BAAC Magazine - Issue july 2017

Page 1

กรกฎาคม ๒๕๖๐ ฉบับที่ ๔๙๑ ปีที่ ๔๑

จุลสาร ธ.ก.ส. | 1


2 | จุลสาร ธ.ก.ส.


Editor’s Talk | บทบรรณาธิการ

กองบรรณาธิการ ที่ปรึกษา สุรพงศ์ นิลพันธุ์ บรรณาธิการ พีระพงศ์ คำ�ชื่น ผู้ช่วยบรรณาธิการ นพวันต์ พานิชยิ่ง สายใจ ภูริฉาย พรพรหม เหล่ากิจไพศาล หัวหน้ากองบรรณาธิการ ทฤษฎี ประกอบชาติ กองบรรณาธิการ นัฐพงศ์ เสือดี บุษบาบัณ วิทโยภาส วิภานันท์ นันทวงศ์

สวัสดีเพื่อนพนักงานที่รักทุกท่านครับ เมื่อเทศกาลเข้าพรรษาเดินทางมาถึง สิ่งที่บุคลากรในธนาคารของเราปฏิบัติกันเป็นประจ�ำทุกๆ ปี ก็คือ การลด ละ เลิก การดื่มสุราในช่วงเข้าพรรษา รวมไปถึงการลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ เพื่อสุขภาพที่ดี ของตัวเราเองและคนรอบข้าง ได้ทั้งบุญ ได้ทั้งสุขภาพที่ดี ขอเป็นก�ำลังใจให้ผู้ตั้งใจ ปฏิบัติทุกท่านนะครับ ลองปฏิบัติแล้วถ้ารู้สึกดีขึ้นจะ ลด ละ และ เลิก ได้ตลอด เส้นทางชีวิตก็จะยิ่งก่อให้ประโยชน์แก่ท่านและครอบครัว รวมทั้งเป็นตัวอย่างที่ดี ของเกษตรกรลูกค้าของเราอีกด้วยครับ จุลสาร ธ.ก.ส. ฉบับนีน้ อ้ งๆ ทีมงานพาทุกท่านไปเยีย่ มเยือนเมืองทีม่ สี ำ� เนียง การพูดจาที่ไพเราะเสนาะหูเป็นเอกลักษณ์ คือเมือง สุพรรณบุรี นัน่ เองครับ ในครัง้ นี้ ไปท�ำความรู้จักเกษตรกรลูกค้าผู้ปลูกเมล่อนที่อ�ำเภอหนองหญ้าไซ และเกษตรกร ลูกค้าผู้เลี้ยงวัว ชมภาพความสวยงามของเมืองสุพรรณบุรีในมุมต่างๆ ในคอลัมน์ Green Trip และ ท�ำความรู้จักกับทายาทเกษตรกรมืออาชีพ ธ.ก.ส. รูปหล่อ มากความสามารถ และน้องพนักงานรุ่นใหม่ไฟแรงในคอลัมน์ New Gen ที่มีดีกรี การศึกษาปริญญาโทจากต่างประเทศ แต่มคี วามมุง่ มัน่ ตัง้ ใจและมีอดุ มการณ์ทจี่ ะมา พัฒนาชนบทและเกษตรกรกับ ธ.ก.ส. ของเรา นอกจากนัน้ ชมธุรกิจลูกค้า SMAEs ทีน่ า่ สนใจ และคอลัมน์อนื่ ๆ อีกมากมาย เชิญเปิดอ่านตามความชอบครับ แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดีครับ

บรรณาธิการ | พีระพงศ์ คำ�ชื่น

หัวหน้าทีมช่างภาพ วงศ์วุฒิ วิทยเดช ถ่ายภาพ ประพจน์ รอดคำ�ทุย วรุตม์ รินทร์พรหม ธนิต ใจดี อิทธิเทพ พูลนวล ฝ่ายศิลป์/วาดภาพประกอบ จามีกร เตมียชาติ สิโนรส สมิทธิคุณานนท์ ออกแบบจัดหน้า จามีกร เตมียะชาติ จัดทำ�โดย สำ�นัก สื่อสารการตลาดและ ประชาสัมพันธ์ ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร 2346 ถ.พหลโยธิน แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กทม. 10900

จุลสารจุลสาร ธ.ก.ส.ธ.ก.ส. |1 |1


Contents | สารบัญ

CONTENTS 12 ฉบับกรกฎาคม 2560 01 03 06 12 18

Editor’s Talk

ทำ�งานต้องใช้ใจ (HEART) แบบฉบับ ใบเตย มัชฌิมา ประสมสิน

20 22 28

32 34

36 37 40 42

บทบรรณาธิการ

Hilight Social Network Infocus ไปสุพรรณฯ เมืองเพลง ถิ่นนักเลงนักรัก

เขียนด้วยแสง Green Trip Scoop

มนร. –ธ.ก.ส. สร้างโมเดลพัฒนาเศรษฐกิจ 3 จังหวัดชายแดนใต้ BAAC HAPPINESS

SMAEs Today “องุ่นดำ�” พลิกชีวิตหนุ่มเมืองตรัง ปลูกพืช เศรษฐกิจใหม่ หลุดพ้นกับดักราคายางตกต่ำ�”

We Love Customer

Moblie Banking ธนาคารบนโทรศัพท์มือถือ

News

STOP Drink Agent ชวน ช่วย เชียร์ คนสู้เหล้า

ทายาทเกษตรกรมืออาชีพ

ความรู้ + ความรัก ตอบแทนชุมชนเพื่อความยั่งยืน

Scoop

ทำ�นี้เพื่อศาสนา ทำ�นี้เพื่อพุทธบูชา

Scoop

45 46 48

18

เที่ยวสุพรรณฯ ครบรส

ความรู้เกี่ยวกับ พรบ.ข้อมูลข่าวสาร เรื่อง ลูกขอข้อมูลของแม่ได้ ไหมเอ่ย?

44

40

New Gen

PR Fanclub

CARTOON BAAC LIBRARY

หนังสือดี...สร้างสรรค์ชีวีเป็นสุข

BAAC ‘s IDOL

108 ปี ชาตกาล จ.ส. ตอน กองทุนมูลนิธิ อาจารย์ จำ�เนียร สาระนาค

2 | จุลสาร ธ.ก.ส.

37

28


Hilight | ทีมข่าว สปส. เรื่อง

ธ.ก.ส. จัดงานตลาดนัดของดี วิถีชุมชน (เทศกาลผลไม้)

นายอภิรมย์ สุขประเสริฐ ผูจ้ ดั การ ธ.ก.ส. เป็นประธานในการเปิดตลาดนัด ของดีวถิ ชี มุ ชน (เทศกาลผลไม้) โดยมีเกษตรกรลูกค้า ทายาทเกษตรกรผู้ประกอบการเกษตร (SMAEs) วิสาหกิจชุมชนและสถาบันเกษตรกร ร่วมออกร้านค้ากว่า 60 บูธ เพื่อสนับสนุนตลาด ประชารัฐตามนโยบายของรัฐบาล รวมถึงเพิม่ ช่องทางการตลาดและสร้างโอกาสแก่ผบู้ ริโภคให้มีโอกาสซือ้ สินค้าที่ดี มีคุณภาพจากผูผ้ ลิต โดยตรง ทั้งนี้ ตลาดนัดของดี วิถีชุมชน (เทศกาลผลไม้) จัดขึ้นในวันที่ 27 – 28 มิถุนายน 2560 ณ บริเวณรอบสระน�้ำด้านหน้า ธ.ก.ส. ส�ำนักงานใหญ่ บางเขน

ธ.ก.ส. ร่วมลงนามบันทึกความเข้าใจความร่วมมือเพื่อต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

นายอภิรมย์ สุขประเสริฐ ผู้จัดการ ธ.ก.ส. ร่วมลงนามในบันทึกความเข้าใจความร่วมมือโครงการพัฒนาประชาคมและองค์กร คุณธรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ ต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชัน่ ร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการ อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ (กปร.) ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.) และ บริษทั อสมท จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อร่วมพัฒนาโครงการประชาคมเศรษฐกิจพอเพียง และการเป็นองค์กรต้นแบบพัฒนาองค์กรคุณธรรมตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนเกิดกิจกรรมการขับเคลื่อนนวัตกรรมกลไกเพื่อต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่นส�ำหรับสร้างสรรค์สังคมคุณธรรมก่อ ประโยชน์สุขแก่ประชาชนจากการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ณ กปร. ซอยอรุณอัมรินทร์ 36 กทม. เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 256 จุลสาร ธ.ก.ส. | 3


Hilight | ทีมข่าว สปส. เรื่อง

ธ.ก.ส. น�ำสื่อมวลชนลงพื้นที่ดูงาน “นครสวรรค์ โมเดล”

นายอภิรมย์ สุขประเสริฐ ผู้จัดการ ธ.ก.ส. น�ำสื่อมวลชนลงพื้นที่เพื่อดูงาน “นครสวรรค์ โมเดล” หรือโครงการจัดการข้าวเพื่อยก ระดับรายได้ชาวนาด้วยระบบสหกรณ์ โดยเป็นโครงการที่ ธ.ก.ส. และสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. จังหวัดนครสวรรค์ จ�ำกัด ประสานความร่วมมือกับ ส�ำนักงานสหกรณ์จังหวัด หอการค้าจังหวัด ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัด เกษตรกรผู้ปลูกข้าวและโรงสี ใช้ กลไกสหกรณ์รวมกันซื้อรวมกันขาย เชื่อมโยงการผลิตและการตลาดอย่างครบวงจร ซึ่งจากการด�ำเนินงานโครงการฯ ในช่วง 3 ปีที่ผ่าน มา ถือว่าประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างดี ทั้งนี้ ธ.ก.ส. พร้อมที่จะยกระดับนครสวรรค์ โมเดลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งบูรณาการโครงการของรัฐบาล เช่น โครงการ เกษตรแปลงใหญ่ เพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว เพิ่มผลผลิตต่อไร่ และการขยายความร่วมมือเพื่อสนับสนุนด้านการตลาดในรูปแบบเครือ ข่ายประชารัฐ และพร้อมน�ำนครสวรรค์ โมเดลที่เป็นระบบการบริหารจัดการข้าวตลอดห่วงโซ่อุปทานที่ออกแบบมาให้เป็นระบบเกื้อกูล แบ่งปันที่เป็นธรรม ผ่านกระบวนการสหกรณ์และเครือข่ายประชารัฐไปขยายผลกับเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในพื้นที่อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาการ จัดการข้าวและยกระดับรายได้ของเกษตรกรอย่างยั่งยืนต่อไป เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2560

ธ.ก.ส. เข้าร่วมงาน Smart SME Expo 2017

นายอภิรมย์ สุขประเสริฐ ผู้จัดการ ธ.ก.ส. เข้าร่วมงานแถลงข่าว Smart SME Expo 2017 ภายใต้แนวคิด “Total SMEs Solution” ซึ่งจัดขึ้นวันที่ 29 มิถุนายน - 2 กรกฎาคม 2560 ณ ฮอลล์ 3-4 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี เพื่อ เป็นเวทีเชื่อมต่อโอกาสส�ำหรับ SME ไทยทุกระดับ ภายในงานมีโซลูชั่นต่างๆ 5 โซลูชั่น คือ 1.Start Up : ตั้งต้นธุรกิจ 2.สร้างแบรนด์ ให้ ดัง 3.หาช่องทางจ�ำหน่ายขยายตลาดให้ทั่วถึง 4.บริการ-ปรึกษารอบด้าน 5.พัฒนาสินค้าให้ โดนใจ โดยมีพันธมิตรจากทุกหน่วยงานจาก ภาครัฐ สถาบันการเงินและเอกชนเข้าร่วมงานกว่า 500 บูธ ณ โรงแรมสุโกศล (ถ.ศรีอยุธยา) กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2560 4 | จุลสาร ธ.ก.ส.


Hilight | ทีมข่าว สปส. เรื่อง

เปิดการอบรมหลักสูตรการบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ

นายมรกต พิธรัตน์ ผู้ช่วยผู้จัดการ ให้เกียรติเป็นประธานเปิดการอบรมในหลักสูตรการบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ จ�ำนวน 5 รุ่น ตั้งแต่วันที่ 13 มิถุนายน 2560 - 22 มิถุนายน 2560 จ�ำนวน 250 คน ซึ่งธนาคารมีนโยบายในการขับเคลื่อนองค์กรโดย มุ่งเน้นการปรับเปลี่ยน 3 ด้าน ทั้ง มโนทัศน์ รูปแบบการบริหาร และรูปแบบการด�ำเนินงาน ซึ่งในการปรับเปลี่ยนด้านรูปแบบการบริหาร ได้ ให้ความส�ำคัญต่อการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ที่เน้น Project base โดยมีการปรับกระบวนการบริหารผลการปฏิบัติของผู้บริหารทุก ระดับ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดท�ำและบริหารโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับทิศทาง และนโยบายของธนาคาร ณ ห้องบุษบา ชั้น 5 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ต ปทุมธานี เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2560

พิธีลงนามความร่วมมือโครงการพัฒนาเกษตรกร ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม

ดร.อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นสักขีพยานในพิธีลงนามความร่วมมือและประธานการ แถลงข่าวเปิดตัวโครงการพัฒนาเกษตรกร ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (Innovative Agriculture : InnoAgri) ในกรอบ ความร่วมมือ “การถ่ายทอดเทคโนโลยีผลงานจากการวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมสู่เกษตรกรอย่างมีประสิทธิภาพ” ระหว่าง รศ.นพ.สรนิต ศิลธรรม ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ นายอภิรมย์ สุขประเสริฐ ผู้จัดการ ธ.ก.ส. และว่าที่ร้อยตรีสมพูนทรัพย์ กล้าวิกรณ์ เลขาธิการสภา เกษตรกรแห่งชาติ” เพื่อยกระดับให้ภาคการเกษตร ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยในอนาคต เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างเป็นรูปธรรมและทันการณ์ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม รวมทั้งเร่งกระจายโอกาสในการพัฒนาและสร้างความมั่นคงให้ทั่วถึง ลดความเหลื่อมล�้ำ ไปสู่สังคมที่เสมอภาคและเป็นธรรม ณ อาคาร พระจอมเกล้า กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กทม. เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2560 จุลสาร ธ.ก.ส. | 5


Hilight | ทีมข่าว สปส. เรื่อง

1.สนจ.อุบลราชธานี ร่วมกิจกรรมส่งเสริมการ ออมเงินอย่างยั่งยืน น.ส.สุวมิ ล อรอินทร์ ผอจ.อุบลราชธานี ร่ ว มจั ด งานกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การออมเงิ น อย่างยั่งยืนกับเครือข่ายองค์กรการเงินชุมชน และกรมการพั ฒ นาชุ ม ชน ณ โรงแรม ลายทอง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2560

1

2. KBANK ดูงาน หอสมุด BAAC ทีมงานหอสมุด หอจดหมายเหตุและ พิพิธภัณฑ์ ธ.ก.ส. ให้การต้อนรับผู้บริหารและ พนั ก งาน จากฝ่ า ยพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ธนาคารกสิกรไทย มาศึกษาดูงานและเยีย่ มชม ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ หอจดหมายเหตุ เมื่อ วันที่ 4 กรกฎาคม 2560

2

3.ประชุมหัวหน้ากลุ่มลูกค้า ที ม งานสาขาบ� ำ เหน็ จ ณงค์ สั ง กั ด สนจ.ชั ย ภู มิ ฝอล. ประชุ ม ชี้ แ จงนโยบาย ธนาคารให้กับหัวหน้ากลุ่มลูกค้าธนาคารห้อง ประชุ ม ที่ ท� ำ การ อบต.โคกเพชรพั ฒ นา อ.บ�ำเหน็จณรงค์ จ.ชัยภูมิ 4. เพชรบูรณ์ตวิ เข้ม 5 ส. ทุกสาขา เพือ่ สร้างภาพ ลักษณ์ที่ดีและสร้างความประทับใจให้ลูกค้า นายพี ร ะ โชติ รั ง สรรค์ ผช.ผอจ. เพชรบูรณ์ เป็นประธานการประชุมขับเคลื่อน กิ จ กรรม 5ส. โดยมี ก ารซั ก ซ้ อ มแนวทาง การปฎิบัติของทุกสาขาและจะใช้เป็นแนวทาง การประเมินผลสาขาในปี 2560 ณ ห้องประชุม สาขาสามแยกวิเชียรบุรีและสาขาวิเชียรบุรี เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2560

3

5.โครงการกิจกรรมเวทีชุมชนต้นแบบฯ ​​​​ นายศุภกร ถาวร ผช.ผอจ.สกลนคร นายนิยม นิยมพงษ์ ผจข.สาขาพังโคน น�ำทีม งานพนั ก งานสาขาและชุ ม ชน ต.ต้ น ผึ้ ง อ.พังโคน จัดโครงการกิจกรรมเวทีชุมชนต้น แบบฯ ประชุมชีแ้ จงขับเคลือ่ นงานพัฒนาลูกค้า และชนบทและท�ำพิธีมอบฝายชะลอน�้ำขนาด กลาง พร้อมลงแขกด�ำนา ปลูกป่าในชุมชน เมือ่ วันที่ 21 มิถุนายน 2560 6.สิงห์บุรี ตั้งโต๊ะรับเจ้า รับโชค นายสมพล ศรีเสน ผช.ผอจ.สิงห์บุรี พร้อมทีมงานร่วมพิธีตั้งโต๊ะรับเจ้า บริเวณหน้า สนจ.สิงห์บุรี ในงานประจ�ำปีแห่พระเชิญใบชา ทิพย์ พร้อมเชิญชวน พนักงาน ลูกค้า ผู้ ใจบุญ ร่วมบริจาค ข้าวสาร อาหารแห้ง น�้ำดื่ม เครื่อง นุ่งห่ม ฯลฯ เพื่อจะน�ำไปแจกจ่ายให้กับคน ยากไร้ 6 | จุลสาร ธ.ก.ส.

4

5

6


Social Network | ทีมข่าว สปส. เรื่อง

7.พนักงาน ธ.ก.ส.ตรัง ร่วมท�ำดอกไม้จนั ทน์ เพือ่ ถวายในหลวง ร.9 นายณรงค์ศักดิ์ เขียวไชย ผอจ.ตรัง พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่พนักงาน ธ.ก.ส. จังหวัด ตรัง ร่วมประดิษฐ์ดอกไม้จนั ทน์เพือ่ ถวายในการ พระราชพิ ธี ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลยเดช ณ ห้างสรรพสินค้าโรบินสันตรัง อ�ำเภอเมือง จังหวัดตรัง

89

10

7

11

8. Bhutan Development Bank ประเทศภูฏาน ศึกษาดูงาน ธ.ก.ส. คณะเจ้าหน้าที่จาก Bhutan Development Bank ประเทศภูฏาน น�ำโดย Ms. Lobsang Lhamo เยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ ธ.ก.ส. เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2560 9. ธ.ก.ส. ร่วมงาน สงขลาเกมส์ นายภาณุมาศ ตั้นซู่ รอง ผอ.ฝตล. และ นายสมปอง สองเมือง ผอจ.สงขลา มอบ เหรียญรางวัลและของที่ระลึกให้แก่นักมวย สากลสมัครเล่น ในงานกีฬาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 45 “สงขลาเกมส์” ณ สนามกีฬาติณสูลานนท์ จังหวัดสงขลา เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2560 10. เตรียมการบูรณาการงานระหว่าง ธ.ก.ส. และ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายอภิรมย์ สุขประเสริฐ ผู้จัดการ ธ.ก.ส. และ นายสุพัฒน์ เอี้ยวฉาย ผู้ช่วยผู้ จัดการ เข้าพบกับ นายฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่ อ ขอค� ำ แนะน� ำ ในการบู ร ณาการงานของ ธ.ก.ส. ร่วมกับกระทรวงเกษตรฯ และแนวทาง การพัฒนาภาคเกษตรสู่ความยั่งยืน 11.ผู้ช่วยผู้จัดการ ธ.ก.ส. เข้าร่วมการประชุม นานาชาติระเบียงเศรษฐกิจหลวงพระบาง อินโดจีน เมาะล�ำไย นายศรายุทธ ยิ้มยวน ผู้ช่วยผู้จัดการ ธ.ก.ส. รับมอบโล่ห์ ในนามธนาคารในโอกาสที่ไป เข้าร่วมการประชุมนานาชาติระเบียงเศรษฐกิจ หลวงพระบาง อินโดจีน เมาะล�ำไย ครั้งที่ 3 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ เมือ่ วันที่ 26 มิถุนายน 2560

12

12. อบรมพนักงานระดับ 8 – 9 หลักสูตร Smart Supervisor นายนุกูล ปาระชาติ ผู้ช่วยผู้จัดการ ธ.ก.ส. เป็นประธานเปิดการอบรม หลักสูตร Smart Super visor รุ่นที่ 2/2560 ระหว่าง วันที่ 27 มิ.ย. - 4 ก.ค. 60 ณ โรงแรม Best Western Plus Wanda Grand อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี จุลสาร ธ.ก.ส. | 7


Social Network | ทีมข่าว สปส. เรื่อง

13.Agenda เมืองแห่งชัยชนะ สนจ.ชั ย นาท จั ด การประชุ ม ร่ ว ม ขับเคลือ่ นภารกิจสูค่ วามส�ำเร็จ Bank Agenda 2017 เพื่อรวมพลัง พร้อมเข้าสู่ ธ.ก.ส ยุค 4.0 ตามนโยบายของธนาคาร 14.บริษัทเอกชนใน จ.สงขลา สั่งซื้อข้าว A Rice จาก สกต.สงขลา น.ส.ศิริรัตน์ วรรธนะเศรษฐ์ ผจข. บางกล�่ำ และ สกต.สงขลา ส่งมอบข้าวหอม มะลิ (ใหม่) ให้กับลูกค้าผู้สั่งซื้อเพื่อใช้ ในการ บริโภค ณ บริษัทห้องเย็นโชติวัฒน์หาดใหญ่ จ�ำกัด (มหาชน) 5.25 ตัน เมือ่ วันที่ 23 มิถนุ ายน 2560

13 15

15.งานวันผลไม้และของดีจังหวัดอุบลราชธานี นายเกียรติศักดิ์ ใต้ โพธิ์ ผช.ผอจ. อุบลราชธานี ร่วมพิธีเปิดงานวันผลไม้และ ของดีจังหวัดอุบลราชธานี ณ บริเวณลานด้าน ข้างห้าง Big C ถ.ชยางกูร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 16.มอบข้าวสารช่วยเหลืองานสวดพระอภิธรรม และงานฌาปนกิจเครือข่ายเกษตรกรลูกค้าผู้ช่วย เหลืองานธนาคาร นายสมชาย พงษ์มานุรักษ์ ผช.ผอจ. สงขลา มอบพวงหรี ด ข้ า วสารช่ ว ยงานศพ คุณพ่อของนายเพียร หมืน่ แจ้ง เครือข่ายลูกค้า สาขาล�ำไพล ผูช้ ว่ ยเหลืองานธนาคาร ในสังกัด สนจ.สงขลา จ�ำนวน 25 กิโลกรัม ณ บ้านไทร ใหญ่ ต.ควนรู อ.รัตภูมิ จ.สงขลา เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2560

14 16

17.สนั บ สนุ น โครงการต้ า น ภั ย ยาเสพติ ด น.ส.ทัศนีย์ ปล้องอ่อน หัวหน้าการ เงินสาขารัตภูมิ มอบน�ำ้ ดืม่ ตรา ธ.ก.ส.สนับสนุน โครงการต้านภัยยาเสพติด ณ ที่ว่าการอ�ำเภอ รัตภูมิ เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2560

18

18. THAILAND SMART MONEY สัญจร ขอนแก่น ครั้งที่ 5 ธ.ก.ส. เข้ า ร่ ว มงาน THAILAND SMART MONEY สัญจร ขอนแก่น ครั้งที่ 5 ระหว่างวันที่ 23-25 มิ.ย.2560 ณ CENTRAL PLAZA KHONKAEN เพื่อร่วมประชาสัมพันธ์ และให้บริการทางการเงินแก่ประชาชน

17 8 | จุลสาร ธ.ก.ส.


19

20

22

19.ประชุมผู้บริหาร ฝตอ. นายมรกต พิธรัตน์ ผู้ช่วยผู้จัดการ ร่วมประชุมผู้บริหาร ประจ�ำเดือน มิถุนายน 2560 พร้อมมอบนโยบายส�ำคัญ 3S เติบโต ด้วย Small Smart และSMAEs แนวทางการ ท�ำ Project best ณ ณิสาญ์สิริ บูติค รีสอร์ท แหลมสิงห์ จันทบุรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2560 20.หนองบั ว ล� ำ ภู จั ด งานแถลงข่ า วสื่ อ มวลชน นายณรงค์ ขั น ติ วิ ริ ย ะกุ ล ผอจ. หนองบัวล�ำภู พร้อมผู้บริหารสาขา จัดงาน แถลงข่าว การสนับสนุนสินเชื่อวิสาหกิจชุมชน ภาคการเกษตร 300 ล้านบาท ในปี 2560 ใน พื้นที่จังหวัดหนองบัวล�ำภู 21.นักศึกษา MIF มธ.ดูงานเกษตรแปลงใหญ่ ศ.ดร.อาณัติ ลีมัคเดช อาจารย์จาก THAMMASAT Business School น�ำนักศึกษา ในโครงการและคณะ เข้าเยี่ยมชมการส่งเสริม การให้สินเชื่อเกษตรแปลงใหญ่ ในพื้นที่กลุ่ม บ้านดอนแฝก และบ้านท่างาม อ.อินทร์บรี จ.สิงห์บุรี โดยมีนายประจิน จันทรพานิชย์ ผอจ.สิงห์บุรี และทีมงานให้การต้อนรับอย่าง อบอุ่น 22.สาขาด่านซ้ายร่วมงานผีตาโขน นายประกฤช พงษ์ พิ พั ฒ น์ ผจข. ด่านซ้าย และพนักงานร่วมสืบสานประเพณี “ผีตาโขน” ประจ�ำปี 2560 ที่อ�ำเภอด่านซ้าย จ.เลย

21

23.สกน. อบรมหลักสูตรวัฒนธรรมการให้บริการ นายวันชัย พัววรานุเคราะห์ ผอ.สกน. จัดการอบรมหลักสูตรวัฒนธรรมการให้บริการ เพื่อให้การบริการลูกค้าได้อย่างถูกต้องตาม มาตรฐานการให้บริการของ ธ.ก.ส. ในวันที่ 2728 มิถุนายน 2560 ณ โรงแรม เอสดี อเวนิว เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร

23

24

24.ส่ ง เสริ ม ความรู ้ ด ้ า นการลงทุ น เพื่ อ การ เกษียณอายุ น.ส.อิสรีย์ ศรีวัฒนะตระกูล รอง. ฝตอ. ให้ เ กี ย รติ เ ป็ น ประธานเปิ ด โครงการ ส่งเสริมความรู้ด้านการลงทุนเพื่อการเกษียณ อายุ แ ละเสริ ม สร้ า งจรรยาบรรณพนั ก งาน ประจ�ำปี 2560 โดยมี นายสมเกียรติ สิทธิ ชัยพร รอง ฝตอ. ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ส�ำรองเลีย้ งชีพ ให้นโยบายแนวทางการด�ำเนิน กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ ณ โรงแรมโกลเด้น ซิตี้ ระยอง เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2560 จุลสาร ธ.ก.ส. | 9


Social Network | ทีมข่าว สปส. เรื่อง

25.สาขาคลอง 9 ร่วมงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยี เกษตร นายธนาวุธ จริงจิต ผช.ผจข.สาขา คลอง 9 น�ำทีมร่วมงาน “วันถ่ายทอดเทคโนโลยี เกษตร” ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.)” หมู่ 7 ต.บึงกา สาม อ.หนองเสือ จ.ปทุมธานี เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2560

25

26.อบรมสัมนาโครงการพัฒนาคุณ ภาพล�ำไย นายมาโนช บัวองค์ ผอจ.ล�ำพูน เป็น ประธานเปิดการอบรมสัมนาโครงการพัฒนา คุณภาพล�ำไย ปีการผลิต 2560 ณ ศูนย์ธุรกิจ สกต.ป่าซาง เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2560 27.สาขาพระธาตุผาแดงร่วมกิจกรรมโครงการ อ�ำเภอยิ้มเคลื่อนที่ สาขาพระธาตุ ผ าแดงเข้ า ร่ ว ม กิจกรรมของที่ว่าการอ�ำเภอแม่สอด โดยการ ออกหน่ ว ยบริ ก ารโครงการ “อ� ำ เภอยิ้ ม เคลื่ อ นที่ ” ประจ� ำ เดื อ น มิ ถุ น ายน 256 ณ หมูบ่ า้ นหนองน�ำ้ เขียว ม.5 ต.แม่กุ อ.แม่สอด จ.ตาก เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2560

26

28.สาขาหอค�ำจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นางปัญจมา กันสุขค�ำ ผูจ้ ดั การสาขา หอค�ำพร้อมทีมงาน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับลูกค้าเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ เกษตรกรตาม แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ณ ศูนย์เรียนรู้ เกษตรอินทรีย์ บ้านโนนศิลา อ.เมือง จ.บึงกาฬ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2560 29.สาขาพรเจริญ ร่วมโครงการ “หน่วยบ�ำบัด ทุกข์ บ�ำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน” นายทนงศักดิ์ ศรีหล้า ผูจ้ ดั การสาขา พรเจริญและทีมงาน ได้ออกให้บริการด้านเงิน ฝากและสินเชื่อแก่ประชาชน ตามโครงการ “หน่วยบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ ประชาชนเมื่ อ วั น ที่ 22 มิ ถุ น ายน 2560 ณ โรงเรียนนาค�ำนาใน ต.ศรีสำ� ราญ อ.พรเจริญ จ.บึงกาฬ 30.สาขาบางระจั น มอบคอมพิ ว เตอร์ ให้ แ ก่ โรงเรียนบางระจันวิทยา นายวสรรค์ ผิวผ่อง ผู้จัดการสาขา บางระจั น และพนั ก งานในสั ง กั ด มอบ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ จ�ำนวน 1 ชุด ให้แก่ โรงเรีย นบางระจัน วิ ท ยา โดยผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนบางระจันเป็นตัวแทนรับมอบ เพื่อใช้ ในการด�ำเนินการเกีย่ วกับงานโรงเรียนธนาคาร เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2560 10 | จุลสาร ธ.ก.ส.

28 29

30

27


31

32

33

35

31.สนจ.อุบลราชธานี จัดประชุมรวมพนักงาน ครั้งที่ 1/2560 สนจ.อุบลราชธานี จัดประชุมรวม พนักงาน ครั้งที่ 1/2560 ณ ห้องประชุมสัต บงกช โรงแรมอุบลบุรีรีสอร์ต อ.วารินช�ำราบ จ.อุบลราชธานี โดยมีนายพีระวัฒน์ ดวงแก้ว กรรมการธนาคาร เป็นประธานในพิธเี ปิด และ ร่วมบรรยายพิเศษ พร้อมกันนี้ นายส่งเสริม ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ จั ด การได้ ม อบนโยบาย ทิศทางการด�ำเนินงานธนาคาร ปี 2560 32.ต้อนรับคณะผูต้ รวจประเมินรับรองมาตรฐาน ศูนย์ราชการสะดวก GECC นายสุ วิ ท ย์ ตรี รั ต น์ ศิ ริ กุ ล รองผู ้ จัดการ นายบรรจง เฉลียวเกรียงไกร ผู้ช่วย ผู้จัดการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร ได้ร่วม ต้อนรับคณะผู้ตรวจประเมินรับรองมาตรฐาน ศูนย์ราชการสะดวก ของส�ำนักปลัดส�ำนักนายก รัฐมนตรี ซึ่งมี นางสาวดารัตน์ บริพันธกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นประธานการตรวจ ณ ธ.ก.ส. สาขาบางเขน เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2560 33. เปิดการอบรมหลักสูตรการบริหารโครงการ อย่างมีประสิทธิภาพ นายมรกต พิธรัตน์ ผู้ช่วยผู้จัดการ เป็ น ประธานเปิ ด การอบรมในหลั ก สู ต รการ บริหารโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ ตั้งแต่ วันที่ 13 มิถุนายน 2560 - 22 มิถุนายน 2560 เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2560 ณ ห้องบุษบา ชั้น 5 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ต ปทุมธานี 34.ให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน น า ย ส ม ศั ก ดิ์ กั ง ธี ร ะ วั ฒ น ์ รองผู้จัดการ ธ.ก.ส. ให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ในประเด็นการ สนั บ สนุ น เกษตรกรมื อ อาชี พ หรื อ นั ก ธุ ร กิ จ เกษตรรุ่นใหม่ของ​ ธ.ก.ส. ณ ห้องท�ำงาน รองผู้จัดการ ชั้น 22 อาคารทาวเวอร์ ธ.ก.ส. ส�ำนักงานใหญ่ บางเขน 35.ธ.ก.ส.จับรางวัลโครงการกองทุนทวีสขุ “เพิม่ ออม เพิ่มสุข” นายมานิต อนรรฆมาศ ปลัดจังหวัด นครสวรรค์ เป็นประธานในพิธีการจับรางวัล โครงการกองทุนทวีสุข “เพิ่มออม เพิ่มสุข” เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2560 ณ โรงแรมบ้าน สวนรีสอร์ท อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์

34

36

36.น�ำสื่อมวลชนลงพื้นที่ นายณรงค์ศักดิ์ เขียวไชย ผอจ.ตรัง และนายชาญยุทธ กาญจนพรหม ผช.ผอจ.ตรัง น�ำสือ่ มวลเข้าเยีย่ มชมและสัมภาษณ์เกษตรกร ลูกค้าในพื้นที่จังหวัดตรัง จุลสาร ธ.ก.ส. | 11


Infocus | ทีมข่าว สสป. เรื่อง / ประพจน์ รอดคำ�ทุย วรุตม์ รินทร์พรหม ภาพ

“ลมไล้ไผ่สีผสานเสียง ส�ำนวนส�ำเนียงเสนาะสนอง

เสน่ห์เพลงสุพรรณคือครรลอง ท�ำนองส�ำเนียงเสียงสุพรรณ” เขียนแผ่นดิน โดย เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ 12 | จุลสาร ธ.ก.ส.


ณ ใจกลางเมืองสุพรรณบุรภี ายใต้รวั้ สีเขียวของส�ำนักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดสุพรรณบุรี ทีมงานจุลสาร ธ.ก.ส. ได้เดินทางแวะมาเยือน จ.สุพรรณบุรี เพื่อเยี่ยมชมการด�ำเนินงานของ ธ.ก.ส. จ.สุพรรณบุรีกันว่าจะมีการด�ำเนินงาน เป็นอย่างไรบ้าง มาอ่านความรู้ ความคิด รวม ถึงเรือ่ งราวดีๆ ผ่านตัวอักษรไปพร้อมกันเลยค่ะ มาถึง จ.สุพรรณบุรีทั้งทีก็ต้องเข้า คารวะ ท่าน ผอจ. ซึง่ เปรียบเสมือนแม่ทพั ผูน้ ำ� ทีมงานขับเคลื่อนภารกิจต่างๆ ไปฟังกันว่าการ ด�ำเนินงานของ สนจ.สุพรรณบุรีเป็นอย่างไร บ้างจากท่านสมภพ เรืองจันทร์ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงาน ธ.ก.ส. จ.สุพรรณบุรี “ภาพรวม SMEs เกษตร ของ สุ พ รรณบุ รี ขั บ เคลื่ อ นไปได้ ด ้ ว ยดี สนอง นโยบายได้ ท�ำตามเป้าหมายได้ ตัวผมพึ่งย้าย มาในช่วงเดือนตุลาคม ซึ่งท่านผู้อ�ำนวยการ ท่านก่อน ท่านก็วางนโยบายเอาไว้คร่าวๆ แล้ว ในส่วนของนโยบายในการขับเคลือ่ นของเรานะ ครับ หลักๆ ทีเ่ ราก�ำหนดไว้กค็ อื การสือ่ สาร การ มอบหมายและการติ ด ตามและการแนะน� ำ ก�ำกับการประเมินผล ในส่วนของการสื่อสาร อันแรกเลย สนจ.ได้รับมอบหมายให้มาขับ เคลื่อนเรื่อง SMAEs ก็มีการซักซ้อมท�ำความ เข้าใจให้กับพนักงานทั้งหมด ในการประชุม หัวหน้าส่วนราชการ ในการเข้าไปในผูน้ ำ� ชุมชน พอดีที่นี่เรามีวิทยุ ดีเจประจ�ำ สนจ. เราก็ใช้ตัว นีแ้ หละในการกระจายข่าว ในส่วนของการมอบ หมายหลังจากทีเ่ ราได้ ให้ความรูเ้ สร็จเราก็มอบ หมาย เราก็มีการแบ่งเป้าหมายกันในแต่ละ สาขา ทีน่ เี่ ราก�ำหนดให้มเี ป้าหมาย Mr. SMAEs

ประจ�ำสาขาทุกสาขา และ สนจ.ด้วยอีกหนึง่ คน ก็มีการมอบหมายงานให้มีการซักซ้อมและส่ง มอบกั น ถึ ง รายเขต เพราะเป้ า หมายของ ธนาคารนอกจากเป้าหมายในเรื่องของตัวยอด แล้ว ยังมีเป้าหมายเป็นรายต�ำบลด้วย ซึ่งที่นี่ ผลการด�ำเนินงานก็ ได้ครบด้วย แต่ว่าบาง ต�ำบลก็มีเยอะ บางต�ำบลกว่าจะได้ก็ยากพอ สมควรเหมือนกัน โดยเฉพาะติดปัญหาในเขต เมือง อย่างที่สามเราก็จะมีการติดตามผล ใน การประชุ ม ผู ้ จั ด การ การประชุ ม ผู ้ บ ริ ห าร ประชุมหัวหน้าหน่วย ประชุมผู้ช่วยฯ จะมีการ ติดตามงานที่เป็นเรื่องส�ำคัญ หลักๆ ต้นๆ ใน การติดตามถ้ามีปญ ั หาก็จะให้ทมี งานของ สนจ. ทีมงานของศูนย์ธุรกิจเขาลงไปช่วย หลังจาก ช่ ว งที่ ผ มมานี่ มั น เริ่ ม เข้ ม ข้ น แล้ ว เป็ น โค้ ง สุดท้ายแล้วเราก็จะตามบ่อยมาก สนจ.เองก็จะ ลงไปตามที่สาขาด้วย ในทุกๆ ด้าน อันนี้ก็จะ เป็นด้านหนึ่งที่เราจะเข้าไปให้ค�ำแนะน�ำ จน สุดท้ายโค้งสุดท้ายจริงๆ สาขาไหนที่ยังไม่ได้ ยังมีปัญหาเราก็จะจัดทีมลงไปช่วยกัน ส�ำหรับ แนวทางในการขับเคลื่อน อย่างที่ผ่านมาด้วย หลัก สื่อสาร มอบหมาย ติดตาม ที่เราคิดว่า เป็นหัวใจของเราเลย

จุดเด่นและความแตกต่างในการท�ำงานกับ ชุมชน

“จุดเด่นเราคิดว่าเป็นการบูรณาการ มากกว่า มันเป็นงานใหม่ พอเป็นงานใหม่ ก็ เลยแทบจะรู้เท่าๆ กัน ไม่ได้ลงไปลึกก็จะใช้ทุก ภาคส่วนของ สนจ. เราไม่ได้แบ่งว่าด้านสินเชือ่ หรือด้านการเงิน หรือด้านธุรการทีมเดียวกัน หมด ยกตัวอย่าง เรามีพนักงานที่บ้านเขาท�ำ

สนจ. สุพรรณบุรี

นายสมภพ เรืองจันทร์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดสุพรรณบุรี ธุรกิจเกี่ยวกับการเพาะพันธุ์ปลา เขาก็จะมี เครือข่ายเกี่ยวกับปลา เกี่ยวกับการเลี้ยงปลา ก็จะแนะน�ำลูกค้ามาให้กับธนาคาร อันนี้คือใน ส่วนของพนักงาน ถ้าข้างนอกก็กลยุทธ์บอกต่อ แต่ละเรื่องมันก็มีเครือข่ายให้กัน อย่างโรงสีก็ จะมีเครือข่ายโรงสี พวกเลี้ยงปลาก็เลี้ยงปลา เลี้ยงวัวก็เลี้ยงวัว ปลูกกล้วยไม้ อันนี้ก็จะมี เครือข่ายของเขา ถ้าเราเข้าไปได้คนแรกต่อไป ก็จะมีการบอกต่อ เราก็ใช้เครือข่ายพวกนี้เป็น ตั ว ที่ ช ่ ว ยเหลื อ และศู น ย์ ธุ ร กิ จ โชคดี ท่ี พนักงานของศูนย์ธรุ กิจเคยเป็นพนักงานทีน่ มี่ า ก่อน ลักษณะความคุน้ เคยจะมีเยอะ เป้าหมาย คือเป้าหมายเดียวกัน เป็นจุดเด่นของเรา เมื่อถามถึงสิ่งที่อยากฝาก ท่านผอจ. สุพรรณบุรี บอกว่าอยากให้ธนาคารเข้ามาให้ ความรู้ เนื่องจาก SMAEs อาจจะยังเป็นเรื่อง ใหม่ส�ำหรับพนักงาน เราเองเราช�ำนาญแต่กับ เรื่องเกษตร ขอแค่เพียงลูกค้าบอก เราจัดการ จุลสาร ธ.ก.ส. | 13


Infocus | ทีมข่าว สสป. เรื่อง / ประพจน์ รอดคำ�ทุย วรุตม์ รินทร์พรหม ภาพ

ให้หมดตั้งแต่ขั้นตอนแรกถึงขั้นตอนสุดท้าย เราก็พยายามทีจ่ ะขยายเครือข่ายให้ครอบคลุม ตามนโยบาย สองคือเรื่องศูนย์ธุรกิจนี่แหละ อยากให้เป็นศูนย์ธรุ กิจยังไม่เต็มรูปแบบเพือ่ ให้ บริการลูกค้าได้รวดเร็วและครบวงจร “โครงการ SMAEs เป็นโอกาสอันดี เกษตรกรรุ่นใหม่ หรือคนรุ่นใหม่ที่ยังไม่ได้เป็น เกษตรกร สามารถที่จะเข้าร่วมโครงการได้ เนื่องจากว่าโครงการนี้ ไม่จ�ำเป็นต้องใช้พื้นที่ เยอะ โครงการนี้จะใช้ 4.0 ใช้เรื่องนวัตกรรม เข้ามาเป็นตัวขับเคลื่อน แล้วผลผลิตมูลค่าสูง ใช้พื้นที่ในการลงทุนน้อย พื้นที่ไม่ต้องใช้เยอะ น�้ำขุดบ่อขุดสระงานเดียวเก็บน�้ำไว้ก็สามารถ ท�ำได้เลย โอกาสที่แบงค์จะ Growth สินเชื่อ ยังไปได้ ก็ต้องฝากถึงพี่น้องพนักงานทุกคนมา ร่วมกันท�ำงานที่เป็นประโยชน์กับชาวบ้านร่วม กัน

สาวสวนแตง (เมล่ อ น) แห่ ง เมื อ ง สุพรรณฯ

หลังจากเข้าคารวะท่าน ผอจ. แล้ว ทีมงานก็เดินทางต่อมายัง อ.หนองหญ้าไซ เพือ่ มาพบกับ คุณป้าเกสร มหาพล เกษตรกร ต.แจ งาม อ.หนองหญ้าไซ เกษตรกรลูกค้า ธ.ก.ส. ผู้ ปลูกเมล่อน คุณป้าเกสรต้อนรับทีมงานด้วยเม ล่อนหวานๆ ตักเป็นลูกกลมๆ แช่เย็น เสริฟ์มา พร้อมกับถ้วยที่ท�ำจากเมล่อนคว้าน ท�ำเอาทีม งานทีเ่ หน็ดเหนือ่ ยมากับอากาศร้อนๆ ยามบ่าย สดชื่นและหายเหนื่อยทันที เมื่อถามถึงการปลูกพืชสุดฮิตอย่าง เมล่อน คุณป้าเกสรเล่าว่าเริ่มปลูกมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 มาเริ่มปลูกเพราะได้รับค�ำแนะน�ำ จากเกษตรอ�ำเภอว่าเมล่อนเป็นพืชที่น่าสนใจ และมีอนาคต จึงเริ่มทดลองลงมือท�ำอย่าง จริงจังในปี 2549 จนปัจจุบันท�ำแปลงเมล่อน ถึง 30 โรงเรือน “ก่อนที่จะมาปลูกเมล่อนก่อนหน้านี้ ในหมู่บ้านนิยมปลูกแตงโม ตัวป้าก็ปลูกด้วย ก่อนจะเปลีย่ นแปลงพืชมาเป็นเมล่อนชาวบ้าน ในหมู่บ้านก็ ได้มีการประชุมปรึกษาหารือกัน ก่อน การท�ำแตงโมก็ท�ำให้ต้องย้ายไปปลูกไป ท�ำทีน่ นู่ ทีน่ ยี่ า้ ยที่ไปเรือ่ ยๆ ก็คยุ กันว่าในเมือ่ มัน ก็ไม่มอี ะไรจะเสียก็นา่ จะลองปลูกเมล่อนดู ช่วง ที่ท�ำปีแรกก็เรียกได้ว่าล้มลุกคลุกคลาน ตาย บ้าง ไม่ได้ผลผลิตบ้าง คิดว่าเป็นเพราะเรายัง ไม่รู้จักพืชดีพอ ว่าพืชชนิดนี้ชอบดินแบบไหน ชอบการดูแลแบบไหน เราต้องลองผิดลองถูก พอเข้าปีที่ 2-3 เราก็เริ่มรู้แล้ว เริ่มติดผล 14 | จุลสาร ธ.ก.ส.


ขายได้ รายได้ก็เริ่มเพิ่มขึ้นเป็น 2-3 เท่า เราก็ รู้สึกว่าธุรกิจตัวนี้มันก็ดี และอีกอย่างเราท�ำ แบบเน้นคุณภาพ และมีตลาดรองรับ ถ้าเป็น เกรด A เกรด B ก็ส่งบริษัท รองลงมาก็ส่ง พ่อค้าแม่ค้าข้างนอกบ้าง แต่โดยมากจะไม่พอ ขาย” เมื่อถามถึงขั้นตอนการปลูกเมล่อน คุณป้าบอกว่า ต้องดูแลอย่างละเอียดยิ่งกว่า ลูก วางแผนการดูแลการปลูกเป็นรายวัน แต่ ไม่ได้ ใช้แรงงานมาก ในช่วงการปลูกจะอาศัย การเอาแรงกัน คล้ายการลงแขกเกี่ยวข้าว เนื่องจากพื้นที่ในต�ำบลปลูกเมล่อนกันทั้งหมด ชาวบ้านก็จะมาช่วยกันช่วงลงปลูก ช่วงต่อดอก และช่วงเก็บเกีย่ ว เรียกได้วา่ ถึงแม้วา่ พืชทีป่ ลูก จะเปลี่ ย นไป แต่ วิ ถี ชี วิ ต ในการช่ ว ยเหลื อ เอื้อเฟื้อซึ่งกันและกันไม่เปลี่ยน “จุดเด่นของพืชนีค้ อื ถ้าเราท�ำผลผลิต ออกมาดี ให้ผลออกมาสวย และหวาน ยังไงก็ ขายได้ ส�ำคัญคือต้องหวานถ้าไม่หวานก็ขายไม่ ออก ไม่มีใครอยากกิน เราสามารถคุมความ หวานได้ เพราะอยู่ในโรงเรือน ถ้าอยู่นอกโรง เรือนพืชดูดกินน�้ำฝนเข้าไปมันก็จืด การท�ำเมล่อนให้ส�ำเร็จ เราต้องดูแล ให้ดแี ละท�ำให้ได้คณ ุ ภาพ การไปต่อสูก้ บั เมล่อน ข้างนอกที่ปลูกแบบนอกโรงเรือน ซึ่งราคาถูก มากๆ ต้องต่อสูด้ ว้ ยคุณภาพเท่านัน้ นอกโรงเรือน เกรด A กับ B อยู่ที่ 25 บาท แต่ในโรงเรือน ด้วยคุณภาพราคาจะอยู่ที่ 55 บาท แต่เราต้อง ท�ำคุณภาพให้ดีให้หวานกว่าเขา ถ้าหวานนีข่ าย ยังไงก็ขายได้ และจุดเด่นอีกอย่างคือต้องท�ำให้ ผิวของผลเมล่อนออกมาตาข่ายสวยงาม”

เลี้ยงวัวแบบปราณีตที่สินไพบูลย์ฟาร์ม

จากฟาร์มเมล่อน เราเดินทางต่อมา ทีส่ นิ ไพบูลย์ฟาร์ม ซึง่ พีๆ่ สาขาแนะน�ำว่าอยาก จะให้ ช ่ ว ยถ่ า ยทอดแนวคิ ด ในการเลี้ ย งวั ว แบบปราณีตสินไพบูลย์ฟาร์มถ่ายทอดไปยัง เกษตรกรลู ก ค้ า และพนั ก งานเพื่ อ การให้ ความรู้ เราได้พบปะกับคุณวัฒนา สินไพบูลย์ ผลและครอบครัว หลังจากเยี่ยมชมฟาร์มและ บันทึกภาพ ก็ ได้มีโอกาสสนทนากับคุณวัฒนา สินไพบูลย์ผล คุณวัฒนาเล่าให้ทีมงานฟังว่า แต่เดิมตนเองและครอบครัวประกอบธุรกิจโรง สี เริม่ ต้นสนใจท�ำกิจการเลีย้ งวัวขุนเมือ่ ปี 2549 โดยเริม่ แรกเอาวัวแม่พนั ธุเ์ ข้ามาเลีย้ งประมาณ 100 ตัว ต่อจากนั้นก็ซื้อวัวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ บวก กับผสมวัวเพาะพันธุ์เองบ้าง โดยก่อนจะมา จุลสาร ธ.ก.ส. | 15


Infocus | ทีมข่าว สสป. เรื่อง / ประพจน์ รอดคำ�ทุย วรุตม์ รินทร์พรหม ภาพ

ท�ำวัวขุนปี 2549 คุณวัฒนาและครอบครัวเคย ทดลองเลีย้ งวัวครัง้ หนึง่ ในช่วงปี 2530 ในสมัย ที่ วั ว ลั ก ษณะหู ย าวเข้ า มาในเมื อ งไทยใหม่ ๆ เลี้ยงไปได้ประมาณ 2-3 รุ่น ราคาก็เริ่มตกต�่ำ ลงไปเรื่อยๆ เพราะในสมัยนั้นยังมีวัวไล่ทุ่ง อยู่มาก ชาวต่างชาติ เช่น จีน เวียดนามยังไม่ เข้ามาซื้อวัวในไทยเหมือนสมัยนี้ ก็เลยเป็นอัน ต้องเลิกกิจการไป

พอปี 2549 คุ ณ วั ฒ นาก็ เ ริ่ ม เห็ น ว่ า เกษตรกรแถวนครปฐมเขาก็เริ่มเลี้ยง วั ว กั น ก็ เ ลยคิ ด ว่ า น่ า จะลองเลี้ ย ง ดูอีกครั้ง

“เราต้องหาอะไรท�ำให้มันเหมาะสม กับภูมปิ ระเทศของเรา พืน้ ทีบ่ า้ นเราไม่ได้อยู่ใน เขตชลประทานการเพาะปลูกจะไม่สะดวกเท่า ไหร่ อีกอย่างตัวผมเป็นคนชอบความเรียบง่าย ไม่ชอบไปแข่งขันหรือใช้เล่หเ์ หลีย่ มกับใคร การ เลี้ยงตัวเป็นอาชีพที่สงบ เรียบง่าย ตอนเริ่ม กลับมาท�ำอีกครั้ง เราค่อนข้างได้เปรียบคนอื่น เขาเพราะว่าเรามีเครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ อยู่ แล้ว เพราะเราเก็บไว้ตั้งแต่คราวลองเลี้ยงปี 2530 อาหารเราก็ผสมเองได้ เปิดหนังสือท�ำ ตามได้ โดยใช้สูตรอาหารของมหาวิ ท ยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน ทดลอง ชั่งตวงให้วัวทาน วิเคราะห์ค�ำนวณอัตราการ แลกเนื้อ ช่วงแรกตั้งเป้าว่าได้สักตัวละ 2,000 บาท คิดว่าขายวัวงวดหนึ่งก็น่าจะอยู่ได้ อีก อย่างข้อดีของพืน้ ทีเ่ ราคือพืน้ ทีเ่ ราไม่มยี งุ ท�ำให้ วัวไม่มีโรค” “การขายเราขายเป็นกิโลกรัม ขายชัง่ ทั้งตัวตามราคาท้องตลาด เราจะน�ำวัวแม่พันธุ์ มาผสมแล้วเอาลูกวัวตัวผูม้ าท�ำเป็นวัวขุน ส่วน ลูกวัวตัวเมียก็จะเก็บไว้ ใช้เป็นแม่พนั ธุต์ อ่ ไปอีก

16 | จุลสาร ธ.ก.ส.

หรือถ้าเราไปซื้อวัวมาจากตลาดนัดเราก็จะเอา มาขุนขาย ใช้เวลาประมาณ 4 – 5 เดือน แต่ ถ้าเราเพาะเองก็จะใช้เวลาขุนประมาณ 2 ปี วัวก็จะมีเกรดของเขา ถ้าวัวหูยาวก็ราคาถูก เพราะหนังและกระดูกใหญ่ จะมีซากส่วนที่ทิ้ง มาก ถ้าเป็นวัวสายพันธุ์ชาโรเลย์ หรือแองกัส กระดูกจะบางเนื้อเยอะ ส่วนที่ทิ้งจะน้อย พันธุ์ ทีม่ อี ยูส่ ว่ นใหญ่จะเป็น สายพันธุบ์ รามันม์ ผสม กับสายพันธุว์ วั พืน้ เมือง โดยเราจะซือ้ น�ำ้ เชือ้ วัว จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มาผสมพันธุ์ เองโดยสัตวบาลของฟาร์ม โดยเลือกแม่พันธุ์ วัวพืน้ เมืองทีแ่ ข็งแรง ท�ำให้เราไม่ตอ้ งไปซือ้ พ่อ พันธุ์แม่พันธุ์จากต่างประเทศ ขั้นตอนการจัดการฟาร์ม การดูแล ฟาร์มวัวเป็นงานละเอียดอ่อน เราต้องท�ำความ เข้าใจกับนิสัยของสัตว์ที่เราเลี้ยงว่านิสัยเป็น อย่างไร ความเป็นจริงวัวเป็นสัตว์กลัวฝน กลัว แดด รักความสะอาดมาก แม้แต่มเี ศษดินหล่น ลงไปในอาหารนิดเดียววัวจะไม่กินตรงหย่อม นั้นเลย เราก็มาศึกษาดูว่าเขาชอบอะไร เรา สังเกตว่า น�ำ้ วัวจะไม่กนิ น�ำ้ ทีส่ กปรกวัวจะเลือก กินที่สะอาด เราก็ต้องเปลี่ยนให้เขา แล้วพอ เขากินน�ำ้ ได้ดเี ขาก็จะกินอาหารได้ดี เราสังเกต ว่าเพราะเราเลี้ยงด้วยอาหารข้นเขาจะหิวน�้ำ บ่อย กินอาหารได้พักนึงก็ต้องไปกินน�้ำ เวลา เขาดืม่ น�ำ้ เศษอาหารก็ตกลงไปในน�ำ้ น�ำ้ ก็จะบูด เราต้องล้างทุกวัน คนที่ไม่ประสบความส�ำเร็จ ในการเลี้ยงวัวคือคนที่ไม่สังเกต บางคน 2-3 วันถึงจะท�ำความสะอาดเปลี่ยนน�้ำ พอวัวทาน น�้ำไม่สะอาดก็จะเป็นโรคได้ง่าย ถึงไม่เป็นโรค เขาก็จะกินได้ไม่เต็มที่ กินอาหารแค่เพื่อกันหิว เท่านั้นเอง นอกจากนั้นต้องมีแสงแดดให้เขา


ธ.ก.ส. สาขาสุพรรณบุรี

นอนอบอุ่นตัวเอง วิตามินจะได้จากแสงแดดที่ ไม่ได้มีในอาหาร ลักษณะคอกและภูมิอากาศที่ ดีจะท�ำให้วัวแข็งแรง เวลาเคลื่อนย้ายไปไหน ก็จะไม่ค่อยเป็นอะไร เรื่องอาหาร ใช้หญ้า แพงโกล่าส�ำหรับเลี้ยงแม่วัว วันนึงตัดหญ้า แพงโกล่าประมาณ 30 ตัน ให้แม่วัวกิน หญ้า แพงโกล่าตระกูลเดียวกับหญ้าแพรกไฟไหม้ก็ ไม่ตาย เราก็ ไม่กังวลว่าเราจะต้องปลูกแล้ว ปลูกอีก และทนกับการที่วัวไปเหยียบย�่ำ มัน แตกใหม่ได้ไว ต้นทุนการปลูกน้อยกว่า เรื่องการป้องกันโรคในวัว เวลาเรา เอาวัวเข้ามาก็ต้องท�ำวัคซีนถ่ายพยาธิ ฉีดยา บ�ำรุงให้แม่วัว หนึ่งปีต้องท�ำวัคซีนสองหน วัว จะไม่มีโรคติดต่อเลย ด้ า นการตลาด มี ผู ้ ซื้ อ ชาวจี น ชาวเวียดนาม และส่งตลาดไท เราต้องคอยให้ เขาเข้ามาแล้วรอดูจังหวะขาย โดยดูว่าวัว ในท้องตลาดว่ามีมากหรือน้อย ถ้าราคาดีกข็ าย ถ้าราคายังไม่ดกี ข็ นุ ต่อ การเจริญเติบโตของวัว จะหยุดที่ 6-7 ขวบ เราสามารถสังเกตดูได้ที่ หนังคอว่ายืดถ่างออกหมดหรือยัง ถ้าวัวเราโต เต็มที่แล้ว เราสมควรจะขายเราก็ขาย จุ ด เด่ น ของวั ว ของฟาร์ ม เรา คื อ อาหาร และ สายพันธุข์ องวัวทีพ่ ยายามเลือกที่ จะไม่ให้มีโครงสร้างใหญ่เทอะทะ อาหารก็จะ ปรับสูตรใหม่แล้วได้เนื้อที่มีสีสวยไร้ไขมันโดย ไม่ใช้สารเร่งเนือ้ แดง ให้การเจริญเติบโตต้องดี เราต้องรู้ว่าวัวหนึ่งตัว กินอาหารไปหนึ่งตัน เป็นอัตราแลกเนื้อออกมาเท่าไหร่ เพื่อที่เราจะ ได้รู้ต้นทุน ที่คนเลี้ยงวัวไม่มีก�ำไรเพราะหนึ่ง ซื้ออาหารแพง อาหารหนึ่งตันแปรออกมาเป็น อัตราแลกเนื้อได้น้อย หรือกลายเป็นไขมัน ก็เลยท�ำให้ราคามันตก เมื่อถามถึงหัวใจส�ำคัญของการท�ำ ฟาร์มวัว คุณวัฒนาบอกว่า ก็คอื ความละเอียด ความเอาใจใส่ของเจ้าของ ต้องเข้าถึงความ รู้สึกของสัตว์ที่เราเลี้ยงว่าเขาต้องการอะไร แล้วจะเลีย้ งให้สำ� เร็จไม่สำ� เร็จมันมีปลีกย่อยอีก อาทิ โรงเรือนควรหันหน้าขวางตะวัน เพราะ ตอนเช้าแดดส่องมาก็จะส่องลอดเข้ามาในพื้น โรงเรือนก็จะท�ำให้ โรงเรือนแห้ง อากาศก็จะดี เพราะวัวต้องการแสงแดด และต้องการให้พนื้ แห้งมันก็จะไม่หมักหมม วิธีการเลือกซื้อวัวขุน วิธกี ารเลือกซือ้ อาหารวัวจากแหล่งผลิตและซือ้ วัตถุดิบที่เชื่อถือได้ วิธีให้อาหารและน�้ำ การ ดูแล ต้องเอาใจใส่ในทุกรายละเอียดจึงจะท�ำให้ เลี้ยงได้ประสบความส�ำเร็จ

ธ.ก.ส. สาขาบางปลาม้า จุลสาร ธ.ก.ส. | 17


New Gen | ทีมงานจุลสาร ธ.ก.ส. เรื่อง

ท่านผูอ้ า่ นคงเห็นด้วยกับแนวคิดทีว่ า่ ทุกครั้งที่เราได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดกับ คนคิดบวก (Positive Thinking) หัวใจของเรา ก็จะเปีย่ มไปด้วยแรงบันดาลใจและพลังในการ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ในการท�ำงานของเราก็กลับ เปี่ยมความหมายในท�ำสิ่งเดิมๆ ได้อย่างน่า อัศจรรย์ นั่นคือพลังแห่งการคิดบวก และนั่น คื อ สิ่ ง ที่ ที ม งานได้ รู ้ สึ ก จากการพู ด คุ ย กั บ New Gen ของเราในครั้งนี้ New Gen ฉบับนี้เดินทางมาเยือน จ.สุพรรณบุรี จะพาทุกท่านมาท�ำความรู้จักกับ พนักงานรุน่ ใหม่ทเี่ ต็มเปีย่ มไปด้วยอุดมการณ์ที่ อยากจะเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาและดูแล เกษตรกรกับสาวน่ารักทีม่ นี ามแสนไพเราะและ มี ค วามหมายที่ ง ดงามคื อ ทางสายกลาง “มัชฌิมา ประสมสินธุ์”

ประวัติส่วนตัว

น.ส. มัชฌิมา ประสมสินธุ์ ชื่อเล่น ใบเตย ปัจจุบันปฏิบัติงานอยู่ที่ ธ.ก.ส. สาขา ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี ปัจจุบันท�ำงานใน ต�ำแหน่งพนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 7 จบการ ศึกษาชัน้ มัธยมศึกษาจาก โรงเรียนชลประทาน วิทยา จ.นนทบุรี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ วิ ท ยาเขต ก�ำแพงแสน ภาควิชาพืชสวน และศึกษาต่อ ระดั บ ปริ ญ ญาโทที่ ม หาวิ ท ยาลั ย นิ ว คาสเซิ ล ยูนิเวอร์ซิตี้ ประเทศออสเตรเลีย ในสาขา บริหารธุรกิจ หลังจากนั้นก็หาประสบการณ์อีก 1 ปี โดยที่ท�ำงานไปด้วย จากนั้นก็กลับมาที่ ประเทศไทย พอกลับมาก็เริ่มท�ำงานที่บริษัท เอกชนแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ แถวอโศก เป็น บริษทั ทีท่ ำ� การตลาดให้กบั องค์การยูนเิ ซฟ รูส้ กึ ว่าอยู่กรุงเทพฯ สังคมมันแก่งแย่งกัน ทั้งการ กิน การอยู่ การใช้ แม้กระทัง่ การเดินทาง บ้าน อยู่ นนทบุรี ท�ำงานที่สุขุมวิท ออกจากบ้าน ตี ห้า เพื่อจะให้มาทันเวลา 08.30 น. ปกติเลิก งาน ห้าโมงเย็น ออกจากออฟฟิศ ถึงบ้านสาม ทุม่ การเดินทางแบบนีป้ ระมาณเดือนนึง คิดว่า มันไม่ใช่ตัวเรา เลยเปลี่ยนมาท�ำงานที่ส�ำนัก ส่ ง เสริ ม ที่ จั ง หวั ด นครปฐม มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ท� ำ งานอยู ่ ที่ นั่ น ในแผนก นิเทศสัมพันธ์ อบรมชาวต่างชาติ ซึ่งตรงนั้นก็ โอเคได้ ใช้ภาษา แต่ทที่ ำ� งานตรงนัน้ เป็นเหมือน เราได้ ท� ำ งานคลุ ก คลี กั บ นั ก วิ ช าการเกษตร ไม่ได้มาคลุกคลีกับตัวเกษตรกร รู้สึกว่ามันก็ ยังไม่ใช่ ท�ำได้อยู่ 4 ปี จนมาสอบเข้า ธ.ก.ส. ปีที่ 5 18 | จุลสาร ธ.ก.ส.

Q : เหตุผลที่เลือกมาท�ำงานกับ ธ.ก.ส.

Energy คือการทุม่ เทพละก�ำลังทุกอย่างให้เต็ม เหตุผลทีเ่ ลือกมาท�ำงานกับ ธ.ก.ส. ก็ ที่ ใ นการท� ำ งาน A คื อ Active มี ค วาม เชือ่ มจากทีศ่ นู ย์สง่ เสริมฯ ทีก่ ำ� แพงแสน ได้พบ กระตือรือร้นในการท�ำงาน R คือ Relationship กับพี่ๆ ธ.ก.ส.ระดับ 8-9 เขาได้มาอบรมที่นั่น มีความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าและเพื่อนร่วมงาน ตัวเราเองก็ได้เป็นผูช้ ว่ ยวิทยากรในการอบรมที่ ตัวสุดท้ายที่ส�ำคัญคือ Teamwork งานบาง นั่นด้วย ท�ำให้เราได้มาสัมผัสกับพี่ๆ ที่มาอบรม อย่างเราสามารถท�ำคนเดียวได้ แต่งานบาง ได้สัมผัสว่า ธ.ก.ส. ท�ำงานยังไง รู้สึกว่า ธ.ก.ส. อย่างและหลายๆ อย่าง เราไม่สามารถท�ำคน เป็นธนาคารทีช่ ว่ ยเหลือเกษตรกรอย่างแท้จริง เดียวได้ส�ำเร็จ เราจ�ำเป็นต้องใช้ Teamwork มอบโอกาส มอบความรู้ และแหล่งเงินทุนให้ จากทีมงานของเราเพื่อให้งานนั้นส�ำเร็จ กับเกษตรกร

Q : ความหมายของคนรุ่นใหม่ ในมุมมอง Q : ก่อนหน้าที่จะเข้ามาท�ำงาน ธ.ก.ส. ของเราคืออะไร ความหมายของคนรุน่ ใหม่ในมุมมอง มอง ธ.ก.ส. อย่างไร ก่อนหน้าที่จะมาท�ำงานที่ ธ.ก.ส. ก็ รูจ้ กั แต่วา่ รูจ้ กั ไม่ลกึ ซึง้ รูแ้ ค่วา่ เป็นธนาคารของ รั ฐ คิ ด ว่ า ก็ ค งมี ลั ก ษณะเหมื อ นหน่ ว ยงาน ราชการหน่วยงานหนึ่ง ที่มีการรับฝากเงินจ่าย เงินเหมือนธนาคารอื่นๆ ทั่วไป แต่พอได้ก้าว เข้ามาท�ำงานที่ ธ.ก.ส. จริงๆ แล้วรู้สึกว่ามัน แตกต่าง การท�ำงานกับ ธ.ก.ส. มันท้าทาย โดย เฉพาะทางด้านสินเชือ่ ท้าทายมาก คือเราต้อง สร้างความเชื่อมั่นความศรัทธาให้กับลูกค้าเรา ก่อน และหลังจากนัน้ ลูกค้าถึงจะมีความผูกพัน กับเราจากรุ่นต่อรุ่น

ของเรา คนรุน่ ใหม่จะกล้าทีจ่ ะคิดต่าง คิดแปลก คิ ด นอกกรอบ มี ไ อเดี ย มี แ นวคิ ด เป็ น ของ ตนเอง มีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง จึงจ�ำเป็น อย่างยิ่งที่บางครั้งต้องให้รุ่นพี่ที่ท�ำงานร่วมกัน ช่วยในการประคับประคอง ช่วยชี้แนะ ในการ ท�ำงานเพราะรุ่นพี่มีประสบการณ์มากกว่า

Q : อยากให้ทางธนาคารช่วยสนับสนุนการ ท�ำงานของพนักงานในด้านใดมากที่สุดใน ความคิดของเรา

จากที่ท�ำงานมา 6 ปี อยากให้ทาง ธนาคารพัฒนาเกีย่ วกับเทคโนโลยี เครือ่ งมือที่ Q : จ�ำความรู้สึกแรกที่เข้ามาท�ำงานได้ ไหม ใช้ ในการท�ำงาน เพือ่ ทีจ่ ะน�ำไปพัฒนาบุคลากร เข้ามาท�ำงานวันแรกทีอ่ อกพืน้ ที่ บอก ในองค์ ก รของเราให้ ท� ำ งานได้ อ ย่ า งมี ตามตรงว่าเครียด และรูส้ กึ กดดัน เพราะไม่คดิ ประสิทธิภาพมากขึ้น ว่าประเทศเราจะยังมีเกษตรกรทีย่ งั ใช้ชวี ติ แบบ ดั้งเดิมอยู่มาก และพวกเขาจ�ำเป็นที่จะต้องได้ Q : ความประทับใจที่มีต่อเกษตรกรลูกค้า ความประทับใจทีม่ ตี อ่ เกษตรกรลูกค้า รับการพัฒนา ถ้า ธ.ก.ส. สามารถที่จะยื่นมือ เข้าไปช่วยเหลือเขาได้ ก็จะเป็นโอกาสที่ดีใน ประทับใจมาก เวลาลงพื้นที่ไปหรือเวลาลูกค้า มาทีธ่ นาคาร ลูกค้าจะบอกว่า ฉันและครอบครัว การให้เขาและครอบครัวพัฒนาตัวเอง พอเข้ามาท�ำงานเจอรุ่นพี่ๆ พี่ๆ ใจดี มีวันนี้ ได้ เพราะ ธ.ก.ส. มันอาจจะไม่ใช่เพราะ และสอนงานทุกอย่าง แต่การท�ำงานกับพี่ๆ ก็ ตัวหนูคนเดียว แต่มันเกิดจากรุ่นพี่ที่สร้างไว้ ต้ อ งยอมรั บ ว่ า ใน Gen ที่ ต ่ า งกั น ก็ จ ะมี ข ้ อ เป็นสายใยต่อกันมาจนมาถึงเรา และมันท�ำให้ แตกต่างกันบ้าง อย่างเช่นรุ่นพี่ๆ จะห่างไกล เราภาคภูมิใจ ว่าลูกค้าและครอบครัวลูกค้า จากเทคโนโลยีค่อนข้างมาก กับเรื่องไอที แต่ สามารถพัฒนาออกมาได้ขนาดนี้ และมีความ จุดนั้นก็ ไม่ได้เป็นปัญหาอุปสรรคในการท�ำงาน เป็นอยู่ที่ดีขึ้น เราสามารถเรียนรู้กันได้ แต่สิ่งหนึ่งที่ส�ำคัญที่ รุน่ พีม่ ี ก็คอื เทคนิค รูปแบบ และประสบการณ์ Q : อยากอะไรถึงเพือ่ นพนักงานทัว่ ประเทศ ที่ เ ราก� ำ ลั ง ท� ำ บทบาทหน้ า ที่ เ ดี ย วกั น อยู ่ ในการท�ำงาน

Q : อะไรคือหัวใจส�ำคัญในการท�ำงาน

หัวใจส�ำคัญในการท�ำงาน ส�ำหรับ ตัวเองเป็นพนักงานพัฒนาธุรกิจ ท�ำงานอย่าง เต็มที่ ใช้ ใจในการท�ำงาน คือ HEAR ของ หนูตัวแรก H คือ Happy ท�ำงานอย่างมีความ สุขเมื่อเรามีความสุขลูกค้าก็มีความสุข E คือ

ในตอนนี้

สิง่ ทีอ่ ยากฝาก ทุกวันนี้ รูส้ กึ ว่าตัวเอง ท�ำงานอย่างมีความสุข ก็อยากให้พี่ๆ ทุกคน ท�ำงานอย่างมีความสุข และรู้สึกภูมิใจที่เราได้ เป็นครอบครัว ธ.ก.ส. เพื่อที่จะน�ำความรู้ความ สามารถทีพ่ วกเรามีไปพัฒนาให้กบั ลูกค้า ลูกค้า อยู่ได้ เราก็อยู่ได้


จุลสาร ธ.ก.ส. | 19


เขียนด้วยแสง | วรุตม์ รินทร์พรหม ภาพ / คำ� : นิรนาม

20 | จุลสาร ธ.ก.ส.


Everything in life is temporary. So if things are going good, enjoy it because it won’t last forever. And if thing are going bad, don’t worry. It cannot last forever either. “ทุกสิ่งในชีวิตนั้นไม่คงทนถาวร ดังนั้นถ้าพบเรื่องดีๆ ก็จงมีความสุขไปกับมันเพราะมัน จะไม่คงอยู่ตลอดไป และถ้าหากพบเจอกับเรื่องเลวร้ายก็อย่าได้กังวลเพราะมันไม่สามารถ คงอยู่ตลอดไปเช่นกัน” จุลสาร ธ.ก.ส. | 21


Green Trip | ณัฐภัสสร ทวีศรีวรานนท์ เรื่อง / อิทธิพล มีกุล , ประพจน์ รอดคำ�ทุย ภาพ

จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นจังหวัด ในภาคกลางที่ อ ยู ่ ไ ม่ ไ กลจากกรุ ง เทพ สุ พ รรณบุ รี ถื อ เป็ น เมื อ งที่ ม ากไปด้ ว ย ประวัติศาสตร์ เนื่องจากค้นพบหลักฐาน ทางโบราณคดีหลายยุค และยังเป็นเมือง ต้นก�ำเนิดวรรณคดีสำ� คัญทีเ่ ลือ่ งชือ่ อย่าง “ขุนช้างขุนแผน” สุพรรณบุรถี อื เป็นเมือง ที่มีความอุดมสมบูรณ์และมีสถานที่ที่น่า สนใจอยู่ไม่น้อย ไม่ว่าจะเป็นสถานที่ท่อง เที่ยวเชิงธรรมชาติ หรือจะเป็นแหล่ง ช็อปปิ้งเพลินๆ ก็ตาม มาถึงสุพรรณบุรีทั้งทีก็ต้องมาที่ ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองกันก่อน ศาลเจ้าพ่อ

22 | จุลสาร ธ.ก.ส.


หลักเมืองสุพรรณบุรี เป็นอาคารทรง มั ง กร ที่ มี ข นาดใหญ่ ที่ สุ ด ในโลก ความยาว 135 เมตร สูง 35 เมตร กว้าง 18 เมตร ซึง่ ถือเป็นทีแ่ สดงประวัตศิ าสตร์ และอารยธรรมจี น ย้ อ นหลั ง ไปราว 5 พั น ปี เดิ ม เป็ น เพี ย งศาลไม้ ท รงไทย เท่านั้น แต่ปัจจุบันได้บูระณะจนมีความ สวยสง่ า ด้ า นประติ ม ากรรมอย่ า งมาก ซึ่ ง ศิ ล ปะที่ น่ี เ ป็ น แบบเขมร ภายใต้ สถาปัตยกรรมจีน ซึ่งถือเป็นแหล่งรวม ความหลากหลายทางอารยธรรมเป็ น อย่างมาก เจ้าพ่อหลักเมืองนี้ ถือเป็น พุทธศาสนาลัทธิมหายาน ประดิษฐาน พระนารายณ์สี่กรหรื พระโพธิสัตว์อวโล กิเตศวร เป็นที่สักการบูชาทั้งชาวไทย และชาวจีน อี ก สั ญ ลั ก ษณ์ ห นึ่ ง ที่ อ ยู ่ คู ่ กั บ จังหวัดสุพรรณบุรีก็คือ หอคอยบรรหาร – แจ่มใส สัญลักษณ์สำ� คัญแห่งหนึง่ ของ จังหวัดเนื่องจากมีสีขาวสูงเด่นสง่ากลาง เมือง ที่หอคอยสามารถมองเห็นวิวได้ รอบตั ว เมื อ งสุ พ รรณบุ รี ซึ่ ง อยู ่ ใ นสวน เฉลิมภัทรราชินี สวนสาธารณะขนาด ใหญ่ใจกลางเมืองเหมาะส�ำหรับนักท่อง

เที่ ย วมาพั ก ผ่ อ นในบรรยากาศร่ ม รื่ น ภายในสวนสาธารณะทีเ่ ต็มไปด้วยพรรณ ไม้ น านาชนิ ด ลานน�้ ำ พุ แ ละสวนน�้ ำ ส�ำหรับผูท้ อี่ ยากนัง่ ชิลและสามารถชมวิว ด้านบนหอคอยได้อีกด้วย เมืองสุพรรณถือว่าเป็นเมืองเก่า จึงมีสถานที่ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์อยู่ มากมายหลายแห่ง วัดป่าเลไลยก์ นี่เป็น อีกหนึ่งสถานที่ที่มีอายุเก่าแก่ราว 1200 ปี วัดคู่บ้านคู่เมืองสุพรรณ ที่ประดิษฐาน หลวงพ่อโตปางเลไลยก์ ทีเ่ ป็นศิลปะสมัย อูท่ อง สุพรรณภูมิ ใครผ่านไปผ่านมาต้อง แวะมาทีน่ เี่ พือ่ เป็นสิรมิ งคล ภายในวัดยัง มีภาพเขียนเรือ่ งราว ขุนช้าง-ขุนแผน ซึง่ เป็นวรรณกรรมอมตะของไทยมาช้านาน ตามประวัติกล่าวว่านักขับเสภาครั้งกรุง ศรีอยุธยาเป็นผู้แต่ง นอกจากนี้บริเวณ วัด ยังมีตลาดต้องชม ซึ่งเป็นศูนย์รวม จ�ำหน่ายสินค้าพืน้ เมืองของเมืองสุพรรณ ทั้ ง ปลาสลิ ด ดอนก� ำ ยาน ปลาแม่ น�้ ำ ปลาแดดเดียว ในราคาคาถูก หากต้องการไปถ่ายภาพโบราณ สวยๆ กลางบรรยากาศย้อนยุค สถานที่ ท่องเที่ยวในอันดับต้น ๆ ของจังหวัด

สุพรรณบุรี อีกที่หนึ่ง ที่ไม่ควรพลาด นั่น ก็ คื อ “ตลาดสามชุ ก ” สามชุ ก เป็ น ที่ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เป็นตลาดส�ำคัญ ในการติดต่อค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้า ที่ส�ำคัญในอดีต ตั้งแต่เมื่อ 100 กว่า ปี ก ่ อ น ตั้ ง อยู ่ ริ ม แม่ น�้ ำ ท่ า จี น อ� ำ เภอ สามชุก มีลกั ษณะเป็นห้องแถวไม้ โบราณ ลวดลายฉลุไม้ที่เรียกว่าลายขนมปังขิง ซึ่งหาดูได้ยากในปัจจุบัน ตลาดแห่งนี้ยัง คงรักษาวิถีชีวิตบรรยากาศภายในตลาด การค้าขาย ข้าวของเครือ่ งใช้ ขนมอาหาร ทีน่ ำ� มาตัง้ ขายในตลาดให้เป็นแบบดัง้ เดิม ถื อ เป็ น วั ฒ นธรรมที่ สื บ เนื่ อ งจากอดี ต บ่มเพาะมาเป็น 100 ปี ท�ำให้ตลาด สามชุก แห่งนี้ ได้รับขนานนามว่าตลาด 100 ปี ต่ อ จากสามชุ ก มาที่ อ� ำ เภอ เดิ ม บางนางบวช มี ส ถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว ส�ำหรับศึกษาพันธุ์ปลาน�้ำจืดที่มีชื่อเสียง โด่งดั่งอีกแห่งหนึ่งของเมืองไทย นั่นคือ “บึงฉวาก” บึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ เป็น บึงน�ำ้ ธรรมชาติขนาดใหญ่ มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด ประมาณ 2,700 ไร่ อยู่ห่างจากตัวเมือง จุลสาร ธ.ก.ส. | 23


Green Trip | ณัฐภัสสร ทวีศรีวรานนท์ เรื่อง / อิทธิพล มีกุล , ประพจน์ รอดคำ�ทุย

24 | จุลสาร ธ.ก.ส.


จุลสาร ธ.ก.ส. | 25


Green Trip | ณัฐภัสสร ทวีศรีวรานนท์ เรื่อง / อิทธิพล มีกุล , ประพจน์ รอดคำ�ทุย ภาพ

สุพรรณบุรีประมาณ 64 กิโลเมตร บึง ฉวากมีพนื้ ทีต่ ดิ ต่อกับอ�ำเภอหันคาจังหวัด ชั ย นาทและอ� ำ เภอเดิ ม บางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ส่วนทีอ่ ยู่ในเขตอ�ำเภอ เดิมบางนางบวชมีพื้นที่ประมาณ 1,700 ไร่ บึงฉวากได้รบั ประกาศให้เป็นเขตห้าม ล่าสัตว์มาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2526 และในปี พ.ศ. 2541 ได้รับการจัดให้เป็นพื้นที่ชุ่ม น�้ ำ ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ระดั บ ชาติ ตาม อนุสญ ั ญาแรมซาร์ทปี่ ระเทศไทยเป็นภาคี เนื่องจากความหลากหลายของพันธุ์พืช และสัตว์ที่มีในบึง ลักษณะที่เรียกว่าเป็น พื้นที่ชุ่มน�้ำตามอนุสัญญาแรมซาร์ คือ พื้นที่ลุ่ม พื้นที่ราบลุ่ม พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ พืน้ ทีฉ่ ำ�่ น�ำ้ มีนำ�้ ท่วม น�ำ้ ขัง พืน้ ทีพ่ รุ พืน้ ที่ แหล่งน�ำ้ ทัง้ ทีเ่ กิดเองตามธรรมชาติและ ที่มนุษย์สร้าง ทั้งที่มีน�้ำขังหรือน�้ำท่วม ถาวรหรือชัว่ คราว ทัง้ แหล่งน�ำ้ นิง่ และน�ำ้ ไหล แหล่งน�้ำจืด น�้ำกร่อยและน�้ำเค็ม รวมไปถึ ง ชายฝั ่ ง ทะเลและทะเลใน บริเวณซึ่งเมื่อน�้ำลดต�่ำสุด น�ำ้ ลึกไม่เกิน 6 เมตร ซึ่งบึงฉวากเข้าข่ายลักษณะดัง กล่าว คือเป็นบึงน�้ำจืดที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ มีความลึกเฉลี่ยประมาณ 1 – 3 เมตร ซึ่งภายในบึงฉวากก็มีที่ท่อง เทีย่ วทีน่ า่ สนใจมากมาย ทัง้ โซนสวนสัตว์ อุทยานผักพื้นบ้านเฉลิมพระเกียรติ และ ไฮไลท์อยู่ที่อุโมงค์ปลาน�้ำจืดขนาดใหญ่ ส่วนแสดงพันธุ์สัตว์น�้ำที่ถูกอกถูกใจคุณ หนูๆ ทั้งหลายเป็นอย่างยิ่ง ไกลที่ สุ ด ของการท่ อ งเที่ ย ว จังหวัดสุพรรณบุรี อยู่ที่อ�ำเภอด่านช้าง ซึ่ ง ถึ ง แม้ ว ่ า จะต้ อ งใช้ เ วลาเดิ น ทาง มากกว่าอ�ำเภออืน่ ๆ สักนิดนึง แต่กค็ มุ้ กับ การเดินทาง เพราะที่นี่มีแหล่งท่องเที่ยว ธรรมชาติที่มีชื่อเสียงหลายแห่ง อาทิ อุทยานแห่งชาติพุเตย เขื่อนกระเสียว และอ่างเก็บน�้ำหุบเขาวง “เขื่ อ นกระเสี ย ว” อยู ่ อ� ำ เภอ ด่านช้างเป็นอีกหนึง่ แลนด์มาร์คทีเ่ หมาะ ส� ำ หรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วสามารถมาชมวิ ว 26 | จุลสาร ธ.ก.ส.


ถ่ายภาพและพักผ่อนได้ ยิ่งช่วงเย็นๆ ลมยิ่ ง พั ด เย็ น สบายบวกกั บ การชม พระอาทิตย์ลับขอบฟ้าได้อีกหนึ่งที่เลย ทีเดียว เขื่อนกระเสียวเป็นแหล่งเพาะ พันธุ์ปลาขนาดใหญ่ และเป็นเขื่อนดินที่ มีความยาวมากที่สุดในประเทศไทย ที่น่ี นักท่องเทีย่ วยังสามารถตัง้ แคมป์ได้ดว้ ย และมีโฮมสเตย์มากมายรอบๆ เขื่อน “อ่างเก็บน�้ำหุบเขาวง” สถานที่ ท่องเที่ยวแนวธรรมชาติ ป่าเขา ผืนน�้ำ ท้องฟ้า นอนนับดาว เหมาะกับการแค้ม ปิ้ง กางเต้นท์ หรือจะนอนบนแพ ก็มีให้ บริ ก าร เป็ น สถานที่ ส วยงามตาม ธรรมชาติ จนนักท่องเที่ยวเรียกกันว่า ปางอุ๋ง สุพรรณ ... เกิดจากความร่วมมือ ของชุมชน ช่วยกันพัฒนา และดูแลพืน้ ที่ ป่าของหมู่บ้าน ให้สามารถรับนักท่อง เที่ยวแบบเรียบง่าย และเรียนรู้วิถีชีวิต ของชุมชนในพื้นที่ อีกจุดหนึง่ ทีน่ า่ สนใจคือ อุทยาน แห่งชาติพเุ ตย เหมาะส�ำหรับนักผจญภัย ผูร้ กั การเดินป่า ตัง้ แคมป์ นัน่ คือการพิชติ ยอดเขาเทวดา อุทยานแห่งชาติพุเตย เหมาะกั บ นั ก เดิ น ทางที่ ห ลงใหลใน ธรรมชาติ ความสงบเงียบ ป่าเขา น�้ำตก ความงดงามงามของดวงอาทิตย์ยามเช้า ไอหมอก ความหนาวเย็นและวิถีชีวิต ของชนชาวกระเหรี่ยง และนี่ ก็ คื อ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ทีน่ า่ สนใจของจังหวัดสุพรรณบุรี เรียกได้ ว่ า ครบรสชาติ ครบทุ ก แนว ทั้ ง สาย ธรรมมะ สายประวัติศาสตร์ สายช้อปปิ้ง สายผจญภัย ไม่วา่ คุณจะเป็นนักท่องเทีย่ ว สายไหน รับรองว่ามาสุพรรณบุรี สนุก ครบรสแน่นอน

จุลสาร ธ.ก.ส. | 27


Scoop | พรพรหม เหล่ากิจไพศาล เรื่อง ประพจน์ รอดคำ�ทุย ภาพ

เหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ ปลายขวาน คือ ยะลา ปัตตานี และ นราธิวาส นอกจากสร้างผลกระทบต่อ ชีวิตและทรัพย์สินของคนในพื้นที่แล้ว ความหวาดเกรงต่อภัย ที่เอาแน่เอานอน ไม่ได้ว่าจะเกิดขึ้นเมื่อใด ก็เป็นปัจจัยที่ ท�ำให้ การใช้ชีวิตและวิถีการท�ำมาหากิน ยากล�ำบากไม่แพ้กัน ที่ผ่านมาธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ได้ดำ� เนินการช่วยเหลือเกษตรกร ในพืน้ ทีผ่ า่ นโครงการพักช�ำระหนี้ เพือ่ ลด ภาระและความกังวลในเรื่องหนี้สิน และ สนับสนุนให้สหกรณ์การเกษตรเพื่อการ ตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. หรือ สกต. ในพื้นที่ ทั้ง 3 จังหวัดรวบรวมผลผลิตลองกอง รวมถึงสินค้าเกษตรอื่นๆ จากชาวบ้านไป จ�ำหน่ายในส่วนกลาง ซึง่ สามารถลดภาระ และความเดือดร้อนให้เกษตรกรได้ ใน ระดับหนึ่ง 28 | จุลสาร ธ.ก.ส.


Scoop | พรพรหม เหล่ากิจไพศาล เรื่อง ประพจน์ รอดคำ�ทุย ภาพ

อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การช่วย เหลือเป็นไปอย่างยั่งยืน และตอบโจทย์ ความต้ อ งการพื้ น ฐานที่ แ ท้ จ ริ ง ของ ชาวบ้าน ดร.สุ วิ ท ย์ พู ล ศิ ล ป์ ผู ้ ช ่ ว ย ผู้จัดการ ธ.ก.ส. กล่าวว่า ธ.ก.ส. ได้ แสวงหาแนวทางการช่วยเหลือในรูปแบบ อื่นๆ เพิ่มเติมจากเรื่องเงินทุนที่ ธ.ก.ส. มีอยู่แล้ว นั่นคือ การร่วมมือกับสถาบัน การศึกษาในพื้นที่ เพื่อน�ำผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่สอดคล้อง เหมาะสมกั บ ภู มิ สั ง คม มาพั ฒ นา กระบวนการผลิ ต การแปรรู ป สิ น ค้ า เกษตรเพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ รวมถึงใช้เป็น ช่ อ งทางในการจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า ให้ กั บ เกษตรกร ล่ า สุ ด ธ.ก.ส. ได้ ร ่ ว มมื อ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย นราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ (มนร.)น�ำองค์ความรู้ ในเรือ่ งข้าวพืน้ เมือง พันธุ์หอมกระดังงา ซึ่งมีจุดเด่นคือเป็น ข้าวทีม่ แี คลเซียมสูง มีความหอมในแบบ เฉพาะตั ว เหมื อ นกลิ่ น ดอกไม้ พร้ อ ม กระบวนการจัดการในการน�ำข้าวดังกล่าว ไปเพาะปลูกในพื้นที่ที่เป็นดินทราย หรือ พืน้ ทีท่ ี่ไม่เหมาะสมในการปลูกข้าว ซึง่ ยัง มีอยู่จ�ำนวนมากในจังหวัดนราธิวาส ให้ สามารถเพาะปลูกข้าวหอมกระดังงาได้ โดยให้ชาวบ้านทีส่ นใจเข้ามาร่วมศึกษาดู งานในแปลงสาธิต และ มนร. ได้ออกไป ให้ค�ำแนะในพื้นที่ส�ำหรับคนที่เข้าร่วม โครงการ ซึ่งสิ่งที่ได้คือชาวบ้านสามารถ ปลูกข้าวไว้บริโภคได้เอง ช่วยลดค่าใช้ จ่ายในครัวเรือน ขณะเดียวกันข้าวพื้น เมืองทีป่ ลูกยังมีคณ ุ ค่าทางโภชนาการสูง มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ท�ำให้มีตลาดใน กลุ่มผู้รักสุขภาพให้ความสนใจ สามารถ จ�ำหน่ายได้ ในราคาสูง นอกจากนี้ยังน�ำองค์ความรู้จาก มนร. มาพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ ด้านการเกษตร เช่น การเก็บรักษาผัก ผลไม้แช่แข็ง และการบรรจุภัณฑ์ เช่น ทุเรียน มังคุด ลองกอง สะตอ การเลือก พั น ธุ ์ สั บ ปะรดที่ จ ะมาท� ำ สั บ ปะรดผง ให้แก่ บริษัทซันโฟรเซ่น จ�ำกัด ซึ่งเป็น ผู้ประกอบการ SMEs ที่รับซือ้ ผลิตภัณฑ์ จุลสาร ธ.ก.ส. | 29


Scoop | พรพรหม เหล่ากิจไพศาล เรื่อง ประพจน์ รอดคำ�ทุย ภาพ

ด้านการเกษตรจากเกษตรกรในพืน้ ที่ การ สนับสนุนให้ลกู ค้า ธ.ก.ส. แปรรูปลองกอง ซึ่งเป็นผลไม้ที่มีมากในพื้นที่ และมักจะ ประสบปัญหาราคาตกต�ำ่ ในช่วงฤดูกาลที่ ออกมาจ� ำ นวนมาก ไปเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ได้แก่ แยมลองกอง น�้ำลองกองเข้มข้น และลองกองอบแห้ง เป็นต้น ด้านผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รสสุ ค นธ์ แสงมณี อธิ ก ารบดี มนร. กล่าวว่า การร่วมมือกับ ธ.ก.ส. ท�ำให้ มนร. ซึ่งมีบุคลากรที่เชี่ยวชาญ สามารถ น�ำผลงานทีผ่ า่ นการศึกษาค้นคว้าวิจยั ทัง้ ในแง่ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ต่าง ๆ ลงไปช่วยเกษตรกรโดยตรง ขณะ เดี ย วก็ รั บ ทราบถึ ง ปั ญ หาและความ ต้องการที่แท้จริงของเกษตรกร ท�ำให้ กลับมาคิดค้นเพิ่มเติมเพื่อตอบโจทย์ ให้ ชาวบ้าน ผลงานต่าง ๆ ทีอ่ อกมาจึงมุง่ เน้น ในเรื่องการใช้งานได้จริง เป็นประโยชน์ กับชาวบ้านในพืน้ ที่ แทนทีจ่ ะเป็นผลงาน ที่แขวนไว้บนหิ้ง ขณะเดียวกัน มนร. ก็ เอาประสบการณ์จริงเหล่านี้ เข้าไปผนวก กั บ การเรี ย นการสอนให้ กั บ นิ สิ ต โดย เฉพาะคณะเกษตร โดยเข้าไปเรียนรู้ จริง ๆ ร่วมกับชาวบ้าน เพือ่ ฝึกฝนตนเอง ควบคู่ไปกับการคิดค้นแนวทางหรือต่อ ยอดในการพั ฒ นาภาคการเกษตรให้ สามารถสร้างรายได้ทดี่ ไี ม่แพ้อาชีพอืน่ ๆ รวมถึงการวางเป้าหมายพัฒนาตนเอง เป็ น ผู ้ ผ ลิ ต และผู ้ ป ระกอบการด้ า น การเกษตรในอนาคต นอกจากการพัฒนาอาชีพเพื่อ สร้างรายได้หลักให้เกษตรกรแล้ว ธ.ก.ส. ยั ง มุ ่ ง เน้ น ในเรื่ อ งการต่ อ ยอดสิ น ค้ า ทางการเกษตร ที่เกษตรกรผลิตได้เอง หรือรวบรวมเพื่อแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยสนับสนุนให้เป็นผูป้ ระกอบการขนาด ย่อม ( Small and Medium Agricultural Enterprises : SMAEs) เพื่อสร้าง อาชีพและรายได้ที่ม่ันคงให้กับชาวบ้าน มากขึ้ น ซึ่ ง ความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง ธ.ก.ส.และ มนร. ถือเป็นโมเดลที่ส�ำคัญ ที่จะเชื่อมโยงระหว่างความรู้กับทุน เพื่อ เข้าไปช่วยเกษตรกรให้ยืนอยู่ได้อย่าง ยั่งยืน 30 | จุลสาร ธ.ก.ส.


ดร.สุวิทย์ พูลศิลป์ ผู้ช่วยผู้จัดการ ธ.ก.ส. และนายธวัชชัย ทัดแก้ว ผู้อ�ำนวยการ ธ.ก.ส. จังหวัดนราธิวาส ร่วมเกี่ยวข้าว หอมกระดังงา พร้อมคณะอาจารย์ เกษตรกร และนิสิต มนร. ณ แปลงสาธิต

ผู้ประกอบการในพื้นที่น�ำความรู้ด้านวิชาการ มาใช้ในการเก็บรักษา ผัก ผลไม้แช่แข็ง และการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ เพื่อการส่ง ออกและสร้างมูลค่าเพิ่มทางการเกษตร

ดร.รสสุคนธ์ แสงมณี อธิการบดี มนร. คณาจารย์ และนิสิต มนร.ร่วมเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติจริง เพื่อพัฒนาตนเอง ไปเป็นผู้ประกอบการด้านการเกษตรในอนาคต จุลสาร ธ.ก.ส. | 31


Scoop | ทีมข่าว สสป. เรียบเรียง

“GNH” คงมีคนเคยได้ยินพร้อมกับความสงสัยว่า อักษร สามตัวนีค้ อื อะไร GNH นัน้ ย่อมาจาก Gross National Happiness หรือ ความสุขมวลรวมประชาชาติ ซึง่ เป็นวลีทสี่ มเด็จพระราชาธิบดี จิกมี ซิงเย วังชุก พระมหากษัตริย์ภูฏานพระองค์ที่สี่ ทรงประดิษฐ์ ในปี 2515 เป็นสัญลักษณ์ของการผูกพันการสร้างเศรษฐกิจ ซึ่ง อีกแง่มุมหนึ่งนั้นคือ การวัดค่าความอยู่เย็นเป็นสุขของชาวภูฏาน

32 | จุลสาร ธ.ก.ส.


แนวคิดความสุขมวลรวมประชาชาติ ดังกล่าว เป็นการพิจารณาการพัฒนาอย่างเป็น องค์รวม ด้วยวิสัยทัศน์ที่ยาวไกลและนี่คือจุด เริ่ ม ของการพั ฒ นาที่ มี ดุ ล ภาพอย่ า งแท้ จ ริ ง เพราะการพัฒนานีค้ าํ นึงถึงต้นทุนหลายๆ ด้าน ทัง้ ทรัพยากรธรรมชาติ สังคม วัฒนธรรม และ ทุ น มนุ ษ ย์ เ อง การพั ฒ นาเช่ น นี้ ส ะท้ อ น มาตรการการพัฒนาที่ยั่งยืน สะท้อนคุณภาพ การพัฒนาที่จะส่งผลต่อคนรุ่นต่อๆ ไปในระยะ ยาว รวมถึงสวัสดิภาพและความเป็นอยูท่ ดี่ ขี อง ประชาชน ตลอดจนเงื่ อ นไขที่ จ ะทํ า ให้ ทั้ ง ปัจเจกบุคคลและสังคมมีความสุข ...แต่ช้าก่อน สิ่งที่เราจะพยายามพูด ถึงต่อจากนี้คงไม่ใช่การวัดค่าความสุขในภาพ ใหญ่ขนาดนั้น เพียงแต่คิดว่า การจะเดินทาง ไปถึงจุดทีส่ ามารถบ่งบอกความสุขของผูค้ นใน ระดับประเทศได้ สิ่งๆ นั้นควรเริ่มต้นจากจุด เล็กๆ จากตัวบุคคลขยับขยายออกไปสู่คนรอบ ข้าง คนในครอบครัว เพื่อนร่วมงานตลอดจน ไปถึงองค์กร หน่วยงาน สถานที่ท�ำงานของ บุคคลนัน้ ๆ ซึง่ การเริม่ ต้นหาค่าความสุขจากใน ระดับนี้ จะท�ำให้เราสามารถน�ำสิ่งที่เราพบมา วิเคราะห์ ปรับปรุงพัฒนาและเชื่อมโยงความ สุข ความผูกพันของบุคลากรที่ดียิ่งขึ้น ตรงนี้เองที่ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ได้ ให้ความ ส�ำคัญ จึงได้มกี ารศึกษาประเมินความพึงพอใจ ความสุขและความผูกผันของบุคลากรที่มีต่อ ธ.ก.ส. มาอย่างต่อเนื่อง โดยน�ำผลประเมินที่ ได้ ไปพัฒนาปรับปรุงเสริมสร้างความผูกผัน ของบุคลากร แหล่ะนี้คือสิ่งที่เราจะมาเล่าให้ ฟัง... ส�ำหรับวิธีการศึกษาดังกล่าว ใช้การ วิจยั เชิงผสมผสาน คือ 1.การวิจยั เอกสาร โดย ใช้การทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฏี เอกสาร บทความ และผลการประเมินความพึง พอใจและความผู ก พั น ของบุ ค ลากรที่ มี ต ่ อ ธ.ก.ส. ในปีบัญชี 2558 2.การวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการจัดกลุ่มสนทนา จ�ำนวน 25 กลุ่ม 225 คน และการสัมภาษณ์เชิงลึกในระดับผู้บริหาร จ�ำนวน 10 ท่าน ซึ่งผลจากการสนทนาพบว่า บุคลากรส่วนใหญ่ จะสะท้อนความรูส้ กึ ในภาพ รวมของความพึงพอใจในเรื่อง สวัสดิการ ค่า ตอบแทน ภาพลักษณ์ขององค์กร นอกจากนี้ ยังเป็นเรือ่ ง การเติบโตในอาชีพ งานทีม่ คี ณ ุ ค่า ท้าทาย และต้นแบบของบุคลากร เป็นต้น อย่างไรก็ตาม มีบคุ ลากรบางส่วน ให้ ความเห็นว่า ถ้า ธ.ก.ส.สามารถท�ำให้ ปัจจัยทั้ง

8 ด้าน ให้ดำ� เนินไปอย่างเสมอกันตามเหตุและ ผลทีส่ มควรและเหมาะสมแล้ว จะท�ำให้เกิดผล ดีต่อ ธ.ก.ส. ในอนาคต โดยข้ อ สรุ ป ที่ มี อิ ท ธิ พ ลของปั จ จั ย ความสุข ระดับความพึงพอใจและความผูกพัน องค์ ก รต่ อ ตั ว ชี้ วั ด ผลลั พ ธ์ ท างธุ ร กิ จ ที่ ถู ก วิเคราะห์ออกมาจากทั้ง 3 Generation: Baby Boomer, Gen X และ Gen Y นั้นมีอยู่ 5 ข้อ หลักๆ ดังนี้ 1.การสร้างเสริมให้เกิด “ความพึง พอใจ” ที่ดียิ่งขึ้นในการท�ำงานของบุคลากร ธ.ก.ส. ควรพิจารณาให้ความส�ำคัญกับการ พัฒนาปัจจัยขับเคลือ่ นทีม่ อี ทิ ธิพลเชิงบวกจาก ปัจจัยทัง้ 8 ได้แก่ การน�ำองค์กร เพือ่ นร่วมงาน การปฏิบตั งิ านของผูบ้ งั คับบัญชา ลักษณะของ งาน การบริหารผลการปฏิบัติงาน การได้รับ รางวัล สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน และการ พั ฒ นาการเติ บ โตในอาชี พ โดยปั จ จั ย ที่ มี อิทธิพลเชิงบวกสูงที่สุด 3 ตัวแรก ได้แก่ 1.1 ลักษณะของงาน เช่น เพิ่มการ เปิดเวทีคุยให้มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน กลุ่มคนท�ำงาน Gen Y ที่เพิ่งเริ่มเข้ามาท�ำงาน และยังอยู่ ในระดับต้นๆ และในกลุ่มผู้ช่วย พนักงาน เพิ่มการสร้างโอกาสและส่งเสริมให้ บุคลากรทีม่ คี วามคิด และกระบวนการในโครง การใหม่ๆ มาน�ำเสนอ เพื่อน�ำไปสู่การปฏิบัติ เพิ่มการพัฒนาระบบ IT ให้ทันสมัย เพื่อให้ ระบบสามารถบริการลูกค้าได้เร็วขึ้น เป็นต้น 1.2 การน�ำองค์กร ผูน้ ำ� ต้องใส่ใจผู้ ใต้ บั ง คั บ บั ญ ชาทุ ก คนแบบเสมอภาค รวมถึ ง ครอบครัวของบุคลากรด้วย ผู้น�ำต้องให้ความ ส�ำคัญกับพนักงานที่ต้องท�ำงานขององค์กร และงานของรัฐบาลที่เป็นนโยบาย ผู้น�ำต้อง กล้าคิด กล้าตัดสินใจ ผู้นำ� ต้องส่งเสริมการมี ส่วนร่วม การท�ำงานเป็นทีม ผู้น�ำต้องสื่อสาร นโยบายในเรื่องของการท�ำงาน อย่างชัดเจน และจริงใจให้เกิดความน่าเชือ่ มัน่ ตลอดจนผูน้ ำ� ต้ อ งมี ค วามโปร่ ง ใส มี ธ รรมาภิ บ าล และ สามารถอธิบายได้ถึงที่มาที่ ไปด้วยหลักความ จริง ความงาม และความดี 1.3 การบริหารผลการปฏิบัติงาน ใน การประเมินผล Performance ระดับบุคคล ซึง่ ให้ผลที่ไม่ไปในทิศทางเดียวกับการรับรูผ้ ลการ ปฏิ บั ติ ง านของตั ว บุ ค ลากร รวมถึ ง ผลการ ประเมินสมรรถนะ อาจถูกกระทบด้วยปัจจัย ภายนอกอื่นๆ ซึ่งท�ำให้ไม่สามารถสะท้อนผล การปฏิบัติที่แท้จริงของบุคคลนั้นได้ และเป็น ประเด็ น ที่ ธ นาคารอาจพิ จ ารณาปรั บ ปรุ ง กระบวนการ/วิธีการในการประเมิน

2.ในการเสริมสร้าง “ความผูกพัน ของบุคลากรที่มีต่อ ธ.ก.ส.” ผู้น�ำควรให้ความ ส�ำคัญ โดยสร้างเสริมความเชือ่ มัน่ ควบคูไ่ ปกับ สิ่งที่บุคลากรมีอยู่แล้ว คือ จรรยาบรรณและ ความภักดีตอ่ องค์กร เพือ่ ให้เกิดความต่อเนือ่ ง และยัง่ ยืน สร้างเสริมความต่อเนือ่ งในกิจกรรม ที่ท�ำให้ ได้รางวัลที่ ได้มาจากการท�ำดีและท�ำ ตามเป้าหมาย ธ.ก.ส. มีการสร้างความต่อเนือ่ ง และยัง่ ยืน เพือ่ คงไว้ ในเรือ่ งความภาคภูมใิ จใน องค์กรที่เป็นชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับของ สังคมอยู่แล้ว เพิ่มการเสริมสร้างขวัญและ ก�ำลังใจให้บคุ ลากรทีท่ มุ่ เทในการปฏิบตั ภิ ารกิจ ตามนโยบายรัฐที่ ธ.ก.ส. รับเข้ามา 3.ในการเสริมสร้าง “ความผูกพัน ต่อองค์กร” ของบุคลากร ธ.ก.ส. ให้ดียิ่งขึ้น “ความสุข” เป็นอีกปัจจัยทีผ่ นู้ ำ� ควรพิจารณาให้ ความส�ำคัญควบคู่ไป “ความพึงพอใจ” เมื่อ พิจารณาขนาดของอิทธิพลรวมต่อความผูกพัน ปัจจัยความสุขมีอิทธิพลรวมที่สูงกว่าปัจจัยขับ เคลื่อนความพึงพอใจเกือบทุกด้าน ยกเว้น ลักษณะงาน และการน�ำองค์กร 4.ผู ้ น� ำ เพิ่ ม ความส� ำ คั ญ ในการ สนับสนุนให้บคุ ลากรมีสว่ นร่วมในกิจกรรมหลัง เลิกงาน โดยเน้นกิจกรรมที่ให้ครอบครัวของ บุคลากรมีส่วนร่วมด้วย เพื่อท�ำให้เกิดการ ท� ำ งานได้ อ ย่ า งสนุ ก และมี ค วามสุ ข ในการ ท�ำงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มบุคลากรที่ อยู่ในภูมิภาค 5. นโยบาย ธ.ก.ส. ควรค�ำนึงถึง ประเด็นการย้ายงานของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ในส�ำนักงานใหญ่ โดยให้ความตระหนักในการ พิจารณาถึงประเด็นอายุรว่ มไปกับการพิจารณา ตามความเหมาะสมของสมรรถนะ นอกจากนี้ ควรให้ ค วามส� ำ คั ญ ในการเปิ ด โอกาสให้ บุคลากรทีม่ อี าวุโสน้อยได้มพี นื้ ที่ในการใช้เสียง ใช้สทิ ธิในการพูด หรือแสดงความคิดเห็นเกีย่ ว กับระบบการบริหารจัดการ ...ท้ายทีส่ ดุ ความสุขของบุคลากรเป็น ความสุขที่เกิดจากพฤติกรรมที่แสดงถึงการ ค�ำนึงและให้ความส�ำคัญกับพนักงานหรือการ ที่พนักงานค�ำนึงถึงการท�ำงานอย่างมีความสุข นอกจากจะช่วยลดการลาออก การขาดงาน การป่วย การเครียดจากการท�ำงาน ยังช่วยให้ พนักงานมีแรงจูงใจในการท�ำงาน พึงพอใจ รัก และผูกพันกับองค์กรมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น ย่อง จะส่งมอบบริการที่ดีให้กับลูกค้า และจากตรง จุดเล็กๆ นี้ก็เชื่อว่าจะขยายผลต่อไปกลายเป็น ความสุขมวลรวมในระดับชาติได้ ในที่สุด... จุลสาร ธ.ก.ส. | 33


SMAEs To Day | คนสัน นันทจักร

“ยางพารา” หนึง่ ในพืชเศรษฐกิจ ที่ส�ำคัญของประเทศไทย ซึ่งการท�ำสวน ยางเป็ น อาชี พ ที่ เ กษตรกรนิ ย มท� ำ ใน ภาคใต้ และเนื่องด้วยภูมิประเทศและ ภู มิ อ ากาศที่ เ หมาะสมต่ อ การปลู ก ได้ผลผลิตดี ประเทศไทยเคยเป็น 1 ใน 3 ประเทศที่ส่งยางออกไปขายมากที่สุด ในโลก แต่ ท ว่ า ราคายางตกต�่ ำ จนถึ ง จุดวิกฤตในปัจจุบัน

ชาวสวนยางพาราเมื อ งตรั ง พลิกวิกฤตยางพาราโดยหันมาปลูกองุ่น ทีป่ ระสบความส�ำเร็จแห่งแรกของจังหวัด ตรังและภาคใต้ ท่ามกลางเสียงคัดค้าน ของคนในครอบครัว เพราะทุกคนคิดว่า จะไม่มีทางส�ำเร็จ เพียง 9 เดือนก็พิสูจน์ ให้เห็นว่าสามารถเก็บผลผลิตได้กลาย เป็นศูนย์องุน่ แห่งเดียวในภาคใต้ ที่ใครๆ ก็อยากมาเยี่ยมชมแม้จะเป็นเพียงพื้นที่ เล็กๆ แต่ประสบความส�ำเร็จมาก และมี คนน�ำไปเป็นต้นแบบสร้างอาชีพเสริม จากการปลูกองุ่นเพิ่มขึ้น 34 | จุลสาร ธ.ก.ส.


“สุทนิ กายะชาติ” ผูก้ ล้าเปลีย่ น สวนยางของบรรพบุ รุ ษ มาเป็ น แปลง ทดลองปลูกองุน่ ด�ำไร้เมล็ด พันธุบ์ วิ ตีซ้ ดี เลส เริ่มต้นจากพื้นที่ 100 ตารางวา ใช้ ประสบการณ์จากที่เคยเป็นลูกจ้างท�ำไร่ องุ่นกว่า 4 ปี อาศัยเทคนิคการบังคับให้ ติดลูกดกเป็นพวง สีม่วงอมด�ำ รสชาติ หวานและมีอายุยืนถึง 50 ปี และเป็น องุ่นปลอดสารเคมี ใช้เวลาแค่ 8 เดือน ก็ให้ผลผลิตและตัดขายได้ มีปริมาณรวม 60-65 กิโลกรัม และยังมีการจองซื้อต้น กล้าเข้ามามาก ราคาต้นละ 250 บาท จน ไม่ผลิตไม่ทันต่อความต้องการ

คุณสุทิน กายะชาติ

ค่อนข้างจะเยอะ เดือนทัง้ เดือนฝนอาจจะ ตกถึง 20 วัน และระบบน�้ำ ทิศทางการ ไหลของน�้ำ อย่าให้น�้ำไหลท่วมโรงเรือน อย่าให้ฝนสาดเข้าโรงเรือนได้ จะต้องดู ว่าน�้ำไม่ท่วม”

ความส�ำเร็จ ... ไม่ได้มาเพราะ โชคช่วย เขาผ่านการเรียนรูก้ ารปลูกองุน่ มากมาย จนตัดสินใจกลับมาบ้านเกิดและ ประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างมาก สร้าง อาชีพ สร้างรายได้ ให้กับครอบครัวและ ชุมชน แต่ละวันประชาชนจากทัว่ สารทิศ ทั้งใน จ.ตรัง และใกล้เคียง เดินทางมา ศึกษาดูงาน เยี่ยมชมไร่องุ่นกันอย่าง สุ ทิ น จึ ง ตั ด สิ น ใจโค่ น ต้ น ยาง คึกคัก นับพันคน มาขอค�ำปรึกษา เพราะ และปรับพืน้ ทีอ่ กี 1 ไร่ เพือ่ เพิม่ พืน้ ทีป่ ลูก ไม่เคยมีเกษตรกรรายใดสามารถปลูก องุ่น คาดว่าจะได้ผลผลิตไร่ละ 1,000 องุ่นในภาคใต้ได้ กิโลกรัม โดยปลูกองุ่นไร้เมล็ด 5 สาย ความกล้าทีจ่ ะก้าวออกจากกรอบ พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์บิวตี้ ซี๊ดเลท (Beauty Seedless) , พันธ์รูบี้ ซี๊ดเลส (Ruby ความเชื่อเดิม เป็นแรงผลักดันส�ำคัญให้ Seedless) , พันธ์เฟรม ซี๊ดเลส (Flame สวนองุน่ ของสุทนิ มีความโดดเด่น ดึงดูด Seedless) , พันธ์แบลคโอปอล(Black ผู้คนหลั่งไหลมาเที่ยวชม ไม่ใช่แค่ความ Opal) และพันธ์ลูสเพอเล็ท (Loose งามของผลองุ่น แต่เป็นความน่าชื่นชม น�้ ำ พั ก น�้ ำ แรงของคนที่ ก ล้ า ท� ำ ในสิ่ ง ที่ Perlette) หลายคนเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ ให้ประสบ “หลั ก การท� ำ องุ ่ น ภาคใต้ ให้ ความส�ำเร็จ ส�ำเร็จก็คอื ส�ำคัญทีส่ ดุ เรือ่ งโรงเรือน ฝน จุลสาร ธ.ก.ส. | 35


We Love Customer | ฝ่ายการตลาดดิจิตอล เรื่อง

By วิจัย ฝตจ.

Mobile Banking

“ธนาคารบนโทรศัพท์มือถือ”

นับจากนี้ “ธนาคารไทย” กาลังจะมีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เกิดขึ้นเพราะ “Digital Banking” ได้เข้า มามีบทบาทสาคัญ ในการพลิกโฉมรูปแบบบริการของ “ธนาคาร” ให้ต่างไปจากเดิม ผู้บริโภคไม่จาเป็นต้องเดิน ไปที่ “สาขา” ก็สามารถทาธุรกรรมทางการเงินได้จากทุกที่ ความสะดวกสบายนี้เอง ส่งผลให้จานวนผู้ใช้บริการ “Digital Banking” ไม่ว่าจะเป็น “Internet Banking” และ “Mobile Banking” เติบโตแบบฉุดไม่อยู่สะท้อน จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ระบุว่า ปัจจุบัน “Internet Banking” มีผู้ใช้งานมากกว่า 15 ล้าน คน เติบโตเฉลี่ย 20% ต่อปี ในขณะที่ “Mobile Banking” มีผู้ใช้งานเกือบ 21 ล้านคน เติบโตถึง 33% จากปี 2558 ซึ่งเป็นผลจากการเข้ามาของ 4G และการพัฒนาของสมาร์ทโฟนรุ่นต่างๆ ได้เข้ามากระตุ้นการใช้ งานของผู้บริโภคให้เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มคนรุ่นใหม่ ที่มา : อ้างอิงจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย, ข้อมูลเดือนธันวาคม 2559

ความหมายของ Mobile Banking “Mobile” หมายถึง โทรศัพท์มือถือ “Banking” หมายถึง การธนาคาร นั่นคือความหมายตรงตัว เมื่อ เอามารวมกัน ความหมายง่ายๆ ก็คือ ธนาคารบนโทรศัพท์มือถือ ซึ่งสามารถนิยามสั้น ๆ ว่า “เป็นการทาธุรกรรม การเงินทางธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือ” นั่นเอง ปัจจุบันนี้ โทรศัพท์มือถือ ฉลาด และสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ สามารถให้บริการได้ทั้ง“Internet Banking” และ “Mobile Banking” โดยเป็นการนาระบบ Internet Banking เดิมที่มีการระบุ username และ password ย่อลงมาใช้งานบนโทรศัพท์มือถือ ส่วนอีกแบบคือ การพัฒนา Application ขึ้นมาที่เหนือกว่า Internet Banking เดิม ๆ รองรับการใช้งานบนโทรศัพท์มือถือโดยเฉพาะ มีระบบ PIN Code เพื่อเพิ่มความ ปลอดภัยให้มากขึ้น ซึ่งทั้งสองส่วนล้วนแล้วแต่เป็นการทางานบนโทรศัพท์มือถือด้วยกันทั้งนั้น

Mobile Banking ให้บริการอะไรบ้าง ? ให้ความรู้ทางการเงิน/ข้อมูลข่าวสารที่สาคัญ สอบถามยอดในบัญชี โอนเงิน

จ่าย/ซื้อ สินค้าและบริการ เติมเงินโทรศัพท์มือถือค่ายต่าง ๆ ทาธุรกรรมอื่น ๆ เกี่ยวกับบัญชี

ศัพท์ดิจิตอล..น่ารู้ QR CODE มาตรฐาน หรือ Standardized QR Code คือ การร่วมมือกันของ 3 แพลตฟอร์มทางการเงิน (Mastercard, UnionPay, Visa) เพื่อความสะดวกในการชาระเงินที่ง่ายยิ่งขึ้น

36 | จุลสาร ธ.ก.ส.


News | แนนซี่ ขยี้ใจชาย เรื่อง

เข้าพรรษาปีนี้...มี ใครร่วมเป็นส่วน หนึ่งในโครงการ “ธ.ก.ส. องค์กรปลอดเหล้า ปลอดบุหรี”่ กันบ้างคะ...โครงการทีเ่ ชิญชวนให้ พนักงานลด ละ เลิก การดื่มสุรา/สูบบุหรี่ ใน ช่ ว งเข้ า พรรษาของทุ ก ปี เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ พนักงานมีสุขภาพที่แข็งแรง และลดอุบัติเหตุ จากการดืม่ สุรา รวมทัง้ ลดโอกาสการกระท�ำผิด พ.ร.บ.เครื่องดื่มแอลกอฮอล์อีกด้วย และปีนี้ พิเศษกว่าทุกปีทผี่ า่ นมานอกจากจะเชิญชวนให้ พนักงานร่วมโครงการแล้วนั้น ธนาคารยังได้ คัดเลือกเครือข่าย Stop drink Agent ให้เป็น ตัวแทนเครือข่ายระดับฝ่ายภาค เพื่อร่วมด้วย ช่วยกันรณรงค์ ให้เพื่อนพนักงาน เกษตรกร ลูกค้าและประชาชนทั่วไปให้เห็นถึงโทษและ พิษภัยจากการดื่มสุราและการสูบบุหรี่ ภายใต้ แนวคิด “ชวน ช่วย เชียร์ คนสู้เหล้า” แรงบั น ดาลใจที่ อ ยากส่ ง ต่ อ ของ เครือข่าย Stop drink Agent

“ครั้งหนึ่งในชีวิตที่เข้าโครงการ ลด ละ เลิก พอได้เข้าครั้งที่หนึ่งก็มีครั้งที่ สอง สาม แล้วก็มตี ลอดไป ไม่คดิ อะไรมาก ท�ำเพื่อตัวเอง ครอบครัว และได้ก�ำลังใจ จากคนรอบข้าง คู่ชีวิต บุตรทั้งสองคน” นางศรัญญา ชมสวน พนักงานธุรการ 7 สนจ.ล�ำพูน

“ในช่วงทีผ่ มเป็นเด็กพ่อดืม่ เยอะ มาก และมักจะเสียงดังท�ำให้มคี วามทรงจ�ำ ไม่ดตี ดิ ตัวมา เมือ่ โตขึน้ ตัง้ ใจจะไม่ดมื่ ไม่สบู บุหรี่ แต่ในช่วงรุน่ ก็มที ดลองตามเพือ่ นบ้าง จนมีครอบครัว ลูกๆ ถ้าเห็นพ่อแค่จะดื่ม หรือแกล้งดื่มจะร้องไห้ทันที ท�ำให้คิดอยู่ เสมอว่าท�ำไมต้องท�ำให้คนทีเ่ รารักต้องเสีย น�้ ำ ตากั บ สิ่ ง ที่ ไ ม่ มี ป ระโยชน์ อ ะไร จน ปั จ จุ บั น ได้ เลิ ก เด็ ด ขาดกั บ สิ่งเสพติด ทั้ง เหล้าและบุหรี่” นายบุญธรรม บุญประเสริฐ ผู้ช่วยผู้จัดการสาขา สนจ.ก�ำแพงเพชร จุลสาร ธ.ก.ส. | 37


News | แนนซี่ ขยี้ใจชาย เรื่อง

“ได้เห็น พ่อดื่มเหล้า สูบบุหรี่ มาตลอดตัง้ แต่จำ� ความได้สดุ ท้ายป่วยและ เสียชีวิต สาเหตุโรคปอด ถุงลมโป่งพอง และตับอักเสบ หลอดเลือดตีบ จึงมีแรง บันดาลใจถ้ามีครอบครัวจะไม่ท�ำเหมือน พ่อ” นายไพรัตน์ มั่งมี พนักงานพัฒนาลูกค้า 9 สนจ.อุทัยธานี

“ตั้งแต่เรียนจบเริ่มท�ำงานก็ ดื่ ม เหล้ า สู บ บุ ห รี่ เ พราะคิ ด ว่ า เป็ น เรื่ อ งสนุ ก สนานได้ สั ง สรรค์ เ ฮฮากั บ เพื่อนฝูงแต่เมื่อปีพ.ศ. 2550 ตัดสินใจ บวชพระเป็นเวลาสามเดือนซึ่งเป็นช่วง เข้ า พรรษาและในช่ ว งที่ บ วชก็ ป ฏิ บั ติ ตามหลั ก ค� ำ สอนขององค์ พ ระสั ม มา สัมพุทธเจ้า และได้ปฏิญาณกับตนเองว่า ต่ อ จากนี้ ไ ปจะงดเหล้ า งดบุ ห รี่ ช ่ ว ง เข้าพรรษาทุกปี” นายสนั่น ประทุมทอด พนักงานพัฒนาลูกค้า สนจ.สมุทรปราการ 38 | จุลสาร ธ.ก.ส.

“เดิมที ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมกิจกรรม ลด ละ เลิก การดื่มแอลกอฮอล์และการ สูบบุหรี่ ช่วงเข้าพรรษา เป็นประจ�ำ ตั้งแต่ ปี 2556 – ปัจจุบัน แรงบันดาลในการเข้า ร่วมกิจกรรม “ต้องการชนะใจตัวเอง” นายอภิวัฒน์ เหลาคม พนักงานพัฒนาธุรกิจ 7 สนจ.บุรีรัมย์

“จะเรียกว่าเป็นแรงบันดาลใจ และความรู้สึกสะสมก็ใช่ครับจากวันที่เริ่ม ต้นเข้ามาท�ำงานเมือ่ ปี 2537 มีการเลีย้ งรับ จากรุ ่ น พี่ ๆ และติ ด พั น เรื่ อ ยมากั บ การ สังสรรค์ ในโอกาสและวาระต่างๆที่หนีไม่ พ้นเรือ่ งเหล้าและบุหรี่ นานๆเข้าเหมือนจะ ยิ่ ง ถี่ แ ละหนั ก มากขึ้ น เรื่ อ ยๆ ส่ ง ผลต่ อ สุขภาพ ร่างกายขาดการพักผ่อน บางครั้ง ดื่มแล้วขาดสติและการยั้งคิด เรื่อยมาจน กระทัง่ แต่งงานเมือ่ ปี 2542 เริม่ เห็นว่าเงิน ทองถูกใช้จ่ายไปกับสิ่งเหล่านี้จ�ำนวนมาก จึ ง เริ่ ม จากการค่ อ ยๆถอยห่ า งจากการ สังสรรค์ ในลักษณะนี้ และเริม่ หยุดได้อย่าง จริงจังเมื่อ ปี 2545 เมื่อมีลูกสาวคนแรก โดยตั้งใจท�ำเพื่อลูกครับ โดยรู้สึกว่าเงิน ทองที่หามาได้น�ำมาเลี้ยงดูครอบครัวให้ สมบูรณ์พูนสุข ดีกว่าเสียไปกับอบายมุข ครับและอีกอย่างคือต้องการมีสุขภาพที่ดี มีชีวิตที่ยืนยาวเฝ้าดูความส�ำเร็จของเด็กๆ ครับ” นายวันชัย บ�ำรุงเกาะ ผูจ้ ดั การสาขาปักธงชัย สนจ.นครราชสีมา


ชวน ช่วย เชียร์ คนสู้เหล้า

จุลสาร ธ.ก.ส. | 39


ทายาทเกษตรกร ทีมข่าว สสป. เรื่อง

สมสกุล ตันวิเชียรศรี เกิดที่สามชุกสุพรรณบุรี จบการศึกษาจาก

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ภาควิชาปฐพีวทิ ยา สาขาเคมีเกษตร ปัจจุบันอายุ 39 ปี ก่อนเริ่มต้นชีวิตเกษตรกรเขาเคยเป็นมนุษย์เงินเดือนมาก่อน แต่เป็นการท�ำงานออฟฟิศเพื่อรอวันที่จะกลับบ้านเกิดไปท�ำการเกษตร ซึ่งเป็นที่ เขาวางแผนมาตั้งแต่เริ่มเข้าศึกษาที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

“ก่อนท�ำการเกษตร ครอบครัวที่ บ้านท�ำการเกษตรมาตั้งแต่เริ่มต้นอยู่แล้ว เราเรียนสายเกษตรมาเราก็มคี วามคิดว่าจะ ต้องกลับมาท�ำงานที่บ้านอยู่แล้ว พอหลัง จากเรียนจบด้วยความไฟแรง เราจึงไปเป็น พนักงานบริษัทอยู่ประมาณ 5 ปี เกี่ยวกับ บริษัทเคมีเกษตร และเมล็ดพันธุ์ ต่อมาผม ลาออกเมือ่ ปี 2548 เพราะวางแผนเอาไว้วา่ เมื่ อ ไหร่ ท่ี น ้ อ งสาวที่ ไ ปเรี ย นที่ ก รุ ง เทพฯ เรียนจบ ก็จะกลับมาอยู่บ้านด้วยกัน” ต่อมา สมสกุลได้รจู้ กั โครงการทายาท 40 | จุลสาร ธ.ก.ส.


เกษตรกรมืออาชีพของ ธ.ก.ส. จึงสนใจสมัคร เข้ารับการอบรม จากการอบรมนัน่ เองท�ำให้เขา ได้รับความรู้และต่อยอดเครือข่ายมากมาย เปิ ด มุ ม มองใหม่ ข องอาชี พ เกษตรกรจาก ความคิดเดิมๆ ของเขาออกไป “จากที่ไปอบรมมา ผมได้ความรูเ้ กีย่ ว กับการวางแผนเรือ่ งการปรับเปลีย่ นพืช เพราะ ตัวผมเองตั้งใจที่จะเปลี่ยนมาท�ำกล้วย เพราะ มองว่าในทางการตลาดการน�ำไปใช้ค่อนข้าง หลากหลาย เราก็เลยได้ไปหาผู้รู้ ได้ไปศึกษา หาความรู ้ จ ากศู น ย์ เ รี ย นรู ้ ฯ อ.อู ่ ท อง และ จ.พิษณุโลกบ้าง ได้พบปะอาจารย์ มิตรสหาย ที่ให้ความรู้ดีๆ มากมาย” “ปั จ จุ บั น สิ่ ง ที่ ท� ำ อยู ่ ต อนนี้ ปลู ก มะม่วงเป็นหลัก มีมะม่วงหลายสายพันธุ์ พืช ถัดมาก็จะเป็นกล้วย ส่วนสวนกล้วยไม้กจ็ ะเป็น พืชในอนาคตที่เราจะท�ำต่อจากตรงนี้ ไป สาย พันธุ์มะม่วงที่ปลูกจะมีเขียวเสวย ฟ้าลั่น น�้ำ ดอกไม้เบอร์ 4 น�้ำดอกไม้สีทอง มันเดือน 9 การท� ำ มะม่ ว งหลั ก ๆ จะเก็ บ ตั้ ง แต่ เ ดื อ น มกราคมถึงเดือนเมษายน จะเก็บเกี่ยวช่วง ประมาณ 3 เดือนกว่าๆ ทุกๆ เดือนเราก็จะมี มะม่วงทีอ่ อกเองบ้าง และเราตัง้ ใจให้ออกก่อน ฤดูก็มี มีเก็บทุกเดือนแต่ละสายพันธุ์จะออกไม่ พร้อมกัน ตลาดเราส่งขายทีต่ ลาดกลางมะม่วง ที่สุพรรณบุรี เก็บเอง คัดเอง และน�ำไปส่ง ก�ำลังการผลิตของเราอยู่ที่ 2-3 ตันต่อวัน

การดูแลมะม่วง ดูแลไม่ยากแต่ต้องดูแลทั้งปี ช่วงสะสมใบสะสมปุย๋ ก็ตอ้ งใส่ใจมากเป็นพิเศษ เทคนิคคือการตัดแต่งกิ่งต้องรู้ว่ากิ่งไหน ออก ไม่ออก ต้องอาศัยประสบการณ์ ส�ำหรับกล้วย หลักๆ ปลูกกล้วยน�ำ้ ว้า มีสองสายพันธุค์ อื มะลิออ่ งกับกาบขาว เราก็สง่ ไปยังวิสาหกิจชุมชนที่เขาแปรรูป กลุ่มของเรา เราก็จัดตั้งขึ้นมาเอง เราก็ท�ำคู่ขนานกันไป เพราะจะมีกล้วยที่ตกเกรด กล้วยที่ออกไม่ พร้อมกันในแปลงซึ่งถ้าล�ำพังเราจะตีรถไปส่ง ขายมันไม่คมุ้ ค่าขนส่ง เราก็จะเอามาแปรรูปเอง เช่น เอามาตาก ฉาบ ขายในตลาดชุมชนของ เราเอง ตอนนี้ จ ะมี ต ลาดกรี น มาร์ เ กตของ โรงพยาบาลสามชุก โรงพยาบาลศรีประจันต์ ส่วนปลีกล้วยเราจะส่งแม่ค้าต่างหาก และ นอกจากนั้นยังมีคนมาซื้อหน่อไปขยายพันธุ์ การดูแลกล้วยก็ไม่ยากแค่ใส่ปยุ๋ กับให้นำ�้ ยาฆ่า แมลงแทบไม่ต้องใช้เลย ในอนาคตก็วางแผน จะให้เป็นพืชที่มาแทนมะม่วง” เหตุ ผ ลในการวางแผนเปลี่ ย นเอา กล้วยมาแทนมะม่วง สมสกุลเล่าว่า เนื่องจาก ช่วงเวลาทีเ่ ก็บเกีย่ วมะม่วงจะตรงกับช่วงเวลา ที่ในพื้นที่ชุมชนตัดอ้อยพอดี ท�ำให้เกิดปัญหา ในการหาแรงงานขาดแคลน ซึง่ เป็นปัญหาทุกๆ ปี จึงคิดจะปรับเปลี่ยนพืชมาเป็นกล้วยซึ่งใช้ แรงงานน้อยลง ซึ่งในการปรับเราต้องค่อยๆ วางแผนปรับอย่างค่อยเป็นค่อยไป จึงเริ่ม วางแผนปลูกกล้วย และกล้วยไม้ ซึ่งกล้วยไม้ ต้องใช้เวลา 3 ปีกว่าจะได้ขาย ดังนั้นกล้วยจะ เป็นพืชที่มารองรับระหว่างการปรับเปลี่ยนพืช “เกษตรยุคใหม่ ต้องท�ำเป็นผลิตเป็น เริม่ ตัง้ แต่การหาข้อมูล การคิดว่าจะท�ำอย่างไร มันถึงจะดีขึ้น ผลที่ตามมาคือขายเป็น ไม่ได้ จ�ำเป็นว่าเราจะต้องไปแปรรูป หรือเพิ่มมูลค่า อย่างเดียว ถ้าบริบทของเรา พื้นที่ของเรา เหมาะกับการขายส่ง เราท�ำแล้วเราต้องรู้ว่า ตลาดเราอยู่ที่ไหน การท�ำการเกษตร ถ้าเราจะ แข่งกับบริษทั ใหญ่ เรือ่ งตัวเลขยอดขาย เราคง ไปสู้เขาไม่ได้ แต่สิ่งที่เกษตรกรรายย่อยจะได้ คือการรวมกลุ่มและความสุขในการท�ำงาน” หัวใจส�ำคัญในการท�ำการเกษตรให้ ประสบความส�ำเร็จ สมสกุลเล่าว่า การท�ำการ เกษตรให้ประสบความส�ำเร็จ คือการมีองค์ ความรู้ ในสิ่งที่เราท�ำและความรักในสิ่งที่เรา จะท�ำ ปัจจุบนั มีหวั กะทิขององค์ความรูม้ ากมาย ถ้าท�ำเกษตรแล้วมีน�้ำใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แบ่ง ปันความรู้ ไอเดีย และก็ตอบแทนกับชุมชนที่ เราอยู่ด้วย มันก็จะเกิดความยั่งยืน จุลสาร ธ.ก.ส. | 41


Scoop | สำ�นักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ เรื่อง

เรื่อง ลูกขอข้อมูลของแม่ ได้ไหมเอ่ย?

การท�ำประกันชีวิตเป็นหลักประกันหนึ่งของผู้เอาประกัน และ เป็นประโยชน์กับผู้รับประโยชน์แต่หากต้องใช้เอกสารประกอบเพื่อ ยื่นต่อบริษัทประกันชีวิตแต่ขอไม่ได้ ท่านจะท�ำอย่างไร 42 | จุลสาร ธ.ก.ส.


นางฝนได้ เ ข้ า รั ก ษาตั ว ที่ โรงพยาบาลต่ อ มาได้ เ สี ย ชี วิ ต ด้ ว ยภาวะหั ว ใจและปอดติ ด เชื้ อ ก่อนหน้านัน้ นางฝนได้ทำ� ประกันชีวติ ไว้ ในเงื่ อ นไขการขอรั บ เงิ น ค่ า สินไหมทดแทนจะต้องน�ำประวัตกิ าร รั ก ษาพยาบาลของผู ้ เ สี ย ชี วิ ต ไป แสดง นายรุง้ ซึง่ เป็นบุตรของนางฝน จึงมีหนังสือถึงโรงพยาบาลขอข้อมูล ข่าวสารเกี่ ย วกั บ ประวัติการรักษา ของนางฝนแต่ได้รับการปฏิเสธว่า เจ้าของข้อมูลต้องไปขอด้วยตนเอง หรือขอไว้กอ่ นเสียชีวติ ซึง่ นางฝนไม่ ได้ท�ำเรื่องขอไว้ นายรุ้งได้รับความ เดื อ ดร้ อ นจากการไม่ ไ ด้ รั บ เงิ น ค่ า สินไหมทดแทน จึงได้ยื่นอุทธรณ์ต่อ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสาร เมือ่ ถึงเวลาประชุมพิจารณา เรื่ อ งนี้ โรงพยาบาลได้ มี ห นั ง สื อ ชี้แจงว่า ไม่สามารถเปิดเผยข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับเวชระเบียนบุคคล ให้นายรุง้ ได้ เนือ่ งจากมาตรา 7 แห่ง พระราชบั ญ ญั ติ สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2550 บัญญัติว่า ข้อมูลด้าน สุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วน บุคคลจะน�ำไปเปิดเผยที่น่าจะท�ำให้ บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่เป็น ไปตามวัตถุประสงค์ของบุคคลนั้น หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัตใิ ห้ตอ้ ง เปิดเผย ดังนั้น ไม่ว่าในกรณีใดหรือ ใครจะอาศัยอ�ำนาจหรือสิทธิตามกฏ หมายว่ า ด้ ว ยข้ อ มู ล ข่ า วสารของ ราชการ หรื อ กฎหมายอื่ น เพื่ อ ขอ ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ ของตนไม่ได้ คณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย ฯ พิจารณาเห็นว่าข้อมูลข่าวสารตาม อุ ท ธรณ์ คื อ ประวั ติ ก ารรั ก ษา พยาบาลของนางฝนซึ่งเป็นมารดา

ของผู้อุทธรณ์ โดยนายรุ้งต้องการ ข้ อ มู ล ข่ า วสารไปเพื่ อ ขอรั บ ค่ า สินไหมทดแทนตามสัญญาประกัน ชีวิต สัญญานั้นเป็นประโยชน์ของ ผู ้ รั บ ประโยชน์ ต ามสั ญ ญาประกั น ชีวติ จะมีผลเมือ่ ผูเ้ อาประกันภัยเสีย ชีวติ ซึง่ โดยสภาพของสัญญาไม่เปิด ช่องให้ผู้เอาประกันภัยขอข้อมูลการ รักษาพยาบาลของตนเองได้เมื่อยัง มีชีวิตอยู่ และเป็นไปไม่ได้ท่ีผู้เอา ประกัน ภัยจะไปขอข้อมูลการรักษา พยาบาลของตนเองหลั ง จากเสี ย ชีวิตไปแล้ว ดังนั้น จึงเป็นการใช้ สิทธิตามความประสงค์ของเจ้าของ ข้อมูลทีป่ รากฏในสัญญาประกันชีวติ จึ ง ไม่ ถื อ ว่ า เป็ น การขอข้ อ มู ล ของบุคคลอืน่ ตามมาตรา 7 แห่งพระ ราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และพระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ก็ เปิดช่องให้ทายาทของผู้เสียชีวิตใช้ สิ ท ธิ ด� ำ เนิ น การแทนได้ ต ามกฎ กระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2541) กฎ กระทรวงฉบับนี้ก�ำหนดไว้ ในข้อ 4 อย่างนี้ครับ ในกรณีเจ้าของข้อมูล ถึงแก่กรรม และมิได้ท�ำพินัยกรรม ก�ำหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้บุคคลดัง ต่อไปนีด้ ำ� เนินการแทนได้ตามล�ำดับ ก่อนหลังดังต่อไปนี้ 1)บุตรชอบด้วย กฎหมายหรื อ บุ ต รบุ ญ ธรรม 2)คู ่ สมรส 3)บิดามารดา 4)...5) ...และ 6)...กรณีนี้นายรุ้งอยู่ ในล�ำดับที่ 1 ครั บ เมื่ อ พิ จ ารณาถึ ง การปฏิ บั ติ ห น ้ า ที่ ข อ ง ห น ่ ว ย ง า น ข อ ง รั ฐ ประโยชน์สาธารณะ และประโยชน์ ของเอกชนแล้ ว เห็ น ว่ า ข้ อ มู ล ประวัติการรักษาพยาบาลของนาง ฝนเป็นข้อมูลที่เปิดเผยให้นายรุ้งได้ จึงมีค�ำวินิจฉัยให้ โรงพยาบาลเปิด เผยข้อมูลประวัติการรักษาพยาบาล

ของนางฝนพร้อมทั้งให้ส�ำเนาที่มีค�ำ รับรองถูกต้องให้นายรุ้ง อยากให้ บุ ค ลากรทางการ แพทย์ แ ละประชาชนทั่ ว ไปศึ ก ษา เรือ่ งนี้ ไว้ครับ ต้องการหารือ ปรึกษา การใช้ สิ ท ธิ ห รื อ ปฏิ บั ติ ใ ห้ เ ป็ น ไป ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร ของราชการ พ.ศ. 2540 ติดต่อได้ที่ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการข้ อ มู ล ข่ า วสารของราชการ ส� ำ นั ก ปลั ด ส�ำนักนายกรัฐมนตรี 0-2283-4687 www.oic.go.th “เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น

จุลสาร ธ.ก.ส. | 43


PR FANCLUB | สุทัย ฉกะนันท์ เรื่อง : ทีมประชาสัมพันธ์ สนจ.อุบลราชธานี ภาพ

“อุบลเมืองดอกบัวงาม แม่น�้ำ สองสี มี ป ลาแซบหลาย หาดทราย แก่งหิน ถิ่นไทยนักปราชญ์ ทวยราษฎร์ ใฝ่ธรรม งามล�้ำเทียนพรรษา ผาแต้ม ก่อนประวัติศาสตร์ ฉลาดภูมิปัญญา ท้ อ งถิ่ น ดิ น แดนอนุ ส าวรี ย ์ ค นดี ศรีอุบล”

จังหวัดอุบลราชธานี ตั้งอยู่ทางตะวัน ออกสุดของประเทศ โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้ เห็ น ดวงอาทิ ต ย์ ก ่ อ นพื้ น ที่ อื่ น ๆ ทั่ ว ประเทศ มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานกว่า 200 ปี มีความ เจริ ญ ในพุ ท ธศาสนา และวั ฒ นธรรม งาน ประเพณีแห่เทียนพรรษาที่นี่ถือเป็นต้นต�ำรับ ของงานประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษาของไทย เนื้อหาที่ถูกถ่ายทอดผ่านต้นเทียนเป็นเรื่องราว เกีย่ วกับพระพุทธศาสนา และข้อคิดทางธรรมะ ที่เกิดจากการความร่วมมือระหว่างวัด ส่วน ราชการ ภาคเอกชน และประชาชนในชุมชนที่ มีศรัทธาสืบทอดพระพุทธศาสนาให้คงอยูส่ บื ไป จึงถือว่าเป็นงานบุญที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของจังหวัด ซึ่งเป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและ ชาวต่างชาติ การจัดงานประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560 ก�ำหนดการจัดงาน ตั้งแต่วันที่ 4-12 กรกฎาคม 2560 นับเป็นปีที่ 116 มีการประกวดเทียนพรรษาภายใต้แนวคิด เรือ่ งทศชาติชาดก ซึง่ ได้รบั ความร่วมมือจากคุม้ วัด ชุมชน ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และภาค เอกชน จัดท�ำเทียนพรรษาเข้าร่วมในงานมากถึง 50 ต้น ในวันที่ 9 กรกฎาคม 2560 ตรงกับวัน 44 | จุลสาร ธ.ก.ส.

แรม 1 ค�ำ่ เดือน 8 มีการแห่เทียนพรรษา และ การแสดงในชุดฮีต 12 เพื่อแสดงถึงประเพณี ที่ชาวอีสานปฏิบัติต่อกันมาในโอกาสต่างๆ ทั้ง สิบสองเดือน การเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมแห่ เ ที ย นเข้ า พรรษา จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ของ ส� ำ นั ก งาน ธ.ก.ส.จังหวัดอุบลราชธานี ได้เริ่มต้นตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2556 จนถึงปัจจุบัน นับเป็นปีที่ 5 แล้ว โดยในวันที่ 8 กรกฎาคม 2560 น.ส.สุวิมล อรอิ น ทร์ ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งาน ธ.ก.ส. จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ได้ น� ำ พนั ก งาน และ ผู ้ ช ่ ว ยพนั ก งาน จั ด ท� ำ กิ จ กรรมร่ ว มกั บ พุ ท ธศาสนิ ก ชนชุ ม ชนวั ด ไชยมงคล ถวาย สังฆทาน ฟังพระธรรมเทศนา และเวียนเทียน เนื่องในโอกาสวันอาสาฬหบูชา และในวันที่ 9 กรกฎาคม 2560 ซึ่ ง เป็ น วั น เข้ า พรรษา วั ด ไชยมงคล ได้ จั ด ท� ำ ต้ น เที ย นพรรษา ที่ มี แ นวคิ ด “หลอมเที ย นรวมใจถวายไท้ องค์พ่อหลวงเสด็จสู่สวรรคาลัย” ผ่านการ แกะสลั ก ลงบนต้ น เที ย น เพื่ อ เล่ า เรื่ อ งราว สะท้อนพระราชกรณียกิจตลอด 70 ปี ที่ทรง

ครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรม หาภูมิพลอดุลยเดช และมีการแสดง ในขบวน แห่เทียนโดยวิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี ภายใต้แนวคิดฮีต 12 ประเพณีบุญเดือนสิบ เอ็ด บุญออกพรรษา น�ำเสนอการแสดงในชื่อ ชุด “ล�ำสาละวัน ฮ่วมยินดี 80 ปี อาชีวะอุบลฯ” ในส่ ว นของส� ำ นั ก งาน ธ.ก.ส.จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ไ ด้ ร ่ ว มกั บ ศู น ย์ เ รี ย นรู ้ เ พื่ อ การ พัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ธ.ก.ส. บ้าน บัวเทิงจัดท�ำขบวนรถเฉลิมพระเกียรติ กษัตริย์ เกษตร (King Of Agriculture) เศรษฐกิจพอ เพียง เคียงข้างปวงชนชาวไทย 70 ปี บนเส้น ทางแห่ ง ความยั่ ง ยื น เพื่ อ เทิ ด พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลยเดช นอกจากนัน้ ส�ำนักงาน ธ.ก.ส. จังหวัด อุบลราชธานี ได้มอบหมายให้พนักงานและ ผู ้ ช ่ ว ยพนั ก งานร่ ว มชมขบวนแห่ เ ที ย น บนอัฒ จรรย์ พร้อมมอบหมวก และน�้ำดื่ม เพื่อให้บริการแก่นักท่องเที่ยวที่มาชมงานด้วย ประเพณี แ ห่ เ ที ย นเข้ า พรรษาของ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ไ ด้ จั ด มาแล้ ว 116 ปี เป็นการสร้างความสามัคคี และความร่วมมือ ของชุมชนซึ่งจะเป็นประเพณีที่ดีงามของชาว อุบลราชธานีสืบไป นอกจากจะมีกิจกรรมแห่ เทียนเข้าพรรษาแล้ว ท่านยังสามารถเที่ยวชม สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ มากมาย เช่น ผาแต้ม สามพันโบก เสาเฉลียง ศึกษาธรรมะทีว่ ดั หนอง ป่าพง ชมความอัศจรรย์ของต้นไม้เรืองแสงที่ วัดสิรินธรวรารามภูเขาแก้ว เป็นต้น ในช่วงส่ง ท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ยังมีกิจกรรมรับตะวัน ใหม่กอ่ นใครในสยามอีกด้วย จึงขอเชิญชวนทุก ท่านมาร่วมชมงานประเพณีแห่เทียนพรรษา ของจังหวัดอุบลราชธานีในปีหน้ากันนะครับ


จุลสาร ธ.ก.ส. | 45


Scoop | BAAC LIBRARY เรื่อง

สวัสดีท่านผู้ท่านทุกท่าน คอลัมน์ BAAC LIBRARY ก็มีหนังสือดีดีมาแนะน�ำทุกท่าน เช่นเคย ในวันนีเ้ อาใจวัยคุณพ่อคุณพ่อกันสักนิดนึง กับหนังสือแนวครอบครัว และหนังสือ เกี่ยวกับการลับไอเดียความคิดสร้างสรรค์ของคุณให้บรรเจิด ท่านใดอ่านสาระสังเขปของ หนังสือแล้วสนใจ จะไปติดต่อหยิบยืมเชิญได้ทหี่ อสมุด ธ.ก.ส. บรรณารักษ์ใจดีพร้อมแนะน�ำ หนังสือให้กับทุกท่านอยู่ค่ะ

1.คิ ด ยั ง ไงให้ ต ่ า ง (นั่ น สิ ! ) ผู ้ แ ต่ ง : โอซั ง จิ น ส� ำ นั ก พิ ม พ์ :

พราว กรุงเทพฯ

สาระสังเขป : หนังสือเล่มนี้จะช่วยให้คุณคิดสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ โดยใช้ หลักการทางวิทยาศาสตร์ทมี่ เี หตุผล ไม่ตอ้ งรอชะตาฟ้าลิขติ คุณก็คดิ ไอเดียเจ๋งๆ ได้ เหมือน ได้สะสมไอเดียดีๆ เข้าไปในสมอง อธิบายแนวคิดประกอบกับตัวอย่างโฆษณาที่น่าสนใจ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นแนวคิดของคนเอเชีย ไม่ใช่แนวคิดของคนตะวันตกทีม่ นี สิ ยั และความคิด ต่างไปจากเรา ไอเดียและแนวคิดที่พูดถึงในเล่มนี้จึงน�ำไปปรับใช้ได้ทันที

2.เข็นเด็กขึ้นภูเขา ผู้แต่ง : เบญจพร ช่างไม้ส�ำนักพิมพ์ : พราว กรุงเทพฯ

สาระสังเขป : เป็นเวลาราว 3 ปีแล้วที่เพจ “เข็นเด็กขึ้นภูเขา” เกิดขึ้นมาจาก ความคิดเล็กๆ ของจิตแพทย์เด็กและวัยรุน่ 4 คน ทีอ่ ยากจะมีชอ่ งทางสือ่ สารเพือ่ ให้ความ รูค้ วามเข้าใจกับคนทัว่ ไปในเรือ่ งสุขภาพจิตของเด็กและวัยรุน่ เพราะเชือ่ ว่าการป้องกันก่อน ทีป่ ญ ั หาจะเกิดย่อมง่ายกว่าการตามไปแก้ไขปัญหาในเวลาทีอ่ าจจะสายเกินไป หนังสือเล่ม นี้ ได้รวบรวมบทความในเพจ “เข็นเด็กขึ้นภูเขา” พร้อมความรู้ที่น่าสนใจ เพื่อเป็นแนวทาง ให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ได้ ใช้ส�ำหรับการเลี้ยงดูเด็กอย่างถูกต้อง เพราะเส้นทางสู่การเป็น ผู้ ใหญ่ไม่ใช่เรื่องง่าย เปรียบเหมือนคนๆ หนึ่งก�ำลังปีนขึ้นสู่ยอดเขา อุปสรรคที่เข้ามาอาจ ท�ำให้มนี ำ�้ ตา เพราะความส�ำเร็จทีค่ าดหวังก็ทำ� ให้ยมิ้ ได้ เป็นเรือ่ งธรรมดาทีท่ กุ คนต้องเผชิญ ในเส้นทางสู่ภูเขาในชีวิตจริง

3.ไปใช้ชีวิตซะ ผู้แต่ง : ดร.ป๊อป ส�ำนักพิมพ์ : อมรินทร์ฮาวทู

อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง กรุงเทพฯ

สาระสังเขป : ท�ำไมคุณยังทุกข์กับเรื่องเดิมๆ ? ท�ำไมคุณไม่อาจรักตัวเองและคน ส�ำคัญในชีวติ ได้หมดใจ? ท�ำไมคุณประสบความส�ำเร็จไม่ได้ดงั่ ใจ ใช่! มีบางสิง่ ฉุดรัง้ คุณไว้ คุณก�ำลังเหยียบย�่ำหนามแห่งความทุกข์จนปวดใจ ยกเท้าคุณขึ้นมาได้แล้ว! คุณจะพาตัว เองมาพบกับมิติใหม่ของการพัฒนาตัวเองด้วยจิตวิทยาสื่อประสาท หรือ NLP เทคโนโลยี ใหม่ที่ใช้ปลดล็อคศักยภาพที่ซ่อนเร้นของคุณจากจิตใต้ส�ำนึก คุณจะได้ยกระดับความรัก ความสัมพันธ์ การงาน การเงิน และจิตวิญญาณได้ทนั ใจ ยิง่ คุณเรียนรูส้ งิ่ นีเ้ ร็วมากเท่าไหร่ ชีวิตคุณยิ่งไปได้ไกลกว่าคนอื่นเท่านั้น หนังสือเล่มนี้เหมาะอย่างยิ่งส�ำหรับผู้อ่านที่อยาก เอาชนะความทุกข์เดิม ๆ ที่ฉุดรั้งชีวิตผู้ที่ต้องการบรรลุเป้าหมายอย่างโดดเด่น ผู้ที่อยากรู้ เทคนิคจิตวิทยาขัน้ สูงทีเ่ ข้าใจง่ายเพือ่ พัฒนาตัวเอง ผูท้ อี่ ยากพัฒนาความสัมพันธ์และการ สื่อสารกับคนรอบกาย ผู้ที่ต้องการขจัดแผลใจเพื่ออยู่กับปัจจุบันได้อย่างยอดเยี่ยม และ ทุกคนที่พร้อมยกระดับความสุขสู่ชีวิตไร้ขีดจ�ำกัด 46 | จุลสาร ธ.ก.ส.


4.แบบฝึกหัด เก่ง Grammar ผู้แต่ง : ฐนิสา ชุมพล, ม.ล.,

ส�ำนักพิมพ์ : พราว กรุงเทพฯ

สาระสังเขป : Grammar หากได้ฝึกฝนบ่อยๆก็จะเกิดความเข้าใจ เกิดความ ช�ำนาญในการใช้งานมากขึน้ อ่านอย่างเดียวอาจจะเข้าใจจริง แต่อาจจะลืมได้งา่ ยเช่น กัน แต่ถ้าอ่านด้วย ได้ฝึกท�ำโจทย์ท�ำแบบฝึกหัด เวลาใช้งานจะคล่องแคล่วและเป็น ธรรมชาติมากขึ้น เนื้อหาของเล่มนี้จึงมาพร้อมทั้งเนื้อหาและแบบฝึกหัด ครบทั้ง 14 เรื่องพื้นฐานไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ

5.เข็นเด็กขึ้นภูเขา ตอน บางสิ่งที่พ่อแม่น่าจะรู้นานแล้ว ผู้แต่ง : เบญจพร ช่างไม้ ส�ำนักพิมพ์ : พราว กรุงเทพฯ

สาระสังเขป : “เข็นเด็กขึ้นภูเขา ตอน บางสิ่งที่พ่อแม่น่าจะรู้นานแล้ว” เป็น

หนังสือล�ำดับที่ 3 ในชุดเข็ดเด็กขึ้นภูเขา ซึ่งน�ำเสนอปัญหาของลูกๆ ในช่วงวัยเล็ก จนถึงระดับประถมศึกษา เป็นปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในครอบครัว แต่บางครัง้ พ่อแม่มองข้าม ไป หรือไม่รู้จะแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นได้อย่างไร ในหนังสือคุณหมอเลือกหยิบยก ปัญหาที่เกิดขึ้นบ่อยๆ และเป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไขอย่างถูกวิธี ขึ้นมาแนะน�ำ เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติให้กับคุณพ่อคุณแม่ โดยหวังจะให้การอบรมเลี้ยงดูบุตร หลานในครอบครัวเป็นไปได้อย่างถูกต้องและได้ผลดี

6. อัศวินแห่งเจ็ดราชอาณาจักร : A Knight of The Seven Kingdoms ผู้แต่ง : มารติน, จอร์จ อาร์. อาร์.ส�ำนักพิมพ์ : แพรว กรุงเทพฯ

สาระสังเขป : ปฐมบท A Game of Thrones มหากาพย์แฟนตาซีที่ได้รับการ สร้างเป็นซีรี่ส์ทางช่อง HBO เหตุการณ์เกิดขึ้นราว 100 ปีก่อน “มหาศึกชิงบัลลังก์” อัศวินพเนจรคนหนึ่งเดินทางพจญภัยรวมสามตอนกับอัศวินฝึกหัด ซึ่งเป็นเด็กที่โกน หัวโล้นเพือ่ ปกปิดสถานภาพทีแ่ ท้จริงของตัวเอง ทัง้ การเข้าร่วมการประลองยุทธ์ การ แก้ไขปัญหาขาดแคลนน�้ำ… เป็นต้น

1

2

3

4

5

6 จุลสาร ธ.ก.ส. | 47


BAAC ‘s IDOL | นิว (ว.แว่น) เรื่อง

ข้อบังคับมูลนิธิอาจารย์จ�ำเนียร สาระนาค (มจส.) หมวดที่ 9 “การ” ข้อ 36 ระบุว่า “ในการใช้จ่ายเงินของมูลนิธิ ให้ จ่ายเพียงดอกผลอันเกิดจากทรัพย์สนิ ทีเ่ ป็นทุนของมูลนิธิ และเงิน ที่บริจาคมิได้แสดงเจตนาให้เป็นเงินสมทบทุนโดยเฉพาะ” ตั้งแต่ เริ่มจัดตั้ง มจส. ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 จนถึงปัจจุบัน ปี ฑ.ศ. 2560 เป็นเวลา 27 ปี ผู้บริจาคมิได้แสดงเจตนาให้เป็นเงินสมทบทุนโดย เฉพาะ ท�ำให้ มจส. น�ำเงินบริจาคเหล่านัน้มาใช้จ่ายเงินของมูลนิธิ ในแต่ละปีที่ได้รับบริจาคมา เนือ่ งจากมีอดีตพนักงาน ได้แก่ คุณธิดา ไขรัศมี คุณศศิธร สุจิตติ์ คุณประเสริฐ – คุณนิตยา อินทร์แก้ว และคุณประพัฒน์ พูลสวัสดิ์ ฯลฯ ได้บริจาคเงินและแสดงเจตนาให้เป็นเงินสมทบทุน โดยเฉพาะผ่าน คุณศรีงาม นาท้าว กรรมการ มจส. คณะกรรมการ มจส. ในการประชุมครั้งที่ 6/2560 วันที่ 14 มิถุนายน 2560 มีมติ ดังนี้ 1. ให้ มจส. จัดตัง้ กองทุนขึน้ มา เพือ่ รองรับเจตนาของ ผู้บริจาคให้เป็นเงินสมทบทุนโดยเฉพาะในชื่อ “กองทุนมูลนิธิ อาจารย์จ�ำเนียร สาระนาค (มจส.)” 2. ในกองทุนมูลนิธิอาจารย์จ�ำเนียร สาระนาค (มจส.) ให้ตั้งชื่อกองทุนย่อย ตามเจตนาที่ผู้บริจาคระบุชื่อกองทุนย่อย มา ในชือ่ บุคคล นิตบิ คุ คล หรือกลุม่ บุคคล เช่น กองทุนคุณธิดา ไขรั ศ มี กองทุ น คุ ณ ศศิ ธ ร สุ จิ ต ติ์ กองทุ น คุ ณ ประเสริ ฐ – คุณนิติยา อินทร์แก้ว กองทุนคุณประพัฒน์ พูลสวัสดิ์ กองทุน สนจ.นครปฐม กองทุนชมรม ธกส.สัมพันธ์ ฯลฯ เป็นต้น 3. ให้น�ำเฉพาะดอกผลของกองทุน มจส. มาใช้จ่ายใน มูลนิธิ ส่วนเงินที่รับบริจาคมาให้เป็นเงินสมทบทุนโดยเฉพาะ 4. มจส. มีบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ใช้สมุดคู่ฝากที่ ธ.ก.ส. สาขานางเลิง้ ในชือ่ บัญชี กองทุนอาจารย์จำ� เนียร สาระ นาค เลขที่ 01-000-250905-6 (บัญชีเดิม) เพื่อรองรับเงิน บริจาคจากผู้มีจิตเป็นกุศลที่แสดงเจตนาให้เป็นเงินสมทบทุน และสะดวกแก่ผู้บริจาค ป้องกันความสับสนหรือเข้าใจคลาด เคลื่อน ทั้งนี้ผู้มีจิตเป็นกุศลสามารถบริจาคเงินและแสดงเจตนา ให้เป็นเงินสมทบทุนโดยเฉพาะ ได้ ณ ที่ท�ำการ มจส. ในอาคาร ธ.ก.ส. สาขานางเลิ้ง ชั้น 2 (ตึก 3 ชั้น) หรือบัญชีเงินฝากตาม ข้อ 4 เพื่อที่ มจส. จะได้น�ำดอกผลของเงินที่ ได้รับบริจาคไป ช่วยเหลือเกษตรกร ลูกค้าเงินฝาก อดีตพนักงานและบุคคลทั่วไป รวมทั้งครอบครัวที่ยังต้องการความช่วยเหลือจาก มจส. อีกเป็น จ�ำนวนมาก 48 | จุลสาร ธ.ก.ส.


จุลสาร ธ.ก.ส. | 49


50 | จุลสาร ธ.ก.ส.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.