ภาพชนบท : ความจริงในภาพชนบท บทความโดย : ผิว มีมาลัย
ภาพชนบท ประดิษฐกรรมเชิงสุ นทรี ยะเพื่อเป้ าหมายทางอุดมการณ์ ซึ่ งถูกสร้างขึ้นเป็ นเครื่ องมือสื่ อสารทางการเมือง วัฒนธรรม ภายใต้นิยามของ กรัมซี่ มันคือกิจกรรมของการช่วงชิ งพื้นที่ทางความคิด (war of position) ผ่านละมุนภัณฑ์ทาง ศิลปวัฒนธรรมเพื่อสร้างโลกทัศน์ทางสังคมการเมืองขึ้นมา คนส่ วนใหญ่ของประเทศโดยเฉพาะในชนบท ล้วนมีภาพจาภาพวาดชนบทไม่แตกต่างกันมากนักในแต่ละท้องถิ่นและ ภูมิภาค ภาพวาดชนบทสาหรับคนชนบทกลับกลายเป็ นสิ่ งที่ยอ้ นแย้งอย่างที่สุดเมื่อพิจารณาภาพวาดในฐานะ Representation หรื อนิ ยามของสัญญะภาพตัวแทน ในช่วงทศวรรษที่ 1950-1970 ภาพชนบทเป็ นภาพวาดที่สามารถพบเห็นได้ทวั่ ไปในชีวิตประจาวัน และทุกๆวัน ภาพวาด ชนบทแทรกซึ มอยูใ่ นพื้นที่สาธารณะทัว่ ไป เมื่อออกจากบ้านการรับชมผลงานภาพชนบทก็มากขึ้น ในทุกๆทุกเช้าขณะ โดยสารรถสองแถวออกจากบ้านในตาบลเล็ก ๆ ไปโรงเรี ยนในตัวอาเภอหรื อตัวจังหวัด และกลับบ้านในตอนเย็น ภาพชนบทได้กลายเป็ นส่ วนหนึ่ งในชีวิตประจาวันของหลาย ๆ คน เจ้าของรถแต่ละคันทาหน้าที่เป็ นผูจ้ ดั การหอศิลป์ เคลื่อนที่และภัณฑารักษ์ดว้ ยตนเอง ต่างสรรหาผลงานภาพวาดชนบทโดยช่างศิลป์ ยอดฝี มือตามหัวเมืองมาจัดแสดงในรถของ ตน นอกจากรถสองแถวยังรวมถึงบรรดารถสิ บล้อซึ่ งนิ ยมจัดแสดง (exhibiting) ภาพชนบทที่ตวั รถไม่แพ้กนั
พืน้ ที่การจัดแสดงผลงานภาพวาดชนบท
การวิเคราะห์ภาพชนบทในเชิงสุ นทรี ยะด้วยหลักการทางทัศนธาตุของเส้น สี รู ปทรง แสงเงา เป็ นสิ่ งที่อธิ บายได้ไม่ยากนัก เมื่อเทียบกับการวิเคราะห์ความจริ งในภาพวาดซึ่ งสลับซับซ้อนมากกว่า ในความเป็ นจริ งภาพวาดชนบทดังกล่าว อาจไม่มี อะไรเกี่ยวข้องโดยตรงกับเนื้ อหาทางสุ นทรี ยศาสตร์เสี ยด้วยซ้ า ความจริ งในภาพวาดอาจหมายถึงพยานหลักฐานที่ตอกย้าและ ยัว่ ยุสุนทรี ยสนทนา เพื่อเปิ ดพื้นที่ให้เกิดการโต้แย้งถกเถียง
ตัวอย่างของการโต้แย้งระหว่าง เมเยอร์ ชาพิโร (Meyer Schapiro 1904-1996) นักประวัติศาสตร์ศิลปะที่ไม่เห็นด้วยกับ มาร์ติน ไฮเดกเกอร์ (Martin Heidegger b.1889-1976) ในการแยกแนวคิดทางสุ นทรี ยศาสตร์ออกจากประเด็นทางประวัติศาสตร์ของ ภาพวาด เนื่ องจากบทความที่ชื่อ The Origin of the work of Art ตีพิมพ์ในปี 1950 เสนอว่าผลงานจิตรกรรม A Pair of Shoes (1886) ซึ่ งวาดโดย Vincent van Gogh คือภาพรองเท้าของหญิงชาวนา
A Pair of Shoes (1886)
แต่จากการศึกษาและตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของ ชาพิโร ในบทความที่ชื่อว่า The Still Life as a Personal Object – A note on Heidegger and van Gogh ตีพิมพ์ในปี 1968 ได้พยายามอธิ บายถึงที่มาหรื อสภาพดัง่ เดิมของภาพวาด และเชื่อว่า ภาษาเป็ นที่มาของภาพวาดเหล่านั้น และระบุวา่ รองเท้าในภาพนั้นเป็ นของ van Gogh เอง ในมุมมองของ ฌาคส์ แดร์ริดา (Jacques Derrida 1930- 2004) การอธิ บายคุณสมบัติของภาพวาด (painting) ราวกับว่าสิ่ งที่เรา เห็นในภาพเป็ นสิ่ งที่มีอยูจ่ ริ งตามความเห็นของ ชาพิโร เป็ นการอธิ บายเชิงภาษาในฐานะนักประวัติศาสตร์ศิลป์ แดร์ริดาเห็น ว่าเราไม่สามารถอธิ บายคุณสมบัติ (attribution) บางประการของภาพวาดได้ดว้ ยภาษา แดร์ริดา ชี้ให้เห็นว่าบทความของชาพิโรได้ทาให้เกิดการสร้างคาอธิ บายแบบใหม่ ที่ถือเป็ นการเปลี่ยนแปลง (appropriation) ความหมายที่ไม่หยุดนิ่ งของภาพวาด การผลิตซ้ าความหมายที่ไม่หยุดนิ่ งเช่นนี้ ได้ส่งผลต่อความคิดด้านคุณสมบัติของ ภาพวาดไม่มากก็นอ้ ย การอธิ บายชนบทในฐานะเป็ นหน่วยของการศึกษาวิเคราะห์ความด้อยพัฒนา จากสายตาของรัฐและปฏิบตั ิการของนักมานุษ ยาวิทยาทาให้ความหมายที่ไม่หยุดนิ่ งในภาพวาดชนบท เชื่อมโยงกับบริ บททางประวัติศาสตร์ของสงครามเย็นและปฏิบตั ิการ ของ CIA ในหมู่บา้ นชนบทของไทยได้อย่างเนี ยนประณี ต
A Great Place to have a war: The Birth of a Military CIA
ในหนังสื อ ‘เขียนชนบทให้เป็ นชาติ กาเนิ ดมานุษยวิทยาไทยในยุคสงครามเย็น’ โดย เก่งกิจ กิติเรี ยงลาภ (1975-) ได้ ตั้งสมมติฐานไว้อย่างน่าสนใจภายใต้เงื่อนไขเชิ งโครงสร้างและบริ บทของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม รวมถึงความสัมพันธ์ ทางอานาจในช่วงเวลาหนึ่ ง ในฐานะเป็ นตัวกาหนดกระบวนการสร้างความรู ้เกี่ยวกับสิ่ งต่างๆ เป็ นที่ทราบดีว่างานศึกษาวิจยั ในประเด็นนี้ ของ เก่งกิจ มิได้ไขปั ญหาหรื อข้อสงสัยเชิงสุ นทรี ยศาสตร์ของจิตรกรรมภาพ ชนบท ความพยายามในการเชื่อมโยงข้อมูลและพยานหลักฐานของเขา ได้เผยให้เห็นถึงต้นกาเนิ ดของมานุษยวิทยาใน ประเทศไทยช่วงยุคสงครามเย็น ซึ่ งได้รับการสนับสนุนหลายด้านจาก CIA แนวคิดที่น่าทึ่งในสงครามเย็นใต้กรอบคิดของสานักคอร์เนล (Cornell school of thought) คือ การทาสงครามโดยไม่ จาเป็ นต้องใช้กาลังทหารจานวนมากกว่าเพื่อเอาชนะข้าศึกที่มีจานวนน้อยกว่า และเชื่อว่านักมานุษยวิทยาเพียง 1 คนกับ เทคโนโลยีที่ทนั สมัยก็สามารถเอาชนะข้าศึกจานวนเป็ นร้อยได้
Lauriston Sharp คณบดี คณะมานุษยวิทยาและสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์ เนล หลักศูตร. Southeast Asian studies Charles F. Keyes นักมานุษยวิทยา นักศึกษาปริ ญญาเอกสานักคอร์ เนล
มานุ ษยวิทยาสานักคอร์เนลภายใต้การดูแลของ Lauriston Sharp (1907- 1993) คณบดีคณะมานุษยวิทยาและสังคมศาสตร์ ในช่วงทศวรรษที่ 1940 ได้ริเริ่ มโครงการ Cornell Thailand Project ในหัวข้อที่เกี่ยวกับการศึกษาผลกระทบทางจิตวิทยา และ สังคมชนบทไทยกับการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี พวกเขาส่ งนักมานุษยวิทยามาฝังตัวในพื้นที่เพื่อทาหน้าที่เป็ นฐานการ ผลิตทางทฤษฎีและผลงานทางวิชาการให้แก่รัฐบาล เนื้ อหาตอนหนึ่ งในหนังสื อ เขียนชนบทให้เป็ นชาติฯ ของเก่งกิจ ระบุถึง Charles F. Keyes (1937-) นักมานุ ษยวิทยาจาก มหาวิทยาลัยคอร์เนล ซึ่ งมีความเห็นแย้งในแง่วิธีวิทยาของงานวิจยั และสารัตถะที่ได้จากการลงพื้นที่ภาคสนาม ด้วยความ คิดเห็นที่ต่างไปจากสานักคอร์เนล Keyes มองว่านักมานุษยวิทยาควรทาการวิจยั ที่มุ่งเน้นวิธีการในแบบชาติพนั ธุ์วรรณนา Keyes เชื่อว่าฐานทางเศรษฐกิจการเมืองและโลกทัศน์ของชีวิตทางสังคมคือปมปั ญหาสาหรับการศึกษาวิจยั และไม่ควรสนใจ เพียงเรื่ องความสงบสุ ข ความเป็ นน้ าหนึ่ งใจเดียวกันของผูค้ นเท่านั้น งานวิจยั ของ เขาชี้ให้เห็นว่าปมปัญหาหลักของประเทศ ไทยช่วงทศวรรษที่ 1960- คือปัญหาความขัดแย้งและไม่ลงรอยกันทางสังคม และปัญหาเหล่านั้นก็ยงั คงดารงอยูม่ าจวบจน ปัจจุบนั การมองข้ามปั ญหาความขัดแย้งในทัศนะของ Keyes คือการสร้างวาทกรรมย้อนแย้งตัวมันเองที่ว่า ‘สังคมชนบทไทย มีความสุ ขสงบ พอเพียง และเป็ นน้ าหนึ่ งใจเดียวกันจริ งหรื อ’ สาหรับนักมานุ ษยวิทยา เทคโนโลยีอุปกรณ์ถ่ายภาพทางอากาศที่นาเข้าโดยสหรัฐอเมริ กาในช่วงสงครามเย็น คือเครื่ องมือ สมัยใหม่อนั ทรงพลัง สามารถผลิตสร้างแผนที่มาตรฐานของไทยฉบับ L 708 ที่มีความละเอียดสู งถึง 1:50,000 สามารถให้ รายละเอียดการโยกย้ายและตั้งถิ่นฐานของผูค้ น ซึ่ งรัฐไทยไม่เคยรับรู ้ หรื อไม่สามารถมองเห็นมาก่อน แผนที่ชุดนี้ จึง เปรี ยบเสมือนกลไกสาคัญที่ช่วยในการมองเห็นของรัฐ และที่สาคัญนักมานุษยวิทยาก็คือผูเ้ ติมช่องว่างลงในแผนที่น้ นั เอง แน่นอนว่าแผนที่ได้กลายมาเป็ นเครื่ องมือพิเศษ ให้แก่ฝ่ายความมัน่ คงในปฏิบตั ิการต่อต้านภัยคุกคามอันเป็ นคอมมิวนิ สต์ใน
พื้นที่ต่างๆของประเทศ การต่อต้านภัยคอมมิวนิ สต์ในช่วงเวลาดังกล่าวมีการสอดแทรกนโยบายที่ซอ้ นสร้างความเป็ นไทย ให้แก่ผคู ้ นที่ไม่เคยเป็ นคนไทยอีกเป็ นจานวนมาก สหรัฐอเมริ กาและหน่วยงานที่ชื่อว่า USIS ร่ วมกับฝ่ ายความมัน่ คงจาก กอ.รมน. (กองอานวยการรักษาความมัน่ คงภายใน ราชอาณาจักร) ได้ร่วมกันพัฒนาเครื่ องไม้เครื่ องมือในการนิ ยามความเป็ นไทยด้วยชุดความหมายใหม่ วิธีใหม่ๆ และสื่ อชนิ ด ใหม่ๆ และการพัฒนาคุณค่าทางวัฒนธรรมให้เป็ นสิ นค้ายังดาเนิ นต่อเนื่ องมาจนถึงปั จจุบนั
โฆษณาช่ วงสงครามเย็น
ในประเด็นภาพวาดชนบทและความจริ งในภาพวาดชนบท อาจเป็ นเพียงร่ องรอยพับที่ซอ้ นทับกันโดยมิอาจแบ่งแยกจากกัน ตามทัศนะของริ ชาร์ด โวลล์ไฮม์ (Richard Wollheim 1923-2003) นักปรัชญาชาวอังกฤษ ที่เสนอว่าพื้นฐานทางพันธุกรรมของ มนุษย์ ได้มอบความสามารถพิเศษในการมองเห็นรู ป หรื อสิ่ งต่างๆ ปรากฏอยูใ่ นก้อนเมฆ กาแพง ผนัง ฯลฯ โวลล์ไฮม์ อธิ บายว่าในขณะที่เรากาลังมองภาพวาดอย่างตั้งใจอยูน่ ้ นั เราสามารถเห็นสี ที่แต้มแต่งอยูบ่ นพื้นผิวที่แบนราบของ ภาพวาดในขณะเดียวกัน เราก็สามารถมองเห็นความลึกของภาพวาดไปพร้อมๆกัน การมองเห็นความลึกและความลึกกว่ามิใช้ ปัญหาเชิงสุ นทรี ยศาสตร์โดยตรง แต่เป็ นหน้าที่เชิ งภาษาที่จะอธิ บายความจริ งในภาพวาดด้วยประวัติศาสตร์ พยานหลักฐาน ต่างๆ หากผลงานศิลปะเปรี ยบได้กนั สนามหรื อสถานที่ซ่ ึ งความจริ งถูกเปิ ดเผยตามที่ไฮเดกเกอร์กล่าว ผลงานจิตรกรรมภาพชนบท ย่อมบรรจุชุดความจริ งบางอย่างภายใน หนังสื อ ความจริ งในภาพวาดฯ และ เขียนชนบทให้เป็ นชาติฯ อาจช่วยพัฒนา เครื่ องมือหรื อแนวทางเชิ งสหศาสตร์ในการวิเคราะห์ การตัดสิ นทางสุ นทรี ยะในพื้นที่ศิลปะและนอกพื้นที่ศิลปะ ของ ภาพวาดชนบทได้อย่างน่าสนใจและมีนยั สาคัญ
LONGTRUK: LIBRARY หนังสื อ : ความจริ งในภาพวาด บทวิจารณ์วา่ ด้วยสุ นทรี ยศาสตร์ของไฮเดกเกอร์ และแดร์ริดา ผูเ้ ขียน : พิพฒั น์ พสุ ธารชาติ ISBN : 978-974-16-3790-4 พิมพ์ครั้งแรก 2553 สานักพิมพ์วิภาษา หนังสื อ : เขียนชนบทให้เป็ นชาติ กาเนิ ดมานุ ษยวิทยาไทยในยุคสงครามเย็น ผูเ้ ขียน : เก่งกิจ กิติเรี ยงลาภ ISBN : 978-974-021654-4 พิมพ์ครั้งแรก 2562 สานักพิมพ์มติชน
เอกสารและภาพอ้างอิง
https://m.museumsiam.org/da-detail2.php?MID=3&CID=177&CONID=2797&SCID=242
https://books.google.co.th/books/about/Art_and_Its_Objects.html?id=NBmYGQDjM6sC&printsec=frontcover& source=kp_read_button&redir_esc=y#v=onepage&q&f=false
https://db.sac.or.th/anthropologist/anthropologist/34
https://prachatai.com/journal/2018/04/76515
https://www.facebook.com/1218915061455151/photos/a.1920374477975869/2324870750859571/?type=1&the ater
https://www.google.com/search?q=%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%A0%E0%B8%B2% E0%B8%9E%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%97+%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8 %9E%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%94&tbm=isch&hl=en&ved=2ahUKEwj62oiThe_oAhXDHysKH YtvDQoQrNwCKAB6BAgBEDM&biw=1583&bih=789#imgrc=6yJfISZIJ7q08M