รายงานการออกแบบอาคาร และประเมินประสิทธิภาพพลังงานของกรอบอาคาร จัดทําโดย นายพัชรพล นางสาวสุวิมล นางสาวศจีรีตน์ นายเมธิชัย นางสาวจิณต์จุฑา นายอธิปภัคคิ์ นายศุภกิตติ์
ตรีโยธา เกตุถาวร แซมทอง อําพร ข้ามสาม ตรีธีรโรจน์ ช่วยชาติ
เลขที่ 1 เลขที่ 3 เลขที่ 8 เลขที่ 17 เลขที่ 21 เลขที่ 25 เลขที่ 34
115911001017-3 115911001019-9 115911001025-6 115911001046-2 115911001053-8 115911001104-9 115911001116-3
เทคโนโลยีสถาปัตยกรรม ชั้นปีที่ 3/2
เสนอ อาจารย์ สรณียา หมั่นดี อาจารย์ สรรสุดา เจียมจิต อาจารย์ โสพิศ ชัยชนะ อาจารย์ สุขุม แสนแก้วทอง
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งวิชา การประหยัดพลังงานในอาคาร รหัสวิชา 10-121-413 ภาคการศึกษาที่ 2/2560 นักศึกษาชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
1-2
คํานํา
รายงานเรื่อง รายงานการออกแบบอาคาร และประเมินประสิทธิภาพพลังงานของ กรอบอาคาร ฉบับนี้ จัดทําขี้นเพื่อศึกษาค้นคว้าความรู้ที่เกี่ยวกับการออกแบบอาคารโดยคํานึงถึง ประสิทธิภาพพลังงาน และเพื่อทําเป็นเอกสารเพื่อประกอบการเรียนในรายวิชาการประหยัดพลังงานใน อาคาร คณะผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการศึกษาในหัวข้อ ที่เกี่ยวข้อง และทางคณะผู้จัดทําต้องขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนช่วยให้รายงานเล่มนี้สําเร็จ มา ณ โอกาส นี้ด้วย
คณะผู้จัดทํา
สารบัญ หัวข้อ
หน้า
1.ข้อมูลเบื้องต้นของอาคาร
1
2.แนวความคิดในการออกแบบอาคารหลังปรับปรุง
2
3.ประเมินประสิทธิภาพพลังงานของกรอบอาคาร 3.1 BUILDING INFO 3.2 COVER 3.3 COMPONENT 3.4 OTTV 3.5 RTTV 3.6 SUMMARY
9 9 10 11 13 15 16
4.การเลือกใช้วัสดุ - อิฐมอญ - อิฐมวลเบา - ฉนวนผนัง - ฉนวนหลังคา - โครงคล่าว - แผ่นสมาร์ทบอร์ด - SOLARTAG - Ocean Green - Insulted Glass 5.ข้อมูลอ้างอิงหน้า
18 19 20 21 22 23
24 25 26 28
1.ข้อมูลเบื้องต้นของอาคาร - ชื่ออาคาร : OFFICE OF STITREET - ประเภทและขนาดของอาคาร : สํานักงาน - จํานวนชั่วโมงการใช้งาน : 8 ชม. ค่า OTTV และค่า RTTV ตามที่กฎหมายกาหนด
OTTV = 50 W/sq.m. RTTV = 15 W/sq.m. LPD = 14 W/sq.m.
1
2.แนวความคิดในการออกแบบอาคารหลังปรับปรุง
ROOF
FL 4
FL 3
FL 2
FL 1 ACTIVE 397.98 sq.m. PASSIVE 25.50 sq.m.
1 FL PLAN ACTIVE AIR
SCALE
ACTIVE AIR
2 FL PLAN
1:300
ROOF
FL 4
FL 3
FL 2
FL 1 ACTIVE 455.94 sq.m. PASSIVE 25.50 sq.m.
SCALE
1:300
2
2.แนวความคิดในการออกแบบอาคารหลังปรับปรุง
ROOF
FL 4
FL 3
FL 2
FL 1 ACTIVE 515.33 sq.m. PASSIVE 128.11 sq.m.
3 FL PLAN ACTIVE AIR
SCALE
ACTIVE AIR
4 FL PLAN
1:300
ROOF
FL 4
FL 3
FL 2
FL 1 ACTIVE 0.00 sq.m. PASSIVE 540.83 sq.m.
SCALE
1:300
3
TOTAL BUILDING AREA
=
2,089.17 SQ.M.
TOTAL ACTIVE AREA TOTAL PASSIVE AREA
= =
1,369 719.94
SQ.M. SQ.M.
PASSIVE AREA
34% 719.94 SQ.M.
66% 1,369 SQ.M.
ACTIVE AREA
2,089.17
1 FL PLAN
SQ.M.
2 FL PLAN
3 FL PLAN 4
2.แนวความคิดในการออกแบบอาคารหลังปรับปรุง
EAST ELEVATION 1:200
SCALE
SOLID
VOID
96.05 64.00 104.00 62.00 84.00
1 FL PLAN
188.00
222.05
SQ.M.
SQ.M.
2 FL PLAN
3 FL PLAN 5
2.แนวความคิดในการออกแบบอาคารหลังปรับปรุง
NORTH ELEVATION 1:250
SCALE
SOLID
VOID
119.19 86.00 25.00
1 FL PLAN
25.00
2 FL PLAN
48
255.19
SQ.M.
SQ.M.
3 FL PLAN 6
2.แนวความคิดในการออกแบบอาคารหลังปรับปรุง
SOUTH ELEVATION 1:250
SCALE
SOLID
VOID
142.50 128.00 80.00 20
1 FL PLAN
2 FL PLAN
20
350.50
SQ.M.
SQ.M.
3 FL PLAN 7
2.แนวความคิดในการออกแบบอาคารหลังปรับปรุง
WEST ELEVATION 1:250
SCALE
SOLID
VOID
116.14 40.00 114.00
116
312.14
76.00 82.00
SQ.M.
SQ.M.
1 FL PLAN
2 FL PLAN
3 FL PLAN 8
3.ประเมินประสิทธิภาพพลังงานของกรอบอาคารหลังปรับปรุงแล้ว จาก Program ที่ใช้ในการคานวณ
BUILDING INFO
9
3.ประเมินประสิทธิภาพพลังงานของกรอบอาคารหลังปรับปรุงแล้ว จาก Program ที่ใช้ในการคานวณ
COVER
10
3.ประเมินประสิทธิภาพพลังงานของกรอบอาคารหลังปรับปรุงแล้ว จาก Program ที่ใช้ในการคานวณ COMPONENT
BEFORE
11
3.ประเมินประสิทธิภาพพลังงานของกรอบอาคารหลังปรับปรุงแล้ว จาก Program ที่ใช้ในการคานวณ COMPONENT
AFTER
12
3.ประเมินประสิทธิภาพพลังงานของกรอบอาคารหลังปรับปรุงแล้ว จาก Program ที่ใช้ในการคานวณ OTTV
BEFORE
13
3.ประเมินประสิทธิภาพพลังงานของกรอบอาคารหลังปรับปรุงแล้ว จาก Program ที่ใช้ในการคานวณ OTTV
AFTER
14
3.ประเมินประสิทธิภาพพลังงานของกรอบอาคารหลังปรับปรุงแล้ว จาก Program ที่ใช้ในการคานวณ RTTV
BEFORE
RTTV
AFTER
15
3.ประเมินประสิทธิภาพพลังงานของกรอบอาคารหลังปรับปรุงแล้ว จาก Program ที่ใช้ในการคานวณ SUMMARY
BEFORE
16
3.ประเมินประสิทธิภาพพลังงานของกรอบอาคารหลังปรับปรุงแล้ว จาก Program ที่ใช้ในการคานวณ SUMMARY
AFTER
17
การเลือกใช้วัสดุในส่วนของผนังช่องเปิดของอาคารและคุณสมบัติของวัสดุในด้าน การประหยัดพลังงาน อิฐมอญ
ชื่อ : อิฐมอญ ที่มา : https://www.onestockhome.com/th/categories/bricks/sub_categories/clay-bricks-a5a2676563f1-468f-87ab-d76e4beb9aed/product_types/ayudhaya-clay-brick
อิฐมอญ เป็นวัสดุที่ผลิตมาจากการนําดินเหนียวมาเผาเพื่อให้ได้วัสดุที่คงรูปและมีความ แข็งแรง คุณสมบัติของอิฐมอญเป็นวัสดุที่ยอมให้ความร้อนถ่ายเทเข้า-ออกได้ง่าย และยังดูด เก็บความร้อนไว้ในตัวเองเป็นเวลานานกว่าจะเย็นตัวลง จะสังเกตได้จากเมื่อใช้มือสัมผัสผนัง ภายในบ้านในตอนบ่ายที่ถูกแดดร้อนจัด ผนังจะร้อนมาก และยังคงร้อนอยู่จนถึงช่วงหัวค่ํา แล้วจึงเย็นลงใกล้เคียงกับอากาศปกติ คุณสมบัติ เนื่องจากอิฐมอญมีความจุความร้อนสูงทําให้สามารถกักเก็บความร้อนไว้ใน เนื้อวัสดุได้มาก ก่อนที่จะค่อยๆถ่ายเทสู่ภายนอก จึงเหมาะกับการใช้กับบริเวณที่ใช้งานเฉพาะ ช่วงกลางวัน
การประยุกต์ใช้
ชื่อ : ก่อผนังอิฐมอญครึง่ แผ่น ที่มา : https://www.sanook.com/home/873/
ก่ออิฐครึง่ แผ่น ซึ่งจะทําให้ผนังมี ความหนาประมาณ 10 เซนติเมตรเมื่อ รวมความหนาของปูนฉาบทั้งสอง ด้านแล้ว ซึ่งก็คือความหนาปกติของ ผนังที่เราเห็นกันโดยทั่วไป และเท่ากับ ความหนาของวงกบประตู-หน้าต่าง ทั่วไปที่มักจะมีความหนาประมาณ 4 นิ้ว หรือ 10 เซนติเมตรไม่ว่าจะเป็น วัสดุชนิดใดทั้งไม้ เหล็ก พีวซี ี ไวนิล หรืออะลูมิเนียม
ชื่อ งานฉาบปูน ที่มา : https://www.sanook.com/home/873/
งานฉาบปูน หมายรวมถึง งานฉาบ ปูนผนังวัสดุก่อทั้งหมด ผนัง คสล. และงานฉาบปูนโครงสร้าง คสล. เช่น เสา คาน และท้องพื้นในส่วนที่มองเห็น ด้วยตาทั้งหมด ยกเว้นฝ้าเพดานส่วน ที่เป็นคอนกรีตสําเร็จรูป และงาน
18
อิฐมมวลเบา
ชื่อ : อิฐมอญ ที่มา https://www.khonour.co.th/%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B 9%87%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9Bprecast%E0%B9%80%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%81/
อิฐมวลเบา หรือ คอนกรีตมวลเบา เป็นอิฐยอดนิยมชนิดหนึ่งในงานก่อสร้างยุคใหม่ การผลิตหรือ การทําอิฐมวลเบา นั้น มาจาก ปูนซีเมนต์, ทรายบดละเอียด, ปูนขาว, ยิปซั่ม, ผงอะลูมิเนียม และน้ํา สะอาด ผสมเข้าด้วยกันในรูปแบบของเหลวจนเกิดปฏิกิริยาทางเคมี ทําให้เกิดฟองอากาศเล็กๆ จํานวน มากกระจายตัวกันอย่างสม่ําเสมอในเนื้อคอนกรีตมวลเบา แต่ไม่เชื่อมต่อกัน ซึ่งฟองอากาศเหล่านี้ทํา ให้อิฐมีน้ําหนักเบาและเป็นฉนวนกันความร้อนสูง เก็บบ่มไว้ระยะเวลาหนึ่ง เมื่อคอนกรีตมวลเบาเริ่ม แข็งตัว จะถูกตัดแบ่งตามขนาดของบล็อกที่ต้องการ แล้วจึงนําเข้าอบด้วยไอน้ําที่มีอุณหภูมิและแรงดัน สูงเป็นเวลานาน บล็อกจึงเกิดเป็นผลึกที่มี “ความแข็งแรงสูง” พร้อมนําไปใช้งาน คุณสมบัติ ในการป้องกันความร้อนได้มากกว่าอิฐชนิดอื่น โดยมีส่วนผสมมาจาก ทราย ปูนซีเมนต์ ปอร์ตแลนด์ ปูนขาว น้ํา ยิปซั่ม และผงอลูมิเนียม แต่ส่วนที่สําคัญที่สุดก็คือฟองอากาศเล็กๆ เป็นรู พรุนไม่ต่อเนื่องที่อยู่ในเนื้อวัสดุมากประมาณ 75% ทําให้อฐิ ชนิดนี้มีน้ําหนักเบา ช่วยให้ประหยัด โครงสร้าง รวมถึงฟองอากาศเหล่านี้ยังเป็นฉนวนกันความร้อนที่ดี นอกจากนี้ อิฐมวลเบา ยังมี คุณสมบัติที่เด่นกว่าอิฐประเภทอื่นตรงที่ ทนทานต่อไฟ แข็งแรง รับแรงกดได้มาก สะดวกในการ ก่อสร้าง ใช้เวลาไม่นาน แต่ก็มีข้อด้อยตรงที่ ราคาอิฐมวลเบา จะสูงกว่าอิฐชนิดอื่นๆ
19
ฉนวนใยแก้ว (ผนัง)
ชื่อ : ฉนวนใยแก้ว SCG ตราช้าง ที่มา : http://xn--12cajs4fabb5ect4bce6gscu2xib9in.blogspot.com/2016/03/ub.html
คุณลักษณะและประโยชน์ในการใช้งาน กันความร้อน (Thermal insulation) ฉนวนใยแก้ว มีค่าการนําความร้อนต่ํา (K-Value)เพียง 0.032 W/m.K มีคุณสมบัติในการ ต้านทานความร้อนสูง จึงช่วยลดปริมาณมวลความร้อนเข้าภายในอาคารได้เป็นอย่างดี ไม่ลกุ ติดไฟ (Non-Flammable) ฉนวนใยแก้ว ผลิตจากแก้วซึ่งเป็นวัสดุไม่ลามไฟ ที่ผ่านตามมาตรฐาน ASTM E84 และ BS476 จึงไม่ เป็นฉนวนก่อให้เกิดอัคคีภัย ติดตั้งง่าย (Easy to lnstall) ฉนวนใยแก้วมีน้ําหนักเบาทนต่อแรงดึง ทําให้ไม่ฉีกขาดง่ายจึงติดตั้งได้สะดวก ทนต่อแรงกด (Compressive Strength) ฉนวนใยแก้วมีความยืดหยุ่น จึงสามารถคืนตัวได้ดี หลังการกดทับจึงไม่สูญเสียคุณสมบัติ ความเป็นฉนวน ป้องกันการควบแน่นเป็นหยดน้าํ (Condensation Control) ฉนวนใยแก้ว มีวัสดุปิดผิวกันความชื้น เมื่อเลือกความหนาที่เหมาะสม จะไม่ เกิดการควบแน่นเป็นหยดน้ํา จากความแตกต่างของอุณหภูมิของอาคารที่ปรับอากาศ อายุการใช้งานยาวนาน (Long Life Performance) ฉนวนใยแก้วผลิตจากวัสดุที่ไม่เสื่อมสภาพ สามารถคงสภาพการเป็นฉนวนได้ ยาวนาน ปลอดภัยต่อสุขภาพ ฉนวนใยแก้ว ได้การรับรองจากองค์การอนามัยโลก (WHO) ว่าไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์
การใช้งาน ฉนวนใยแก้ว มีผลิตภัณท์หลากหลายประเภทให้เลือกตามความเหมาะสม สําหรับงานโครงสร้างหลังคา ทั้ง หลังคาเหล็กรีด หลังคากระเบื้องซิเมนต์ใยหิน ฝ้าเพดาน และผนัง จึงเหมาะแก่การใช้งานทั้งในหมวดโรงงาน อาคารพาณิชย์ และงานที่พักอาศัยทุกประเภท
20
ฉนวนใยแก้ว (หลังคา)
ชื่อ : ฉนวนใยแก้ว ที่มา : https://www.topinsulation.com/sfg.htm
21
โครงเคร่าวลวาไนซ์
ชื่อ : โครงเคร่าวลวาไนซ์ ที่มา : https://www.onestockhome.com/th/categories/bricks/sub_categories/clay-bricks-a5a2676563f1-468f-87ab-d76e4beb9aed/product_types/ayudhaya-clay-brick
ช่วยรองรับวัสดุแผ่นเบาทั้งที่เป็นแผ่นผนังหรือแผ่นฝ้าเพดานให้คงตัวอยู่ได้ไม่พังลงมา หนึ่งใน วัสดุโครงคร่าวที่ได้รับความนิยมอย่างมากคือ “โครงกัลวาไนซ์” โครงเหล็กชุบสังกะสีกันสนิมซึ่ง มีน้ําหนักเบา แข็งแรง และไม่เป็นสนิม ถูกผลิตขึ้นเพือ่ ตอบโจทย์วัสดุแผ่นเบาในท้องตลาดที่มีให้ เลือกใช้ค่อนข้างหลากหลายทั้งเรือ่ งของเนื้อวัสดุ รูปแบบ ขนาด ความหนา และน้ําหนักที่ แตกต่างกันไปตามลักษณะการใช้งาน คุณสมบัติ มีความแข็งแรงและรับน้ําหนักได้ดี
22
แผ่นไฟเบอร์ซีเมนสมาร์ทบอร์ด
ชื่อ : โครงเคร่าวลวาไนซ์ ที่มา : https://www.onestockhome.com/th/cement-board/smartboard
สมาร์ทบอร์ด เอสซีจี เหมาะสําหรับตกแต่งฝ้า ตกแต่งผนัง รองพื้นวัสดุ แข็งแรง น้ําหนักเบา ประหยัดค่าใช้จ่าย ติดตั้งง่าย รวดเร็ว ปลวกไม่กิน วัสดุไฟเบอร์ซีเมนต์ปลอดภัย ไม่มีใยหิน เหนียว ทน ด้วยโครงสร้างพิเศษจากเทคโนโลยี FIRM & FLEX ซึ่งผสานโครงสร้างของ ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ เอสซีจี ซิลิก้า และเส้นใยเซลลูโลสชนิดพิเศษ ผ่านกระบวนการอบไอน้ําที่ อุณหภูมิ และแรงดันสูง (Autoclave) จึงมั่นใจในคุณภาพที่ได้มาตรฐานการผลิตของ เอสซีจี SCG ทุกแผ่น คุณสมบัติ แข็งแรง ทนต่อแรงกระแทกสูง ทนทาน ไม่แตกหักง่าย เพราะทําจากปูนซีเมนต์ ปอร์ตแลนด์ ซิลิก้า และเส้นใยเซลลูโลสชนิดพิเศษ ไม่ใช้เอสเบสตอส เนื้องจึง เหนียวยืดหยุ่นสูง ทนทานนับสิบปี ทนน้ํา ทนทนฝน ทนแดด นานนับสิบปี โดยไม่เปื่อยยุ่ย ตามมาตรฐาน JIS A5420 ทนทาน ปลวกไม่กิน ปลวกไม่กินสมาร์ทบอร์ด เพราะผลิตจากปูนเอสซีจี ซึ่งผสม เป็น เนื้อเดียวกันกับเส้นใยเซลลูโลสชนิดพิเศษ ที่ไม่เป็นอาหารปลวก เนื้อเหนียว ดัดโค้งได้ง่าย เพราะ เนื้อสมาร์ทบอร์ด มีความเหนียว ยืดหยุ่นตัวสูง ดัดโค้งโดยไม่ต้องสูบน้ํา รัศมีดัดโค้งแตกต่าง ตามความหนา ลดการนําความร้อน ช่วยให้บ้านเย็น เนื้อสมาร์ทบอร์ด มีค่าการนําความร้อนต่ํา กว่ากระเบื้องแผ่นเรียบถึง 2 ท่า ช่วยลดความร้อนจากโถงหลังคาเข้าสู่บ้าน ช่วยให้ บ้านเย็น ประหยัดค่าไฟฟ้า
23
SOLARTAG Selective Grey
ชื่อ : Insulating Glass SOLARTAG SG 110 6 mm (6-12-6) กระจกสะท้อนแสง โซล่าร์แทค ซีเล็คทีฟ เกรย์ ที่มา : https://www.agc-flatglass.co.th/product/
กระจกสะท้อนแสง โซลาร์แทค ซีเล็คทีฟ เกรย์ เป็นกระจกที่ผ่านการเคลือบชั้นโลหะด้วยระบบ Sputtering ที่ทันสมัย ผ่านขั้นตอนและกรรมวิธีการเคลือบโลหะสะท้อนแสงชนิดพิเศษให้ยึดติดแน่นเพื่อเพิ่มความ คงทนของผิวเคลือบ สามารถลดปัญหารอยขีดข่วนบนชั้นฟิล์มโลหะที่เคลือบ ทําให้ง่ายต่อการใช้งานในสถานที่ต่าง ๆ และสะดวกต่อการดูแลรักษา นอกจากนั้นกระจกสะท้อนแสง โซล่าร์แทค ซีเล็คทีฟ เกรย์ ยังมีคุณสมบัติในการลดปริมาณแสงที่แผดจ้า รวมถึงปริมาณความร้อนจากดวงอาทิตย์ที่ส่องผ่านกระจก จึงช่วยลดภาระการ ทําความเย็นของ เครื่องปรับอากาศทั้งในระยะสั้นและระยะยาวได้อย่างดี คุณสมบัติ - เป็นกระจกที่ผ่านการเคลือบโลหะแบบ Sputtering (Soft Coat) ซึ่งมีชั้นผิวเคลือบที่มีความแข็งแรง ทนต่อรอย ขีดขูด - มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน - ค่าการส่องผ่านความร้อนจากรังสีอาทิตย์ต่ํา ช่วยในการประหยัดพลังงาน - ลดความแผดจ้าของแสงที่เข้าสู่อาคารให้นุ่มนวลลง ทําให้สบายตาและ สามารถสร้างความเป็นส่วนตัวให้กับ ผู้ใช้งานภายในอาคาร - สามารถใช้งานได้หลากหลาย เช่นการติดตั้งแบบกระจกแผ่นเดียวหรือนําไปแปรรูปเป็นกระจกเทมเปอร์ กระจก นิรภัยลามิเนตและ กระจกฉนวนความร้อน
24
Insulating Glass Ocean Green 5 mm (5-12-5) กระจกโฟลตสีตัดแสง เอจีซี กระจก OCEAN GREEN 5 MM (5-12-5) นุ่มนวล สบายตา ลดแสง ลดอุณหภูมิ กระจกโฟลตสีตัดแสง เอจีซี สีต่างๆ ของกระจกเกิดจากการเติมอ็อกไซด์ของโลหะ ลงบนส่วนผสมของวัตถุดิบทําให้มี คุณสมบัติในการช่วยดูดกลืนพลังงานความร้อนได้เป็นอย่างดี ประมาณร้อยละ 30-70 % ลดความจ้าของแสงที่ส่งเข้ามาใน อาคาร ทําให้ได้แสงที่นุ่มนวล สบายตากระจกโฟลตสีตัดแสงมีให้เลือกหลายสี คือ สีเขียวโอเชี่ยนกรีน, สีเขียวเอเนอร์จีกรีน, สี ชาดํา, สียูโรเกรย์, สียูโรบรอนซ์ และสีฟ้าเข้ม
กระจกเอเนอร์จี กรีน ดีกว่ากระจกเขียวทั่วไปอย่างไร
25
กระจกกันเสียงและกันความร้อน Double Glass หรือ Insulated Glass กระจกประเภทนี้ราคาสูงมาก แต่ป้องกันความร้อนและเสียงได้ดีมาก ผลิตโดยการนํากระจกสองแผ่นมาประกบกันแต่ให้มีระยะห่างระหว่างกัน 1-1.5 เซนติเมตร แล้วทําให้ช่องว่างนั้นเป็นสุญญากาศ เป็นกระจกที่มีช่องว่างระหว่างกระจก อาจมี 1 - 2 ช่อง โดยช่องว่างนี้เกิดจากการนําวัสดุคั่นกลาง ระหว่างกระจกตามขอบกระจกโดยรอบ บริเวณกลางกระจกจึงสามารถมองทะลุได้เหมือนกระจกทั่วไป วัตถุประสงค์หลัก ของกระจกอินซูเลท คือ การลดการถ่ายเทความร้อนระหว่างภายในและภายนอกอาคาร
กระจก (Glass) ช่องว่างอากาศ (Air Space) อลูมิเนียมเจาะรู (Spacer) สารดูดความชื้น (Desiccant) ซิลิโคน ซีล (Seal) ชื่อ : Insulated Glass ที่มา :https://www.guardianglass.com/commercial/ToolsandResources/Resources/ GlossaryandTerms/InsulatingGlass/index.htm
58.4 32.4
51.7
12.7 28.9 22.2 16.4
26
ชื่อ : กระจกโฟลตสีตัดแสง เอจีซี กระจก OCEAN GREEN 5 MM (5-12-5) ที่มา : file:///C:/Users/Admin/Downloads/Energy%20Green.pdf
ชื่อ : การเปรียบเทียบกระจกโฟลตสีตัดแสง เอจีซี กระจก OCEAN GREEN 5 MM (5-12-5) ที่มา : https://www.agc-flatglass.co.th/product/
27
ข้อมูลอ้างอิง ชื่อ : โครงเคร่าวกัลวาไนซ์ ที่มา : https://www.onestockhome.com/th/categories/bricks/sub_categories/clay-bricks-a5a26765-63f1468f-87ab-d76e4beb9aed/product_types/ayudhaya-clay-brick ชื่อ : ก่อผนังอิฐมอญครึ่งแผ่น ที่มา : https://www.sanook.com/home/873/ ชื่อ : งานฉาบปูนเรียบ ที่มา : https://www.sanook.com/home/873/ ชื่อ : อิฐมอญ ที่มา https://www.khonour.co.th/%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B 9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9Bprecast%E0%B9%80%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%81/ ชื่อ : ฉนวนใยแก้ว SCG ตราช้าง ที่มา : http://xn--12cajs4fabb5ect4bce6gscu2xib9in.blogspot.com/2016/03/ub.html ชื่อ : ฉนวนใยแก้ว ที่มา : https://www.topinsulation.com/sfg.htm ชื่อ : โครงเคร่าวลวาไนซ์ ที่มา : https://www.onestockhome.com/th/categories/bricks/sub_categories/clay-bricks-a5a26765-63f1468f-87ab-d76e4beb9aed/product_types/ayudhaya-clay-brick ชื่อ : โครงเคร่าวลวาไนซ์ ที่มา : https://www.onestockhome.com/th/cement-board/smartboard ชื่อ : Insulating Glass SOLARTAG SG 110 6 mm (6-12-6) กระจกสะท้อนแสง โซล่าร์แทค ซีเล็คทีฟ เกรย์ ที่มา : https://www.agc-flatglass.co.th/product/ ชื่อ : Insulated Glass ที่มา :https://www.guardianglass.com/commercial/ToolsandResources/Resources/ GlossaryandTerms/InsulatingGlass/index.htm
28