Report of Action for Education 2018 - Yilan, Taiwan

Page 1

Sunisa Nuampeuag

2018

Memo of

Action for education in Yilan

suphitchaya Khunchamni


Action for Education 2018

By City Yeast and AGUA Design Nov 17th - 25th, 2018

Yilan

I D

ภาพจาก http://www.hesseducation.com/taiwan-branch-locations-yilan


INTRODUCTION อี๋หลาน (Yilan) เป็นเมืองที่มีอาณาเขตติดต่อกับเมืองไทเป (Taipei) ทางด้านทิศตะวันออก ด้วยระยะทางเพียงแค่ครึ่ง ชั่วโมงโดยรถยนต์หรือรถโดยสาร เป็นเมืองที่ผู้คนไม่หนาแน่น คล้ายกับต่างจังหวัดของกรุงเทพฯ ซึ่งการเดินทางมาที่อี๋หลาน ในครั ้ ง นี ้ เป็ น การมาเยื อ นครั ้ ง ที ่ ส องของเราที ่ ม ี ค วาม เหมือนแต่แตกต่างในคราเดียวกัน เพราะเป็นการเดินทางมา ทำ�งานในฐานะทีมงานของบ้านนอกฯ(เช่นเดิม) แต่พำ�นักและ ปฏิบัติงานในเขตเมืองที่ต่างกัน (ครั้งก่อนเราไปเขตโถวเฉินที่ อยู่ทางทิศเหนือของตัวเมืองอี๋หลาน แต่ครั้งนี้เป็นเขตใจกลาง เมืองของอี๋หลาน) โดยที่ครั้งนี้มีบทบาทหน้าที่เป็นผู้สื่อสาร ไม่ได้ เน้นเป็นเพียงผู้รับสารแบบครั้งก่อน (ที่มาในฐานะศิลปินพำ�นัก เพื่อสำ�รวจและเก็บข้อมูลเพื่องานวิจัยของบ้านนอกฯ)

LESSON FROM YILAN. TAIWAN

บทเรี ย นจากอี ๋ ห ลาน โดย สุ พ ิ ช ญา ขุ น ชำ � นิ

ในฐานะหนึ ่ ง ในที ม งานบ้ า นนอกฯ ที ่ ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ Action for Education 2018 เป็นโครงการย่อยของ “City Yeast” โครงการระยะยาว (Long term project) ริเริ่ม ในปี 2006 โดยหน่วยงาน AGUA Design เป็นโครงการที่ สร้างนักออกแบบเพื่อส่วนรวม โดยกลุ่มขับเคลื่อนโครงการ ที่สร้างความเคลื่อนไหวเชิงบวกเพื่อความก้าวหน้าทางสังคม ระยะเวลาของการพำ�นักและปฏิบัติงานของศิลปินแต่ละท่าน คือ หนึ่งสัปดาห์ เราและเพื่อนร่วมงานได้รู้จักสภาพเมืองและ วิถีชีวิตของอี๋หลานอย่างสังเขป และดำ�เนินกิจกรรมอบรมเชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ ก ารหรื อ เวิ ร ์ ก ชอป (Workshop) ให้ ก ั บ นักเรียน ระดั บ ประถมศึกษาจำ�นวนสองโรงเรียน โรงเรียนละหนึ่ง ห้ อ งเรี ย น ภายใต้ เ ป้ า หมายของการพั ฒ นาอย่ า งยั ่ ง ยื น “Sustainable Development Goals” ซึ่งในโครงการ มีศิลปิน-นักออกแบบเข้าร่วมจำ�นวน 5 ประเทศ ได้แก่ ญี่ปุ่น ไทย เบลเยี่ยม อินเดีย และสิงคโปร์


ACTION

การศึกษา เป็นวัฒนธรรมประเภทหนึ่งที่บ่งบอกความเป็นตัวตนของประเทศ หรือเมืองนั้น ๆ การสร้างโอกาสผ่านกิจกรรมที่มีการร่วมงานกันของกลุ่ม นักออกแบบที ่ ใ ห้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การศึ ก ษา เรี ย กได้ ว ่ า เป็ น การศึ ก ษาเชิ ง ปฏิ ส ั ม พั น ธ์ (Interactive education) เป็นการเปิดมุมมองและประสบการณ์ให้กับหน่วยงานผู้จัดโครงการ ศิลปิน-นักออกแบบ รวมทั้งบุคคลในสถาน ศึกษาที่ร่วมโครงการ ทำ�ให้เกิดการตระหนักและสร้างความเข้าใจในวัฒนธรรม ของประเทศในภูมิภาคเดียวกันมากขึ้น ผ่านรูปแบบของกิจกรรมการศึกษาเชิง ปฏิบัติการที่มีลักษณะข้ามวัฒนธรรม (Cross Cultural) การนำ � ความแตกต่ า งในวิ ส ั ย ทั ศ น์ จ ากต่ า งชาติ ม าแลกเปลี ่ ย นให้ แ ก่ น ั ก เรี ย น และคุณครูในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการในเมืองอี๋หลานนี้ ศิลปิน-นักออกแบบ สามารถออกแบบกิจกรรมในหัวข้อต่างๆ ได้ตามความเชี่ยวชาญ ภายใต้บริบท ของเมืองที่จัดกิจกรรม และเป้าหมายของโครงการ มีทั้งประเด็นเกี่ยวข้อง กับธรรมชาติ การรีไซเคิล เกมส์นวัตกรรม การสังเกตเมือง เป็นต้น หรือการนำ� องค์ความรู้และแนวคิดในการใช้ทุนทางทรัพยากรของชุมชนมาพัฒนาให้เกิดความ ยั่งยืน เป็นประเด็นที่เราเลือกนำ�ไปแลกเปลี่ยนให้เยาวชนได้รู้จักหนึ่งในวัฒนธรรม ของชุมชนเกษตรกรรมของประเทศไทย และชวนตั้งคำ�ถามต่อแนวคิดของกิจกรรม เวิร์กชอป (ทำ�สบู่ชานมและบรรจุภัณฑ์ทำ�มือ - Let’s Soap Bathing Softly) และตระหนักถึงสิ่งที่มีอยู่ชุมชนของเยาวชนเอง รวมทั้งการให้เยาวชนลงมือ ปฏิบัติจริง ได้ใช้ทักษะทั้งในด้านกายภาพและความคิด กล้าตัดสินใจและแสดงออก เป็นการเพิ่มประสบการณ์ให้แก่เยาวชนมากขึ้นจากการเรียนรู้ในห้องเรียน

การได้มีบทบาทเป็นผู้สื่อสารและการวางแผนร (ที่ประกอบไปด้วยการให้ข้อมูล การโต้ตอบ ก ที่มีวัฒนธรรมแตกต่างไปจากบ้านเมืองของเรา ที่มีคุณค่าให้กับทั้งตัวเราเอง เพื่อนร่วมงาน ที่ได้จากการลงมือปฏิบัติงานจริง ทำ�ให้เราได้เพ การศึกษา การวางแผน และที ่ ส ำ � คั ญ คื อ ทั ก ษ ต่ า งทางภาษาและวั ฒ นธรรม เราต้องทำ�งา ระยะเวลา เนื ้ อ หา และกระบวนการของกิ จ แต่ ล ะห้ อ งเรี ย น ซึ ่ ง เราต้ อ งวางแผนการถ เขาได้ เ รี ย นรู ้ ต รงตามเป้ า หมายของกิ จ กรรม Action for Education


กล่าวได้ว่า เป็นโครงการที่เปิดโอกาสให้ศิลปิน-นักออกแบบ(การเรียนรู้) จากนานาชาติมา แลกเปลี ่ ย นและถ่ ายทอดประสบการณ์ ให้ กับ บุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนการ สร้างจุดร่วมทางความคิดในเรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งแน่นอนว่าไม่สามารถ เกิ ด ขึ ้ น ได้ ท ั น ที จ ากกิ จ กรรมเวิ ร ์ ก ชอปเพี ย งแค่ ส องวั น แต่ อ ย่ า งไรก็ ด ี หากเรา เชื ่ อ ว่ า แนวคิ ด ร่ ว มนี ้ ส ามารถเริ ่ ม ต้ น ได้ จ ากเรื ่ อ งราวใกล้ ต ั ว ผ่ า นการเล่ า เรื ่ อ ง การพูดคุย ทานอาหารกลางวันร่วมกันในห้องเรียน และกิจกรรมเชิงปฏิสัมพันธ์ที่เปิด โอกาสให้เราได้โต้ตอบ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ก็ทำ�ให้เกิดตะกอนทางความคิดไม่มากก็ น้อยแก่เยาวชนหรือบุคคลากรของโรงเรียนนั้น ๆ และยังเป็นผลให้ศิลปิน-นักออกแบบได้ รู้จักมุมมองของทีมงานหรือเยาวชนในแต่ละพื้นที่ที่ไปทำ�กิจกรรมเวิร์กชอป เห็นถึงความ คล้ ายคลึ งหรื อ แตกต่ างทางวั ฒนธรรม และเห็น รูป แบบกิจ กรรมของศิลปิน ที่ร ่วม โครงการในระยะเวลาเดี ย วกั น ผ่ า นกิ จ กรรมการบรรยายสรุ ป ผลการดำ � เนิ น งาน ตลอดหนึ ่ ง สั ป ดาห์ ซึ ่ ง เราสามารถถ่ า ยทอดแนวคิ ด การทำ � งานขององค์ ก รที ่ เ รา ได้ เ ป็ น ตั ว แทนให้ ก ั บ ที ม งานและคุ ณ ครู ห ้ อ งเรี ย นอื ่ น ๆ ที ่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ

างแผนรูปแบบกิจกรรมการศึกษาเชิงปฏิสัมพันธ์ ตอบ การแลกเปลี่ยน และการร่วมสร้าง) ในพื้นที่ ของเรา กล่า วได้ ว ่ า เป็ น โอกาสและประสบการณ์ มงาน องค์กรที่ให้การสนับสนุน ด้วยการเรียนรู้ ราได้เพิ่มพูนทักษะในการบริหารจัดการกิจกรรม คื อ ทั ก ษะในการสื ่ อ สารระหว่ า งที ม งานที ่ ม ี ค วาม งทำ�งานภายใต้ข้อจำ�กัดต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ของกิ จ กรรมที ่ น ำ � ไปถ่ า ยทอดให้ ก ั บ นั ก เรี ย น นการถ่ า ยทอดข้ อ มู ล ให้ ก ั บ เยาวชนเพื ่ อ ให้ พ วก จกรรมที ่ เ ราออกแบบ และเป้ า หมายหลั ก ของ

LESSON


Educator to educator โดย สุ น ิ ศ า นวมเผื อ ก


ประการสำ � คั ญ แรกสุ ด ที่ ม องได้ จ ากการเป็ น หนึ ่ ง ในผู ้ ร ่ ว มโครงการในฐานะ educator นั่นคือ ความรู ้ เ ป็ น สื ่ อ สากลที ่ ส ามารถเดิ น ทางไปที่ไหนก็ได้ในโลก ความรู้เป็นเครื่องมือ ที่ใช้ถ่ายทอดวิธีและวิถี สื่อสารกระบวนการ ทำ�งานและเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติงานจริง ทำ � ให้ เ ราได้ รู้ จั ก และเข้ า ใจความแตกต่ า งทาง วั ฒนธรรม ภาษาและทั ศนคติ ที ่ ถ ู ก ประสาน โดยองค์ ค วามรู ้ ซึ ่ ง สิ ่ ง ที ่ เ ราเตรี ย มไปคื อ Basic in daily life ที่ทุกคนสามารถเข้าใจ จับต้องได้และเกิดประโยชน์ ผสมผสานบริบท ของทั้งสองท้องถิ่น (แรงบันดาลใจตั้งต้นการ ทำ�สบู่จากนม ซึ่ง นม เป็นอาชีพของชาวตำ�บล หนองโพ จังหวัดราชบุรี ประเทศไทย และ ชา ที่ เป็นเอกลักษณ์ของประเทศไต้หวัน) เข้าด้วยกัน เกิดเป็นเวิร์กชอปสบู่ทำ�มือชานมที่พวกเราได้ ทำ � ร่ ว มกั น กั บ เด็ ก ๆ ซึ ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น ช่ ว งวั ย ที ่ เ ห ม า ะ ส ม ใ น ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู ้ ใ ห้ เนื ่ อ งจากเรี ย นรู้ได้เร็ว มี ความกระตื อ รื อ ร้ น สนใจในทุ กๆกิ จ กรรม กล้ า แสดงออกในรู ป แบบของตนเอง ความสดใหม่ ข องช่ ว งวั ย ทำ � ให้ เ ราได้ เ รี ย นรู้ ซึ่ ง กั น และกั น เองทั้ ง ตั ว เราเองที ่ เ ป็ นผู ้ ส ่ งสาร ต้ องคอยรู ้ ร ั บ ปรั บ แก้ สถานการณ์ต ลอดกิ จ กรรม ด้ ว ยความต่ าง ของภาษาที ่ ซ ึ ่ ง อาจจะเป็นอุปสรรคบ้าง ผู ้ ร ั บ สารที่ ต้ อ งเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมกั บ ชาวต่ า งชาติ ครั้งแรก ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็ น ความสดใหม่ ของเราทั้งคู่ ที่เป็น Educator ให้กันและกัน


กระบวนการการทำ�งานของทีมงาน/ ระบบการจัดการของ City Yeast และ AGUA Design ช่ว งเวลาหนึ่งอาทิตย์ที่พวกเราได้ ใช้เ วลาอยู่ที่ เมื องอี๋ หลาน เพื่อดำ�เนินกิจกรรมโครงการร่วมกับ City Yeast และ AGUA Design ซึ่งสำ�นักงานตั้งอยู่ที่เมืองไทเป เป็นผู้ริเริ่มโครงการ Action for Education ที่เมืองอี๋หลาน และปี 2018 เป็น ครั้งที่สองแล้วกับการดำ�เนินงานโครงการด้านการศึกษาเชิง ปฏิสัมพันธ์ร่วมกับศิลปิน-นักออกแบบ โดยได้รับความร่วมมือ จากโรงเรี ย นประถมศึ ก ษาของเมื อ งอี ๋ ห ลาน (Yilan Elementary School) ได้รับการสนับสนุนจากกระทรวง การศึกษา (Ministry of Education) และรัฐบาลของเมือง อี๋หลาน (Yilan County Government) ด้วยระยะเวลาเพียงหนึ่งอาทิตย์กับการได้ร่วมงานในโครงการ พวกเราจึงอยากบอกเล่าการทำ�งานของทีมงานในโครงการที่ ให้การสนับสนุน และช่ ว ยเหลื อ พวกเราตลอดระยะเวลาการ พำ�นักและปฏิบัติงาน แน่นอนว่าพวกเขาได้มีการเตรียมงานกว่า สองเดือนก่อนที่พวกเราหรือศิลปิน-นักออกแบบ (การเรียน รู้) จากประเทศต่าง ๆ จะเดินทางมาปฏิบัติงานที่เมืองอี๋หลาน ไม่ว่าจะเป็นการลงพื้นที่รวบรวมข้อมูลของเมือง การติดต่อ ประสานงานกับหน่วยงานทางการศึกษาในเมืองอี๋หลาน และ คุณครูประจำ�ชั้นที่สนใจเข้าร่วมโครงการเพื่อเตรียมอุปกรณ์ใน กิจกรรมเวิร์กชอป


1 2 3 4

การประสานงานจากทีมงาน เนื่องจากเวิร์คชอปของเรามีกระบวนการเรียนรู้ที่ใข้เวลาและมี รายละเอียดค่อนข้างมากสำ�หรับการนำ�มาใช้กับเยาวชนจำ�นวน เกือบ 20 คนต่อหนึ่งห้องเรียน จึงต้องมีการติดต่อประสาน งานอย่ า งใกล้ ช ิ ด มี ก ารนั ด ประชุ ม ออนไลน์ เ พื ่ อ พู ด คุ ย เพื ่ อ ทำ�ความรู้จักเบื้องต้น สอบถามรายละเอียดต่างๆ เช่น ชี ้ แ จงวั น เวลาการเดิ น ทาง ช่ ว งเวลาของการทำ � งาน พู ด คุ ย แนะนำ�วัตถุดิบท้องถิ่นที่สามารถนำ�มาใช้ในเวิร์คชอปของ เราได้ ซึ่งทางทีมงานติดตามผลอย่างใกล้ชิด ทำ�ให้การทำ�งาน ในขั้นต้นผ่านไปอย่างเรียบร้อยและสมบูรณ์ การชี้แจงรายละเอียดของโครงการและข้อตกลง เมื่อไปถึงวันแรกทางทีมงานบอกเล่าถึงตัวองค์กร ความเป็นมา รูปแบบของการทำ�งาน มีการชี้แจงรายละเอียดของโครงการ ในเรื ่ อ งของลิขสิท ธิ์ภาพถ่าย และทำ�สัญญาข้อตกลงเป็น ลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจนในเรื่องภาพถ่ายที่ต้องการให้เรา ช่วยเหลือ ซึ่งในการทำ�งานร่วมกันระหว่างหน่วยงานหรือระดับ บุคคลเอง เรื่องสิทธิประโยชน์ในการใช้ข้อมูลนั้นมีความสำ�คัญ เพราะจะมีผลในการทำ�งานร่วมกันตลอดจนเสร็จสิ้นโครงการ หรือหลังจบโครงการไปแล้ว การแบ่งหน้าที่ของทีมงาน ในระยะเวลา7วั น ในฐานะเป็ น ศิ ล ปิ น ที ่ ไ ปพำ � นั ก ปฏิ บ ั ต ิ ง าน การที่ เ รามี ป ระสบการณ์ ใ นบทบาทการดู แ ลศิ ล ปิ น ในพำ � นั ก กล่าวได้ว่าการระบุตำ�แหน่งในการทำ�งานที่ชัดเจนเป็นเรื่องที ่ สำ � คั ญ มาก ไม่ ว ่ า จะเป็ น หน้ า ที ่ บ ั น ทึ ก ภาพนิ ่ ง บั น ทึ ก ภาพ เคลื่อนไหว ล่ามแปลภาษา เขียนคอนเทนท์ ผู้บันทึกเสียง หรือ ผู้ประสานงานศิลปินกับทางโรงเรียน เพราะเป็นสิ่งที่อำ�นวย ความสะดวก และเอื้อให้การทำ�งานของศิลปินดำ�เนินไปอย่าง ราบรื่น ตรงตามตารางการปฏิบัติงาน การติดต่อประสานงานกับทางโรงเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ทางโรงเรียนได้รับหน้าที่เป็นฝ่ายจัดเตรียมอุปกรณ์ในการทำ � เวิ ร ์ ค ชอปทั ้ ง หมด ซึ ่ ง มี ค ่ อ นข้ า งเยอะมากสำ � หรั บ การทำ � สบู่ทำ�มือธรรมขาติ และด้วยความแตกต่างของกระบวนการ ทำ � งาน และการสื่อสารระยะไกล แม้ ว ่ า จะมี ค วามผิ ด พลาด ระหว่างการเตรียมอุปกรณ์แต่ก็ผ่านมาได้ด้วยดี ด้วยว่าเมื่อ อุปกรณ์ที่โรงเรียนเตรียมไว้ไม่สามารถนำ�มาใช้ได้ อุปกรณ์ สำ�หรับเวิร์กชอปหลายอย่างสามารถนำ�ของที่มีอยู่ในโรงเรียน มาใช้ทดแทนหรือหยิบยืมระหว่างโรงเรียนได้โดยไม่ต้องซื้อใหม่ ถื อ ว่ า เป็ น การแลกเปลี ่ ย นประสบการณ์ ใ ห้ ท ั ้ ง คุ ณ ครู แ ละ ศิลปินเอง




Residency report Content by Sunisa Nuampeuag, Suphitchaya Khunchamni Designed by Sunisa Nuampeuag Residency duration 2018 Nov 17th - 25th Supported by Baan Noorg Collaborative Arts and Culture, City Yeast Website www.baannoorg.org Š February 2019, Baan Noorg Collaborative Arts and Culture and City Yeast All rights reserved. Copyrights of the texts are reserved for the author; of the illustrator for the illustrator; of the photographs for the photographers.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.