2 ประเพณี วัฒนธรรม

เดือน มกราคม

่ ูนย์หัตถกรรมทาร่มบ่อสร้าง 2. งานเทศกาลร่มบ่อสร้าง ทีศ อาเภอสันกาแพง มีการประกวดธิดาร่มบ่อสร้าง การประกวด ขบวนแห่ตกแต่งด้วยสินค้าหัตถกรรมบ้านต้นเปา การแสดง และจาหน่ายผลิตภัณฑ์หัตถกรรม การแสดงศิลปะพื้ นบ้าน และ การแสดงทางวัฒนธรรมบนเวที.


4.4.2 ประเพณี วัฒนธรรม

เดือน กุมภาพั นธ์

้ ในช่วงสัปดาห์ 1. งานมหกรรมไม้ดอกไม้ประดับ จัดขึน แรกของเดือนกุมภาพั นธ์ โดยจะมีพิธีเปิดงานในวัน ศุกร์ ในงานมีการจัดนิทรรศการ/ผลงาน ณ บริเวณ สวนสาธารณะบวกหาด /ขบวนแห่รถบุปผาชาติในวัน เสาร์ และ มีการประกวดนางงามบุปผาชาติ

้ 2. เทศกาลงานผ้าซิ่นตีนจก อ.แม่แจ่ม จะจัดขึน หลังจากพิ ธีเปิดงานมหกรรมไม้ดอกไม้ประดับจังหวัด เชียงใหม่แล้วหนึ่งวัน เพื่ อ ส่งเสริมการท่องเที่ยวและ เปิดโอกาสให้กลุ่มแม่บ้านนาสินค้าผ้าตีนจก มาจา หน่าย การสาธิตการทอผ้าตีนจก การนาสินค้าหนึ่ง ผลิตภัณฑ์หนึ่งตาบลมาแสดงและจาหน่าย การจัด ่ วสาคัญของ นิทรรศการ และการแนะนาแหล่งท่องเทีย แม่แจ่ม


4.4.2 ประเพณี วัฒนธรรม

เดือน เมษายน

้ ระหว่างวันที่ 13-15 1. ปีใหม่เมือง(สงกรานต์) จัดขึน เมษายนของทุกปี เป็นประเพณีที่สาคัญและยิ่งใหญ่ ของชาวเชียงใหม่ แบ่งเป็นวันที่ 13 เป็นวัน มหาสงกรานต์ มีขบวนแห่พระพุ ทธสิหิงค์ และพิ ธี สรงน้าพระ วันที่ 14 เข้าวัดก่อเจดีย์ทราย และวันที่ 15 เมษายน ประเพณีรดน้าดาหัวผู้ว่าราชการจังหวัด และมีการเล่นสาดน้าตลอดช่วงเทศกาล

2. ประเพณีแห่ไม้ค้าโพธิ์ จัดขึ้นในเดือนเมษายน ในวันที่ 15

เป็นต้นไป ของทุกปี ที่บริเวณตัวเมืองจอมทอง มีขบวนรถจาก ชุมชน ห้างร้าน กลุ่มต่างๆกว่า 40 ขบวน แห่ไปตามเมือง จอมทอง จนถึงวัดพระบรมธาตุศรีจอมทองวรวิหาร เป็น ประเพณีที่ สืบทอดกันมานานกว่า 200 ปี ตามตานานเกิดขึ้นที่ อาเภอจอมทอง ถือเป็นแห่งแรกของประเทศไทยและแห่งเดียวใน โลก ประเพณีแห่ไม้ค้าโพธิ์ กลายเป็นต้นแบบของการแห่ ไม้ค้าสะ หลีของชาวล้านนา จนได้รับความนิยมไปทั่วภาคเหนือ และเป็น ประเพณีที่เริ่มมีชื่อเสียงโด่งดัง และได้รับความนิยมอย่างมาก


4.4.2 ประเพณี วัฒนธรรม

เดือน พฤษภาคม

1. ประเพณีเตียวขึ้นดอยวิสาขบูชา และอัญเชิญน้าสรง พระราชทาน ไหว้สาป๋าระมี พระบรมธาตุดอยสุเทพประจาปี

จัดขึ้นในช่วงวันวิสาขบูชา โดยมีริ้วขบวนพุ ทธศาสนิกชนจาก 25 อาเภอ เดินเท้าแห่น้าสรงพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และผ้าไตรพระราชทานของสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ขึ้นไป ยังวัดพระธาตุดอยสุเทพระยะทางกว่า 11 กิโลเมตร เพื่ อไปเวียนเทียนใน วันวิสาขบูชาอันเป็นประเพณี ที่ชาวเชียงใหม่และใกล้เคียงได้ถือปฏิบัติ มาแต่ครั้งอดีตกาลจนถึงปัจจุบันเพื่ อน้อมราลึกถึงพระธรรมคาสั่งสอน ของพระพุ ทธเจ้า และครูบาเจ้าศรีวิชัยนักบุญแห่งล้านนาผู้บุกเบิกสร้าง ทางขึ้นดอยสุเทพ

้ ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน 2. ประเพณีเข้าอินทขิล จัดขึน ที่วัดเจดีย์หลวง เป็นการบูชาเสาหลักเมือง โดยการนาดอกไม้ธูป เทียนมาใส่ขันดอก


4.4.2 ประเพณี วัฒนธรรม

เดือน มิถุนายน

1. ประเพณีสรงน้าพระธาตุจอมทอง วัดพระธาตุศรี จอมทอง อ.จอมทอง งานประเพณีนี้ เกิดขึ้นจากตานานที่กล่าวว่า

พุ ทธสถานแห่งนี้เป็นวัดที่ประดิษฐานพระทักษิณโมลีธาตุ หรือพระธาตุส่วน เศียรเบื้องขวาขององค์พระสัมมาสัมพุ ทธเจ้า การประดิษฐานนี้ มิได้เป็นถาวร แต่สามารถอัญเชิญ พระธาตุออกมาให้ประชาชนได้สักการะอย่างใกล้ชิดได้ จึง ทาให้เกิดประเพณีสมโภชพระบรมสารีรก ิ ธาตุเข้า - ออกพรรษา ปีละสองครั้ง ซึ่งนับว่าเป็นศาสนพิ ธีประจาของวัดแห่งนี้ และเป็นการแสดงถึงความศรัทธา ของประชาชนทั้งใกล้และไกล ที่ต่างตั้งใจเดินทางไปสักการะกัน ซึ่งถือเป็นงาน ใหญ่และสาคัญอีกงานหนึ่งของชาวจอมทอง ในการสืบสานมาอย่างช้านาน กว่า 100 ปี โดยวันที่จัด งาน จะตรงกับวันขึ้น 15 ค่า เดือน 9 เหนือ (วันขึ้น 15 ค่า เดือน 7

่ ระกอบพิ ธี 10 จุด 2. ประเพณีทาบุญเมืองเชียงใหม่ สถานทีป ได้แก่ บริเวณลานพระบรมราชานุสาวรีย์สามกษัตริย์(กลางเวียง) ประตูท่าแพ ประตูเชียงใหม่ ประตูสวนปรุง ประตูสวนดอก ประตู ช้างเผือก แจ่งกู่เฮือง แจ่งขะต้า แจ่งศรีภูมิ และแจ่งหัวริน เพื่ อให้บ้านเมืองเกิดความร่มเย็นเป็นสุข อีกทั้งยังเป็นการอนุรักษ์ และฟื้ นฟู วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของเมืองเชียงใหม่ให้คง อยู่สืบต่อไป


4.4.2 ประเพณี วัฒนธรรม

เดือน พฤศจิกายน

ประเพณียี่เป็ง จัดขึ้นในช่วงวันลอยกระทงของทุกปี มีการตกแต่งบ้านเรือนและสถานที่ต่างๆ ด้วยโคมชนิดต่างๆ มีการปล่อยโคมลอย มีการลอยกระทง ประกวดกระทงเล็ก กระทงใหญ่ มี ขบวนแห่กระทง และการประกวดนางนพมาศ


3.5 สรุปท้ายบท

สรุปสภาพทั่วไปของภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ อาเภอเมือง ภาคเหนือเป็นภาคที่มีเมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยว การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยมีเมืองใหญ่หลาย ๆ เมืองในภาคเหนือเป็นแหล่งสาคัญที่ส่งผลให้การเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจและการท่องเที่ยวสูงมากขึ้น โดยมีทั้งแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ธรรมชาติ และตัวเมืองที่เป็นศูนย์กลางของความเจริญ เป็นตัวชูให้การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจนั้นมี มากขึ้น โดยเมืองในจังหวัดเชียงใหม่จัดว่าเป็นศูนย์กลางในการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวภายในภาค ซึ่งเป็นผลพวงมาจากการที่มีสถานที่และแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ มากมาย รวมไปถึงมีการขยายตัวทางประชากรที่มีเพิ่มขึ้น


ขอบคุณที่รับชม 1.นายพั ชรพล 2.นายวรินทร 3.นายปริวัฒน์ 4.นายธนพงษ์ 5.นายวัชรกรณ์ 6.นายทศพล 7.นายไนยชน 8.นายรวิภาส 9.นายอธิปภัคคิ์ 10.นายคเณศ 11.นายพฤกษ์ 12.นายนราทัศน์

ตรีโยธา บัวรักษ์ จันทร์ศรี ศรีสุวรรณ วิชัยดิษฐ พิ นแก้ว พุ่ มทอง พงษ์เภา ตรีธีรโรจน์ ศิลา บุบผะเรณู หนูวุ่น

เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่

เชียงใหม่ กลุ่ม 1 / สถ.4/2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562

1 2 5 7 10 12 16 24 25 26 29 46


4.5 ลักษณะทางเศรษฐกิจ


4.5.1 กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนเมือง และรายได้ในภาพรวม 4.5.1.1 ภาคพาณิชยกรรมและการค้า ธุรกิจส่วนใหญ่ในจังหวัด เชียงใหม่จะตั้งอยู่ในเขตอาเภอเมืองเป็นส่วนมาก เชียงใหม่เป็นศูนย์กลาง ทางธุรกิจภาคเหนือที่มีความสะดวกในการคมนาคมขนส่งสินค้าสาคัญได้แก่ สินค้าการเกษตร และสินค้าพื้ นเมือง เช่น เสื้อผ้าพื้ นเมือง เครื่องเงิน เครื่องเขิน ไม้แกะสลัก เป็นต้น เชียงใหม่มีตลาดสดและศูนย์การค้าหลาย แห่ง เช่น ตลาดวโรสร (กาดหลวง) ตลาดต้นลาใย ศูนย์การค้ากาดสวน แก้ว ศูนย์การค้าโรบินสัน แอร์พอร์ต ในท้องถิ่นอื่นๆมีธุรกิจเป็นตลาดนัด สินค้า (กาดวัว) มีกาหนดนัดผลัดเปลี่ยนกันไปในแต่ละพื้ นที่


4.5.1 กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนเมือง และรายได้ในภาพรวม 4.5.1.2 ภาคการบริการและการท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่เป็น ศูนย์กลางการท่องเที่ยวของจังหวัดภาคเหนือตอนบน ธุรกิจด้านการ บริการการท่องเที่ยว เป็นอาชีพที่สาคัญมากอย่างหนึ่งของจังหวัด เชียงใหม่โดยเฉพาะ กิจการด้านโรงแรม มีโรงแรมที่ทันสมัยสะดวกสบาย มากมายโดยใน พ.ศ. 2555 จังหวัดเชียงใหม่มีจานวนนักท่องเที่ยวราว 6.5 ล้านคน เพิ่ มขึ้นจากปี พ.ศ. 2554 ราว 9 แสนคน อยู่ในอันดับที่ 4 ของประเทศรองจากกรุงเทพมหานคร จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดชลบุรี เป็นนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 2,192,322 คน (33.4%) สร้างรายได้รวม 53,507 ล้านบาท


4.5.2 การคลังท้องถิน ่ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2561 เทศบาลนครเชียงใหม่ มีสถานะการเงิน ดังนี้ • รายรับจริงทั้งสิน ้ 1,876,648,924.88 บาท • เงินอุดหนุนจากรัฐบาล 51,806,277.41 บาท

• รายจ่ายจริงทั้งสิน ้ 1,757,175,943.95 บาท • มีเงินสะสมเพื่ อดาเนินการด้านอื่นๆ 111,997.00 บาท



4.6 ลักษณะทางสิง ่ แวดล้อม 4.6.1 สิง ่ แวดล้อมของชุมชนเมือง

จังหวัดเชียงใหม่มีพื้นที่ 20,107.057 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 12,566,911 ไร่ มีพื้นที่กว้างใหญ่เป็นอันดับที่ 1 ของภาคเหนือ และเป็นอันดับ 2 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปมีสภาพ พื้ นที่เป็นภูเขาและป่าละเมาะ มีที่ราบอยู่ตอนกลางตามสองฟากฝั่งแม่น้าปิง มี ภูเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทยคือ ดอยอินทนนท์ สูงประมาณ 2,565 เมตร อยู่ใน เขตอาเภอจอมทอง นอกจากนี้ยังมีดอยอื่นที่มีความสูงรองลงมาอีกหลายแห่ง เช่น ดอยผ้าห่มปก (อาเภอฝาง) สูง 2,285 เมตร ดอยหลวงเชียงดาว (อาเภอ เชียงดาว) สูง 2,170 เมตร ดอยสุเทพ (อาเภอเมืองเชียงใหม่) สูง 1,601 เมตร สภาพพื้ นที่แบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะคือ ่ ระมาณร้อยละ 80 ของจังหวัด ประกอบด้วยทิวเขา พื้ นที่ภูเขา คิดเป็นพื้ นทีป อินทนนท์ (หรือถนนธงชัยตะวันออก) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด พาด ยาวจากทิศเหนือจรดใต้ ตามแนวรอยต่อกับจังหวัดแม่ฮ่องสอน และทิวเขาขุน ตาน ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัด พาดผ่านในทิศเหนือ-ใต้ พื้ นที่ภูเขา ส่วนใหญ่เป็นป่าต้นน้าลาธาร ไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก ส่วนบางพื้ นที่เป็น พื้ นที่อยู่อาศัยของชาวเขาชาติพันธุ์ต่าง ๆ พื้ นที่ราบลุ่มนา้ และที่ราบเชิงเขา กระจายอยู่ทั่วไประหว่างหุบเขาทอดตัวใน แนวเหนือ-ใต้ ได้แก่ ที่ราบลุ่มน้าปิง ลุ่มน้าฝาง ลุ่มน้าแม่งัด เป็นพื้ นที่ที่มีความ อุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการเกษตร


4.6.2 สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม จากรายงานด้านสิง ่ แวดล้อมของโครงการสิง ่ แวดล้อมแห่งสหประชาชาติ พบว่าสถานการณ์ ปัจจุบันระบบนิเวศทั้งโลกถูกคุกคามจนเสื่อมถอยและขาดความสมดุลอย่างรุนแรง สาเหตุหลัก เกิดจากการเพิ่ มขึ้นของประชากร ที่ส่งผลโดยตรงต่อการเพิ่ มขึ้นของปริมาณการบริโภค และ เนื่องจากธรรมชาติมีความสามารถในการผลิตที่จากัด จึงทาให้เกิดผลกระทบในทางลบ เช่น การ สูญเสียของทรัพยากร การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ โลก และการเกิดมลพิ ษทางสิง ่ แวดล้อม เป็นต้น จากการสารวจความคิดเห็นต่อสภาพแวดล้อมในปัจจุบันของเมืองเชียงใหม่ พบว่า คน เชียงใหม่ร้อยละ 54.04 เห็นว่าสภาพแวดล้อมเมืองเชียงใหม่ เริม ่ เสื่อมโทรม ร้อยละ 30.10 เห็น ว่าสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมมานานแล้ว มีเพี ยงร้อยละ 8.81 ที่เห็นว่ามีสภาพแวดล้อมที่ดี ขณะที่ อีกร้อยละ 7.05 ไม่แน่ใจ เมื่อสอบถามถึงความกังวลต่อปัญหาสภาพแวดล้อมของเมืองเชียงใหม่ในปัจจุบัน พบว่า ร้อยละ 36.80 เป็นกังวลเรื่องคุณภาพอากาศที่ลดลง รองมาร้อยละ 24.93 เป็นกังวลเรื่อง ปริมาณขยะที่เพิ่ มขึ้น การจัดเก็บ และการทาลายขยะ ร้อยละ 17.95 เป็นกังวลเรื่อง การขาด แคลนพื้ นที่สีเขียวในเมืองเชียงใหม่ ร้อยละ 13.80 เป็นกังวลเรื่องมลภาวะทางเสียงจากการ ก่อสร้าง/สถานบันเทิง และร้อยละ 6.53 เป็นกังวลเรื่องคุณภาพน้าในแม่น้าลาคลอง


เมื่อสอบถามถึงสาเหตุหลักที่ทาให้สภาพแวดล้อมของเมืองเชียงใหม่เสื่อมโทรม พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 73.93 เห็นว่าเป็นเพราะการคมนาคมขยายตัว และปริมาณรถยนต์ที่เพิ่ มขึ้น อันดับ 2 ร้อย ละ 73.10 เห็นว่าเป็นเพราะการขยายตัวของเมือง มีตึก/อาคารสูงที่เพิ่ มขึ้น อันดับ 3 ร้อยละ 50.44 เห็นว่าเป็นเพราะการบริโภคที่เพิ่ มขึ้น (ส่งผลต่อปริมาณขยะที่เพิ่ มขึ้นและยากต่อการกาจัด) อันดับ 4 ร้อยละ 41.67 เห็นว่าเป็นเพราะการขาดทัศนคติในการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมของคน เชียงใหม่ และอันดับ 5 ร้อยละ 32.75 เห็นว่าเป็นเพราะปริมาณต้นไม้ที่ลดลงและไม่มีการปลูก ทดแทน


4.7 ลักษณะทางการท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่เป็นจังหวัดที่นักท่องเที่ยวสูงสุดของจังหวัดในภาคเหนือ เมืองเชียงใหม่เป็นเมืองโบราณ นับร้อยๆปี จุดเด่นเรื่องท่องเที่ยวของเชียงใหม่จุดหนึ่งคือ คูเมืองเชียงใหม่ ซึ่งจะล้อมรอบทั้งสี่ด้านของ กลางเมืองเชียงใหม่ ภายในคูเมืองมีการควบคุมไม่ให้สร้างตึกสูงเกินไป บ้านเรือนยังมีความเป็นล้านนา สวยงามสบายตาและก็สะอาดน่าท่องเที่ยว การท่องเที่ยวของทางจังหวัดเชียงใหม่ส่วนใหญ่เป็นลักษณะการ ท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรม

คูเมืองเชียงใหม่

ดอยสุเทพ

ดอยอินทนนท์


4.7.1

ทรัพยากรทางการท่องเที่ยว

สถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ •ดอยอินทนนท์ •ดอยสุเทพ •ดอยหลวงเชียงดาว •ดอยอ่างขาง •ดอยผ้าห่มปก •สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ •ปางช้างแม่แตง •น้าพุ ร้อนสันกาแพง •น้าพุ ร้อนฝาง •ทะเลสาบดอยเต่า •ดอยม่อนจอง

อาเภอจอมทอง อาเภอเมือง อาเภอเชียงดาว อาเภอฝาง อาเภอฝาง อาเภอแม่ริม อาเภอแม่แตง อาเภอสันกาแพง อาเภอฝาง อาเภอดอยเต่า อาเภออมก๋อย


สถานที่ท่องเที่ยวทางศาสนสถาน

วัดพระสิ งห์วรมหาวิหาร วัดพระธาตุดอยสุ เทพราชวรวิหาร วัดพระธาตุศรี จอมทองวรวิหาร วัดเจดียห์ ลวงวรวิหาร วัดสวนดอก (พระอารามหลวง) วัดเจ็ดยอด (พระอารามหลวง) วัดป่ าดาราภิรมย์ วัดท่าตอน (พระอารามหลวง) วัดเชียงมัน่ วัดอุโมงค์ วัดกู่เต้า วัดเกตการาม

อาเภอเมือง อาเภอเมือง อาเภอจอมทอง อาเภอเมือง อาเภอเมือง อาเภอเมือง อาเภอแม่ริม อาเภอแม่อาย อำเภอเมือง อำเภอเมือง

อาเภอเมือง อาเภอเมือง


4.7.2 ผู้เยี่ยมเยือน


ผู้มาเยือน (Visitors) ผู้มาเยือนแบ่งเป็น 2 ประเภท • นักท่องเที่ยว (Tourist) ได้แก่ ผู้มาเยือนชั่วคราว โดยพานักอยู่ใน ประเทศที่มาเยือนเป็นเวลาอย่างน้อย 24 ชั่วโมง • นักทัศนาจร (Excursionist) ได้แก่ ผู้มาเยือนเป็นการชั่วคราวโดยใช้ เวลาอยู่ในประเทศที่มาเยือนน้อยกว่า 24 ชั่วโมง



สถิติการท่องเที่ยว นครเมืองเชียงใหม่ ปี 2559 จานวนผู้มาเยือน (Visitor) ทั้งหมดจานวน 9,623,958 คน แบ่งเป็น นักท่องเที่ยว (Tourist) จานวน 7,683,120 คน

นักทัศนาจร (Excursionist) จานวน 1,940,838 คน


ปี 2559 มีนักท่องเที่ยวเพิ่ มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ประมาณ 3 แสนคน ขยายตัวร้อยละ 3.6 - นักท่องเที่ยวชาวไทย ขยายตัวร้อยละ 4.2 - นักท่องเที่ยวต่างประเทศ ขยายตัวร้อยละ 2.4


จังหวัดเชียงใหม่มีความเป็นเอกลักษณ์ทั้ง ตาแหน่งที่ตั้ง ประวัติความเป็นมา วัฒนธรรม ประเพณี ลักษณะทางสิ่งแวดล้อม ทาให้เชียงใหม่มี ความเป็นเอกลักษณ์ทั้งวิถีชีวิตของผู้คน โครงสร้าง พื้ นฐานทางสังคม ลักษณะทางกายภาพ สภาพ อากาศ จึงทาให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวอันดับต้นๆ ของประเทศ ทาให้สภาพความเป็นไปของเมือง จังหวัดเชียงใหม่เปลี่ยนไปเป็นเมืองท่องเที่ยวทาให้ ลักษณะทางสังคม ประชากร และบ้านเมืองเปลี่ยนไป ให้สอดคล้องกับความเป็นไปในปัจจุบัน

สรุปท้ายบท

ทางภาครัฐก็ได้มี นโยบายต่าง ๆ มาเป็น ตัวกาหนดข้อบังคับให้มีการ รักษาขนบธรรมเนียม บางอย่างเอาไว้ เพื่ อรักษา กลิน ่ อายความเป็นเชียงใหม่ เอาไว้อย่างเดิม


ขอบคุณที่รับชม 1.นายพั ชรพล 2.นายวรินทร 3.นายปริวัฒน์ 4.นายธนพงษ์ 5.นายวัชรกรณ์ 6.นายทศพล 7.นายไนยชน 8.นายรวิภาส 9.นายอธิปภัคคิ์ 10.นายคเณศ 11.นายพฤกษ์ 12.นายนราทัศน์

ตรีโยธา บัวรักษ์ จันทร์ศรี ศรีสุวรรณ วิชัยดิษฐ พิ นแก้ว พุ่ มทอง พงษ์เภา ตรีธีรโรจน์ ศิลา บุบผะเรณู หนูวุ่น

เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่ เลขที่

เชียงใหม่ กลุ่ม 1 / สถ.4/2

1 2 5 7 10 12 16 24 25 26 29 46


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.