BAACMAG Issue August Vol.492

Page 1

สิงหาคม ๒๕๖๐ ฉบับที่ ๔๙๒ ปีที่ ๔๑

จุลสาร ธ.ก.ส. | 1


2 | จุลสาร ธ.ก.ส.


Editor’s Talk | บทบรรณาธิการ

กองบรรณาธิการ ที่ปรึกษา

สุรพงศ์ นิลพันธุ์

บรรณาธิการ พีระพงศ์ คำ�ชื่น

ผู้ช่วยบรรณาธิการ นพวันต์ พานิชยิ่ง สายใจ ภูริฉาย พรพรหม เหล่ากิจไพศาล

หัวหน้ากองบรรณาธิการ ทฤษฎี ประกอบชาติ

กองบรรณาธิการ นัฐพงศ์ เสือดี บุษบาบัณ วิทโยภาส วิภานันท์ นันทวงศ์

วันแม่แห่งชาติปี 2560 นี้ตรงกับวันเสาร์ 12 สิงหาคม 2560 และเป็นวัน มหามงคลยิง่ เนือ่ งจาก สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 9 ทรงมีพระชนมายุครบ 85 พรรษา และนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างยิ่ง ทีว่ นั แม่แห่งชาติ ตัง้ แต่ปี 2552 เป็นต้นมา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ได้ โปรดเกล้าฯ พระราชทานค�ำขวัญวันแม่แห่งชาติแก่สภาสังคมสงเคราะห์ แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อจะน�ำไปเผยแพร่เทิดพระคุณแม่ ทั่วประเทศ และในปีนี้พระองค์ได้พระราชทาน “ค�ำขวัญวันแม่ ประจ�ำปี 2560 ว่า “สอนให้ลกู เรียนรู้ สูป้ ญ ั หา พัฒนาด้วยตนจนเติบใหญ่ เพราะคนแกร่ง จะก้าวได้ยาวไกล เพื่อมาเป็นก�ำลังไทยให้แข็งแรง” ในช่วงต้นเดือนสิงหาคมทีผ่ า่ นมา ชาวไทยทัง้ ประเทศก็ตอ้ งส่งแรงใจ และ ระดมสรรพก�ำลังเพือ่ ช่วยเหลือพีน่ อ้ งประชาชนชาวอีสาน ทีป่ ระสบอุทกภัยจากพายุ ดีเปรสชัน่ เซินกา ทีถ่ ล่มหลายจังหวัดภาคอีสานให้จมความทุกข์ดว้ ยระดับน�ำ้ ทีท่ ว่ ม สูงขึ้นอย่างฉับพลันจนประชาชนไม่อาจตั้งตัวได้ทัน ธ.ก.ส.ในพื้นที่เอง ก็ ได้รับผล กระทบทรัพย์สนิ และส�ำนักงานจมน�ำ้ ไปด้วยเช่นกัน จุลสาร ธ.ก.ส. ก็ขอเป็นก�ำลังใจ ให้กับผู้ประสบภัยทุกท่านและขอชื่นชมกับจิตอาสาช่วยเหลือน�้ำท่วมที่เสียสละ ก�ำลังกาย ลงพื้นที่ออกดูแล และส�ำรวจความเสียหายให้แก่บ้านเรือนสวนไร่นา ของเกษตรกร ซึ่งทางทีมงานก็ ได้รวบรวมภาพการช่วยเหลือต่างๆ จากเหตุการณ์ น�้ำท่วมในครั้งนี้มาบันทึกไว้เป็นอีกหน้าประวัติศาสตร์ของ ธ.ก.ส. ครับ และฝากทิง้ ท้ายถึงเพือ่ นพนักงานทุกท่านด้วยครับว่าเดือนสิงหาคมนี้ ธ.ก.ส. เป็นเจ้าภาพจัดงานตลาดคลองผดุงกรุงเกษม บริเวณข้างท�ำเนียบรัฐบาล โดยให้ ลูกค้า SMAEs ของเราน�ำสินค้ามาจ�ำหน่าย ขอเชิญชวนเพือ่ นพนักงานพาครอบครัว มา ชม ช้อป ชิม กันนะครับ

บรรณาธิการ | พีระพงศ์ คำ�ชื่น

หัวหน้าทีมช่างภาพ วงศ์วุฒิ วิทยเดช

ถ่ายภาพ

ประพจน์ รอดคำ�ทุย วรุตม์ รินทร์พรหม ธนิต ใจดี อิทธิเทพ พูลนวล

ฝ่ายศิลป์/วาดภาพประกอบ จามีกร เตมียะชาติ สิโนรส สมิทธิคุณานนท์

ออกแบบจัดหน้า จามีกร เตมียะชาติ

จัดทำ�โดย

สำ�นักสื่อสารการตลาดและประชาสัมพันธ์ ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร 2346 ถ.พหลโยธิน แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กทม. 10900

ภาพปกโดย

นายจักรกฤษณ์ ไชยพิเดช

จุลสารจุลสาร ธ.ก.ส.ธ.ก.ส. |1 |1


Contents | สารบัญ

CONTENTS 12 ฉบับสิงหาคม 2560 01 03 06 12 18

Editor’s Talk

มุ่งมั่น กล้าคิด กล้าทำ� ในสิ่งที่ถูก

บทบรรณาธิการ

Hilight Social Network Infocus เรื่องเล่าจากฝนที่เมืองตาก

New Gen

20 22 28 32 34 36 37 40 44 46

เขียนด้วยแสง Green Trip

Read & Learn เพื่อชีวิตดีมีสุข

46 48

BAAC LIBRARY

40

18

เดินตามหาน้ำ�ตกรูปหัวใจ นาม เปรโต๊ะลอซู

เศรษฐกิจพอเพียง ตอนที่ 126 Scoop โรงสีข้าวที่สร้างจากเงินทุนของชาวนา

SMAEs Today

“สวรรค์ของนกน้ำ� ตระการตาทุ่งดอกบัว

We Love Customer กระเป๋าเงินของคนยุคดิจิตอล

Scoop

น้ำ�ใจเล็กๆ กลางมวลน้ำ�ใหญ่

ทายาทเกษตรกรมืออาชีพ Plant Love วิธีปลูกรัก ของ เสาวลักษณ์ วิเชียสรรค์

PR Fanclub

ธ.ก.ส. เปิดตลาดของดี SMEs เกษตรไทย

BAAC LIBRARY

28

หนังสือดี...สร้างสรรค์ชีวีเป็นสุข

BAAC ‘s IDOL

108 ปี ชาตกาล จ.ส. ตอน กองทุนมูลนิธิ อาจารย์ จำ�เนียร สาระนาค

2 | จุลสาร ธ.ก.ส.

37


Hilight | ทีมข่าว สปส. เรื่อง

ผู้จัดการ ธ.ก.ส. น�ำทีมทริสตรวจประเมิน ณ ชุมชนบ้านศาลาดิน นายอภิรมย์ สุขประสริฐ ผจก.ธกส. พร้อมคณะผู้บริหาร ทีมงานจาก ฝตต.และ สนจ. นครปฐม น�ำนายไวฑูรย์ โภคาชัยพัฒน์ กรรมการ

ผู้จัดการ บริษัท ทริสคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด และคณะ ในฐานะผู้ตรวจประเมิน เพื่อคัดเลือกผลงาน เข้ารับรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น เข้าเยี่ยมชมงาน (Site Visit) ณ ชุมชนบ้านศาลาดิน อ.พุทธมณฑล จ. นครปฐม โดยมีนายวันชัย สวัสดิ์แดง ผู้น�ำชุมชนให้การต้อนรับและบรรยายถึงกิจกรรมต่างๆ ภายในชุมชน ทั้งนี้ ชุมชนบ้านศาลาดิน เป็นชุมชนเข้มแข็ง ที่มีการดึงศักยภาพทั้งทางด้านทรัพยากรในพื้นที่ การท�ำการเกษตรแบบอินทรีย์ การพัฒนา สินค้า SMAEs วิถีชีวิตและวัฒนธรรม ท้องถิ่น มาเป็นจุดขายในรูปแบบการท่องเที่ยววิถีไทย จนสามารถสร้างงาน สร้างรายได้ที่มั่นคงให้กับคนใน ชุมชน เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2560

ธ.ก.ส. เปิดตัวสลากออมทรัพย์ทวีสิน ชุด “เกษตรมั่นคง”

นายอภิรมย์ สุขประเสริฐ ผู้จัดการ ธ.ก.ส. พร้อมด้วยกรรมการและผู้บริหารธนาคาร ร่วมงานเปิดตัวสลากออมทรัพย์ทวีสิน ชุด “เกษตร มั่นคง” หน่วยละ 500 บาท จ�ำนวน 70 ล้านหน่วย วงเงิน 35,000 ล้านบาท เพื่อทดแทน สลากออมทรัพย์ทวีสินชุดเดิมที่ครบก�ำหนด โดยจะน�ำ เ งิ น ไ ป เ ป ็ น ทุ น ห มุ น เ วี ย น ส นั บ ส นุ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร เ พื่ อ ส ร ้ า ง ร า ย ไ ด ้ ส ร ้ า ง ค ว า ม เ ข ้ ม แ ข็ ง ใ ห ้ แ ก ่ ภาคชนบทและเกษตรกรทัว่ ประเทศ ทัง้ นี้ สลากออมทรัพย์ทวีสนิ ชุด “เกษตรมัน่ คง” จะเริม่ เปิดรับฝากตัง้ แต่วนั ที่ 17 กรกฎาคม 2560 เป็นต้นไป ณ ห้องโถงชั้น 2 ธ.ก.ส. ส�ำนักงานใหญ่ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2560 จุลสาร ธ.ก.ส. | 3


Hilight | ทีมข่าว สปส. เรื่อง

สมาชิก APRACA เนปาล ดูงาน ธ.ก.ส.

นายนิพัฒน์ เกื้อสกุล ผู้ช่วยผู้จัดการ ให้การต้อนรับสมาคมสินเชื่อเพื่อการเกษตรและชนบทแห่งภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific Rural and Agricultural Credit Association : APRACA) ซึ่งได้น�ำคณะสมาชิกรัฐสภาจากสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล รวมทั้งสิ้น 18 ท่าน เข้าเยีย่ มคารวะ พร้อมรับฟังการบรรยายเกีย่ วกับการด�ำเนินงานของ ธ.ก.ส. และการพัฒนาสหกรณ์ของประเทศไทย เมือ่ วันที่ 7 กรกฎาคม 2560 ณ ห้องประชุมชั้น 23 ธ.ก.ส. ส�ำนักงานใหญ่ อาคารบางเขน

ธ.ก.ส. ร่วมรับรางวัลในงาน MONEY & BANKING AWARDS 2017

นายสมศักดิ์ กังธีระวัฒน์ รองผูจ้ ดั การ เป็นตัวแทนธนาคารร่วมรับรางวัลในงาน MONEY & BANKING AWARDS 2017 โดยมี ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานมอบรางวัล ซึ่งธนาคารได้รับรางวัล บูธสวยงามยอดเยี่ยม ประเภทพื้นที่ขนาด 300 - 500 ตาราง เมตร” ซึ่งคณะกรรมการตัดสินให้ความเห็นว่า ธนาคารออกแบบพลิกโฉมจากภาพลักษณ์เดิม โดยมีความทันสมัยและร่วมสมัยดูเป็นธนาคารเพื่อ การเกษตรยุคใหม่มากขึ้นและมีกลิ่นอายของผลิตภัณฑ์และบริการด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น โซนโชว์นวัตกรรมทางการเงิน โซนน�ำเสนอ เทคโนโลยี ในการช่วยเหลือเกษตรกรที่เป็น SME และมีฟังก์ชั่นการใช้สอยบริหารจัดการพื้นที่ได้ดี เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2560 ณ ห้อง Athenee Crystal Hall โรงแรมพลาซ่า แอทธินี รอยัล เมอริเดียน กรุงเทพ 4 | จุลสาร ธ.ก.ส.


Hilight | ทีมข่าว สปส. เรื่อง

ธ.ก.ส. ร่วมงาน Startup Thailand 2017

ดร.อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นประธานเปิดงาน “Startup Thailand 2017” ภายใต้ แนวคิด “Startup Thailand, Scale up Asia” โดยมี นายประเดิมชัย จันทน์เสนะ ผู้ช่วยผู้จัดการ ธ.ก.ส. ให้การต้อนรับและเข้าร่วมงาน เพื่อส่ง เสริมการเติบโตของสตาร์ทอัพในประเทศไทยให้มคี วามต่อเนือ่ ง โดยมุง่ เป้าไปยังการกระตุน้ ให้เกิดการ “Scale Up” หรือการขยายขนาดธุรกิจออก ไปสู่ระดับภูมิภาคและระดับสากล รวมถึงเป็นการแสดงความพร้อมของประเทศไทยในการก้าวเข้าสู่การเป็นประเทศเศรษฐกิจฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เป็นตัวกลางเชื่อมโยงความร่วมมือของสตาร์ทอัพทั้งหลายในภูมิภาคเอเชียต่อไป เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2560 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

ธ.ก.ส. ร่วมงาน “SMART SME EXPO 2017”

ดร.อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นประธานเปิดงาน “ SMART SME EXPO 2017” รวมโอกาสสู่ความ ส�ำเร็จ SMEs 4.0 โดยมี นายประเดิมชัย จันทน์เสนะ ผู้ช่วยผู้จัดการ ธ.ก.ส. พร้อมด้วยพันธมิตรจากภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน และสถาบันการเงิน เข้าร่วมงาน ณ Hall 3-4 เมืองทองธานี เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2560 ภายในงาน ธ.ก.ส. ได้ร่วมจัดแสดงนิทรรศการ SMAE SMILE พร้อมน�ำเกษตรกรลูกค้าเข้าร่วมจ�ำหน่ายสินค้าและน�ำเสนอนวัตกรรม ทางการเกษตร อาทิ วีระษา ภาชนะใส่อาหารจากกาบหมาก TMEC ฟาร์มอัจฉริยะ coco fresh ไร่กาแฟจ่านรินทร์ เขาค้อ วิสาหกิจชุมชนกลุ่ม อาชีพผลไม้สด เลม่อนมี เป็นต้น จุลสาร ธ.ก.ส. | 5


Hilight | ทีมข่าว สปส. เรื่อง

1

1.ร่วมเป็นเจ้าภาพสวดพระอภิธรรม นายประพันธ์ บุญวิวฒ ั นานันท์ ผอจ. ลพบุรีนายปรีชา พวงน้อยปภา ผอจ. ชัยนาท แ ล ะ ส า ข า ใ น สั ง กั ด ร ่ ว ม กั บ ส น จ . พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เป็ น เจ้ า ภาพสวดพระ อภิธรรม นายประพันธ์ บุญวิวัฒนานันท์ ผอจ. ลพบุรี เมื่อวันที่ 5 ก ค 2560 ณ วัดนิคม สามัคคีชัย อ เมืองฯ จ ลพบุรี 2.ลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์สลากชุดใหม่ สาขาเชี ย งม่ ว น สนจ.พะเยาจั ด กิจกรรมเดินตลาด บริเวณตลาดในเขตเทศบาล เชียงม่วน เพือ่ ประชาสัมพันธ์สลากออมทรัพย์ ทวี สิ น เงิ น ฝากออมทรั พ ย์ ท วี โ ชคและ ผลิตภัณฑ์ธนาคารอื่นๆ เมื่อวันที่ 5 ก.ค.2560

2

3.สระแก้วเยียมดูงานชัยนาท นายปรี ช า พวงน้ อ ยปภา ผอจ. ชัยนาท ให้การต้อนรับ คณะผู้บริหารและ พนักงานจาก สนจ.สระแก้ว และคณะ เนือ่ งใน โอกาส มาทัศนศึกษาดูงานเกีย่ วกับ “การสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดีให้กับองค์กร“เมื่อวันที่ 6 ก ค 2560 ณ สนจ. ชัยนาท 4.มอบรางวัลทวีโชคระดับสาขา น.ส.ประภารัตน์ แซ่ตั้ง ผจข.บ้านพรุ ในสังกัด สนจ.สงขลา มอบสร้อยคอทองค�ำหนัก 1 สลึง ให้แก่ผู้ โชคดีจากการจับรางวัลเงินฝากทวีโชค ระดับสาขา เมือ่ วันที่ 6 ก.ค. 60 ณ ธ.ก.ส.สาขา บ้านพรุ

3

5.ซ้อมอพยพหนี ไฟ พนักงานในสังกัด สนจ.สงขลา เข้า ร่ ว มฝึ ก ซ้ อ มอพยพหนี ไ ฟ ณ สนจ.สงขลา อาคารกรุ ง เทพประกั น ชี วิ ต อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เมื่อวันที่ 6 ก.ค. 2560

4

6.ตลาดประชารัฐทุกวันศุกร์ นายปรี ช า พวงน้ อ ยปภา ผอจ. ชัยนาท จัดกิจกรรมตลาดประชารัฐเพื่อชุมชน บริเวณหน้า สนจ.ชัยนาททุกเช้าวันศุกร์ เพื่อ ร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลอย่าง ยั่งยืน จ�ำหน่ายสินค้าทางการเกษตร ของกิน ของใช้ เนื้อสุกร (ไร้สาร) รวมถึงสินค้าหลาก หลายชนิด มีให้เลือกซือ้ หา อีกเป็นจ�ำนวนมาก

5 6 | จุลสาร ธ.ก.ส.

6


Social Network | ทีมข่าว สปส. เรื่อง

7.ธ.ก.ส.อุบลราชธานี ร่วมงานแห่เทียนเข้า พรรษา จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560 ส น จ . อุ บ ล ร า ช ธ า นี จั ด ข บ ว น เฉลิมพระเกียรติ กษัตริย์ เกษตร (King Of Agriculture) เศรษฐกิจพอเพียง เคียงข้าง ปวง ชนชาวไทย 70 ปี บนเส้นทางแห่งความยั่งยืน ร่ ว มขบวนแห่ เ ที ย นเข้ า พรรษา จั ง หวั ด อุบลราชธานี ปี 2560

7

8.รายการเช้านี้ที่อิสาน น.ส.สุวมิ ล อรอินทร์ ผอจ.อุบลราชธานี ให้ สั ม ภาษณ์ โ ครงการประกั น ภั ย ข้ า วนาปี ปี 2560 ในรายการเช้านี้ที่อิสานใต้ ทางสถานี วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ แ ห่ ง ประเทศไทย จั ง หวั ด อุบลราชธานี เมื่อวันที่ 11 ก.ค. 2560 9.สถานีความคิด นายสุพฒ ั น์ เอีย้ วฉาย ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ ธ.ก.ส. ร่วมสนทนากับคุณสวินยา นุ่นพันธ์ ในรายการสถานีความคิด ในประเด็น การ ด�ำเนินงานโครงการประกันภัยข้าวนาปี ในวันที่ 12 กรกฎาคม 2560 ทางช่อง 11 NBT

89

10

11

10.การพั ฒ นาผู ้ ป ระกอบการเกษตรใหม่ (Emerging SMEs) นายมรกต พิธรัตน์ รองผูจ้ ดั การใหญ่ ธกส เป็นประธานเปิดการอบรม หลักสูตร “การ พัฒนาผู้ประกอบการเกษตรใหม่ (Emerging SMEs)“ รุ่นที่ 2 ให้แก่ผู้เข้ารับการอบรม ประกอบด้วย พนักงานพัฒนาลูกค้า ประจ�ำ สนจ ฝสข ฝพช ศบพ ฯ ทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 12 ก.ค. 2560 ณ รร ทีเค พาเลซ คอนเวนชั่น เขตหลักสี่ กทม 11.ประชุมสัมมนาการขับเคลื่อนภารกิจสูค่ วาม ส�ำเร็จในรูปแบบโครงการ Project Based นายมรกต พิธรัตน์ ผู้ช่วยผู้จัดการ ธ.ก.ส. เป็นประธานการประชุมสัมมนาการขับ เคลือ่ นภารกิจสูค่ วามส�ำเร็จในรูปแบบโครงการ Project Based ภายใต้การจัดการห่วงโซ่สนิ ค้า เกษตรเชิงบูรณากาเมื่อวันที่ 13 ก.ค. 2560 ณ โรงแรมคุ้มภูค�ำ จ.เชียงใหม่

12

12.ประชุมรวมผู้บริหาร นายพิ ท ยา นาผล ผอจ.สกลนคร พร้อมกับผูบ้ ริหารสาขาในสังกัด สนจ.สกลนคร จัดประชุมผูบ้ ริหารในสังกัด สนจ.สกลนครนอก สถานที่ ตามนโยบายของธนาคาร และดู งานการจัดท�ำ Machinery Pool และโครงการ โคคุณภาพสกลนคร พร้อมแปลงเกษตรผสม ผสานในรูปแบบทฤฎีใหม่ตามรอยพ่อ เมื่อวันที่ 12 ก.ค. 2560 จุลสาร ธ.ก.ส. | 7


Social Network | ทีมข่าว สปส. เรื่อง

13.ทีมรักษ์ยิ้ม สนจ.สุ ร าษฎร์ ธ านี ให้ ค� ำ แนะน� ำ เรื่องการออมเงินกับประชาชนนายธานินทร์ เจริญแก้ว ผู้จัดการสาขาพุนพิน พร้อมทีม รักษ์ยมิ้ สนจ.สุราษฎร์ธานี จัดทีมเดินตลาดเพือ่ ประชาสัมพันธ์แนะน�ำผลิตภัณฑ์ “สลากทวีสิน ชุดเกษตรมัน่ คง” ให้กบั พ่อค้าแม่คา้ ประชาชน หน่วยราชการเพือ่ ส่งเสริมให้ประชาชนออมเงิน 14.ลุย เรียนรู้ เพื่อเกษตรกร นายจ�ำลอง ไพสิฐวรกุล ผอจ.สระแก้ว ร่วมกิจกรรมงานวันรณรงค์ถา่ ยทอดเทคโนโลยี การผลิ ต ข้ า วนาแปลงใหญ่ ของศู น ย์ เ มล็ ด พันธุ์ข้าว ชลบุรี ณ บ้านจิก ต.วัฒนานคร อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว 15.ประชุมคณะท�ำงานเครือข่ายพนักงานเพื่อ สนับสนุนธนาคารและเพื่อสื่อสารงานในพื้นที่ นายวิ รั ช วาณิ ช ธนากุ ล ผู ้ ช ่ ว ย ผู้จัดการ เป็นประธานเปิดการประชุมคณะ ท�ำงานเครือข่ายพนักงานเพือ่ สนับสนุนธนาคาร และเพือ่ สือ่ สารงานในพืน้ ที่ ครัง้ ที่ 1/2560 เมือ่ วันที่ 13 ก.ค. 2560 16.สนจ.ตรัง ติวเข้ม หลักสูตรสินเชื่อสถาบัน และการวิเคราะห์สินเชื่อรายใหญ่ นายชาญยุทธ กาญจนพรหม ผช.ผอจ. ตรัง เป็นประธานเปิดการอบรมหลักสูตรสินเชือ่ สถาบั น และการวิ เ คราะห์ สิ น เชื่ อ รายใหญ่ (เบื้ อ งต้ น ) เพื่ อ ให้ ค วามรู ้ แ ก่ พ นั ก งาน ที่โรงแรมธรรมรินทร์ธนา ต.ทับเที่ยง อ.เมือง จ.ตรัง

13 15 14 16

17.ชี้แจงโครงการประกันภัยข้าวนาปี นายสมบูรณ์ ดาศรี ผอ.ฝนร.ชี้แจง โครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต2560 ณ ศาลาเอนกประสงค์บ้านกุดไผ่ ต.ตลาดแร้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ พร้อมคณะสือ่ มวลชนจาก ส่วนกลาง เมื่อวันที่ 14 ก.ค. 2560 18.เชิญชวนซื้อสลากออมทรัพย์ทวีสิน นายสุเทพ ดอนปัญญา ผช.ผอจ. ชัยนาท นางนันทนา จิระศรีไพฑูรย์ ผู้จัดการ สาขาสรรคบุรี พร้อมทีมงาน ธกส จ ชัยนาท และสาขาสรรคบุ รี ออกเดิ น ตลาด ในเขต เทศบาลต�ำบลสรรคบุรี เพื่อเชิญชวนซื้อสลาก ออมทรัพย์ทวีสนิ ชุด เกษตรมัน่ คง เมือ่ วันที่ 15 ก.ค. 2560 8 | จุลสาร ธ.ก.ส.

18 17


19

20

22

19.อบรมโครงการหลักสูตรเทคนิคการบริการ ด้วยใจ นายศรายุทธ ยิม้ ยวน ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ เปิดการอบรมโครงการหลักสูตรเทคนิคการ บริการด้วยใจ แก่เจ้าหน้าที่ในสังกัด สนจ.ล�ำปา เมือ่ วันที่ 15 ก.ค. 2560 ณ โรงแรมล�ำปางเวียง ทอง อ.เมือง จ.ล�ำปาง 20.ธ.ก.ส.เพชรบูรณ์ จัดอบรมพัฒนาบุคลากร ด้านประชาสัมพันธ์ นายยุ ท ธนา เฮี๊ ย ะหลง ผอจ. เพชรบูรณ์ มอบหมายให้นายเทียนชัย กาแก้ว ผู้จัดการ ธ.ก.ส.นาเฉลียง เป็นประธานเปิด โครงการอบรมนักสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่มี ประสิทธิภาพ เมื่อวันที่ 15 ก.ค. 2560 ที่ห้อง ประชุมสถานีวทิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดเพชรบูรณ์ 21.จัดให้ตามความต้องการของลูกค้า นายภูมิ เกลียวศิรกิ ลุ ผอจ.นครสวรรค์ จัดหารางวัลที่ 1 เงินฝากออมทรัพย์ทวีโชค นครสวรรค์ เป็น รถเบนซ์ เพือ่ ให้ลกู ค้าเงินฝาก จับรางวัล วันที่ 24 ก.ค. 2560 22.ประชุมซักซ้อม นายเฉลิ ม ชั ย ชาตะรั ต น์ ผอจ. กาญจนบุรี ซักซ้อมเรือ่ ง ธ.ก.ส A-Mobile และ financial digital literacy เพื่อเผยแพร่ความรู้ ทางการเงิน เมือ่ วันที่ 17 ก.ค.2560 ณ ห้องพอ เพียง โรงแรมพิลูส จ.กาญจนบุรี

21

23.สาขาน่านเปิดรับฝากสลากออมทรัพย์ทวี สินชุด “เกษตรมั่นคง” สาขาน่านเปิดรับฝากสลากออมทรัพย์ ทวีสินชุด “เกษตรมั่นคง” พิเศษฝาก 1 ล้าน บาทขึ้นไป รับผ้ายันต์รวยอมตะ และพระแม่ โพสพชุดรวยอมตะ ...เพื่อเป็นศิริมงคลแห่ง ชีวิตทันที 1 ชุด

23

24

24.สนจ.ตาก ประชุมคณะท�ำงานกลั่นกรอง ข้อมูลและประสานงานการตรวจสอบข้อมูลหนี้ สินเกษตรกร ระดับจังหวัด นายธานินทร์ พิทกั อรรณพ ผอจ.ตาก เข้าร่วมประชุมคณะท�ำงานกลั่นกรองข้อมูล และประสานงานการตรวจสอบข้อมูลหนี้สิน เกษตรกร เพื่ อ รั บ ทราบค� ำ สั่ ง แต่ ง ตั้ ง คณะ อนุกรรมการตรวจสอบหนี้สินเกษตรกรระดับ จังหวัด เมือ่ วันที่ 17 ก.ค. 2560 ณ ห้องประชุม ธกส. สาขาตาก จุลสาร ธ.ก.ส. | 9


Social Network | ทีมข่าว สปส. เรื่อง

25.สนจ.ชัยนาท ร่วมกิจกรรมกับหน่วยแพทย์ อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หน่วยแพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนคริน ทราบรมราชชนนี (พอสว) และ โครงการหน่วย บ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุข ฯ จังหวัดชัยนาท ออกให้ บริการประชาชน ณ โรงเรียนห้วยกรดวิทยา ต.ห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ ชัยนาท โดยมี ธ.ก.ส. และหัวหน้าส่วนราชการ มาให้บริการประชาชน อย่างพร้อมเพรียงกัน

25

26.ระบายผลผลิตเกษตรกรชาวสวนผลไม้ ดร.สมชาย พงษ์มานุรักษ์ ผช.ผอจ. สงขลา และสาขาในสังกัด สนจ.สงขลา ร่วมกับ สกต.สงขลา จ�ำหน่ายผลไม้ จ�ำนวน 2 ตัน เพื่อ ช่วยเหลือการตลาดระบายผลผลิตเกษตรกร ชาวสวนผลไม้ เมื่อวันที่ 17 ก.ค. 2560 27.เดิ น ตลาดประชาสั ม พั น ธ์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ธนาคาร น.ส.ประภารัตน์ แซ่ตั้ง ผจข.บ้านพรุ ในสังกัด สนจ.สงขลา น�ำทีมพนักงาน เดิน ตลาดประชาสั ม พั น ธ์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ธ นาคาร ณ ชุมชนรอบวัดเทพชุมนุม เมื่อวันที่ 18 ก.ค. 2560 28.พิ ธี ว างพวงมาลาเนื่อ งในวั น คล้ า ยวั น ส ว ร ร ค ต ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ศ รี น ค ริ น ท ร า บรมราชชนนี ผจข.สาขาสมุทรสาครร่วมพิธีวางพวงมาลา เนือ่ งในวันคล้ายวันสวรรคต สมเด็จพระศรีนคริ นทราบรมราชชนนี วันที่ 18 ก.ค. 2560 ณ โรงเรี ย นเฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ ลฯ อ.เมื อ ง จ.สมุทรสาคร 29.จั บ รางวั ล เงิ น ฝากออมทรั พ ย์ ท วี โ ชค สนจ.อุทัยธานี และสาขาในสังกัด จั ด งานจั บ รางวั ล เงิ น ฝากออมทรั พ ย์ ท วี โ ชค ครั้ ง ที่ 1/2560 และพิ ธี เ ปิ ด อาคารสาขา สว่ า งอารมณ์ โดยได้ รั บ เกี ย รติ จ ากผู ้ ช ่ ว ย ผู้จัดการ ศรายุทธ ยิ้มยวน ร่วมงานเป็นสักขี พยานในการมอบโชคทองค�ำหนัก 30 บาท เมือ่ วันที่ 18 ก.ค. 2560 30.ประชุมหัวหน้ากลุ่มลูกค้า ธ.ก.ส.สาขาล�ำ ไพล ดร.สมชาย พงษ์มานุรักษ์ ผช.ผอจ. สงขลา เป็นประธานการประชุมหัวหน้ากลุ่ม ลูกค้า ธ.ก.ส. สาขาล�ำไพล ในสังกัด สนจ. สงขลา ประจ�ำปี 2560 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ การเกษตรนิคมเทพา จ�ำกัด เมื่อวันที่ 18 ก.ค. 2560 10 | จุลสาร ธ.ก.ส.

26

28

27

29

30


31

32

33

31.โครงการส่งเสริมแปลงเรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียงในชุมชน สนจ.นราธิวาส ร่วมงานโครงการส่ง เสริมแปลงเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน โดยชีแ้ จงงานธนาคารทีเ่ กีย่ วข้อง ณ ศูนย์เรียน รู้ไม้ผล(ลองกอง) ลุงผิน วงษ์น้อย บ้านตอหลัง หมู่ 3 ต.ตันหยงลิมอ อ.ระแงะ จ.นราธิวาส เมือ่ วันที่ 18 ก.ค.2560 32.จังหวัดเคลื่อนที่ของสกลนคร สาขาอากาศอ� ำ นวย จ.สกลนคร ลงพื้ น ที่ จั ด งานออกบู ธ ร่ ว มประชาสั ม พั น ธ์ สลากทวีสิน ชุดเกษตรมั่นคง และมอบให้กับ ลู ก ค้ า ที่ รั บ ฝากในงาน..และเงิ น ฝากทวี โ ชค ผลิตภัณฑ์ตา่ งๆของ ธ.ก.ส. พร้อมกับมอบน�ำ้ ให้ กับส่วนงานต่างๆ เมื่อวันที่ 18 ก.ค. 2560 33.โครงการอบรม หลักสูตร “การบริหารหนี้ อย่างเป็นระบบ” สนจ.หนองบัวล�ำภู จัดโครงการอบรม หลักสูตร “การบริหารหนี้อย่างเป็นระบบ” ให้ กับพนักงานพัฒนาธุรกิจ 4-7 ในสังกัด สนจ. หนองบัวล�ำภู เพื่อให้พนักงานทราบแนวทาง และวิ ธี ก ารแก้ ไ ขปั ญ หาหนี้ ค ้ า งช� ำ ระของ ธนาคาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 34.ซักซ้อมแนวทางปฏิบัติงานสู่เป้าหมาย นายธีรพงษ์ มารารัมย์ ผูจ้ ดั การสาขา พนมสารคามน�ำทีมพนักงานจัดสัมมนาซักซ้อม แนวทางปฏิบัติงานสู่เป้าหมาย ประจ�ำปีบัญชี 2560 เมื่อวันที่ 15-16 กรกฎาคม 2560 ณ Meet The Sea Resort อ.คลองใหญ่ จ.ตราด

35 34

36

35.สาขาน�้ำ พอง มอบถุงยั งชีพ ช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยต�ำบลม่วงหวาน นางจงกลรัตน์ การรื่นศรี ผู้จัดการ สาขาน�้ำพอง พร้อมด้วยทีมงาน มอบถุงยังชีพ เพือ่ ให้การช่วยเหลือผุป้ ระสบภัยธรรมชาติและ ภัยพิบตั ใิ นพืน้ ที ่ ต�ำบลม่วงหวาน อ�ำเภอน�ำ้ พอง จังหวัดขอนแก่น ณ ที่ท�ำการองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลม่วงหวานเมื่อวันที่ 18 ก.ค. 2560 36ใเข้าพรรษาอนุรักษ์วิถี ไทยพื้นถิ่น นางสุจนิ ต์ ศรีเมธากุล ผูจ้ ดั การสาขา บางแพ และพนักงานในสังกัดเข้าร่วมกิจกรรม จัดงานโครงการเทศกาลเข้าพรรษาอนุรักษ์วิถี ไทยพื้นถิ่น (โพหัก) อ.บางแพ จ.ราชบุรี เมื่อ วันที่ 7 กรกฎาคม 2560 ณ วัดใหญ่โพหัก ต.โพหัก อ.บางแพ จ.ราชบุรี จุลสาร ธ.ก.ส. | 11


Infocus | ทีมข่าว สสป. เรื่อง / วรุตม์ รินทร์พรหม ภาพ

เรื่องเล่าจากฝน... ที่เมืองตาก

...ในวันทีท่ อ้ งฟ้ามีสายฝนพร�ำ่ ...ขณะก�ำลงั การเดินทางมีค�ำถามหนึง่ ที่ผุดขึ้นในหัวมาแบบรั่วๆ ว่า “พวกเราเคยเหนื่อยกันบ้างไหม?”... “เราก�ำลังท�ำอะไรอยู่?”...เมื่อมองออกไปยังจุดหมายปลายทางข้างหน้า สิ่งที่เราก�ำลังจะท�ำ ก็ดูจะเป็นเรื่องอะไรๆ ที่ซ�้ำๆ เดิมๆ ครั้งนี้ก็เช่นกัน ตัวอักษรสั้นๆ “SMAE” ที่ถูกบรรจุไว้ในแผนภารกิจขับเคลื่อนงาน ของธนาคาร ที่ต้องท�ำให้เรามาที่นี่ จริงๆ จะว่าก็ ไม่แน่ใจว่าอะไรท�ำให้ชุด ความคิดแบบนี้วิ่งเข้ามาในหัว ก็ ได้แต่โทษสภาพอากาศมืดๆ บรรยากาศ อึมครึ้มแบบนี้...

...จนกระทั่งทีมงานเราได้เดินทางมา ถึงพื้นที่ของจังหวัดตาก ที่ที่เกิดบทสนทนา มากมายจากภารกิจสิ่งที่เรียกว่า “งาน” ความ คิดฟุง้ ๆ ส่วนตัว ก็คอ่ ยๆ ถูกลืมจางหายไป เมือ่ ทีมงานได้มานั่งอยู่ภายในห้องของชายที่มีน�้ำ เสียงอันลุ่มลึกชัดเจนผู้นี้... นายธานินทร์ พิทักษ์อรรณพ ผอจ. ตาก ก็ ไม่รอช้าที่จะเริ่มต้นเล่าถึงแนวทางใน การท�ำงานเกี่ยวกับโครงการ SMAE ให้ฟังว่า 12 | จุลสาร ธ.ก.ส.

สนจ.ตาก จะมุ ่ ง เน้ น เรื่ อ งของกลุ ่ ม และตั ว เกษตรกรในพื้นที่ที่เป็นชุมชนเข้มแข็ง มีความ มั่นคงในเรื่องของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงเป็นพื้นฐานหลัก และพยายามให้ชุมชน ได้แสดงศักยภาพออกมาด้วยตนเอง “ส่ ว นของ ธ.ก.ส. เราจะมองใน ขบวนการ SAME ควบคู่ไปกับการสร้างมูลค่า เพิ่มของผลผลิตทางการเกษตร (VCF) โดย ต้องมองให้จบตั้งแต่แรกว่าเกษตรกรต้องการ

นายธานินทร์ พิทักษ์อรรณพ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดตาก ท�ำอะไร มีความช�ำนาญด้านไหน จากนั้นก็มา ช่วยกันดูในเรื่องการรวบรวมผลผลิต ก่อน จะส่ ง ต่ อ ไปสู ่ ก ระบวนการทางตลาดที่ มี ประสิทธิภาพ” “การติดตามในแต่ละกลุม่ หรือแต่ละ ราย ทั้ง SMAE กลุ่มและรายคน โดยเฉพาะ ทายาทรุ่นใหม่ที่เขาสามารถพาชุมชนไปสู่ภาค การตลาดดิจิตอล ส่วนกลุ่ม SMAE จริงๆ ที่ เป็นหัวขบวนมีก�ำลังการผลิตที่ชัดเจน แต่ยัง


ขาดจุดอ่อนในการรวมตัวและเรื่องของการ ตลาด การแข่งขันในเชิงธุรกิจ เราก็จะมีการ ต่อยอดและเข้าไปดูแล พัฒนาด้วยทีมพนักงาน พัฒนาลูกค้า ทีมงานบริหารสินเชื่ออย่างต่อ เนื่อง” “วันนี้ เรามั่นใจว่ามาถูกทางแล้ว จะ เห็ น ได้ จ ากตั ว อย่ า งรายคนที่ เ ป็ น ทายาท เกษตรกร คนรุน่ ใหม่ทมี่ หี วั คิดก้าวหน้าทีเ่ ข้ามา ท�ำการตลาดด้วยตัวเอง และมีการรวบรวม ผลผลิตในพืน้ ทีแ่ ปรรูปสมุนไพร ซึง่ เป็นรุน่ ใหม่ ทีจ่ ะสามารถต่อยอดเป็นต้นแบบได้ ทัง้ รูปแบบ รายคนและชุมชนอื่นๆ ได้เรียนรู้” “ส่วนชุมชนที่เป็น SAME ที่เริ่มต้น มาจากศูนย์คือ กลุ่มผู้เลี้ยงโคบ้านโป่งแดง ที่ มีการรวมตัวของกลุม่ วิสาหกิจช่วยเหลือกันจาก หลายๆ หมู่บ้าน ซึ่งเมื่อก่อนต่างคนต่างเลี้ยง ต่างขาย แต่สุดท้ายก็หนีไม่พ้นเรื่องการถูกกด ราคา เพราะไม่มีอ�ำนาจในการต่อรอง และยัง ขาดองค์ความรู้ ในเรื่องการจัดการหรือการ สร้างมูลค่าเพิ่ม การที่ ธ.ก.ส. ได้เข้าไปดูใน พืน้ ที่ เราพบว่าปัญหาไม่ได้เกิดจากตัวเกษตรกร แต่ เ กิ ด จากพื้ น ที่ ที่ มี ค วามแห้ ง แล้ ง และ ขาดแคลนอาหารเลี้ยงสัตว์ ในบางช่วงเวลา การร่วมกลุม่ ท�ำให้เกิดการแก้ไขปัญหาทีท่ กุ คน ช่วยกัน มีการจัดการน�้ำและการจัดการอาหาร สัตว์ที่สามารถท�ำให้เลี้ยงโคได้เนื้อที่มีคุณภาพ ซึ่งตรงนี้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนอย่างแท้จริง” เมือ่ ท�ำให้กลุม่ เกิดความเข้มแข็ง จาก นัน้ ก็นำ� องค์ความรูอ้ นื่ ๆ เข้าไปเสริม ให้รจู้ กั การ ลด ละ เลิก มีการลดค่าใช้จ่าย มีการเพิ่มราย ได้และขยายโอกาส และก็ต้องมีการสร้างกฎ กติกาภายในชุมชนและต่อเนือ่ งไปยังกลุม่ ของ ผู ้ เ ลี้ ย งโค เมื่ อ พื้ น ฐานแน่ น เราก็ ม าวาง

โรดแมพ ว่าจะเดินอย่างไร จากการพาไปศึกษา ดูงาน ท�ำให้เราต้องมาประเมินตัวเองว่ากลุ่ม เราจะวางแนวทางและผลิตภัณฑ์ไว้ ในระดับใด กลุ่มผู้เลี้ยงโคบ้านโป่งแดงที่ยังเพิ่งเริ่มต้น จึง พยายามสร้างฐานของตนเอง โดยการเลี้ยง และแปรรู ป สร้ า งเป็ น สิ น ค้ า จากชุ ม ชนของ ตนเองแบบครบวงจร ซึ่งก็เป็นเรื่องที่ ธ.ก.ส. จะต้องค่อยดูแลและพัฒนาให้กลุ่มก้าวไปข้าง หน้าให้ดียิ่งๆ ขึ้นไป ด้านนางรัชฎา ทิพทามูล ผจข. สาขา ตาก ในฐานะผู้น�ำโครงการ SMAE มาปฏิบัติ ในพืน้ ทีเ่ ล่าว่า แนวทางในการท�ำงานในฐานะที่ น�ำโครงการ SMAE มาปฏิบัติในพื้นที่ สาขาให้ ความส�ำคัญกับโครงการ SMAE เพื่อสร้าง ความยั่งยืนของภาคเกษตรไทย ได้มีการขับ เคลื่อนการท�ำงาน โดยจะมีการประชุมและ ประชาสัมพันธ์ ผ่านการประชุมหัวหน้าส่วน ราชการ ที่ประชุมก�ำนัน ผู้ ใหญ่บ้าน ประชุม กลุ่มลูกค้า เพื่อให้รับทราบถึง แนวทางการ ด�ำเนินงานของธนาคาร ในการสนับสนุนการ จ่ายสินเชื่อ SMAE “ประชุมซักซ้อมพนักงานเพื่อสร้าง ความเข้าใจที่ตรงกันในโครงการ พร้อมทั้งให้ พนัก งานเขตลงพื้ น ที่ เพื่ อค้ น หาและเยี่ ยม ลูกค้ากลุม่ เป้าหมาย ว่าลูกค้ากลุม่ เป้าหมายใด มี คุ ณ สมบั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์ ที่ จ ะเข้ า ร่ ว ม โครงการ ซึง่ ต้องมีศกั ยภาพ เพือ่ ให้การจ่ายสิน เชื่อมีคุณภาพและมีความยั่งยืนต่อไป” “ในปีที่ผ่านมาสาขาสามารถจ่ายสิน เชื่อ SMAE ตามนโยบาย 1 ต�ำบล 1 SME ได้ ครบทุกต�ำบล ส�ำหรับปีบัญชี 2560 เป็นปีที่จะ ต้องจ่ายสินเชื่อ SMAE แบบเชิงรุก โดยมีนโย บายจ่ายทั้งบุคคล กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และ

สหกรณ์ ที่มีความต้องการสินเชื่อ SMAE เพื่อ น�ำมาสนับสนุนการผลิต ทั้งต้นน�้ำ กลางน�้ำ และปลายน�้ ำ และเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งตาม เจตนารมณ์ ที่จ ะร่ วมกั น ขั บเคลื่อ นและยก ระดับคุณภาพเศรษฐกิจฐานรากของรัฐบาล” การส่งเสริมหรือสนับสนุนเพิม่ เติมใน โครงการ SMAE ในช่ ว งปี 2558-2559 เกษตรกรในพื้นที่ จังหวัดตาก ประสบปัญหา การผลิตทางด้านการเกษตร ไม่ว่าจะเป็นทาง ภูมิอากาศ เกิดภัยแล้ง ตลอดจนสภาวะราคา ผลผลิ ต ตกต�่ ำ เกษตรกรในจั ง หวั ด ตาก นอกจากท�ำไร่ท�ำนาแล้วส่วนมากยังเลี้ยงสัตว์ โดยเฉพาะการเลี้ยงโค ซึ่งเป็นที่ทราบอยู่แล้ว ว่า จังหวัดตากมีโคพันธุต์ าก เป็นโคที่ได้รบั การ ปรับปรุงพันธุ์ ให้เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศ และสภาพแวดล้อม ที่สามารถเติบโตได้ดีใน จังหวัดตากได้ และมีเนื้อโคเป็นที่ต้องการของ

นางรัชฎา ทิพทามูล ผู้จัดการ ธ.ก.ส. สาขาตาก จุลสาร ธ.ก.ส. | 13


Infocus | ทีมข่าว สสป. เรื่อง / วรุตม์ รินทร์พรหม ภาพ

นายแถม ภูน�้ำรึม

ร้อยต�ำรวจตรี ไพฑูรย์ เหล็กบุญเพ็ชร 14 | จุลสาร ธ.ก.ส.

ตลาด ซึ่งสาขาตากได้ร่วมกับทีมพัฒนาลูกค้า และทีมบริหารสินเชื่อของ สนจ.ตาก ในการ เข้าไปสนับสนุนชุมชนต้นแบบของสาขา ให้เกิด การรวมกลุ่มและสามารถตั้งเป็นกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนต้นแบบในการเลี้ยงโคแบบครบวงจร ตั้งแต่ผลิตลูกโค โคขุน และแปรรูป ออก จ�ำหน่าย โดยการเชือ่ มโยงกลุม่ วิสาหกิจชุมชน หลายกลุ ่ ม ร่ ว มท� ำ การผลิ ต แบบครบวงจร ส�ำหรับกลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีการบริหารจัดการ เป็นแบบกลุ่มวิสาหกิจชุมชนอย่างแท้จริง อีก ทั้งยังเป็นช่องทางเพิ่มรายได้ ให้กับเกษตรกร ท�ำให้เกษตรกร มีรายได้เพิ่มขึ้น นอกจากการ ท�ำไร่ท�ำนาเพียงอย่างเดียว นายแถม ภู น�้ ำ รึ ม ประธานกลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนผู ้ เ ลี้ ย งโคบ้ า นลานห้ ว ยเดื่ อ ต.โป่งแดง อ.เมือง จ.ตาก กล่าวว่า การเลี้ยง โคขุนเราเริ่มต้นจากกลุ่มเล็กๆ ต่อมาก็มีการ รวมกลุ่มรับสมาชิกเพิม่ ขึน้ ปี 2559 ก็ ได้รับทุน จาก ธ.ก.ส. น�ำไปซื้อแม่พันธุ์วัว เป็นการเลี้ยง แบบต้นน�้ำควบคู่ไปกับการท�ำไร่ท�ำนา “เมื่อก่อนต่างคนต่างเลี้ยง ไม่เป็น ระบบ ท�ำให้ไม่เกิดหรือได้รับองค์ความรู้ ใหม่ เมื่อมีการประชุมจัดตั้งเป็นกลุ่มก็ท�ำให้คนใน ชุมชนเกิดความสามัคคี มีการช่วยเหลือแนะน�ำ การเลี้ยง การจัดการให้วัวที่เลี้ยงมีคุณภาพ ที่ ส�ำคัญท�ำให้ครอบครัวของสมาชิกมีรายได้ที่ แน่นอน เพราะมีกลุ่มมาคอยช่วยเหลือ” “ปัญหาของกลุ่มในตอนนี้ คือเรื่อง การตลาด ก็อยากให้ภาครัฐหรือหน่วยงานเข้า มาช่วยเหลือ เพราะเรามีสินค้า แต่ไม่มีตลาด ก็ ไปไม่รอด” ประธานกลุ่มฝากทิ้งท้ายไว้ แต่ก็ จะดูเหมือนว่าปัญหาทีท่ างกลุม่ เป็นห่วงนีก้ ำ� ลัง ถูกแก้ไขตามที่ ผอจ.เมืองตาก ผู้น�ำได้กล่าวไว้ ในข้างต้น


นางเสาวลักษณ์ วิเชียรสรรค์ ส่วน ร้อยต�ำรวจตรี ไพฑูรย์ เหล็ก บุญเพ็ชร์ เหรัญญิก กลุม่ วิสาหกิจชุมชนผูเ้ ลีย้ ง โคบ้านลานห้วยเดื่อ กล่าวเสริมว่า จากการ เลีย้ งขายเป็นวัวเป็น ทางกลุม่ ได้มกี ารน�ำวัวมา แปรรูป เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม แบบครบวงจร ด้วยตัวเกษตรกรเอง โดยน�ำไปให้สหกรณ์ตาก บรีฟ จ�ำกัดเป็นผู้ช�ำแหละแปรรูป จากนั้นก็น�ำ กลับมาให้สมาชิกจัดจ�ำหน่ายอีกครั้ง “การบริหารจัดการเลี้ยงจะแยกออก เป็นการเลี้ยงแบบต้นน�้ำ กลางน�้ำ ปลายน�้ำ โดยต้นน�้ำเราจะมีการจัดตั้งธนาคารน�้ำเชื้อ ไว้ ผสมพันธุ์ ให้กับแม่วัวของสมาชิก เมื่อมีลูกวัว

เกิดใหม่ สมาชิกต้องแจ้งและน�ำมาประมูลให้ แก่สมาชิกคนอื่นๆ ภายในกลุ่ม หากไม่มีคนซื้อ ก็ จ ะน� ำ เข้ า คอกกลาง ที่ มี ส มาชิ ก คอยผลั ด เปลี่ยนหมุนเวียนเข้ามาเลี้ยง จนจะถึงขั้นตอน การแปรรูปออกจ�ำหน่ายในขั้นตอนของปลาย น�้ำต่อไป” ในเรื่ อ งการตลาดทางกลุ ่ ม ได้ ค� ำ แนะน�ำจาก ธ.ก.ส. ให้มีการออกบูธและจัดท�ำ โฆษณา เพื่อเปิดตัวผลิตภัณฑ์เนื้อโคแปรรูป ส�ำหรับการท�ำอาหาร (สเต็ก) ภายใต้แบรนด์ PongDang Beef ซึ่งก็ ได้รับกระแสตอบรับ ที่ดี ...หากใครมี โ อกาสได้ พ บเจอตาม เทศกาลงานสินค้าเกษตรต่างๆ หรือว่ามีโอกาส ไปที่ อ.โป่งแดง จ.ตาก ก็อยากให้ได้ลิ้มลอง รสชาติด้วยตัวเอง เพราะเกษตรกรตัวจริงเป็น ผู้เลี้ยงด้วยใจที่รักในอาชีพ และลงมือท�ำเอง ด้วยสองมือ...

จุลสาร ธ.ก.ส. | 15


Infocus | ทีมข่าว สสป. เรื่อง / วรุตม์ รินทร์พรหม ภาพ

...นอกจากนี้ การท�ำงานในโครงการ SMAE ทาง สนจ.ตาก ยังได้มีการสนับสนุนใน กลุม่ อืน่ ๆ ซึง่ กลุม่ ทีเ่ ราจะพาไปเยีย่ มชมต่อจาก นีค้ อื กลุม่ ทีป่ ระสบความส�ำเร็จด้วยการคิดและ ลงมื อ ท� ำ ด้ ว ยตนเองเช่ น เดี ย วกั น “กลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนแปรรู ป สมุ น ไพรปลู ก รั ก ” ต.พระธาตุ อ.แม่ระมาด จ.ตาก โดยได้สร้าง สิ น ค้ า ที่ ม าจากวั ต ถุ ดิ บ ในชุ ม ชน ภายใต้ ชื่ อ สินค้า “Plant Love” “ปลูกรัก” Plant Love คือ เครื่อง ดืม่ จากธรรมชาติ หัวปลี ขิง ลูกซัด ชนิดผง รส หวานจากธรรมชาติ 100% เพือ่ ให้ผรู้ กั สุขภาพ และคุณแม่ได้เลือกดื่มบ�ำรุงร่างกาย สะดวก รสชาติดี ดื่มง่าย ปลอดภัย ใช้งานง่ายแต่คง คุณประโยชน์สมุนไพร โดยเฉพาะเป็นตัวช่วย ส�ำหรับคุณแม่หลังคลอดเพื่อดูแลสุขภาพ ซึ่ง สมุนไพรที่น�ำมาแปรรูปเป็นสมุนไพรที่ ได้จาก การรวบรวมผลผลิตภายในชุมชน นางเสาวลั ก ษณ์ วิ เ ชี ย รสรรค์ ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพร ปลูกรัก เล่าว่า ตอนนี้มีความสุขและภูมิใจที่ได้ มีส่วนช่วยพัฒนาและช่วยเหลือคนในชุมชนมี งาน มีรายได้ แต่หากจะถามถึงความส�ำเร็จ ตอนนี้คงยังไม่ประสบความส�ำเร็จ เพราะยัง อยากเห็นเกษตรกรของเราเปลี่ยนแปลงได้ 16 | จุลสาร ธ.ก.ส.


นายสม อดิศัยสกุล ผู้จัดการ ธ.ก.ส. สาขาตาก

มากกว่านี้ อยากให้ทุกครัวเรือนหรือทุกๆ การ ท�ำการเกษตร มีความสุขทีไ่ ด้ทำ� อาชีพการเกษตร ที่มีผลผลิตที่เพิ่มมากกว่านี้ “องค์ความรู้เป็นอย่างแรกที่เราจะ ต้องเปลี่ยนเกษตรกร ให้เขาได้รู้จักการสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับวัตถุดิบที่ได้จากสวน จากหลัง บ้านที่เขาปลูก อย่างที่สอง เรามักยังวนเวียน อยู ่ กับ ค� ำ ว่ า ผลผลิ ต ตกต�่ำ สิ่ง ที่เ กิด ขึ้น เป็น เพราะเราไม่ออกไปขาย เกษตรกรไม่มีการ ท�ำการตลาด พลังของคนรุ่นใหม่จึงเชื่อว่าจะ มาเปลี่ยนวิถีการท�ำการเกษตรที่เป็นมากกว่า คนปลู ก การน� ำ เทคโนโลยี ม าใช้ จ ะมากขึ้ น เพราะสามารถอ�ำนวยความสะดวกและเข้าถึง ข้อมูลจากนักวิชาการที่มากขึ้น ยิ่งไปกว่านั้น การสร้างเครือข่ายก็สามารถท�ำได้รวดเร็ว โดย การที่จะท�ำให้ภาคการเกษตรเข้มแข็งอย่าง ยั่งยืนได้ แน่นอนว่าทุกๆ คนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ต้องช่วยกัน เพือ่ จะสร้างเครือข่ายตามแนวทาง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ยิ่งใหญ่ และครอบคลุมในทุกๆ พื้นที่ของภาคเกษตร ไทย” เสาวลักษณ์ กล่าวฝากไว้สนั้ ๆ ด้วยความ เชื่อมั่น

ส�ำหรับ นายสม อดิศัยสกุล ผจข. แม่ระมาด กล่าวถึงการท�ำงานในพื้นที่ว่า การ จ่ายสินเชื่อโครงการ SMAE เป็นการจ่ายสิน เชื่อให้กับลูกค้ากลุ่มใหม่ ที่มีศักยภาพในการ ผลิต มีตลาดรองรับที่แน่นอน และสร้างความ ยั่งยืนให้กับเกษตรกร เป็นช่องทางที่ธนาคาร สามารถขยายสินเชื่อได้เป็นอย่างดี และถ้า ธนาคารยังมุ่งจ่ายสินเชื่อแบบรายบุคคล จะ เป็ น การขยายสิ น เชื่ อ ที่ ค ่ อ นข้ า งล� ำ บาก เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่เริ่มมีอายุมากขึ้น ท�ำให้การผลิตภาคการเกษตรแบบเดิมลดลง อีกทั้งมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคการเกษตร ที่ธนาคารจ่ายสินเชื่อในปี 2559 เกือบ 100% เมื่ อ เที ย บกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมในประเทศ (GDP) ภาคการเกษตร ส�ำหรับลูกค้าทีเ่ ป็นเจ้าของธุรกิจ หรือ กลุ่ม SMAE สามารถได้รับเงินทุนจากแหล่ง เงิ น ทุ น ที่ มี ด อกเบี้ ย ต�่ ำ และสามารถเข้ า ถึ ง แหล่ ง เงิ น ทุ น ได้ ง ่ า ยขึ้ น โดยเฉพาะภาค การเกษตร ซึ่งเกษตรกรส่วนมากคุ้นเคยกับ ธนาคารเป็ น อย่ า งดี และธนาคารพร้ อ ม สนับสนุนเกษตรกรและกลุม่ วิสาหกิจทีเ่ ข้มแข็ง

ให้มีเงินทุนเพื่อต่อยอดธุรกิจให้เติบโต ภายใต้ นโยบายเกษตร 4.0 ของรัฐบาล “ในการท� ำ งานสิ่ ง ส� ำ คั ญ คื อ การ เข้าใจเรือ่ งบริบทของแต่ละพืน้ ทีท่ ี่ไม่เหมือนกัน จะมีวตั ถุดบิ แตกต่างกัน ดังนัน้ เราพนักงานควร จะหมั่นออกพื้นที่เพื่อเยี่ยมเยือนชาวบ้านว่าใน พื้นที่ตนเองมีอะไรเด่น แล้วเข้าไปพัฒนาให้ เป็นสินค้าหลักของชุมชน หากท�ำได้จะท�ำให้ เกษตรกรลูกค้าของเรามีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี ยิ่งขึ้นได้แน่นอน” ผจข.แม่ระมาด กล่าว ...บทสรุปในท้ายทีส่ ดุ แล้ว การท�ำงาน ในโครงการ SMAE หรืองานธนาคารด้านอื่นๆ จะประสบความส�ำเร็จได้นั้น คงจะต้องมีอะไร ที่มากกว่าการที่ธนาคารสนับสนุนสินเชื่อเพียง อย่างเดียว ธ.ก.ส. ของเราคงต้องเพิ่มเติมสิ่ง ทีเ่ กษตรกรขาดหาย ทัง้ เรือ่ งองค์ความรู้ ในการ ผลิต กลุม่ เป้าหมายและมีตลาดรองรับทีช่ ดั เจน รวมทั้ ง การมี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ แ ปลกใหม่ จู ง ใจ ผูบ้ ริโภคให้เพิม่ ขึน้ เพือ่ เป็นการช่วยขับเคลือ่ น โครงการให้ก้าวเดินได้อย่างต่อเนื่อง สิ่งเหล่านี้ จะท�ำให้ โครงการ SMAE ประสบความส�ำเร็จ และสะท้อนกลับมายัง ธ.ก.ส. ที่เป็นธนาคารของรัฐบาล และเป็น องค์กรที่พนักงาน มีคุณภาพในการปฏิบัติงาน เสมือนเป็นเครือ่ งหมายการันตีวา่ องค์กรเรามี คุณภาพเชื่อถือได้ จริงไหม? ...บทสนทนาแล้วบทสนทนาเหล่าที่ได้ ผ่านไปนัน้ ...ในระหว่างการเดินทางกลับ ค�ำถาม ทีเ่ คยผุดขึน้ มาดูเหมือนจะมีคำ� ตอบ...แม้ชว่ งขา กลั บ สายฝนไม่ ไ ด้ โ ปรยปรายลงมา แต่ ดู เหมือนว่า หัวใจของเราจะชุ่มฉ�่ำไปด้วยเรื่อง ราวดีๆ ทีพ่ ๆี่ ธ.ก.ส. จังหวัดตาก และเกษตรกร ผู้มีหัวใจรักในงาน รักในอาชีพของพวกเขา...ที่ ได้มาเล่าและฝากไว้ ให้เราคิด... จุลสาร ธ.ก.ส. | 17


New Gen | ทีมงานจุลสาร ธ.ก.ส. เรื่อง

...มุ่งมั่น กล้าคิด กล้าท�ำในสิ่งที่ถูก... สวัสดีครับ ส�ำหรับการท�ำความรู้จักกับคนรุ่นใหม่ประจ�ำฉบับนี้ เราจะพา ไปพบกับหนุ่มหน้ามนคนล�ำพูน “ฉันฑวัฒน์ เนตรศักดิ์เกษม” หรือ “ไอซ์” วัย 28 ปี เขาจบการศึกษาด้านการส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร จากคณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และในเส้นทางการท�ำงานที่ต้องมารับหน้าที่ ในต�ำแหน่งพนักงานพัฒนาธุรกิจระดับ 4 ประจ�ำสาขาตาก สังกัด สนจ.ตาก กับ ประสบการณ์การท�ำงานในครอบครัว ธ.ก.ส. 2 ปี 6 เดือน เขาได้พบเจอกับเรื่องราว อะไรมาบ้าง เราลองไปฟังมุมมองของเขากันดู...

18 | จุลสาร ธ.ก.ส.


เริ่มแรกในมุมมองเกี่ยวกับ ธ.ก.ส. ก่อนเข้าท�ำงาน เขารูเ้ พียงแต่วา่ ธ.ก.ส. เป็น ธนาคารที่เป็นแหล่งเงินทุนให้แก่เกษตรกร โดยธ.ก.ส.จะมีผลิตภัณฑ์เด่นอย่าง สลาก ธ.ก.ส. และมีรายการ “หอมแผ่นดิน” ทีค่ อย ติดตาม แต่หลังจากที่ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ท�ำให้เขาได้รู้ว่า ธ.ก.ส.ไม่ได้เป็นเพียงแค่ แหล่งเงินทุนเท่านั้น ธ.ก.ส. ยังมีสินเชื่อที่ หลากหลาย การบริการทางการเงินที่ทัน สมัย และยังมีสว่ นช่วยในการพัฒนาชนบท และมีโครงการดีๆ ออกมาช่วยเหลือพี่น้อง เกษตรกรอยู่เสมอ “ก่อนอื่นก็ต้องขอขอบคุณที่ ได้มี โอกาสเข้ามาอยู่ใน ธ.ก.ส. เป็นความภาค ภูมิใจของตนเองและครอบครัว ถือเป็น เกียรติที่ ได้เป็นส่วนหนึ่งในการช่วยเหลือ เกษตรกร ธ.ก.ส. เป็นธนาคารที่มีความ มั่ น คง ภาพลั ก ษณ์ ข องธนาคารมี ค วาม โปร่งใส มุง่ เน้นในด้านการสนับสนุนสินเชือ่ ในภาคการเกษตรและการพัฒนาชนบท” เรื่ อ งประทั บ ใจที่ ไ ด้ รั บ จากการ ท�ำงาน ไอซ์บอกว่า จากเด็กที่ ไม่เคยไกล บ้าน พอได้มาบรรจุที่นี่ครั้งแรกก็ ได้รับการ ต้อนรับที่อบอุ่นเป็นกันเองจากพี่ๆ ที่สาขา การที่เข้ามาท�ำงานที่นี่รู้สึกเหมือนเป็นอีก ครอบครัว การที่มาใช้ชีวิตต่างถิ่น พี่ๆจะ คอยดูแลให้ค�ำแนะน�ำเป็นที่ปรึกษาอย่างดี ที่ส�ำคัญที่นี่ เน้นการท�ำงานเป็นทีมถือเป็น จุดเด่น “เรื่องหัวใจส�ำคัญในการท�ำงาน ส�ำหรับผมแล้วการทีเ่ รารักในสิง่ ทีท่ ำ� ถือเป็น หัวใจส�ำคัญ การที่เราได้เลือกท�ำในสิ่งที่รัก เราจะก็จะเต็มที่และเห็นคุณค่าในสิ่งที่ท�ำ” “การท�ำงานในปัจจุบันนอกจากการท�ำงาน ประจ� ำ แล้ ว ยั ง ต้ อ งคอยขั บ เคลื่ อ นงาน นโยบายรัฐบาล และโครงการอื่นๆ รวมไป ถึงงานพัฒนาลูกค้า ถือเป็นความท้าทาย และเป็ น โอกาสที่ จ ะได้ ท� ำ งานร่ ว มกั บ เกษตรกร แม้จะมีอุปสรรคบ้าง แต่ถ้าผ่าน ไปได้ก็ถือเป็นบทเรียน การที่ได้ท�ำงานและ การช่วยเหลือเกษตรกรถือเป็นความสุข ผม จะเน้นการท�ำงานให้มคี วามสุขและสนุก แต่ ต้องไม่ลืมเรื่องคุณภาพของงานด้วย” ส�ำหรับความหมายของค�ำว่า “คน รุ่นใหม่” ในมุมมองของไอซ์ คือ คนรุ่นใหม่

ต้องมีความมุ่งมั่น กล้าคิดกล้าท�ำในสิ่งที่ ถู ก ต้ อ ง มี ค วามคิ ด ริ ส ร้ า งสรรค์ สนใจ เทคโนโลยี โดยเฉพาะในยุคของไทยแลนด์ 4.0 ที่เน้นการเกษตรสมัยใหม่ที่เน้น Smart Farming ท� ำ ให้ ต ้ อ งคอยปรั บ ตั ว และ แสวงหาความรู้ ใหม่ๆ อยู่เสมอ ในฐานะคนรุ่นใหม่ เขาอยากจะให้ ธนาคารมีแนวทางและให้ความส�ำคัญใน การท�ำงานเรื่องของการลดความซับซ้อน ของระบบงาน และเพิ่ ม เทคโนโลยี นวัตกรรมที่ช่วยเอื้อการท�ำงานเวลาออก พื้นที่ อาทิ การเข้าถึงข้อมูลของลูกค้า การ ตรวจที่ดิน นอกจากนี้แล้วในด้านสุขภาพก็ ยังมีสว่ นช่วยในการท�ำงาน ถ้าสุขภาพแข็งแรง ทั้งกายและใจ ก็จะส่งผลต่อประสิทธิภาพ การท�ำงานอย่างเต็มที่ “ส่วนการท�ำงานกับรุ่นพี่ๆ ส�ำหรับ ผมแล้ว การท�ำงานร่วมกับรุ่นพี่ไม่ถือเป็น ปัญหา ถือว่าโชคดีที่ได้ร่วมงานกัน อย่างพี่ เลี้ยงผมเวลามาท�ำงานช่วงแรกๆ ก็จะพา ออกพืน้ ที่ไปด้วย เขาก็จะคอยสังเกตวิธกี าร ท�ำงาน ถ้าไม่เข้าใจตรงไหน ก็จะถาม พี่เขา ก็เต็มใจที่จะตอบค�ำถามโดยที่สอดแทรก ประสบการณ์เข้าไปด้วย อย่างบางเรื่องที่พี่ ต้ อ งการความช่ ว ยเหลื อ อย่ า งเช่ น เทคโนโลยี เราก็เต็มใจ ซึ่งต่างก็ช่วยเหลือ กันและกัน ท�ำให้บรรยากาศในการท�ำงาน

เป็ น กั น เองเสมื อ นพี่ น ้ อ ง” ไอซ์ เ ล่ า ด้ ว ย รอยยิ้ม ด้านการท�ำงานร่วมกับเกษตรกรที่ มีอายุมากๆ เขาบอกว่า ความอ่อนน้อมถือ เป็นสิ่งส�ำคัญ การเข้าหาเกษตรกรที่อาวุโส กว่าต้องมีความอ่อนน้อมถ่อมตน ให้ความ เคารพซึง่ กันและกัน คิดเสมือนเขาเป็นญาติ ผู้ ใหญ่คนหนึ่ง อย่างเวลาออกพื้นที่หรือไป ตรวจเยี่ยมลูกค้าถ้าเขามีปัญหา ต้องให้ แนะน�ำให้ค�ำปรึกษา เปิดใจรับฟัง ท�ำให้ เข้าใจซึง่ กันและกัน นอกจากนีแ้ ล้วการที่ไป พบปะเกษตรกรท�ำให้มีโอกาสได้พบทายาท เกษตรกรซึ่ ง ถื อ เป็ น ก� ำ ลั ง ส� ำ คั ญ ในการ สืบทอดด้านการเกษตรต่อไป “สุดท้ายอยากฝากอะไรถึงพีๆ่ และ เพื่อนๆ ชาว ธ.ก.ส. ว่าการที่ได้เข้ามาอยู่ใน ครอบครัว ธ.ก.ส. ท�ำให้ผมได้เรียนรู้ประสบ การณ์ ใหม่ๆ โดยเฉพาะเวลาออกพื้นที่ผมก็ จะคอยเก็บเกี่ยวประสบการณ์ และพบปะ พูดคุยกับลูกค้า การเปิดใจรับฟัง ท�ำให้เรา เข้ า ใจมากขึ้ น ซึ่ ง ความสั ม พั น ธ์ อั น ดี กั บ พี่น้องเกษตรกรถือเป็นจุดแข็งของ ธ.ก.ส. คนรุ่นใหม่อย่างผมและเพื่อนๆ ก็จะคอย สานต่อในสิ่งดีๆ ที่รุ่นพี่ได้สร้างไว้ และขอ เป็นส่วนหนึง่ ในการพัฒนาธนาคารแห่งนี้ให้ สมกับดังค�ำทีว่ า่ เคียงคูร่ คู้ า่ ประชาชนครับ” จุลสาร ธ.ก.ส. | 19


เขียนด้วยแสง | วรุตม์ รินทร์พรหม ภาพ / คำ� : Wayne W. Dyet

20 | จุลสาร ธ.ก.ส.


“You don’t need to be better than any one else. You just need to be better than you used to be”

“คุณไม่จ�ำเป็นต้องดีกว่าใครๆ คุณแค่ต้องดีกว่าคนๆ เดิมที่คุณเคยเป็น”

จุลสาร ธ.ก.ส. | 21


Green Trip | สรวุฒิ แถวจันทร์ เรื่อง / ภาพ

เดินตามหาน�้ำตกรูปหัวใจ นาม ถ้าพูดถึงฤดูฝน ส�ำหรับใครหลาย คนในกรุงเทพฯ คงมีหลายๆ อย่าง ที่ท�ำให้ไม่ ชอบสักกันเท่าไหร่ ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาน�้ำรอ การระบาย ปั ญ หาการจราจร ปั ญ หาทาง สุขภาพ เป็นต้น แต่สำ� หรับนักเดินป่าแล้ว เมื่อ ฤดูฝนมาเยือน ป่าก็เริม่ กลับมาเขียวขจี พรรณ ไม้ดอกไม้ก็เริ่มพลิบาน สายน�้ำล�ำห้วยที่แห้งก็ เริม่ รินไหลกลับสูป่ า่ อีกครัง้ ทริปนีพ้ วกเราเตรียม แพ๊คกระเป๋าแบกเป้ เพื่อออกเดินทางไปเยี่ยม ชมความงามน�้ำตกแห่งขุนเขา นาม “น�้ำตก เปรโต๊ะลอซู” “น�้ำตกเปรโต๊ะลอซู” มีชื่อเรียกตาม ภาษากะเหรี่ยงว่า “ปิ๊ตุ๊ โกร” บ้างก็เรียกว่า “ปิ๊ ตุ๊ลอซู” หรือ “เปรโต๊ะลอซู” แต่นักท่องเที่ยว หลายคนชอบเรี ย กกั น ว่ า “น�้ ำ ตกรู ป หั ว ใจ” น�้ ำ ตกแห่ ง นี้ ตั้ ง อยู ่ ท างด้ า นตะวั น ตกของ อ.อุม้ ผาง จ.ตาก ลักษณะเป็นน�ำ้ ตกสูงราว 500 เมตร เป็นสายน�้ำตกไหลตามหน้าผามองเห็นได้ ใน ระยะไกล จัดว่าเป็นน�้ำตกที่ท้าทายนักเดินทาง 22 | จุลสาร ธ.ก.ส.

“เปรโต๊ะลอซู”

หลายๆ คน ให้เข้าไปสัมผัสด้วยตนเอง นอกจาก ความสวยงามของตัวน�้ำตกแล้ว ยังมีเส้นทาง ชมวิวดอยมะม่วงสามหมื่นที่งดงาม แม้ว่าการ เดินป่าในช่วงหน้าฝนนั้น อาจจะมีความยาก ล�ำบากพอสมควร แต่หากเมื่อได้ไปสัมผัสด้วย ตัวเองแล้ว ก็นับว่าเป็นเรื่องที่คุ้มค่าจริงๆ

เป็นถนนทีม่ ที วิ ทัศน์ทสี่ วยแห่งหนึง่ ในเมืองไทย ด้วยทิวทัศน์ระหว่างทาง สามารถมองเห็นทะเล ภูเขาสลับสับซ้อนเรียงกัน มองเห็นเมฆและ ท้องฟ้าที่ประดับทางไว้อย่างลงตัว จนบางคน ก็เรียกถนนเส้นนี้ว่า “ถนนลอยฟ้า” ประมาณ 07:00 น. ในที่สุดพวกเราก็ฝ่าด่านมหาโค้ง พิชิต 1,219 โค้ง ก้าวแรกสู่อุ้มผาง 1,219 โค้ง เดินทางมาถึง อ.อุ้มผาง ได้ส�ำเร็จ พวกเราออกเดินทางจากกรุงเทพฯ (เย้ๆๆ) แวะพักรับประทานอาหารเช้า อาบน�้ำ มาถึงที่ อ.แม่สอด จ.ตาก ไม่แน่ใจว่าประมาณ และแพ๊คกระเป๋าอีกครัง้ เพือ่ เตรียมตัวออกเดิน กี่โมง ช่วงนั้นอากาศก�ำลังเย็นสบายมาก หลัง ทางสู่น�้ำตกเปรโต๊ะลอซู ที่ค�ำสิงห์ โฮมเสตย์ จากคนได้พักเข้าห้องน�้ำ รถยนต์ได้พักเครื่อง ให้คลายร้อนสักหน่อย พวกเราก็ออกเดินทาง เปรโต๊ะลอซู แคมป์พักกลางป่า กันต่อมุ่งหน้าสู่ อ.อุ้มผาง จ.ตาก ต้องผ่านโค้ง หลั ง จากที่ ทุ ก คนท� ำ ภารกิ จ กั น ประมาณ 1,219 โค้ง กว่าจะถึง อ.อุ้มผาง เส้น เรียบร้อยแล้ว ก็น�ำสัมภาระขึ้นรถกระบะ จาก ทางเป็นถนนลัดเลาะสันเขาไปเรื่อยๆ ถือว่า ค� ำ สิ ง ห์ โ ฮมเสตย์ ต ้ อ งเดิ น ทางไปที่ ห มู ่ บ ้ า น


กุยเลอตอ ระยะทางประมาณ 70 ก.ม. ใช้เวลา เดินทางเกือบ 2 ช.ม. เนื่องจากช่วงที่ไปถนน สภาพไม่คอ่ ยดีเท่าไหร่ จึงใช้เวลาค่อนข้างนาน จากหมูบ่ า้ นกุยเลอตอต้องเดินเท้าเข้าไปแคมป์ ด้วยระยะทางประมาณ 3 ก.ม. ผ่านทุ่งนาของ ชาวบ้าน บางจุดเป็นดินเลน(เดินทุลักทุเลกัน พอสมควร) บางจุดเดินไปก็ ได้ยินเสียงกรี๊ด แล้วก็มีเสียงหัวเราะตามมา(คาดว่าน่าจะมีคน ลื่นแน่ๆ ฮ่าๆ) บางจุดต้องเดินผ่านธารน�้ำ อัน นี้ชอบมากน�้ำใสและเย็น เอามาล้างหน้าหรือ ดื่มกินหายเหนื่อยเลย พวกเรานั่งพัก และรับ ประทานอาหารเทีย่ งทีล่ ำ� ธารจุดทีส่ อง มือ้ เทีย่ ง นี้ ท างโฮมสเตย์ เ ตรี ย มข้ า วกะเพราไข่ ด าว ห่อใบตองมาให้รสชาติใช้ได้เลย แต่พอทานไป ได้สกั พักฝนก็ตกลงมาจึงตัดสินใจเก็บของแล้ว ลุยต่อให้ถึงแคมป์พักเลยดีกว่า จากจุดนี้พอ เดินผ่านพ้นที่นาแล้ว ก็จะเริ่มเข้าสู่ป่าทึบซึ่ง ด้านหน้ามีป้ายแจ้งกฏ/ระเบียบต่างๆ ในการ เข้าชมน�ำ้ ตกเปรโต๊ะลอซู เราใช้เวลาในการเดิน ทางสักพัก และแล้วก็มาถึงสักทีแคมป์พกั แรม ในป่าใหญ่ พวกเราแยกย้ายกันไปเก็บสัมภาระ เข้าทีพ่ กั ผูห้ ญิงนอนเต้นท์ ส่วนผูช้ ายก็หาท�ำเล ผูกเปลนอน จากนัน้ ก็เดินไปส�ำรวจบริเวณแคมป์ แคมป์ท่ีพักปกคลุมไปด้วยต้นไม้ขนาดเล็กถึง ขนาดกลาง ที่พักแบ่งออกเป็นโซนๆ แยกออก เป็นของแต่ละโฮมสเตย์ บางจุดถูกเกลี่ยหน้า ดินให้เหมาะส�ำหรับท�ำเป็นแคมป์พกั แรม(แต่ดู กลืมกลืนกันธรรมชาติ) ด้านข้างมีน�้ำตกและ จุลสาร ธ.ก.ส. | 23


Green Trip | สรวุฒิ แถวจันทร์ เรื่อง / ภาพ

ธารน�้ำไหลผ่าน มีห้องน�้ำ 3 จุด รวม 6 ห้อง (ถ้าจ�ำไม่ผิด) สาวๆ สบายใจได้ครับเรื่องเข้า ห้องน�้ำ ส่วนเรื่องขยะแทบจะไม่มีให้เห็นเลย ครับ เท่าทีส่ งั เกต แคมป์พกั แรมของแต่ละโฮม สเตย์มปี า้ ยติดประกาศ รณรงค์ ให้นกั ท่องเทีย่ ว ทุกคนช่วยดูแลรักษาความสะอาด และยังจัด ท� ำ ถุ ง ขยะให้ นั ก ท่ องเที่ ย วไว้ทิ้งขยะตามจุด ต่างๆ ประมาณ 16:00 น. เศษ อากาศเริ่มเย็น ละ เลยรีบไปอาบน�้ำดีกว่า (หลังจากไม่ได้อาบ มาหนึง่ วันเต็มๆ) จากแคมป์พกั เดินขึน้ ไปหน่อย จะมีน�้ำตกเล็กๆ ไม่มีชื่อเรียก ธารน�้ำใสสะอาด แวดล้อมไปด้วยต้นไม้ลงไปแช่นำ�้ แล้วมันสบาย จริง หลังจากอาบน�้ำเสร็จ อืมจริงๆ น่าจะเรียก ว่าเล่นน�้ำเสียมากกว่า ประมาณ 18:00 น. ก็ ถึงเวลารับประทานอาหารเย็น มื้อนี้ทางโฮม สเตย์มี น�ำ้ พริกกะปิ หน่อไม้ลวก ไข่เจียว ต้มย�ำ ไก่ (หน่อไม้ลวกกับต้มย�ำไก่อร่อยมากๆ ขอไป หลายรอบเลย) หลังรับประทานจนพุงกาง พวก เราก็นั่งพูดคุยถึงเรื่องราวต่างๆ ถึงทริปที่ผ่าน มา ก่อนจะแยกย้ายกันไปนอน

ไปสู ด อากาศที่ ด อยมะม่ ว งสามหมื่น แล้ ว เดิ น ตามหาน�้ ำ ตกรู ป หั ว ใจ นาม “เปรโต๊ะลอซู”

เช้าวันที่ 2 ของทริป จากที่เมื่อคืน นอนหลับสบายอย่างเต็มอิม่ ตืน่ เช้ามาล้างหน้า แปรงฟันที่ล�ำธารข้างๆ แคมป์พัก แล้วเดิน เข้าไปส่วนกลางเพือ่ รับประทานอาหารเช้า จาก นั้นประมาณ 9:00 น. พวกเราเริ่มออกเดินเท้า โดยเลือกเส้นทางที่จะไปชมดอยมะม่วงสาม หมื่นก่อน แล้วค่อยไปชมน�้ำตกเปรโต๊ะลอซู เนือ่ งจากมีหลายๆ กลุ่มเริม่ เดินไปชมน�้ำตกกัน บ้างแล้ว ก็เกรงว่าการจราจรจะติดขัด เพราะ เส้นทางบางช่วงค่อนข้างคับแคบ และนักท่อง เทีย่ วอาจจะไปแออัดกันทีน่ ำ�้ ตกมากเกินไป เลย ขอเลือกเดินอีกเส้นทางดีกว่า เส้นทางนี้ระยะ แรกเป็นป่าทึบทางชันใช้ได้เลยทีเดียว บางจุด มีการถางทางท�ำเป็นขั้นบันไดไว้ แต่ช่วงแรกๆ นี้ พวกเราแทบไม่ได้พูดคุยกันเลย ไม่ได้หยิ่ง นะ แต่ขอเลือกออกซิเจนไว้กอ่ น(ฮ่าๆ) หลังจาก พ้นป่าทึบมาจะเป็นป่าไฝ่โล่งโปร่ง ช่วงนี้เดิน สบายหน่อยทางไม่ชนั มาก พวกเราก็เดินกันไป เรื่อยๆ คุยไปพลาง แซวกันไปพลาง ประมาณ 10:30 น. ก็ถึงจุดชมวิวน�้ำตกเปรโต๊ะลอซู จาก จุดนี้มองเห็นทิวเขาสลับซับซ้อน และมีสายน�้ำ สองสายไหลบรรจบกันที่ตีนเขา ซึ่งตรงจุดนั้น แหระครับคือจุดหมายของเรา น�้ำตกรูปหัวใจ “น�ำ้ ตกเปรโต๊ะลอซู” (รอก่อนนะ เดีย๋ วจะลงไปหา) 24 | จุลสาร ธ.ก.ส.


แต่ววิ สวยแบบนีข้ อนัง่ พักขา กับถ่าย รูปเป็นทีร่ ะลึกกันก่อน บางคนก็นงั่ กินขนมชิลๆ ดูวิวเปรโต๊ะลอซูเป็นกับแกล้ม นั่งรับลมเย็นๆ ไปเรื่อยๆ จนเริ่มมีเพื่อนๆ จากกลุ่มอื่นเดินขึ้น มาถึงจุดชมวิวกันแล้ว พวกเราก็เก็บของแล้ว เดินไปพักอีกจุด เพื่อให้เพื่อนๆ กลุ่มหลังๆ ได้ มาเสพวิวตรงจุดนีบ้ า้ ง จุดพักอีกจุดเดินห่างกัน ไม่ถึง 5 นาที พวกเราก็วางสัมภาระนั่งพักรับ ประทานอาหารเที่ยง ที่ทางโฮมสเตย์เตรียมไว้ ให้ เป็นอาหารง่ายๆ ข้าว ไก่ทอด และไข่ต้ม หลังจากทานเสร็จพักสักครูให้พออาหารได้ยอ่ ย พร้อมทุกคนแล้วพวกเราก็แบกเป้ขึ้นหลังออก เดินทางต่อ เริ่มไต่ระยะความชันไปเรื่อยๆ วิวระหว่างทางสวยมาก ป่าช่วงหน้าฝนมองไป ทางไหนต้นไม้กเ็ ขียว บางช่วงต้องเดินเลาะตีน เขา บางช่วงต้องเดินฝ่าตัดต้นหญ้าที่สูงเกือบ ท่วมหัว (แต่ทำ� ไมคนอืน่ แค่อกเอง นีเ่ ราตัวเตีย้ ใช่มั้ย ) บางช่วงต้องเดินบนสันเขา เลยไปนิด ซ้ายก็เหว ขวาก็เหว (เล่นเอาขาสั่นไปเหมือน กัน) เดินชมวิวกันไปเรื่อยๆ เหนื่อยก็พัก เดิน ผ่ า นเขาลู ก ที่ เ ท่ า ไหร่ ก็ จ� ำ ไม่ ไ ด้ แต่ สุ ด ท้ า ย ประมาณ 12:40 น. พวกเราก็มาถึงดอยมะม่วง สามหมืน่ จนได้ แต่วนั นีท้ ศั นวิสยั ไม่คอ่ ยเป็นใจ ให้สักเท่าไหร่ เมฆหมอกบดบังไปหมดมองไม่ เห็นอะไรเลย ยืนสูดอากาศและชมวิวอยูส่ กั พัก จึงตัดสินใจลงดีกว่า มุ่งหน้าสู่จุดหมายต่อไป น�้ำตกรูปหัวใจ “น�้ำตกเปรโต๊ะลอซู” ขาลงจาก ยอดดอยมะม่วงสามหมืน่ ไปน�ำ้ ตกเปรโต๊ะลอซู พวกเราเดินลงมาเรือ่ ยๆ จนถึงสามแยกแคมป์ เก่าของค�ำสิงห์ โฮมสเตย์ แวะพักดื่มน�้ำทาน ขนมให้พอหายเหนือ่ ย จากสามแยกเดินตัดขวา เพื่อลงไปยังน�้ำตกเปรโต๊ะลอซู เดินลงมาสัก ระยะตัดข้ามล�ำธาร และเดินเลาะตามล�ำธาร ไปเรื่อยๆ และแล้วสักประมาณ 14:30 น. เรา ก็มาถึงน�้ำตกรูปหัวใจ “น�้ำตกเปรโต๊ะลอซู” ท�ำไมน�้ำตกเปรโต๊ะลอซู จึงถูกเรียก ว่า “น�้ำตกรูปหัวใจ” ละ จากข้อสันนิษฐานน่า จะเกิ ด จากการที่ ส ายน�้ ำ ตกสองสายไหลมา บรรจบกันในลักษณะมุมเฉียง สายน�ำ้ และละออง น�้ำที่เกิดขึ้นมีลักษณะคล้ายๆ กับรูปหัวใจ ผู้คน ที่มาพบเห็นจึงเรียกกันว่า “น�้ำตกรูปหัวใจ” แม้ชว่ งทีพ่ วกเราไปนัน้ น�ำ้ ยังไม่เยอะสักเท่าไหร่ มันอาจจะดูไม่เหมือนรูปหัวใจสักเท่าไหร่ แต่ ความสวยงามความอลังการก็ ไม่ได้ท�ำให้พวก เราผิดหวัง ถ่ายรูปรัวๆ เก็บเกี่ยวความสุขกัน ให้เต็มที่ จากนั้นก็เดินทางกลับไปยังแคมป์พัก เส้ น ทางนี้ เ ดิ น ไม่ ล� ำ บากมากถึ ง แคมป์ พั ก ประมาณ 16:10 น. วันนี้ตอนอาบน�้ำขอแช่ จุลสาร ธ.ก.ส. | 25


Green Trip | สรวุฒิ แถวจันทร์ เรื่อง / ภาพ

26 | จุลสาร ธ.ก.ส.


นานๆ หน่อย เดินมาทัง้ วัน อาหารเย็นวันนีท้ าง โฮมสเตย์เตรียม ไข่เจียว น�้ำพริกอ่อง ผักสด แกงหน่อไม้ ใส่ไก่ และปิดท้ายด้วยของหวาน คือ ฟักทองต้มราดกะทิ คืนนีพ้ วกเราพูดคุยกัน นิดหน่อยก่อนแยกย้ายกันไปนอน

ลาก่อนน�้ำตกรูปหัวใจ

เช้าวันที่ 3 ของทริป เช้านี้ตื่นมา พร้อมกับสายฝน วันนีต้ อ้ งลาแล้วสินะน�ำ้ ตกรูป หัวใจ หลังจากรับประทานอาหารเช้า เก็บ สัมภาระเรียบร้อยแล้ว เตรียมแบกเป้ออกเดิน ทางกลับไปยังหมู่บ้านกุยเลอตอ แต่ฝนตก ท�ำให้ขากลับเส้นทางค่อนข้างเละพอสมควร ใช้ เวลาประมาณ 40-60 นาที พวกเราก็มาถึงถนน ใหญ่ที่หมู่บ้านกุยเลอตอ ซึ่งได้นัดกับพี่คนขับ รถกระบะไว้แล้ว แต่พวกเรายังไม่รีบกลับที่ ค�ำสิงโฮมสเตย์ เพราะนัดกับพี่คนขับว่าจะไป ซื้อทุเรียนที่สุดเขตชายแดนไทย-เมียนมาร์ ที่ อ.อุ้มผาง ใช้เวลาเดินทางประมาณ 30-40 นาที ก็มาถึงสุดเขตชายแดน ค่อนข้างเป็น หมู่บ้านขนาดใหญ่ มีร้านค้า ร้านอาหารเยอะ พอสมควร และแล้วเราก็เจอทุเรียนสมใจ เท่า ที่สอบถามไม่มีชื่อชาวบ้านที่นี่เรียกว่าพันธุ์พื้น บ้าน ลักษณะเป็นลูกเล็กๆ ไม่ใหญ่มาก เมล็ด ค่อนข้างใหญ่เนื้อน้อย สีออกเหลืองเข้มบ้าง บางลูกก็ออกเหลืองซีด กลิ่นไม่แรงมาก ชิม เข้าไปแล้วค่อนข้างหวานมัน บางพูออกขมนิดๆ

ราคาค่าเสียหายก็ตกกองละ 200 บาท (1 กอง มีประมาณ 6 ลูก) จัดไปเลย 2 กองเอามากิน แบบข�ำๆ แล้วก็กระโดดขึน้ รถกระบะเตรียมตัว กับโฮมเสตย์ อาบน�้ำ รับประทานอาหารเที่ยง แล้วก็ปดิ ท้ายด้วยปาร์ตที้ เุ รียน แล้วก็ลาค�ำสิงห์ โฮมสเตย์เพื่อเดินทางกลับกรุงเทพฯ การเดินทางครั้งนี้ ถึงจะดูเหมือนว่า จะเหนื่อย ดูเหมือนว่าจะล�ำบาก จริงๆ มันก็ เหนื่ อ ยและล� ำ บาก ต้ อ งเดิ น ผ่ า นดิ น เลน ข้ามล�ำธาร เดินขึ้นก็ชัน ตอนลงก็ชัน ถึงแม้ น�ำ้ ตกเปรโต๊ะลอซูชว่ งทีพ่ วกเราไป อาจจะไม่ใช่ ช่ ว งเวลาที่ ส วยที่ สุ ด แต่ มั น ก็ คุ ้ ม ค่ า แล้ ว ที่ มาสั ม ผั ส ด้ ว ยตั ว เอง ตลอดการเดิ น ทาง ทิวทัศน์ขา้ งทาง บ้านเรือน ผูค้ น ล�ำธาร สายน�ำ้ พรรณไม้ ขุ น เขา เดิ น กั น ไปพู ด คุ ย กั น ไป ห้องอาบน�้ำธรรมชาติ น�้ำตกไร้ชื่อที่ซ่อนอยู่ใน ป่ า ใหญ่ อาหารพื้ น บ้ า นธรรมดาที่ ร สชาติ ไม่ธรรมดา หรือแม้แต่เรือ่ งเล่าก่อนนอน ความ สวยงามทริปนี้พวกเราจะจดจ�ำไว้ตลอดไป...

การเตรียมตัว: เส้นทางเดินป่าน�ำ้ ตกเปรโต๊ะลอ ซู และดอยมะม่วงสามหมื่นควรใช้ไกด์ที่ ช�ำนาญเส้นทาง หรือติดต่อผูเ้ ชีย่ วชาญใน ท้องถิน่ ส่วนสภาพร่างกายควรฟิตก�ำลังขา ให้แกร่งพอสมควร

สิ่งที่ต้องเตรียม: 1. เต็นท์หรือเปล ถุงนอน เครื่องกันหนาว อุปกรณ์ป้องกันฝน และอุปกรณ์เดินป่า อื่นๆ ที่แต่ละคนจะถนัด 2. ชุ ด ที่ เ หมาะสมกั บ การเดิ น ขึ้ น เขา แนะน�ำให้งดใช้กางเกงยีนส์ 3. ไฟฉาย กลางคืนในป่านัน้ มืดสนิท ถ้าจะ ให้ดีแนะน�ำเป็นแบบคาดหัว 4. ยาประจ�ำตัว 5. รองเท้าแบบมีดอกยาง ผ้าใบหุ้มข้อ 6. เรื่องทากตอนไปไม่พบนะครับ แต่ถ้า อยากอุ่นใจพกไปด้วยก็ ได้ 7. อุปกรณ์อื่นๆ ที่จ�ำเป็นของแต่ละคน

จุลสาร ธ.ก.ส. | 27


เศรษฐกิจพอเพียง | นางเลิ้ง 312 เรื่อง

เศรษฐกิจพอเพียง 126

สวัสดีครับ....พบกันอีกครัง้ ตามทีผ่ มได้บอกกล่าวว่าจะเล่าสูก่ นั ฟังเรือ่ งของพ่อผู้ ใหญ่วบิ ลู ย์

เข็มเฉลิม ต่อจากฉบับเดือนมิถนุ ายน โดยเรียบเรียงจากหนังสือ “ผู้ ใหญ่บนุ๊ ครูชวี ติ ต้นธารคิด การ เรียนรู้” ที่จัดพิมพ์ โดย คณะท�ำงานจัดตั้งมูลนิธิวนเกษตรเพื่อสังคม และสนับสนุนการจัดพิมพ์ โดย บริษทั ปตท. จ�ำกัด ซึง่ เป็นหนังสือรวมข้อเขียนจากกัลยาณมิตรทีเ่ คยเกีย่ วข้องและร่วมงานกับผู้ ใหญ่ วิบลู ย์ ในโอกาสครบรอบ 72 ปีของผู้ ใหญ่วบิ ลู ย์ เนือ่ งจากผมสนใจว่าบุคคลคนหนึง่ จะมีกลั ยาณมิตร ที่หลากหลาย ได้รับการระลึกถึงและกล่าวขานอย่างชื่นชม ได้รับความเคารพนับถือ มาร่วมแลก เปลี่ยนเรียนรู้ มารับแนวคิดและประสบการณ์ชีวิตของท่านไปปรับใช้ ในการท�ำงานและการด�ำเนิน ชีวิต บุคคลนั้นย่อมจะมีคุณลักษณะวิถีชีวิต ความคิดความรู้ที่ควรค่าแก่การระลึกถึงอย่างยิ่ง และ ผมสรุปได้ว่า ผู้ ใหญ่วิบูลย์เป็นบุคคลหนึ่งที่ด�ำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่าง แท้จริง ผู้ ใหญ่วบิ ลู ย์มวี ถิ ชี วี ติ ทีเ่ รียบง่าย อยู่ ง่ายกินง่าย ถ่อมตนและเสมอต้นเสมอปลาย แม้ว่าจะได้รับการยกย่องว่า เป็นปราชญ์ของ แผ่นดิน สาขาเศรษฐกิจพอเพียง จากกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ได้รบั รางวัล ครูยงิ่ คุณ จาก มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี เคยเป็น กรรมการส� ำ นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นวุฒิสมาชิก (พ.ศ.2539-2543) และเป็น 28 | จุลสาร ธ.ก.ส.

สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) พ.ศ. 2550-2552 แต่ เ มื่ อ ผมได้ ติ ด ต่ อ ขอไปพบ ผู้ ใหญ่วิบูลย์ที่บ้านท่านหลายครั้งก็พบว่าพ่อ ผู้ ใหญ่วิบูลย์ก็คือเกษตรกรคนหนึ่ง ใส่กางเกง ขาสัน้ มีกรรไกรตัดกิง่ ไม้เสียบกระเป๋า ถอดเสือ้ พาดบ่า เดินไม่ใส่รองเท้า กวาดใบไม้ทกุ วันก่อน 6 โมงเช้า ปลูกต้นไม้และดูแลทุกสิ่งในสวน ผู้ ใหญ่ วิบูลย์ มี ค วามอดทนสู ง ไม่ ย่อท้อหรือจ�ำนนต่อปัญหาตั้งแต่วัยเด็กที่ต่อสู้

ด้วยตนเอง แม้ว่า วัยหนุ่มจะ “หวังรวย” ด้วย การหักล้างถางพงบุกป่าเพื่อสร้างฐานะ เป็น เถ้าแก่ค้าขายพืชไร่ มีฐานะดีจากการปลูกมัน ส�ำปะหลังมากกว่า 200 ไร่ ตามวิถที นุ นิยม แต่ เมือ่ ประสบปัญหาล้มละลาย ไม่มเี งินไม่มจี ะกิน ไม่มคี วามไว้วางใจจากคนรอบข้าง ต้องหันกลับ มาพึ่งตนเอง ต้องท�ำทุกอย่างเพื่อให้ลูกได้กิน กลับมาเรียนรูต้ วั เอง และเรียนรูจ้ ากการท�ำจริง โดยอยู่กับป่าและธรรมชาติที่หลากหลายเพื่อ


แก้ปญ ั หาจนสามารถพึง่ ตนเองได้และเป็นแบบ อย่างให้คนอื่นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อน�ำไป ประยุกต์ ใช้ได้ ผู ้ ใหญ่ วิ บู ล ย์ มี ห ลั ก คิ ด ที่ ถู ก ต้ อ ง สามารถสรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ประสบการณ์ ชีวติ มาเป็นองค์ความรูท้ เี่ ป็นแนวทางพึง่ ตนเอง ได้จริงทั้งหลักคิดและเป็นรูปธรรม ที่สวนวน เกษตรของผู้ ใหญ่วิบูลย์ มีหลักสูตรการเรียนรู้ 3-5-3 การจั ด การความหลากหลายของ ทรัพยากรธรรมชาติ ความรู้เรื่องสมุนไพรและ การแปรรูป เป็นต้น และสามารถน�ำเสนอแลก เปลี่ ย นประสบการณ์ กั บ ผู ้ อื่ น ได้ อ ย่ า งมี กระบวนการที่เข้าใจง่าย แต่มีเทคนิคที่หลาก หลายและมีประสิทธิภาพ ผู้ ใหญ่วิบูลย์เป็นผู้ที่เรียนรู้อยู่ตลอด เวลา เพราะรักการอ่าน รับฟังคนอืน่ อย่างตัง้ ใจ เรียนรู้จากการท�ำจริง ให้ โอกาสในการเรียนรู้ กับทุกคนอย่างเสมอภาค เป็นกันเองทั้งเด็ก ผู้ ใหญ่ ชาวบ้าน ข้าราชการ นักการเมือง นัก วิชาการ ก็ล้วนแต่ได้รับการต้อนรับดูแลเอาใจ ใส่จากพ่อผู้ ใหญ่อย่างเสมอกัน และมีพลังใน การกระตุ้น สร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ การท�ำงานและการด�ำเนินชีวิต ผู้ ใหญ่วิบูลย์มีความมุ่งมั่นแก้ปัญหา บ้านเมือง คิดจะช่วยเหลือผูอ้ นื่ อยูเ่ สมอ ตัง้ แต่ วัยหนุ่มขณะที่เป็นทหารเกณฑ์ก็ร่วมกับเพื่อน ทหารเรียกร้องความเป็นธรรม เมื่อท�ำการ เกษตรก็รว่ มกับผูน้ ำ� ชาวนาเรียกร้องการประกัน ราคาผลผลิ ต จนกระทั่ ง ตั ว เองถู ก ฟ้ อ งล้ ม ละลาย และเรี ย นรู ้ ก ารอยู ่ กั บ ธรรมชาติ สามารถพึง่ ตนเองได้กต็ งั้ ใจจะน�ำประสบการณ์ ชีวติ ไปสร้างการเรียนรู้ ให้กบั สังคมทุกระดับทัง้ ปัจเจก ชุมชน การศึกษาทั้งในระบบและนอก ระบบ จนถึงระดับนโยบาย จึงเป็นทีย่ อมรับจาก หน่วยงานที่หลากหลายทั้งภาครัฐและเอกชน หนังสือ “ครูชีวิต ต้นธารความคิด การเรียน รู้” มีกัลยาณมิตรมากกว่า 50 ชีวิตที่มีความ สัมพันธ์กบั ผู้ ใหญ่วบิ ลู ย์ ในช่วงเวลาและโอกาส ต่างๆได้เขียนมาเล่าสู่กันฟัง หวังว่าจะเป็น ประโยชน์กับท่านที่สนใจและสามารถน�ำไป เรียนรูเ้ พือ่ ปรับใช้กบั ตนเองและการท�ำงานกับ คนอืน่ ได้อย่างมีความสุขมากขึน้ ทัง้ นี้ เนือ่ งจาก มีเนื้อที่กระดาษจ�ำกัด ผมจึงขอน�ำมาสรุปย่อ เพียงบางส่วนและบางท่านดังนี้ครับ ท่านอดีตนายกรัฐมนตรี 2 สมัย คุณ อานันท์ ปันยารชุน ซึ่งเป็นประธานกรรมการ ตัดสินรางวัล “ลูกโลกสีเขียว” ทีม่ ผี ู้ ใหญ่วบิ ลู ย์ ร่วมเป็นกรรมการด้วย เขียนถึง “ผู้ ใหญ่วิบูลย์

ในทัศนะของอานันท์ ปันยารชุน” ไว้ว่า “........ ผู ้ ใหญ่ วิ บู ล ย์ เ ล่ า ไว้ ในหนั ง สื อ หลายเล่ ม ว่ า ตนเองเกิดในครอบครัวชาวนา เมื่อหนุ่มๆ นั้น คิดแต่อยากจะร�ำ่ รวย ด้วยความอยากร�ำ่ รวยนี้ เองท�ำให้ไปสร้างหนี้สินไว้มากมาย ลงทุนปลูก พืชเชิงเดี่ยวมากๆ เพื่อหวังได้เงินก้อนโต ท่าน เรียกว่าเป็นการท�ำแบบ “เกษตรธุรกิจ” ผู้ ใหญ่ วิบลู ย์ขยายความว่า เป็นระบบทีล่ งทุนด้วยเงิน ทั้งหมด ตั้งแต่จ้างคน ซื้อไม้พันธุ์จนถึงไถดิน เตรียมดิน ถางหญ้า ใช้ปยุ๋ ใช้ยาเคมี แม้กระทัง่ จะน�ำไปขาย ขนย้ายก็ตอ้ งใช้เงิน จ้างเขาท�ำทุก อย่าง แต่พอถึงเวลาขาย กลับคิดต้นทุนที่จ่าย รายทางไม่เป็น ตัวเองก็ ไม่สามารถก�ำหนด ราคาได้วา่ ผลผลิตควรเป็นเท่าไรเพราะต้องพึง่ กลไกตลาด แล้วแต่เขาจะให้เท่าไร ยังไม่พูด ถึงค่าใช้จ่ายในครอบครัวที่ไม่ได้น�ำมาบวกลบ คูณหารกับต้นทุนการผลิต เพราะฉะนั้น ขายที ไรก็ขาดทุนโดยไม่รู้ตัวว่าขาดทุน และการผลิต ก็มพี ชื เศรษฐกิจเพียงไม่กอี่ ย่าง ท�ำมา 20 ปีหนี้ ท่วม ต้องขายที่ดินซึ่งเก็บหอมรอมริบไว้หลาย ร้อยไร่เพื่อใช้หนี้ เหลือแค่ไม่กี่ไร่ที่ท�ำเป็นวน เกษตรจนทุกวันนี้ จุ ด เปลี่ ย นของผู ้ ใหญ่ วิ บู ล ย์ นั้ น สอดคล้องกับแนวทางพุทธศาสนาคือ อริยสัจ สี่ เริ่มจากการ “รู้จักตนเอง” ก�ำหนดว่าอะไร คือตัวปัญหา เรียกว่ารู้จัก“ทุกข์” เมื่อรู้จักทุกข์ ก็ใคร่ครวญว่าจะแก้ปัญหาอย่างไร ที่ดิน 9 ไร่ ทีเ่ หลือก็เปลีย่ นมาท�ำเกษตรบนความเข้าใจ ไม่ จ�ำเป็นต้องมีที่ดินเยอะๆ ก็พอกิน เพียงแต่ ท�ำความเข้าใจความหมายของเกษตรที่หมาย ถึงชีวิต ถ้าเอาชีวิตไปขายก็อยู่ไม่ได้ เพราะ เกษตรกรรมคือการด�ำรงชีวติ มีชวี ติ ทีเ่ กีย่ วกับ ดิน จริงอยู่ว่าจะต้องมีเรื่องตลาดแต่ควรจะ เป็นการตลาดที่ไม่ใช่ธุรกิจการแข่งขันเพื่อไป จบที่หนี้สิน ดังนั้น เกษตรกรจึงจ�ำเป็นต้อง เข้าใจชีวิต ผลผลิตหลายอย่างที่เกินความ จ�ำเป็นก็ขายได้ ขายเท่าไรอยู่ที่ความรู้ความ เข้าใจของเกษตรกร แล้วผู้ ใหญ่วิบูลย์ก็เลือกการเกษตร แบบยั่งยืน ปลูกทุกอย่างที่กินได้คละกันไปใน พื้นที่เพียง 9 ไร่เรียกว่า “วนเกษตร” เพราะ จ�ำลองระบบนิเวศป่ามาอยู่ในเมือง ภายในป่า ผืนนี้ไม่ได้มแี ค่ตน้ ไม้แต่เต็มไปด้วยงานทดลอง และประสบการณ์ทก่ี ลายเป็นชุดความรู้ หลาย ปีที่ผ่านมาที่นี่เป็นโรงเรียนที่สร้างแรงบันดาล ใจให้กับผู้คนมากมาย วนเกษตรจึงเป็นเสมือน การรู้แจ้ง เป็นมรรคที่เดินแล้วไปสู่ความเจริญ วนเกษตรเกิ ด ขึ้ น จากปั ญ หาและปั ญ หานั้ น

กลายเป็นเครื่องมือที่น�ำไปสู่การเรียนรู้เรื่อง ชีวติ ท่านเคยบอกว่า วนเกษตรนัน้ เกิดขึน้ ตอน ที่ตนเองนั้นเดือดร้อนสุดๆ ไม่มีกินไม่มีใช้ ไม่มี เงินซื้อก็เลยต้องกลับมาคิด ถ้าไม่มีเงินซื้อก็ ต้องหาวิธสี ร้างเองก็คอื การพึง่ ตนเอง ถ้าอย่าง นั้นก็ต้องปลูกทุกอย่างที่อยากกินและต้องกิน สิ่งที่ปลูกได้ พอท�ำไปได้สักพักก็เริ่มมีกิน ยัง ไม่มีเงินแต่ของกินเริ่มมากขึ้น จากการที่ปลูก กับมือไม่ต้องจ้างใคร ท�ำให้เกิดความเข้าใจว่า ....เงินไม่ใช่ค�ำตอบของชีวิต วนเกษตรเกิดขึ้น ในปี พ.ศ.2526 จนถึงวันนีก้ ย็ งั เป็น “โรงเรียน” ที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งของสังคมไทย เป็นความดีที่ คงอยู่มานาน....เช่นเดียวกับผู้ก่อตั้งป่าเล็กๆ ผืนนี้” ดร.ศั ก ริ น ทร์ ภู มิ รั ต น์ อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธนบุรี และ อดีตผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้เขียน บทความ “ผู้ ใหญ่วิบูลย์ : ถอดรหัสชีวิตด้วย ฐานคิดวิทยาศาสตร์” ว่า”.....แนวคิด “วน เกษตร” หรือ “สูตร 3 5 3 ของผู้ ใหญ่ประกอบ ด้วย 3 รู้ ได้แก่ รู้ตัวเอง รู้ปัญหา และรู้ ทรัพยากร บวก 5 จัดการที่เกี่ยวพันกับเรื่อง “ปากท้อง” ได้แก่ ข้าว อาหาร สมุนไพร ของใช้ และปุ๋ย การท�ำ 3 แผน ได้แก่ แผนชีวิต แผน ชุมชน และแผนทรัพยากร ทีท่ ำ� ให้ผู้ ใหญ่วบิ ลู ย์ หลุดพ้นและช่วยให้หลายคนที่น�ำแนวคิดนี้ ไป ปฏิบัติหลุดพ้นหรือเริ่มหลุดพ้นจากหนี้สิน ก้าว สู่การมีอิสรภาพและการพึ่งตนเองได้มากขึ้น ส�ำหรับพวกเราในฐานะนักวิทยาศาสตร์กน็ กึ ถึง การถอดรหัสของสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า “จีโนม” ส�ำหรับผู้ ใหญ่วิบูลย์คงเป็นการถอดรหัสชีวิต เพื่อการเรียนรู้ เข้าใจตนเองและพึ่งตนเองได้ แต่ สิ่ ง ที่ เ หมื อ นกั น ของการถอดรหั ส ทั้ ง สอง แนวคิด คือ การใช้สิ่งที่เรียกว่า “ฐานคิดหรือ วิธีคิดทางวิทยาศาสตร์” ด้วยนิสัยรักการอ่าน แสวงหาความ รู้ด้วยการเรียนรู้จากชีวิตจริง สิ่งที่อยู่รอบตัว และผู้คนรอบข้าง ท�ำให้ท่านมีความรู้กว้าง ขวาง แม้ว่าจะไม่ได้ส�ำเร็จการศึกษาวิทยา ศาสตร์แขนงใด แต่ท่านได้ ใช้หลักการและ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการท�ำงาน อย่างครบถ้วน มีผลงานวิจัยที่ ใช้งานได้จริง ออกมาเป็นระยะ เทียบได้กบั ผลงานทีผ่ ลิตโดย ห้องปฏิบตั กิ ารวิจยั ชัน้ น�ำของไทย..... ผู้ ใหญ่ไม่ ปฏิเสธเทคโนโลยีแต่เลือกใช้เท่าที่จ�ำเป็น มัก ย�้ำเสมอว่าต้องแยกให้ออกระหว่าง “ความ ต้องการ” และ “ความจ�ำเป็น” เมื่อแยกได้ ก็ จุลสาร ธ.ก.ส. | 29


เศรษฐกิจพอเพียง | นางเลิ้ง 312 เรื่อง

จะตัดสินใจได้ว่าเรื่องใดหรือเมื่อใดถึงต้องใช้ เทคโนโลยี......ผู้ ใหญ่ใช้ปัญญาน�ำเทคโนโลยี โดยต้องท�ำให้ชาวบ้านเข้าใจหลักการพื้นฐาน ทางวิทยาศาสตร์ไม่ใช่การซื้อเทคโนโลยี ...ดัง เมือ่ ครัง้ ทีช่ าวบ้านต้องการผลิตไวน์จากองุน่ ป่า แต่ ข าดความช� ำ นาญจึ ง เกิ ด ปั ญ หาการตก ตะกอน ผู้ ใหญ่จึงติดต่อ สวทช.ให้ ไปช่วย วิเคราะห์และแก้ปญ ั หาโดยเลือกให้พวกเราไป ให้ความรู้หลักการพื้นฐานของการตกตะกอน และการคัดแยกตะกอน เพื่อให้ชาวบ้านเข้าใจ หลั ก การและคิ ด แก้ ป ั ญ หาด้ ว ยตนเองหรื อ พัฒนาเครื่องมือจากสิ่งที่ตนเองมีโดยไม่ต้อง ซื้อเทคโนโลยีทั้งหมด การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พื ช เพื่ อ เพิ่ ม ปริ ม าณต้ น ไม้ ห ายากก็ เ ป็ น อี ก ตั ว อย่ า งแนวคิ ด ของผู ้ ใหญ่ ที่ มี ก ารน� ำ เทคโนโลยีมาใช้เพือ่ ท�ำงานได้ดแี ละเร็วขึน้ ....... ผู้ ใหญ่เป็นคนช่างสังเกต ซึง่ เป็นพืน้ ฐานส�ำคัญ ของนักวิทยาศาสตร์ เรียนรูเ้ รือ่ งราวต่างๆและ สะสมความรูจ้ ากการสังเกตในกิจวัตรประจ�ำวัน คือ การกวาดใบไม้จากต้นหนึง่ ไปยังอีกต้นหนึง่ ที่ต่างชนิดกัน แล้วท่านสังเกตพบว่าต้นไม้ที่มี ใบไม้ปกคลุมอยู่เพียงชนิดเดียวจะเติบโตช้า กว่าต้นไม้ที่มีใบไม้หลายชนิดมาปกคลุม นอกจากนั้น ผู้ ใหญ่วิบูลย์ยังเป็นนัก ส�ำรวจตัวยง ถือว่าเป็นนักส�ำรวจรุน่ แรกๆทีร่ ว่ ม ส�ำรวจผืนป่ารอยต่อ 5 จังหวัดทีเ่ ป็นแหล่งรวม ความอุดมสมบูรณ์ของพืชพรรณ สมุนไพรและ สัตว์ป่าหายาก ท�ำให้รู้ว่า ในป่าตะวันออกมี พรรณไม้มากถึง 1,600 ชนิด มีตน้ ไม้หลายชนิด เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พืชหายาก และพืชที่ ใกล้ จ ะสู ญ พั น ธุ ์ ท� ำ ให้ ช าวบ้ า นมี ก ารใช้ พื ช สมุนไพรทัง้ ในแง่เป็นยา อาหารและแหล่งราย ได้ มีการพัฒนาต่อยอดไปสูก่ ารหารูปแบบเพือ่ การบริหารจัดการทรัพยากรและผืนป่าร่วมกัน ผู้ ใหญ่เชือ่ มัน่ แนวคิดของ “การเรียนรูด้ ว้ ยการ ลงมือท�ำ” ซึ่งผู้ ใหญ่ใช้ “วนเกษตร” พิสูจน์ แนวคิดตัวเอง โดยลงมือปลูกต้นไม้หลายชนิด ทั้งพืชที่ให้ผลเร็วเพื่อ “ปากท้อง” มีเหลือขาย เป็นรายได้ ปลูกไม้ผลไม้ยืนต้นเพื่อเป็นอาหาร และเป็นรายได้ระยะยาว อีกส่วนหนึง่ แบ่งปลูก ไม้อายุยาวเพื่อเป็นไม้ ใช้สอย น�ำมาสร้างบ้าน ใหม่หรือเป็นสวัสดิการเลี้ยงตัวเองในยามแก่ เฒ่า ค�ำแนะน�ำของการท�ำวนเกษตรของผู้ ใหญ่ คือ เริม่ ต้นด้วยการปลูก “โพธิ์ ไทร ไกร กร่าง” เพราะไม้ทั้งสี่ชนิดเป็นที่ชื่นชอบของนก จึงให้ นกเป็นตัวช่วยกระจายเมล็ดของพืชที่งสี่ไปยัง พื้นที่อื่นๆ ท�ำให้เกิดการขยายตัวของพื้นที่ป่า โดยไม่เหนื่อยแรง แม้การทดสอบความจริง 30 | จุลสาร ธ.ก.ส.

เรือ่ งนีจ้ ะใช้เวลานานเกือบ 30 ปี แต่กเ็ ป็นการ ทดลองที่คุ้มค่าและมีคุณค่า ผู้ ใหญ่มีชีวิตที่มี ความสุข มีรายได้เลี้ยงตัวเองและครอบครัว ปลูกบ้านจากต้นไม้ที่ตัวเอง พิสูจน์ ให้เห็นจริง ว่าการท�ำวนเกษตรท�ำให้พึ่งตนเองได้จริง ผู้ ใหญ่มมี มุ มองทีแ่ ตกต่างจากหลาย คน เน้นความส�ำคัญของการปลูกเพื่อ “กิน” มากกว่าปลูกเพื่อ “ขาย” เหลือกินจึงค่อยขาย เช่นเดียวกับการแก้ปัญหาช้างป่าด้วย “วน เกษตร” ไม่ใช่ “การขับไล่” เมื่อชาวบ้านมา ปรึกษาเรื่องช้างป่ามาท�ำลายพืชผลที่ปลูกไว้ ผู ้ ใหญ่ แ นะน� ำ ว่ า “ระบบการผลิ ต แบบวน เกษตรซึ่งเป็นการปลูกพืชแบบผสมผสานจะ ช่วยแก้ปญ ั หาช้างกินพืชไร่ได้” ทัง้ นีท้ า่ นสังเกต ว่า ช้างโดยธรรมชาติมีนิสัยชอบกินพืชที่ปลูก แบบเชิงเดี่ ย ว จึง น� ำ มาสู ่ การศึกษาร่ วมกั น ระหว่ า งชุ ม ชนกั บ นั ก วิ ช าการในนามคณะ

ท�ำงานศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาวนเกษตรห้วยหิน เริ่มด้วยการส�ำรวจหมู่บ้านที่ ได้รับผลกระทบ จากช้ า งป่ า บุ ก รุ ก พื้ น ที่ มี ช าวบ้ า น 287 ครอบครัวใน 35 หมู่บ้านของ 5 จังหวัด พื้นที่ เสียหายประมาณ 1,000 ไร่ มีการจัดเวทีเรียน รู้ร่วมกันทุกเดือนเกี่ยวกับพฤติกรรมช้างป่าที่ เปลี่ยนแปลงเส้นทางการหากินในรอบ 1 ปี และชนิดอาหารที่ช้างชอบ ความรู้ความเข้าใจ ดังกล่าวน�ำไปสู่แนวคิดแก้ปัญหาด้วยการส่ง เสริมให้ชาวบ้านปรับเปลีย่ นมาปลูกพืชแบบวน เกษตร ซึ่งเป็นความส�ำเร็จของการ “กันคน” และ “ช้างป่า” ออกจากกัน จากเรื่ อ งอาหารการกิ น ขยายไปสู ่ เรือ่ งความเป็นอยู่ ผู้ ใหญ่วบิ ลู ย์ ให้ความส�ำคัญ กับการลดรายจ่ายและการเพิม่ มูลค่าทรัพยากร ท้องถิ่น สอนให้ชาวบ้าน “รู้ตัวเอง” ด้วยการ จดบันทึกรายรับรายจ่ายของครัวเรือน ท�ำให้รู้


ว่ามีรายจ่ายการซื้อของใช้ ได้แก่ สบู่ ยาสระ ผม น�้ำยาล้างจาน ฯลฯ อยู่ค่อนข้างมาก จึงมี แนวคิดท�ำของใช้บางอย่างด้วยตนเอง เริม่ จาก การซื้อวัตถุดิบที่เป็นสารเคมีมาใช้เป็นส่วน ประกอบ แต่ ต ่ อ มาสามารถพั ฒ นามาเป็ น วัตถุดิบท้องถิ่นทดแทนสารเคมีได้ด้วย ผู้ ใหญ่ เรียกต้นไม้ทุกต้นที่ปลูกว่า “สมุนไพร” ถือว่า สมุนไพรเป็นปัจจัยพื้นฐานแห่งการด�ำรงชีวิต ด้ ว ยพื้ น ฐานครอบครั ว ที่ คุ ณ พ่ อ เป็ น หมอยา ผู ้ ใหญ่ จึ ง มี ค วามรู ้ เ รื่ อ งสมุ น ไพรมาก รู ้ ว ่ า สมุนไพรแต่ละชนิดมีคณ ุ ค่าทางโภชนาการและ สรรพคุ ณ ทางยาที่ ต ่ า งกั น บางชนิ ด มี ส าร ป้องกันอนุมูลอิสระและช่วยเสริมภูมิต้านทาน โรค บางชนิดมีฤทธิ์ท�ำให้นอนหลับสบาย บาง ชนิดลดคลอเรสตอรอลในเลือดได้ ผู้ ใหญ่จึง ฟื้นฟูวัฒนธรรมการท�ำยาสมุนไพรเพื่อให้ชาว บ้านสามารถใช้ยาสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ พื้นฐานของตัวเองได้ ผู้ ใหญ่ให้ความส�ำคัญกับการปลูกฝัง การเรียนรู้และการพัฒนาทุนมนุษย์อันเป็นทุน ทางสั ง คมที่ ส� ำ คั ญ ท่ า นสนใจการพั ฒ นา ศักยภาพเด็กเป็นพิเศษ มีกิจกรรมหลายอย่าง ให้เด็กเรียนรู้เรื่องราวต้นไม้ การอยู่ร่วมกับ ธรรมชาติ ด ้ ว ยเชื่ อ มั่ น ว่ า เด็ ก มี พ ลั ง และ ศักยภาพสูงมาก แต่ระบบการศึกษาในปัจจุบนั ไม่เอือ้ ให้เกิดการพัฒนาศักยภาพเด็กอย่างเต็ม ที่ ตัวอย่างที่กล่าวมาหลายกรณีคงท�ำให้ทุก ท่านเห็นพ้องว่า นอกจากผู้ ใหญ่จะเป็นนัก ปฏิบตั ซิ งึ่ ใช้การสังเกตสิง่ ต่างๆ รอบตัวเพือ่ การ เรียนรู้และพัฒนาต่อยอดให้เกิดประโยชน์แก่ ตนเองและชุมชนแล้ว ผู้ ใหญ่วิบูลย์ยังเป็นนัก วิทยาศาสตร์ที่ประสบความส�ำเร็จในการถอด “รหัสชีวิต”เพื่อการพึ่งตนเองและเป็น “ผู้น�ำ ชุมชนวิทยาศาสตร์” อย่างแท้จริง ในหนั ง สื อ รวมข้ อ เขี ย นเนื่ อ งใน โอกาส 72 ปีของผู้ ใหญ่วิบูลย์ ยังมีอีกหลาย บุ ค คลเป็ น จ� ำ นวนมากที่ ร ่ ว มเขี ย นบทความ ร�ำลึกถึงด้วยความนับถือ เช่น ดร.อ�ำพน กิตติ อ�ำพน ดร.เสรี พงศ์พิศ ศ.ดร.อภิชัย พันธเสน คุณเตือนใจ ดีเทศน์ คุณเดช พุ่มคชา ฯลฯ แต่ หน้ากระดาษหมดแล้วครับ จึงขอยุติเรื่องของ ผู้ ใหญ่วิบูลย์เพียงเท่านี้ แต่จะน�ำเรื่องราววิถี ชี วิ ต และแนวคิ ด ของปราชญ์ ช าวบ้ า นที่ น ่ า นับถือมากอีกท่านหนึง่ คือ น้าประยงค์ รณรงค์ ปราชญ์เกษตร ป. 4 ที่ได้รับรางวัลแมกไซไซ มาเล่าสู่กันฟังในฉบับถัดไปครับ

จุลสาร ธ.ก.ส. | 31


Scoop | ทีมข่าว สสป. เรียบเรียง

โรงสีข้าวที่สร้างจากเงินทุนของชาวนา

“โรงสีข้าวสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด ลูกค้า ธ.ก.ส. จังหวัดสุรินทร์”

เมือ่ วันที่ 27 ก.ค. 2560 นายอรรถพร สิงหวิชยั ผูว้ า่ ราชการจังหวัดสุรนิ ทร์ นายอภิรมย์ สุ ข ประเสริ ฐ ผู ้ จั ด การ ธ.ก.ส. พร้ อ มด้ ว ย นายมรกต พิธรัตน์ นายส่งเสริม ศักดิ์สิทธิ์ ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ จั ด การ นายสมเกี ย รติ กิ ม าวหา ผู้อ�ำนวยการ ธ.ก.ส. ฝ่ายกิจการสาขาภาค ตะวัน ออกเฉียงเหนือ ตอนล่าง (ฝอล.) ได้ เดิ น ทางไปเป็ น ประธานในพิธีเ ปิด โรงสีข ้าว สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. (สกต.) สุรินทร์ ซึ่งได้จัดสร้างขึ้นบริเวณบ้าน จันรม ต�ำบลตาอ็อง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรนิ ทร์ เพือ่ ให้บริการในการรับซือ้ และแปรรูปข้าวหอม มะลิของเกษตรกรลูกค้า ธ.ก.ส. จังหวัดสุรนิ ทร์ และจังหวัดใกล้เคียง ในราคาที่เป็นธรรม เพื่อ ช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรชาวนา โดยโรงสี ข ้ า ว ดั ง กล่ า วเป็ น โรงสี แ ห่ ง แรกในประเทศไทย ที่มีเครื่องก�ำจัดมอดด้วยคลื่นวิทยุโดยไม่ ใช้ สารเคมี โดยความร่ ว มมื อ ของกระทรวง 32 | จุลสาร ธ.ก.ส.


วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี และ ธ.ก.ส. นอกจากนั้นโรงสีข้าวของ สกต.สุรินทร์ยังเป็น โรงสีข้าวที่สร้างขึ้นด้วยเงินทุนจากการรวมหุ้น ของเกษตรกรโดยไม่ ต ้ อ งกู ้ ยื ม เงิ น ถื อ ว่ า เป็นการพึ่งพาตนเองโดยการสร้างความเข้ม แข็งของเครือข่ายเกษตรกรโดยแท้จริง และ ช่ ว ยสร้ า งสมดุ ล ให้ กั บ ราคาข้ า วในจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ไม่ ต กเป็ น เหยื่ อ พ่ อ ค้ า คนกลาง เกษตรกรสามารถขายข้าวได้ ในราคาที่เป็น ธรรม ซึ่งนับเป็นความภาคภูมิใจของเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวจังหวัดสุรินทร์ นายอภิรมย์ สุขประเสริฐ กล่าวว่า ขอแสดงความยินดีกับสมาชิก สกต. สุรินทร์ อันเป็นเจ้าของโรงสีตัวจริง นี่คือโอกาสในการ สร้างข้าวหอมมะลิจังหวัดสุรินทร์ ให้มีชื่อเสียง และมีคุณภาพระดับสากล เกษตรกรจังหวัด สุ ริ น ทร์ ต ้ อ งช่ ว ยกั น สร้ า งข้ า วหอมมะลิ ข อง สุ ริ น ทร์ ใ ห้ มี คุ ณ ภาพด้ ว ยการท� ำ การเกษตร ที่ ป ระณี ต และใส่ ใ จในทุ ก ขั้นตอนการผลิต ซึ่ง ธ.ก.ส. ยินดีที่จะสนับสนุน นางมะลิวรรณ เย็นเสมอ ผู้จัดการ สกต. สุรินทร์กล่าวว่า ขอขอบคุณเถ้าแก่โรงสี ตัวจริงทุกท่านอันได้แก่เกษตรกรสมาชิก สกต. ที่ได้สมทบทุนกันคนละพันบาท รวมกันจนได้งบ ประมาณในการสร้างโรงสี สกต. สุรินทร์ขึ้นมา ได้ส�ำเร็จ “วันนี้เป็นวันที่เราภาคภูมิใจที่มีโรงสี เป็นของตนเอง และที่น่ายินดีก็คือทาง สกต. สุรินทร์ ได้รับออเดอร์การผลิตจากห้างเทสโก้ โลตัส ที่เข้ามาติดต่อสั่งซื้อข้าวสารกับ สกต. สุรินทร์ ในโอกาสที่เปิดโรงสีด้วย” นับว่าเป็นอีกก้าวหนึ่งของเกษตรกร ชาวนาไทยทีก่ ำ� ลังจะมุง่ ไปสูก่ ารพัฒนาทีย่ งั่ ยืน จุลสาร ธ.ก.ส. | 33


SMAEs To Day | คนสัน นันทจักร

สวรรค์ของนกน้ำ� ตระการตาทุ่งดอกบัว สัมผัสวิถีชีวิต ผ่านรอยยิ้มคนริมน้ำ� ที่บึงบอระเพ็ด

การท่องเที่ยวที่หลากหลาย ได้ถูก ดีไซน์ขึ้นมาเพื่อตอบสนองรูปแบบการใช้ชีวิต ของคนในสังคมทีแ่ ตกต่างกันไป การท่องเทีย่ ว เพื่อเรียนรู้วิถีชีวิตของชุมชนเป็นอีกรูปแบบ ที่ก�ำลังได้รับความนิยมมากขึ้น โดยเฉพาะใน หมู่คนเมืองที่โหยหารูปแบบการใช้ชีวิตแบบ สโลว์ไลฟ์แบบที่ไม่ต้องสวมหน้ากากเข้าหากัน ชุ ม ชนเล็ ก ๆ มากมายเริ่ ม เปิ ด รั บ นักท่องเที่ยวที่แสวงหาความแตกต่าง ท่อง เที่ยวเพื่อการเรียนรู้เอกลักษณ์เฉพาะตัวของ ท้องถิ่นนั้นๆ ด้วยจุดขายที่หลากหลาย ทั้ง ธรรมชาติ วัฒนธรรมประเพณี เสน่หอ์ ย่างหนึง่ ของการท่องเที่ยวชุมชนคือเป็นการท่องเที่ยว ควบคูก่ บั การได้เรียนรูว้ ถิ ชี ติ ของชาวบ้านอย่าง แท้จริง ท�ำให้ ได้รับความสนใจเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ว สามารถสร้างรายได้ ให้คนในชุมชน และยั ง เสริ ม สร้ า งให้ ค นในท้ อ งถิ่ น มี ค วาม เข้มแข็งด้วย “กลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนผู ้ เ ลี้ ย งปลา 34 | จุลสาร ธ.ก.ส.


บ้านหัวดง” ต.พระนอน อ.เมือง จ.นครสวรรค์ เป็นชุมชนทีอ่ ยูค่ บู่ งึ บอระเพ็ดมาอย่างยาวนาน มีความผูกพันและเรือ่ งราวต่างๆ ถ่ายทอดออก มามากมายให้กบั ผูม้ าเยือน จากทีเ่ คยด�ำรงชีวติ อย่างเสรี ไม่ มี ข้ อจ� ำ กั ดแม้ แ ต่ ตารางนิ้ วใน บึงบอระเพ็ด จนกระทั่งทางการประกาศเป็น เขตห้ามล่าสัตว์ป่าบึงบอระเพ็ด ท�ำให้วิถีชีวิต พวกเขาเปลีย่ นไป แต่กเ็ รียนรูท้ จี่ ะปรับตัวให้อยู่ ร่วมกันอย่างมีความสุขเช่นเดิมได้ และในฤดูทอ่ งเทีย่ วปลายปีนี้ หน่วย งานภาครัฐทั้ง ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เขตห้ามล่าสัตว์ปา่ บึ ง บอระเพ็ ด รวมทั้ ง องค์ ก รปกครองส่ ว น ท้องถิ่น ได้เข้ามาสนับสนุน​ “โครงการชุมชน ท่องเที่ยวตามรอยเท้าพ่อ” โดยดึงจุดเด่นของ บึงบอระเพ็ดอันเลื่องชื่อ โดยเฉพาะเป็น 1 ใน 9 จุดชมนกน�ำ้ ทีด่ ที สี่ ดุ ของโลก และทัศนียภาพ อันตระการตาของทะเลบัว ไม่ว่า จะเป็นบัว หลวง บัวสายหรือบัวแดง ที่สามารถเที่ยวชม ได้ทั้งปี โดยชาวบ้านในชุมชนพ ร้อมให้บริการ ไม่ว่าจะเป็นช่วงเช้าตรู่ที่อ อกไปดูบัวบานและ นกน�ำ้ ออกหากิน หรือจะเป็นช่วงเย็นก่อนตะวัน ลับฟ้าก็เป็นบรรยากาศที่สุดแสน โรแมนติกจน อยากจะให้เวลาหยุดเดิน ณ ที่แห่งนั้น ระยะเวลาล่ อ งเรื อ ชมความงาม ธรรมชาติประมาณ 1 ชัว่ โมง ในราคาเช่าเหมา ล�ำ ล�ำละ 500 บาท จะได้สัมผัสกับระบบนิเวศ ของบึงบอระเพ็ดอย่างใกล้ชิด เห็นชาวบ้าน ออกมาเก็ บ บั ว ไปขายตั้ ง แต่ เ ช้ า จนบ่ า ย ใน แต่ละวันจะเก็บบัวหลวงได้หลายกิโลกรัม บัว หลวงที่เก็บมาจากบึงบอระเพ็ดสามารถน�ำมา

แปรรู ป ได้ แ ทบจะทุ ก ส่ ว นประกอบของบั ว อย่างเช่นเกสรบัวน�ำไปตากให้แห้งและน�ำมา ชงดื่ม ซึ่งจะมีกลิ่นหอมอ่อนๆ รสชาติคล้ายชา ขมเล็กน้อย แต่อุดมไปด้วยสรรพคุณมากมาย โดยเฉพาะช่ ว ยบ� ำ รุ ง หั ว ใจและก� ำ จั ด อนุ มู ล อิสระท�ำให้ ใบหน้าอ่อนเยาว์ ขายได้กโิ ลกรัมละ 250 บาท และส่วนที่นิยมน�ำมารับประทานคือ ไหลบัว น�ำประกอบอาหารหลากหลายเมนู เช่น แกงส้มไหลบัว ส้มต�ำไหลบัว ทีเ่ ขาว่ากันว่าใคร มาเที่ยวบึงบอระเพ็ดไม่ได้ทานก็เหมือนมาไม่ ถึงแถมยังมีรสชาติดีไม่แพ้ส้มต�ำมะละกออีก ด้วย และไฮไลท์หลังจากล่องเรือแล้ว คือ การร่วมรับประทานอาหารกลางวันในหมู่บ้าน โดยมีวัตถุดิบอันทรงคุณค่าจากเนื้อปลากราย แท้ๆ ท�ำออกมาหลากหลายเมนู ทั้ง ทอดมัน ปลากราย ลูกชิ้นปลากราย เนื้อปลากรายลวก จิ้มกับน�้ำจิ้มแซ่บๆ เป็นของฝากขึ้นชื่อชาวบ้าน ที่นี่ ท�ำตั้งแต่ต้นน�้ำถึงปลายน�้ำ เลี้ยงปลาจะ แปรรูปเป็นอาหารให้นักท่องเที่ยวได้ชิมหลัง จากชมความงดงามกันจนอิ่มแล้ว โครงการท่องเที่ยวตามรอยพ่อ จะ เปิดเส้นทางให้ท่องเที่ยวอย่างเป็นทางการ ใน ช่วงเดือนตุลาคมนี้เป็นต้นไป เป็นอีกหนึ่งช่อง ทางทีช่ ว่ ยสนับสนุนชาวบ้านให้มสี ร้างรายเสริม และอาจกลายเป็นรายได้หลัก หน่วยงานที่เข้า มาสนั บ สนุ น ได้ เ ล็ ง เห็ น ความเข้ ม แข็ ง ของ ผู้น�ำชุมชนและความสามัคคีของคนในชุมชน จึ ง เกิ ด การพั ฒ นาโครงการบนพื้ น ที่ แ ห่ ง เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวด้วยรอยยิ้มของคน ริมน�้ำ บึงบอระเพ็ด จุลสาร ธ.ก.ส. | 35


We Love Customer | ฝ่ายการตลาดดิจิตอล เรื่อง

By วิจัย ฝตจ.

Digital Wallet

กระเป๋าเงินของคนยุคดิจิตอล Digital Wallet หรือสามารถเรียกอีกชื่อว่า e-Wallet เป็นกระเป๋าเงินออนไลน์ ซึ่งผู้ใช้บริการนั้น ต้องสมัครเปิดบัญชีเงิน ออนไลน์กับทางผู้ให้บริการ โดยที่ผู้ใช้บริการ สามารถฝากและถอนเงินเข้าออกบัญชีเงิน ออนไลน์ ซึ่งมี 2 รูปแบบ ดังนี้

ที่มา : www.ipwatchdog.com

1. Card Base หรือบัตรเงินสด ผู้ใช้สามารถเติมเงินเข้าไปในบัตร และใช้บัตรซื้อสินค้าหรือชาระค่าบริการได้ ทันที โดยไม่ต้องพกเงินสด 2. Digital Account หรือบัญชีอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบแอพพลิเคชั่น เช่น PayPal, AIS,mPay,TrueMoney เพียงผูกบัญชีกับบัตรเครดิต/บัตรเดบิต หรือเติมเงินผ่าน Mobile Banking/Internet Banking โอกาส e-Wallet ในประเทศไทย

ประเทศไทย มีจานวนผู้ใช้สมาร์ทโฟน ล้านคน

47

กระแส e-Wallet เพิ่มขึ้น โดยประเทศไทยมี สัดส่วนการใช้งานในปี 2015 ความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐาน

7.6%

ด้วยจานวนผู้ใช้สมาร์ทโฟนในประเทศไทยถึง 47 ล้านคน และความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานอย่างเทคโนโลยี 4G ที่ได้รับการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง ทาให้กระแสของ e-Wallet มาแรงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด จะเห็นว่าในปี 2015 ประเทศไทยมีสดั ส่วนการใช้งาน e-Wallet อยู่ 7.6% ผู้ได้รับใบอนุญาตให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ใช่ธนาคาร กลุ่มผู้ให้บริการ สัญญาณโทรศัพท์มือถือ

เช่น

กลุ่มผู้ให้บริการ ต่างชาติ

กลุ่มสตาร์ทอัพ

เช่น

เช่น

ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ได้รับใบอนุญาตให้เป็นผู้ให้ บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์มากถึง 14 รายที่ไม่ใช่ ธนาคาร ทาให้ผู้บริโภคมีทางเลือกที่หลากหลาย ในการเข้าถึง e-Wallet โดยล่าสุด Samsung Pay เป็น e-Wallet จากค่ายมือถือเจ้าแรกที่ทาตลาด ในประเทศไทย เป็นการชาระเงินรูปแบบใหม่ด้วย บัตรเครดิตผ่านสมาร์ทโฟน

การที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภคในประเทศไทยให้นิยมใช้ระบบ e-Wallet นั้น จะต้องทาให้ e-Wallet เป็นเรื่องง่าย และปลอดภัย ก็จะสามารถกระตุ้นให้ระบบ e-Wallet ของไทยได้รับความนิยมมากขึ้นได้ 36 | จุลสาร ธ.ก.ส.


Scoop | ทีมข่าว สสป. เรียบเรียง

น�้ำใจเล็กๆ กลางมวลน�้ำใหญ่ จากสถานการณ์นำ�้ ท่วมทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในพืน้ ทีส่ กลนคร กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ยโสธร นครพนม เเละนครราชสีมา ถึงแม้ว่าในขณะนี้ระดับน�้ำจะลดระดับลงมาแล้ว แต่สิ่งที่ยังคงทิ้งร่องรอยไว้ก็คือ ความเสียหายของบ้านเรือน เรือกสวนไร่นา ของเกษตรกรและประชาชน ด้วยเหตุที่ว่ามวลน�้ำจ�ำนวนมากจากอ่างเก็บน�้ำที่ทะลักมาท่วมบ้านเรือนบวกกับ อานุภาพของพายุดีเปรสชั่นเซินกา จึงสร้างความเสียหายให้กับพี่น้องชาวอีสานเป็นอย่างมาก รวมไปถึงอาคารส�ำนักงานของ ธ.ก.ส. ที่จังหวัดสกลนครด้วย ทันทีที่ ได้รับทราบข่าวความเสียหายจากพายุดีเปรสชั่นเซินกา ธ.ก.ส. ก็ ได้ด�ำเนินการช่วยเหลือเกษตรกร โดยการ มอบหมายให้พนักงานในพื้นที่ประสบอุทกภัย ออกเยี่ยมเยียนลูกค้าและน�ำถุงยังชีพไปมอบเพื่อช่วยเหลือในเบื้องต้น รวมถึงให้ ก�ำลังใจแก่เกษตรกรลูกค้าที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยในครั้งนี้ และส�ำรวจความเสียหายที่เกิดขึ้นภายหลังจากสถานการณ์น�้ำ ท่วมได้คลี่คลายลง เพื่อน�ำข้อมูลดังกล่าวมาพิจารณาหามาตรการฟื้นฟูการประกอบอาชีพและมาตรการช่วยเหลืออื่นๆ ที่เหมาะ สมเพิ่มเติมในระยะต่อไป ทั้งนี้ ในเบื้องต้น ธ.ก.ส. ได้น�ำเงินจากกองทุนบรรเทาความเดือดร้อนผู้ประสบภัยธรรมชาติและภัยพิบัติของ ธ.ก.ส. เพื่อ จัดหาถุงยังชีพน�ำไปมอบให้เกษตรกรลูกค้าและประชาชนที่เดือดร้อน ส�ำหรับเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ที่ร่วมโครงการประกันภัยข้าว นาปี ปีการผลิต 2560 เมื่อมีการส�ำรวจความเสียหายในพื้นที่ประสบอุทกภัยเรียบร้อยแล้ว และพบว่ามีความเสียหายเป็นไปตาม เงือ่ นไขของกรมธรรม์ ก็จะได้รบั ความคุม้ ครองไร่ละ 1,260 บาท โดยสามารถเลือกรับโอนค่าสินไหมผ่านบริการพร้อมเพย์ได้ทนั ที นอกจากนั้น ยังต้องขอบคุณฮีโร่ทุกคน นั่นคือพนักงานสาขาในพื้นที่ ที่สละเวลา ก�ำลังกาย มาร่วมกันช่วยเหลือผู้ประสบภัย เหตุการณ์อุทกภัยในครั้งนี้ น�้ำมาแล้วเหือดแห้งไป แต่น�้ำใจของพี่น้อง ธ.ก.ส. ที่มีต่อเกษตรกรและประชาชนไม่เคยเหือดแห้ง ตาม

ขอขอบคุณภาพประกอบจาก FB : kuakool chan , ผู้จัดการ ธนาคารต้นไม้ , ไม่เข้าใจ อะไรก็ ไม่รู้ , โอ้ โอ้ , ณัฎฐิยา เจริญชัย พรหมวงศานนท์ จุลสาร ธ.ก.ส. | 37


Scoop | ทีมข่าว สสป. เรียบเรียง

38 | จุลสาร ธ.ก.ส.


จุลสาร ธ.ก.ส. | 39


Scoop | ทีมข่าว สสป. เรียบเรียง

40 | จุลสาร ธ.ก.ส.


จุลสาร ธ.ก.ส. | 41


ทายาทเกษตรกร ทีมข่าว สสป. เรื่อง / ภาพ

Plant Love: วิธีปลูกรัก... ของ เสาวลักษณ์

42 | จุลสาร ธ.ก.ส.

วิเชียรสรรค์

...ก่ อ นหน้ า ที่ จ ะหั น กลั บ มาท� ำ การ เกษตร เธอคนนี้เคยท�ำงานด้านคอมพิวเตอร์ เกีย่ วกับการตรวจสอบซอฟแวร์และใช้ชวี ติ เป็น สาวคนเมืองอยู่ในกรุงเทพมาสิบกว่าปีจนแทบ จะคุ้นชิน แล้วจะมีเหตุผลอะไรที่ท�ำให้เธอ ตัดสินใจหันหลังให้กับเมืองหลวง บทสนทนา สั้นๆ ต่อจากนี้คงจะพออธิบายให้เราได้เข้าใจ เรือ่ งราวของเธอ “เสาวลักษณ์ วิเชียรสรรค์”... ในช่วงที่เธอเดินทางกลับมาเยี่ยม บ้านในวันหยุดเทศกาลต่างๆ เธอได้กลับมาเห็น วิถีชีวิตชุมชนที่เธอเคยอยู่ตั้งแต่เล็กจนโต มัน เป็นภาพเหมือนเดิมซ�ำ้ ๆ อยูต่ ลอด ได้เห็นพีป่ า้ น้าอาท�ำไร่ทำ� นา ได้เห็นชีวติ ความเป็นอยูท่ ตี่ อ้ ง เผชิญกับปัญหาราคาผลผลิตตกต�่ำ “เราจึงอยากจะช่วยเหลือลุงป้าน้าอา และเพือ่ นๆ ทีย่ งั ท�ำการเกษตรอยู่ในชุมชน คือ เรามีแนวคิดมาจากที่เคยใช้ชีวิตอยู่ ในเมือง เวลาที่ เ ราไปซื้ อ ของใช้ ต ามห้ า ง ตามร้ า น สะดวกซือ้ มันค่อนข้างจะมีราคาแพง เราซือ้ ชา กิน เราซื้อข้าวกินหรือผักผลไม้ พืชสมุนไพรที่ เกษตรกรปลูกมีมูลค่าสูง แต่พอกลับมาบ้าน จริงๆ เกษตรกรกลับขายได้ ในราคาที่ถูก ตรง นี้จึงกลายเป็นค�ำถามว่า ท�ำไมเกษตรกรเราถึง เจอปัญหาเวียนวนต่างๆ เหล่านี้อยู่ตลอด ทั้งๆ ที่เกษตรกรเป็นผู้เริ่มต้นและมีความสามารถ และทักษะในการปลูก แต่เวลาขายกลับขายได้ ในราคาต�ำ่ เลยเกิดแรงบันดาลใจทีจ่ ะลงมือท�ำ ในสิ่งที่เราคิด” เมื่ อ ได้ เ ริ่ ม ต้ น ลองท� ำ เองก็ ค ่ อ ยๆ เรียนรู้และแก้ไขปัญหา สิ่งแรกที่เธอเจอคือ เรื่องการตลาด การถูกพ่อค้าคนกลางกดราคา การขนส่งที่มีค่าใช้จ่ายสูง ซึ่งมีผลเกี่ยวข้องใน ตัวผลผลิต ทั้งความสด ทั้งน�้ำหนัก เธอจึงน�ำ ความรูท้ มี่ ีในเรือ่ งเทคโนโลยี มาช่วยแก้ปญ ั หา ในเรื่องของการตลาดและการขนส่ง “สิง่ ทีเ่ ราจะก้าวข้ามตรงจุดนี้ไปให้ได้ เราต้องท�ำการตลาดเอง เมื่อเกษตรกรเป็นคน ปลูก ก็ควรที่จะมีส่วนในการก�ำหนดราคา เช่น เราเปิดเว็บไซต์ เราเช็คราคาที่ตลาดไท เรารู้ ว่าผักชนิดนี้ขายเท่าไหร่ เราอยู่หน้าสวนก็จะรู้ ว่ า จะขายเท่ า ไหร่ โดยเราจะหาข้ อ มู ล จาก อินเตอร์เน็ตให้รอบด้าน เก็บสถิติให้ครบทั้งปี การผลิต ว่าในแต่ละช่วงของปีนั้น มีราคา สินค้าเกษตรแต่ละชนิดเท่าไหร่” “หลักจากนั้นเราก็มาหาว่า มีที่ไหน บ้างทีเ่ ราสามารถจะน�ำสินค้าไปจ�ำหน่ายได้ ค�ำ ตอบที่ได้มาคือการน�ำไปขายทีต่ ลาดกลาง หรือ การติดต่อกับผู้ผลิตที่ต้องการวัตถุดิบโดยตรง


แต่เราต้องรวบรวมให้ได้มากตามโควตาที่เขา ต้องการ อีกอย่างคือการส่งข้อมูลและสินค้าถึง ผูบ้ ริโภคอย่างไรให้รวดเร็วทีส่ ดุ ก็มาตอบโจทย์ ที่ว่าท�ำไมเราต้องท�ำเว็บไซต์ ซึ่งเราก็มีความรู้ จึงท�ำเว็บไซต์และเลือกใช้สอื่ ออนไลน์ เพือ่ บอก เล่าเรื่องราวของชุมชนของเรา เกษตรกรของ เราตั้งแต่ต้นน�้ำ เลยเริ่มท�ำเพจ เพื่อขายของ จากชุมชน แรกๆ ก็ขายอย่างเช่น น�ำ้ ผึง้ ขิง ข่า ตะไคร้ เราขายผลผลิตที่ ได้จากชุมชนจริงๆ โดยใช้วิธีเปรียบเทียบราคาแล้วก็ขาย จากนั้น เมื่อสินค้าเพิ่มขึ้นก็เลยพัฒนาเป็นเว็บไซต์” เสาวลักษณ์ เล่าเทคนิคการท�ำการตลาด “ส่วนวิธีการโพสต์สินค้า เราก็จะมี การบอกเล่าเรือ่ งราวตัง้ แต่การเริม่ ต้นปลูก การ ดูแล เรียกได้ว่าเราจะมีการวางแผนพร้อม บั น ทึ ก ภาพให้ ไ ด้ เ ห็ น ความเคลื่ อ นไหวของ ผลผลิตที่เป็นวัตถุดิบที่เกษตรกรน�ำมาขายนั้น ได้มาจากท้องไร่ท้องนาในชุมชนจริงๆ” ปัจจุบันนี้ต้นวัตถุดิบที่เธอและคนใน ชุมชนได้เพาะปลูกไว้ ไม่เพียงเติบโตให้ผลผลิต งอกเงยงดงาม แต่ส่ิงที่เธอได้ท�ำยังส่งผลให้

ชุมชนมีการสร้างเครือข่ายของเกษตรกรปลูก และแปรรูปสมุนไพร ตลอดจนกลายเป็นแหล่ง เรียนรู้การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ภาย ใต้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรปลูกรัก และมีผลิตภัณฑ์ที่ใช้ชื่อว่า “Plant Love” ในเรื่องการพัฒนาต่อยอดก็เป็นสิ่ง ส� ำ คั ญ จากจุ ด เริ่ ม ตั้ ง แต่ เ ป็ น คนปลู ก แล้ ว จ�ำหน่ายผลสด พัฒนาแปรรูปเป็นสมุนไพรอบ แห้งกว่า 22 ชนิด เพื่อใช้ส�ำหรับอบผิว จนน�ำ มาสู่การคิดค้นและวิจัยออกมาเป็นสารสกัด จากสมุนไพรเพื่อสุขภาพ สินค้านวัตกรรมที่ได้ รับรางวัลการันตีจากนานาชาติ อาทิ รางวัล เหรียญทอง World Invention Innovation Contest 2016 ที่ประเทศแคนนาดา และ รางวัล Special Award จากเวที Korea Invention Academy ประเทศเกาหลีใต้ ส�ำหรับสินค้านวัตกรรมทีม่ คี วามโดด เด่นคือ “ผงสมุนไพร 3 ชนิด” ได้แก่ หัวปลี ขิง กะเพรา สรรพคุณช่วยล้างพิษและช่วยย่อย อาหาร ตลอดจนบ�ำรุงระบบประสาท ลดการ อักเสบ และอีกหนึ่งผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ “สาร สกัดสมุนไพรเข้มข้น 22 ชนิด” เช่น ขมิ้น ตะไคร้ ข่า ใบเตย ใบมะกรูด หญ้ารีแพร์ ฯลฯ เพื่อการดูแลคุณแม่หลังคลอด “ส่วนช่องทางการจัดจ�ำหน่ายสินค้า อย่างที่ได้บอกไป นอกจากการออกบูธเพือ่ เดิน หาผู ้ บ ริ โ ภคและแนะน� ำ สิ น ค้ า โดยตรงแล้ ว สิ น ค้ า ทั้ ง หมดจะขายผ่ า นช่ อ งทางออนไลน์ www.momplantlove.com และ Facebook เป็นหลัก และในอนาคตก็จะมีการขยายตลาด ออกไปยังต่างประเทศอืน่ ๆ ต่อไป” เสาวลักษณ์ กล่าวทิ้งท้าย ...ในอนาคตเชื่อว่า Plant Love ของ เสาวลักษณ์และเพือ่ น จะยังคงเติบโตและเป็น ทีร่ จู้ กั มากขึน้ ไม่ใช่เพียงเพราะเธอสือ่ สารผ่าน โลกออนไลน์เท่านั้น แต่เป็นเพราะสิ่งที่เธอท�ำ เธอท� ำ มั น ด้ ว ยความรั ก และภู มิ ใ จในอาชี พ เกษตรกร สิ่งๆ นี้ก็จะสามารถปลูกรักในใจให้ กับใครๆ ได้ไม่ยาก

สนใจและสอบถามข้อมูล เพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ : คุ ณ เสาวลั ก ษณ์ วิเชียรสรรค์ ประธานกลุม่ วิสาหกิจ ชุ ม ชนแปรรู ป สมุ น ไพรปลู ก รั ก ที่ อ ยู ่ 339 หมู ่ 4 ต.พระธาตุ อ.แม่ระมาด จ.ตาก เบอร์ โทรศัพท์ 0811012763,0992945572 จุลสาร ธ.ก.ส. | 43


PR FANCLUB | ทีมข่าว สสป. เรื่อง / ภาพ

ธ.ก.ส. เปิดตลาดของดี SMEs เกษตรไทย

น�ำสินค้าจาก SMEs เกษตรไทยส่งตรงถึงมือผูบ้ ริโภค

ธ.ก.ส. เปิด“ตลาดของดี SMEs เกษตรไทย” ณ ตลาดคลองผดุงกรุงเกษม ข้างท�ำเนียบ รัฐบาล วันที่ 4-27 สิงหาคม 2560 เชิญชวนประชาชนทั่วไปพร้อมบริษัททัวร์น�ำนักท่องเที่ยว ต่างชาติร่วมชมชิมช้อปสินค้าจากมือผู้ผลิต เพื่อเป็นขวัญก�ำลังใจให้เกษตรกรผู้ริเริ่มพัฒนา เป็นผู้ประกอบการ SMEs เกษตรไทย ณ ตลาดคลองผดุงกรุงเกษม ข้าง ท�ำเนียบรัฐบาล ธ.ก.ส. ได้ร่วมเปิดตลาดของดี SMEs เกษตรไทย บริ เ วณริ ม คลองผดุ ง กรุงเกษมข้างท�ำเนียบรัฐบาล ระหว่างวันที่ 4 -27 สิงหาคม 2560 ตั้งแต่เวลา 9.00-19.00 น. เชิญชวนประชาชนทั่วไป พร้อมบริษัททัวร์ น�ำนักท่องเที่ยวต่างชาติร่วม ชม ชิม ช้อปและ สนั บ สนุ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากผู ้ ผ ลิ ต ถึ ง ผู ้ บ ริ โ ภค โดยตรงอั น จะก่ อ ให้ เ กิ ด รายได้ จ� ำ นวนมาก กระจายไปสูผ่ ปู้ ระกอบการ SMEs อย่างแท้จริง ส่งผลต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจฐานรากอีก ด้วย ภายในงาน ธ.ก.ส.จัดบูธร้านค้าลูกค้า SMEs เกษตรสลับสับเปลี่ยนหมุนเวียนกว่า 500 ร้านค้า โดยแบ่งเป็นสัปดาห์ละประมาณ 138 บูธ ตลอดระยะเวลา 4 สัปดาห์ ร้านค้าจะ สลับเปลีย่ นหมุนเวียนไม่ซำ�้ กัน พร้อมเครือข่าย พันธมิตรจากส่วนงานภายนอก ได้แก่ บริษัท ไปรษณีย์ ไทย จ�ำกัด และ บริษัท อาคเนย์ ประกันชีวติ จ�ำกัด (มหาชน) มาร่วมจัดกิจกรรม ภายในตลาด 44 | จุลสาร ธ.ก.ส.


สัปดาห์แรก วันที่ 4-9 สิงหาคม 2560 จัดในธีม SMEs สูเ่ ศรษฐกิจไทย น�ำเสนอ โซนแสดงร้านค้า ลู ก ค้ า SMEs เกษตรของ ธ.ก.ส. ระบบแฟรนไชส์ ได้แก่กาแฟดอยช้าง จังหวัด เชียงราย กาแฟจากตาลโตนด จังหวัดสงขลา Lemon Me จังหวัดนครปฐม ลูกชิ้นปลา Hicalci จังหวัดกรุงเทพฯ COCO Fresh มะพร้าว น�้ำหอมพร้อมทาน จังหวัดสมุทรสาคร น�้ำอ้อย ไร่ไม่จน จังหวัดนครปฐม เป็นต้น สัปดาห์ทสี่ อง วันที่ 10-15 สิงหาคม 2560 จัดในธีม Gift for Mom ของขวัญวันแม่ น�ำเสนอโซนสินค้าที่ สามารถน�ำไปเป็นของขวัญวันแม่ ได้แก่ ผ้า ย้อมคราม ถั่งเช่าสีทอง ข้าวกล้องอินทรีย์ ผ้า ซิน่ ตีนจกลายโบราณ เป็นต้น สัปดาห์ทสี่ าม วัน ที่ 16-21 สิงหาคม 2560 จัดในธีม Thai Idea Gift Fest แกะกล่องไอเดียไทย ก้าวไกลสู่ อนาคต น�ำเสนอโซนจําหนายสินคา SMEs เกษตร ที่มีนวัตกรรมและสามารถนําไปเปนข องฝาก ได้แก่ จานกาบหมาก วีรษา บริษัท ภิญโญวานิช จ�ำกัด จังหวัดนครราชสีมา Bee Fruit ผลไม้อบแห้งฟรีซดราย บริษัท จันทบุรี ฟรุ๊ตโปรดักส์ จ�ำกัด จังหวัดจันทบุรี Fills Coconut จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และในสัปดาห์ สุดท้าย สัปดาห์ที่ 4 วันที่ 22-27 สิงหาคม 2560 จัดในธีม Fruit Fun Fresh ช้อปเพลิน ผลไม้ดี วิถไี ทย น�ำเสนอโซนการจ�ำหน่ายสินค้า เด่นจากแต่ละท้องถิ่น ผลไม้สดจากจังหวัด ชายแดนภาคใต้ และผลไม้แปรรูปที่มี Package สวยงามสามารถน�ำไปเป็นของฝากได้ นอกจากการจ�ำหน่ายสินค้า SMEs เกษตรและอาหารแล้ว ยังมีกิจกรรมให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบการ SMEs ผู้ร่วมงาน และ ประชาชนทั่วไป เช่น ความรู้ทางการเงินและ ความรูด้ า้ นการประกอบอาชีพ กิจกรรมส่งเสริม การขาย โปรโมชั่นสินค้าราคาพิเศษ บูธให้ค�ำ ปรึกษาสินเชื่อจากธนาคาร พิเศษ! ตลอดงาน บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ำกัดให้บริการรับ - ส่ง พัสดุภายในงานและรับส่งฟรีในวันแม่ พร้อม ถ่ายภาพท�ำตราไปรษณียากร พิเศษให้แก่คแู่ ม่ ลูกที่เข้าร่วมกิจกรรมในช่วงวันที่ 12 สิงหาคม 2560 นอกจากนั้น บริษัท อาคเนย์ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) ยังจัดตรวจสุขภาพจากโรง พยาบาลสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์ ให้แก่ คุณแม่ในช่วงวันที่ 12-13 สิงหาคม 2560 ตัง้ แต่เวลา 10.00-16.00 น. อีกด้วย การตรวจ สุขภาพเบื้องต้นไม่ต้องงดอาหาร สามารถ ทราบผลได้ทันที จุลสาร ธ.ก.ส. | 45


Scoop | BAAC LIBRARY เรื่อง

READ & LEARN เพื่อชีวิตดีมีสุข นอกจากการอ่านหนังสือแล้ว หลายคนเลือกเรียนรู้ จากภาพยนตร์ หรือสารคดี สื่อที่ให้ทั้งความบันเทิง ความรู้ ความสนุกสนาน ท�ำให้ได้เรียนรู้ประสบการณ์แปลกใหม่ผ่านการถ่ายทอดของตัวแสดง ซึ่งในคอลัมน์ BAAC LIBRARY ฉบับนี้ นอกจากหนังสือดีดีที่มีมาแนะน�ำเช่นเคยเหมือนทุกฉบับแล้ว ก็จะมีการแนะน�ำหนังน่าดู สารคดีน่ารู้เพิ่มเติมให้ท่านผู้อ่านด้วยค่ะ 1.ต่อรองให้ได้แบบไม่ถอย ผู้แต่ง : ศุภิกา กุญชร ณ อยุธยา, ผู้แปลส�ำนักพิมพ์ : นกฮูก พับลิชชิ่ง กรุงเทพฯ สาระสังเขป : หนังสือ ต่อรองให้ได้ แบบไม่ถอย เล่มนี้ ช่วยให้คนหลาย ล้านคนเรียนรูถ้ งึ วิธกี ารต่อรองทีม่ ปี ระสิทธิภาพ จากผลการวิจยั ของโครงการการเจรจาต่อรองของ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด วิธีนี้ ไม่เพียงรับมือได้กับการเจรจาต่อรองทุกระดับ แต่รวมถึงสามารถ จัดการกับข้อขัดแย้งด้วย หนังสือเล่มนี้อธิบายถึงวิธีการต่อรองอย่างตรงไปตรงมา ท�ำให้คุณ สามารถน�ำไปปรับใช้ได้ ในทุกสถานการณ์และได้ขอ้ ตกลงทีเ่ ป็นทีน่ า่ พึงพอใจ ไม่วา่ จะเป็นการเจรจา ต่อรองในบ้าน ในการท�ำธุรกิจ หรือไม่ว่าในสถานการณ์ ใดก็ตาม

2.เทคนิคอ่านให้ไม่ลืมที่จิตแพทย์อยากบอกคุณ ผู้แต่ง : คะบะซะวะ ชิอง ส�ำนักพิมพ์ : วีเลิร์น สาระสังเขป : ผูเ้ ขียนเป็นจิตแพทย์ชอื่ ดังชาวญีป่ นุ่ น�ำประสบการณ์ตรงจากการอ่านหนังสือเดือน ละ ไม่ต�่ำกว่า 30 เล่ม มาตลอด 30 ปี รวมกับความรู้ทางด้านประสาทวิทยา มาผสมผสานกัน และสรุปเป็นเทคนิคทีจ่ ะช่วยให้คณ ุ อ่านเข้าหัว จ�ำได้แม่น ไม่มวี นั ลืม ไม่วา่ จะน�ำไปใช้กบั การเรียน การท�ำงาน ธุรกิจ หรือเรื่องใดๆ ก็ตาม

3.คิดถูกก็สุขใจ ผู้แต่ง : จองแชบง ส�ำนักพิมพ์ : อินสปรายร์ สาระสังเขป : หนังสือเล่มนี้เป็น นิทานเติมพลังความคิด กล่าวถึง ความสุขที่ตามหา ความสุขนั้นมาจากธรรมชาติ เมื่อธรรมชาติ บาดเจ็บ เทพยดาก็ยอ่ มเจ็บปวด ความสุขอยูท่ คี่ วามพอใจในความสามารถของตน โดยไม่ตอ้ งคิด ที่จะไปเป็นเหมือนคนอื่น

46 | จุลสาร ธ.ก.ส.


4.The Queen ก�ำกับโดย : Frears, Stephen สาระสังเขป : เมื่อข่าวการสิ้นพระชนม์ของเจ้า หญิงไดอาน่า ผู้หญิงที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลก แพร่กระจายออกไปในหมู่ประชาชนชาวอังกฤษที่ทั้ง ช็อคและท�ำใจไม่ได้ สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธที่ 2 และสมาชิกในราชวงศ์ กลับเก็บตัวเงียบอยู่ หลังก�ำแพงปราสาทบัลโมรัล โดยมิได้หยั่งรู้ถึงปฏิกิริยาที่ประชาชนมีต่อเหตุโศกนาฏกรรมครั้งนี้ ส�ำหรับโทนี่ แบลร์ นายกรัฐมนตรีที่เพิง่ ได้รับเลือกตัง้ และได้รบั ความนิยมอย่างสูง ความต้องการ ของประชาชนทีต่ อ้ งการหลักประกันและก�ำลังใจจากผูน้ ำ� ของพวกเขาเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นได้ชดั เมือ่ การ ไหลหลั่งของอารมณ์ทวีสูงขึ้นอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน แบร์ต้องหาทางที่จะเชื่อมโยงสมเด็จพระ ราชินีกับประชาชนชาวอังกฤษอีกครั้ง

5.เก็บล็อคอัจฉริยะภาพมนุษย์ : Into your brain ผู้แต่ง : วนิษา เรช สาระสังเขป : เนชั่นแนล จีโอกราฟฟิค ร่วมกับบริษัท เอสทีจี มัลติมีเดีย จ�ำกัด ภูมิใจน�ำเสนอสารคดีที่รวบรวมข้อมูล และ จัดท�ำโดยนักจิตวิทยา นักวิจัย และนักวิชาการระดับโลก ในการไขความลับของสมอง ด้วยบท ทดสอบ การเพิ่มทักษะ และการฝึกฝนการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้ารวมไปถึงการฝึกเทคนิคในการ จดจ�ำ ท�ำให้ช่วยปลดล็อค และเพิ่มอัจฉริยะภาพทางความคิดให้กับคนทั่วโลกมาแล้ว ดังนั้นการ ชมสารคดีชุดนี้ จะสามารถช่วยตอบโจทย์ของคุณพ่อ คุณแม่ ในการเพิ่มความอัจริยะภาพทาง ความคิด และสติปัญญา ให้กับลูกน้อยของคุณได้อย่างแน่นอน

6. La La Land ผู้ก�ำกับ : Chazelle, Damien สาระสังเขป : La La Land คือผลงานโรแมน ติก-มิวสิคัลที่จะพาผู้ชมไปพบกับเรื่องราวของ เซบาสเตียน (รับบทโดย ไรอัน กอสลิ่ง) หนุ่มนัก เปียโนแจ๊ซที่ได้มีโอกาสพบรักกับ มีอา (รับบทโดย เอ็มมา สโตน) นักแสดงสาวดาวรุ่ง แต่แล้ว พวกเขาทั้งคู่กลับพบว่า ... การไล่ตามความฝันของทั้งคู่กลับกลายเป็นสิ่งที่สวนทางกับความรัก

1

2

3

4

5

6 จุลสาร ธ.ก.ส. | 47


BAAC ‘s IDOL | นิว (ว.แว่น) เรื่อง

การช่วยเหลือสังคม (เงินช่วยเหลืออดีตพนักงาน) มูลนิธิอาจารย์จ�ำเนียร สาระนาค (มจส.) ได้จัดตั้ง โดยอดีตพนักงาน ธ.ก.ส. ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 ในขั้นแรกมี วัตุประสงค์เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรและครอบครัว พนักงาน และอดีตพนักงาน รวมทั้งครอบครัวที่ได้รับความเดือดร้อน ในส่วนที่ธนาคารไม่สามารถให้ความช่วยเหลือได้ ตลอดจน ในกรณีที่ประสบภัยพิบัติอย่างร้ายแรงหรือต้องออกจากงาน เนือ่ งจากเจ็บป่วย พิการหรือทุพพลภาพ รวมทัง้ เงินช่วยเหลือ ทุนการศึกษา ต่อมาได้ขยายความช่วยเหลือแก่ลกู ค้าเงินฝาก และบุคคลทั่วไป คณะกรรมการมูลนิธิอาจารย์จ�ำเนียร สาระนาค (มจส.) ได้มมี ติให้ความช่วยเหลือเงินค่าครองชีพรายเดือน ๆ ละ 5,000 บาท แก่นายสมาน ไกรสันเทียะ อดีตพนักงาน ธ.ก.ส. สาขาสูงเนิน สนจ.นครราชสีมา ซึง่ ป่วยเป็น อัมพฤกษ์ มีรายได้ไม่พอค่าใช้จ่ายและค่ารักษาพยาบาล เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2560 นายสมาน ไกรสันเทียะ ได้ถึงแก่กรรม ธ.ก.ส.สาขาสูงเนิน ได้มีหนังสือแจ้งการเสียชีวิตของอดีต พนักงานให้ มจส. ทราบ มจส.จึงได้ยุติการให้เงินช่วยเหลือ เดือนละ 5,000 บาท แก่ นายสมาน ไกนสันเทียะ ตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม 2560 เป็นต้นไป มจส. ได้ ให้ความช่วยเหลือเป็นเงินค่าครองชีพราย เดือนๆ ละ 5,000 บาท หรือมากกว่า ตามเหตุผลความจ�ำเป็น เดือดร้อนของอดีตพนักงานแต่ละรายเป็นรายปี (ตามทีส่ าขา ประเมิน) จนกว่าอดีตพนักงานเสียชีวิต ซึ่ง มจส. ในแต่ละ ปีๆ ละ 10 กว่าราย เป็นเงินหลายแสนบาท หากรวมให้ความ ช่วยเหลือแก่เกษตรกร ลูกค้าเงินฝากและบุคคลทั่วไป มจส. มีความต้องการเงินบริจาคอีกเป็นจ�ำนวนมาก พนักงานและ ผู้มีใจเป็นกุศล สามารถบริจาคเงินช่วยเหลือ มจส. ได้ ณ ที่ท�ำการ มจส. ในอาคาร ธ.ก.ส. สาขานางเลิ้ง ชั้น 2 (ตึก 3 ชั้น) หรือบัญชีกองทุนอาจารย์จ�ำเนียร สาระนาค สาขา นางเลิง้ บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ใช้สมุดคูฝ่ ากเลขที่ 01-0002-50905-6

48 | จุลสาร ธ.ก.ส.


โครงการผู้นาต้นแบบ ประจาปีบัญชี 2560

ROLE MODEL

S PA

ผู้นาต้นแบบตามพฤติกรรมพึงประสงค์ บทบาทตามพฤติกรรมพึงประสงค์ของผู้นาระดับสูงตามค่านิยมองค์กร เพื่อให้พนักงานได้ตระหนัก รับรู้ และเป็นแรงบันดาลใจในการประพฤติปฏิบัติตามอย่างต่อเนื่อง อันจะส่งผลให้องค์กรเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน

S

Sustainability

S1 - ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ S2 - มีการจัดการให้มีระบบที่ดี S3 - ดารงตนสมฐานะ (พอประมาณ) S4 - กล้าตัดสินใจในสิ่งที่ถูกต้อง

R K

S5 - ตัดสินใจที่ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง S6 - ไม่ยอมให้ปัจจัยภายนอกแทรกแซง S7 - เปิดเผยข้อมูลถูกต้อง S4 – กล้าตัดสินใจในสิ่งที่ถูกต้อง

S5 - ตัดสินใจที่ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง

กิจกรรมอบรมหลักสูตรการบริหารโครงการอย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งธนาคารมีนโยบายในการขับเคลื่อน องค์กรโดยมุ่งเน้นการปรับเปลี่ยน 3 ด้าน ทั้งมโนทัศน์ รูปแบบการบริหาร และรูปแบบการดาเนินงาน

S6 - ไม่ยอมให้ปัจจัยภายนอกแทรกแซง

พิธีการจับรางวัลโครงการกองทุนทวีสุข “เพิ่มออม เพิ่มสุข” เพื่อมอบโชคให้กับสมาชิกในโครงการ โดยมี ฝ่ายจัดการ พร้อมด้วยผู้บริหาร พนักงาน เกษตรกรลูกค้า และประชาชน เข้าร่วมงาน

S1 – ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ S3 - ดารงตนสมฐานะ (พอประมาณ)

กิจกรรม ลด ละ เลิก ประจาปี 2560 เพื่อรณรงค์ ให้บุคลากรในองค์กรตระหนักถึงพิษภัยจากสุราและ บุหรี่ รวมถึง การลดค่าใช้จ่ายจากสิ่งที่ไม่จาเป็น

S2 - มีการจัดการให้มีระบบที่ดี

การศึกษาดูงานหัวข้อ “นวัตกรรมพัฒนาภาคเกษตร สู่ความทันสมัยและยั่งยืน” การจัดทายุทธศาสตร์ การบริหารจัดการ Feed – Farm – Food ของ บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน)

S2 – มีการจัดการให้มีระบบที่ดี S7 - เปิดเผยข้อมูลถูกต้อง

ร่วมประชุมการตรวจประเมินรับรองมาตรฐานศูนย์ ราชการสะดวก (GECC) ของสานักปลัดสานัก นายกรัฐมนตรีเพื่อตอบข้อซักถามและรับข้อเสนอแนะ

ฝ่ายบริหารกลาง จุลสาร ธ.ก.ส. | 49


50 | จุลสาร ธ.ก.ส.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.