ถอดรหัส MODEL การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการชุมชนต้นแบบ 2565

Page 1

SUSTAINABLE DEVELOPMENT
ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565
กรมการพัฒนาชุมชน เห็นความสําคัญการแก้ไขปัญหาหนี้ครัวเรือน จึงได้ส่งเสริมสนับสนุน ให้มีการจัดตั ง “ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน” เป็นการบูรณาการเชื่อมโยงการบริหารจัดการของกลุ่ม /กองทุน/องค์กรการเงินในชุมชน ทําหน้าที่บริหารจัดการเงินทุนที่มีอยู่ในชุมชนให้เกิดความคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด ปัจจุบันมีศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํา นวน 1,245 แห่ง ในพื้นที่ 76 จังหวัด มีคณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชนเป็นกลไกสํ า คัญในการ ขับเคลื่อนและบูรณาการกลุ่ม/กองทุน/องค์กรการเงินในชุมชน ทําหน้าที่ในการแก้ไขปัญหาหนี้สิน ครัวเรือน บริหารจัดการหนี้ครัวเรือน ส่งเสริมวินัยทางการเงิน ส่งเสริมการประกอบอาชีพ ทําให้ครัวเรือน เกิดสภาพคล่องทางการเงิน ก่อให้เกิดผลสัมฤทธิในการแก้ไขปัญหาหนี้สินครัวเรือน จนสามารถลดหนี้ ปลดหนี้ ได้ในที่สุด ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดของการดํ าเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน ได้ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาศักยภาพศูนย์จัดการกองทุนชุมชน สู่การเป็นต้นแบบด้านการบริหารจัดการหนี้ ตั งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 - 2564 จํานวน 54 แห่ง ในพื้นที่ 49 จังหวัด และปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จํานวน 27 แห่ง ให้ครอบคลุมทัง 76 จังหวัด
รวมไปถึงศูนย์จัดการกองทุนชุมชนอื่น ๆ ในพื้นที่ใกล้เคียง
ศูนย์จัดการกองทุนสู่การเป็นต้นแบบด้านการบริหารจัดการหนี้ มีผลการด าเนินงานการแก้ไข ปัญหาหนี้สิน มีผลการบริหารจัดการหนี้ที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม บวกกับเทคนิคหรือรูปแบบ (Model) การบริหารจัดการหนี้ที่เหมาะสม สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้จัดการองค์ความรู้รวบรวม เทคนิค รูปแบบ (Model) การบริหารจัดการหนี้ รวมถึงปัจจัยความสาเร็จการดาเนินงาน ของ “ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ ด้านการบริหารจัดการหนี้” ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จานวน 27 แห่ง 27 จังหวัด เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผลส าเร็จการด าเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ให้เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนและ คณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ใช้เป็นแนวทางการขับเคลื่อนการด าเนินงานศูนย์จัดการ กองทุนชุมชนให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุผลสัมฤทธิต่อไป สํานักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน พฤศจิกายน 2565 คํานํา
ทัวประเทศ โดยผ่านกระบวนการคัดเลือกตามหลักเกณฑ์ที่กรมการพัฒนาชุมชนกาหนด เพื่อมุ่งหวัง ให้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการบริหารจัดการหนี้ให้กับคนในชุมชน กลุ่ม / กองทุน / องค์กร การเงินต่าง ๆ ในชุมชน
ที่ผ่านมาพบว่า
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านแม่ฮี้ จังหวัดแม่ฮ่องสอน ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านหนองสะแบง จังหวัดหนองบัวลําภู ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านอ่างทอง จังหวัดนครสวรรค์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านคลองปอ จังหวัดตราด ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านหนองบัว จังหวัดสุโขทัย ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านหนองมะแซว จังหวัดอํานาจเจริญ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านกุงโกน จังหวัดนครพนม ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านคลองใหม่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านทมป่าข่า จังหวัดอุดรธานี ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านหนองสาหร่ายใหม่ จังหวัดพิจิตร ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านดอนมะซ่อม จังหวัดยโสธร ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านเหล่ายาว จังหวัดลําปาง ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านดอนชาด จังหวัดมุกดาหาร ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านเชิงแส จังหวัดสงขลา 9 39 19 49 29 14 44 24 34 59 69 54 64 74 สารบัญ
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านหนองราโพ จังหวัดสตูล ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านบางหวาน จังหวัดภูเก็ต ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านคลองจูด จังหวัดพังงา ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านคลองฝรัง จังหวัดนนทบุรี 79 89 84 95 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านห้วยพลู จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านวังนกไข่ จังหวัดสมุทรสาคร ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านโพธิราษฎร์ จังหวัดอ่างทอง ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านปลายคลอง 18 จังหวัดฉะเชิงเทรา ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านสนามเพ็ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านดวงดี จังหวัดชุมพร ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านคลองเป้ง จังหวัดสมุทรสงคราม ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านพูนทรัพย์ จังหวัดลพบุรี ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านดงตาแทน จังหวัดปราจีนบุรี ข้อเทคนิค 110 119 115 105 129 139 124 134 100 สารบัญ (ต่อ) 144
การพัฒนาประเทศที่ผ่านมา ก่อให้เกิดปัญหาความยากจนและความเหลื่อมลาของประชาชน ทํ า ให้ประชาชนส่วนหนึ่งในชนบท ไม่มีหลักทรัพย์ค าประกันในการกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงิน กรมการพัฒนาชุมชนมีภารกิจหน้าที่ในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน เพื่อให้เศรษฐกิจฐานรากมั นคง และชุมชนพึ่งตนเองได้ จึงได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดตั ง องค์กรการเงินชุมชนในพื้นที่ชนบททัวประเทศ เช่น กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต โครงการแก้ไขปัญหา ความยากจน (กข.คจ.) กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (กทบ.) กลุ่มอาชีพต่าง ๆ ฯลฯ ที่ภาครัฐและ ภาคประชาชนให้การส่งเสริมและสนับสนุน เพื่อให้ประชาชนได้มีโอกาสเข้าถึงแหล่งทุน สามารถกู้ยืม เงินมาลงทุนในการประกอบอาชีพ เพื่อสร้างอาชีพ สร้างรายได้ แต่ปัญหาที่ตามมาคือ “ประชาชนกู้ หลายที่ เป็นหนี้หลายทาง” ก่อให้เกิดปัญหาหนี้สินพอกพูนเพิมขึ้น กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดตัง “ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน” โดยมีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่เข้มแข็งเป็นแกนหลักในการจัดตั งและขับเคลื่อนโดยมี คณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ที่มาจากตัวแทนของกลุ่ม/องค์กรการเงินต่าง ๆ ในหมู่บ้าน/ ชุมชน ดาเนินการบริหารจัดการหนี้ครัวเรือน โดยการปรับโครงสร้างหนี้ ปรับลดอัตราดอกเบี้ย ขยาย ระยะเวลา การช าระหนี้ฯ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนสามารถลดหนี้ และปลดหนี้ได้ในที่สุด โดยมีกระบวนการบริหารจัดการหนี้ 6 ขันตอน ประกอบด้วย (1) การสารวจ/จัดทาฐานข้อมูลลูกหนี้ (2) การวิเคราะห์ข้อมูล/จัดประเภทลูกหนี้ (3) การประชุมหารือ/เจรจาหนี้/หากองทุนรับผิดชอบ (4) การบริหารจัดการหนี้ (5) การสนับสนุนครัวเรือนเป้าหมายเข้าสู่กระบวนการบริหารจัดการหนี้ และ (6) การติดตามผลการดาเนินงาน เพื่อลดความเหลื่อมลาและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในระดับฐานรากให้ได้รับ บริการทางการเงินที่ดีขึ้นในระยะยาว มีแหล่งเงินทุนในการประกอบการ ส่งเสริมให้องค์กรการเงิน ระดับฐานรากและชุมชนมีความเข้มแข็งกลายเป็นแรงขับเคลื่อนที่สาคัญของระบบเศรษฐกิจ รวมทัง ป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นต่อระบบการเงินของประเทศ ส านักพัฒนาทุนและองค์กรการเงิน ชุมชน กรมการพัฒนาชุมชนจึงได้จัดทําหนังสือจัดการองค์ความรู้รวบรวม เทคนิค รูปแบบ (Model) การบริหารจัดการหนี้ รวมถึงปัจจัยความส าเร็จการด าเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ ด้านการบริหารจัดการหนี้ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จการดาเนินงาน และใช้เป็นแนวทาง ให้กับเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ และศูนย์จัดการ กองทุนชุมชนที่เตรียมความพร้อม ที่จะจัดตั งใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ได้นาไปปรับใช้เป็นแนวทางให้เข้ากับพื้นที่บริบทชุมชน ในการขับเคลื่อนการดาเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชนให้มีประสิทธิภาพ และบรรลุผลสัมฤทธิต่อไป บนนํา
ความหมายศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ที่ผ่านกระบวนการคัดเลือกตามหลักเกณฑ์ที่กรมการพัฒนาชุมชน ก าหนด และได้รับการพัฒนาศักยภาพให้เป็นต้นแบบด้านการบริหารจัดการหนี้ สามารถบริหาร จัดการหนี้ให้กับคนในชุมชน มีผลการดาเนินงานที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม มีปัจจัยความสาเร็จเทคนิค หรือรูปแบบ (Model) การบริหารจัดการหนี้ที่เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ โดยการบริหาร จัดการของคณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชนที่มาจากตัวแทนกลุ่ม/กองทุน/องค์กร การเงิน ต่าง ๆ ในชุมชน วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ด้านการ บริหารจัดการหนี้ ที่มีผลการดําเนินงานการแก้ไขปัญหาหนี้สินครัวเรือนชัดเจน เป็นรูปธรรม มีเทคนิค หรือรูปแบบ (Model) การบริหารจัดการหนี้ที่เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทของชุมชน เป้าหมาย เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ และคณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชนที่ เตรียมความพร้อมที่จะจัดตั งใหม่ ได้นาเทคนิคหรือรูปแบบ (Model) การบริหารจัดการหนี้ที่ประสบ ความสําเร็จไปปรับใช้เป็นแนวทางการขับเคลื่อนการดาเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชนให้เข้ากับ พื้นที่บริบทชุมชน บทบาทหน้าที่ • เป็นแหล่งศึกษาและเรียนรู้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบด้านการบริหารจัดการหนี้ • เป็นแหล่งศึกษาและเรียนรู้การบูรณาการบริหารจัดการเงินทุนในชุมชนที่เป็นระบบ โดย การจัดทาฐานข้อมูลทุนชุมชน ฐานข้อมูลหนี้สินครัวเรือน บริหารจัดการหนี้ โดยการปรับโครงสร้างหนี้ • เป็นแหล่งศึกษาและเรียนรู้การส่งเสริมอาชีพครัวเรือนต้นแบบการลดหนี้ ปลดหนี้
สมาชิก • สมาชิกเป็นรายกลุ่ม • กลุ่ม/กองทุนที่เป็นสมาชิกของศูนย์ จัดการกองทุนชุมชนยังคงดํ าเนิน กิจกรรมของกลุ่ม/กองทุนตามเดิม ระเบียบข้อบังคับ • ครอบคลุม/เอื้อต่อการดํ าเนินงาน ของกลุ่ม/กองทุนที่เป็นสมาชิกฯ • ไม่ขัดระเบียบ/กฎหมาย • ผ่านความเห็นชอบ การบริหารจัดการ กิจกรรม • บริหารจัดการหนี้ • บูรณาการการบริหารจัดการกองทุนชุมชน • เสริมสร้างวินัยทางการเงิน ส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้ ” • จัดสวัสดิการ คณะกรรมการ • มาจากตัวแทนกลุ่ม/กองทุน ที่เป็นสมาชิกศูนย์จัดการ กองทุนชุมชน • ผู้นําชุมชน/ผู้ทรงคุณวุฒิ
สนับสนุนครัวเรือน เป้าหมาย ติดตามการดําเนินงาน ปรับ/ลดอัตราดอกเบี้ย สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้ ส่งเสริมอาชีพ ลดรายจ่าย เพิมรายได้ ยืดระยะเวลาการผ่อนชํา ระคืน กําหนดวงเงินกู้ใหม่ หากองทุนรับผิดชอบ พิจารณาจากจํา นวนยอดหนี้ทังหมด ของลูกหนี้เป็นรายครัวเรือน จํา นวนลูกหนี้ทังหมด และศักยภาพ ของลูกหนี้แต่ละราย จัดลําดับยอดหนี้จากน้อยไปหามากหรือ ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่และ ไม่ขัดกับระเบียบฯ ของแต่ละกลุ่ม 5 6 สํารวจข้อมูลกองทุนชุมชน จัดทําฐานข้อมูล ข้อมูลลูกหนี้แต่ละกองทุน ข้อมูลภาวะหนี้สินครัวเรือน สํารวจ/จัดทําฐานข้อมูล 1 วิเคราะห์ข้อมูลกองทุนชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลลูกหนี้ จัดประเภทลูกหนี้ วิเคราะห์ข้อมูล/จัดประเภทลูกหนี้ 2 ดอกเบี้ยเท่ากัน ดอกเบี้ยไม่เท่ากัน ทีมที่ปรึกษาแก้หนี้ ติดตามทุกระดับ ประชุมหารือ/เจรจาหนี้ / หากองทุนรับผิดชอบ 3 ขันตอน กระบวนการบรหารจ ั ดการหน ี ้ บริหารจัดการหนี้ ปรับโครงสร้างหนี้ / โอนภาระหนี้สิน/ ปรับเปลี่ยนสัญญา 4
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านแม่ฮี้ หมู่ที่ 5 ตําบลแม่ฮี้ อําเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านแม่ฮี้
10 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านแม่ฮี้ หมู่ที่ 5 ตําบลแม่ฮี้ อําเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน 1. ความเป็นมา ข้อมูลทัวไปบ้านแม่ฮี้ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 80 โดยผลผลิตทางการ เกษตรที่สําคัญ ได้แก่ กระเทียม ถัวเหลือง ข้าวโพด ข้าว กาแฟ เป็นต้น ประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว์ในครัวเรือน เป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม ร้อยละ 12 ได้แก่ การเลี้ยงไก่ เป็ด โค สุกร กระบือ เป็นต้น นอกจากนี้ยังประกอบ อาชีพรับจ้าง ร้อยละ 5 และอาชีพค้าขาย ร้อยละ 3 สาเหตุปัญหาหนี้สินครัวเรือนบ้านแม่ฮี้ เกิดจากการมีกองทุนชุมชนที่หลากหลาย ครัวเรือนเป็นหนี้กองทุน ต่าง ๆ หลายกองทุน ส่งผลกระทบต่อการวางแผนบริหารจัดการหนี้สิน และนําไปสู่วงจรหนี้หมุนเวียน กู้หลายที่ เป็นหนี้หลายทาง 2. วิสัยทัศน์ “ เป็นแหล่งออมเงินของชุมชน มีการจัดการเงินทุนชุมชนอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ (1 ครัวเรือน 1 สัญญา) จัดสวัสดิการเพื่อช่วยเหลือสมาชิกและชุมชน” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านแม่ฮี้ วันที่ 15 เดือนกรกฎาคม พ ศ. 2553 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านแม่ฮี้ วันที่ 4 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายเสกสรร มะลาง โทร : 08 1746 1398 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 13 คน ชาย 5 คน หญิง 8 คน
11 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 11,757,274 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 6,564,350 255 12 บาท/ปี 1 ปี 8 บาท/ปี 50 เดือน 2. โครงการ กข.คจ. 280,000 1 ปี 1 ปี 3. กองทุนหมู่บ้านฯ 2,300,000 297 6 บาท/ปี 2 ปี 6 บาท/ปี 2 ปี 4. กลุ่มออมทรัพย์พิเศษ 1,067,924 123 8 บาท/ปี 50 เดือน 8 บาท/ปี 50 เดือน 5. ร้านค้าชุมชน 90,000 106 6. กองทุนสงเคราะห์ 14,000 ปัจจุบันเป็นสมาชิกประเภทกลุ่ม ของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 7. กองทุน กนช. 100,000 8. โรงนาดื่มชุมชน 40,000 9. กองทุนเกษตรอินทรีย์ 45,000 10. โครงการสาธิตกิจกรรมฯ 56,000 11. ร้านค้าประชารัฐ 1,200,000 157 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 11 กลุ่ม/ องค์กร/ กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 11,757,274 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านแม่ฮี้ หมู่ที่ 5 ตําบลแม่ฮี้ อําเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
12 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) แนวทางการขับเคลื่อนศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านแม่ฮี้ หมู่ที่ 5 ตําบลแม่ฮี้ อําเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี (ไม่มีหนี้นอกระบบ) 2. เป็น คร ยากจน ที่มีรายได้เฉลี่ย ตากว่าเกณฑ์ (จปฐ.) ตามทะเบียน คร เป้าหมาย 3. ยืมไม่เกิน 5,000 บาท/คร 4. ชําระรายปี (คืนเงินยืม) ผิดนัดชําระ ปรับร้อยละ 12 บาท/ปี อาจยกเลิก หรือลดได้เมื่อได้มติจากที่ประชุม เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี (ไม่มีหนี้นอกระบบ) 2. เป็นสมาชิกไม่น้อยกว่า 6 เดือน 3. กู้สามัญ กู้ได้ร้อยละ 90 ของเงินสัจจะสะสม (ชําระเงินต้นและดอกเบี้ยทุกเดือน ภายใน 50 เดือน) - กู้ไม่เกิน 50,000 บาท ผู้คา 2 คน - กู้ 50,000 - 100,000 บาท ผู้คา 3 คน (ต้องทําประกันชีวิต) - ฉุกเฉิน กู้ไม่เกิน 5,000 บาท (ชําระเงินต้นและดอกเบี้ยทุกเดือน ภายใน 5 เดือน) 4. กู้สามัญ (ชําระเงินต้นและดอกเบี้ยทุกเดือน ภายใน 50 เดือน) และ กู้ฉุกเฉิน (ชําระเงินต้นและดอกเบี้ยทุกเดือน ภายใน 5 เดือน) ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 1 บาท/เดือน อาจยกเลิกหรือลดได้เมื่อได้ มติจากที่ประชุม 2. เพิกถอนการเป็นสมาชิกกลุ่มได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี (ไม่มีหนี้ นอกระบบ) 2. เป็นสมาชิกกลุ่ม 3. กู้ไม่เกิน 20,000 บาท/คร และกู้ฉุกเฉินไม่เกิน 15,000 บาท ชําระเงินต้นพร้อมดอกเบี้ย ภายใน 10 งวด 4. ชําระรายงวด ภายใน 2 ปี ผิดนัดชําระ ปรับร้อยละ 12 บาท/ปี อาจยกเลิก หรือลดได้ เมื่อได้มติจากที่ประชุม
13 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” ปี 2563 - 2564 การส่งเสริมอาชีพเกษตรกรรม โครงการปลูกผักในครัวเรือน ลดรายจ่าย เพิมรายได้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านแม่ฮี้ หมู่ที่ 5 ตําบลแม่ฮี้ อําเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ ศ. 2660 – 2564 ตลอดระยะเวลา 5 ปี มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วม กิจกรรมรวมทังสิน จํานวน 115 ครัวเรือน สามารถบริหารจัดการหนี้ได้ เป็นเงินจํานวนทังสิน 4,113,000 บาท ลดหนี้ จํานวน 104 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 4,067,000 บาท ปลดหนี้และไม่กลับมาเป็นหนี้ซาได้ จํานวน 11 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 46,000 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองใหม่ หมู่ที่ 5 ตําบลวัดประดู่ อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองใหม่
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองใหม่ หมู่ที่ 5 ตําบลวัดประดู่ อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 1. ความเป็นมา บ้านคลองใหม่ หมู่ที่ 5 ตําบลวัดประดู่ แยกหมู่บ้านจากบ้านฉิมหวัง หมู่ที่ 8 ตําบลวัดประดู่ มีประชากร ทังหมด 535 ครัวเรือน ชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นอพยพมาจากภาคกลาง เช่น จังหวัดราชบุรี และจังหวัดนครปฐม อาชีพหลักของประชากรในพื้นที่คือ อาชีพเกษตรกรรม ทําสวนปาล์ม สวนมะพร้าว สวนผักสวนผลไม้ และ รับจ้างทัวไป สาเหตุปัญหาหนี้สินครัวเรือนบ้านคลองใหม่ หมู่ที่ 5 ตําบลวัดประดู่ อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 1. ใช้ในการลงทุนประกอบอาชีพและทําการเกษตร 2. ใช้ในการชําระหนี้สินนอกระบบ 3. ใช้ในการศึกษา เรียนต่อระดับที่สูงขึ้น ประกอบกับในช่วง 2 - 3 ปีที่ผ่านมามีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) ทําให้ความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิกลดน้อยลง เป็นผลให้เกิดปัญหาหนี้สินภาคครัวเรือนมากขึ้น 2. วิสัยทัศน์ “ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมันคง ดํารงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง” 3. จัดตังเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านคลองใหม่ วันที่ 3 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2563 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายสมชาย สุพรรณี โทร : 08 1956 0099 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 15 คน ชาย 5 คน หญิง 10 คน 15 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565
16 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 102,705,380 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 99,328,115 1,300 12 บาท/ปี 80 งวด 9 บาท/ปี 50 งวด 2. กองทุนข้าวสาร (สมาชิกเดียวกันกับ กลุ่มออมทรัพย์ฯ) 300,000 1,300 10 บาท/ปี 1 งวด 1 งวด 3. กองทุนหมู่บ้านฯ 3,347,265 111 12 บาท/ปี 2 งวด 24 งวด 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 3 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 102,705,380 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองใหม่ หมู่ที่ 5 ตําบลวัดประดู่ อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
17 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดีและสมัครใจเข้าร่วมโครงการ 2. กู้ไม่เกิน 30,000 บาท/ครัวเรือน 3. มีการออมต่อเนื่อง 4. ชําราะรายเดือน 5. ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการ 6. ไม่สามารถกู้ใหม่ได้จนกว่าจะชําระหมด ผิดนัดชําระ 1. คณะกรรมการออกหนังสือติดตามหนี้จํานวน 3 ครัง 2. ปรับโครงสร้างหนี้อีกครังแต่ไม่เกิน 1 ปี โดยขึ้นอยู่กับการพิจารณาของคณะกรรมการ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี และสมัครใจเข้าร่วมโครงการ 2. กู้ไม่เกิน 150,000 บาท/ครัวเรือน 3. มีการออมต่อเนื่อง 4. ชําระรายเดือน แต่ไม่เกิน 5 ปี 5. ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการ 6. ไม่สามารถกู้ใหม่ได้จนกว่าจะชําระหมด ผิดนัดชําระ 1. คณะกรรมการออกหนังสือติดตามหนี้จํานวน 3 ครัง 2. ปรับโครงสร้างหนี้อีกครังแต่ไม่เกิน 1 ปี โดยขึ้นอยู่กับ การพิจารณาของคณะกรรมการ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองใหม่ หมู่ที่ 5 ตําบลวัดประดู่ อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) แผนที่ 1 เลือกการปรับลดเงินต้น โดยหักลบจากเงินสะสมของตนเอง แต่ไม่ลดดอกเบี้ย (ร้อยละ 9 ต่อปี) แต่มีสิทธิได้รับเงินปันผล และสวัสดิการต่าง ๆ จากศูนย์จัดการฯ แผนที่ 2 เลือกการปรับลดเงินต้น โดยหักลบจากเงินสะสมของตนเอง และลดดอกเบี้ย (เหลือร้อยละ 5.5 ต่อปี) แต่ไม่มีสิทธิรับ เงินปันผล ยังคงได้รับเพียงสวัสดิการต่าง ๆ จากศูนย์จัดการฯ แผนที่ 3 เฉพาะ ครัวเรือนที่เป็นหนี้นอกระบบหรือยากจน มีการลดเงินต้นโดยหักลบจากเงินสะสมของตนเองและปลอดดอกเบี้ย รวมทังยังได้รับสวัสดิการต่าง ๆ จากศูนย์จัดการฯ คลองใหม่โมเดล กองทุนข้าวสาร (สมาชิกเดียวกันกับ กลุ่มออมทรัพย์ฯ) ระยะเวลาปล่อยกู้ 1 งวด ระยะเวลาปล่อยกู้ 50 งวด ระยะเวลาปล่อยกู้ 24 งวด บาท/ปี บาท/ปี บาท/ปี กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต กทบ.
กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี 2564 การส่งเสริมอาชีพเสี้ยงไก่ไข่ 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองใหม่ หมู่ที่ 5 ตําบลวัดประดู่ อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ ศ. 2564 มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมรวมทังสิน จํานวน 30 ครัวเรือน โดยสามารถบริหารจัดการหนี้ได้ เป็นเงินจํานวนทังสิน 1,895,100 บาท ลดหนี้ จํานวน 18 ครัวเรือน เป็นเงิน จํานวน 1,641,600 บาท ปลดหนี้และไม่กลับมาเป็นหนี้ซาได้ จํานวน 12 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 253,500 บาท ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านคลองใหม่ หมู่ที่ 5 ตําบลวัดประดู่ อําเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี 2564 บริหารจัดการหนี้ 30 คน จํานวน 1,895,100 บาท ลดหนี้ (บาท) คน ปลดหนี้ (บาท) คน 1,641,600 18 253,500 12 18 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านอ่างทอง หมู่ที่ 3 ตําบลอ่างทอง อําเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านอ่างทอง
20 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านอ่างทอง หมู่ที่ 3 ตําบลอ่างทอง อําเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ 1. ความเป็นมา บ้านอ่างทอง ตั งอยู่ที่ตําบลอ่างทอง อําเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ เป็นหมู่บ้านเก่าแก่ก่อตั งมา เกือบ 100 ปี อยู่ในพื้นที่ที่มีคลองส่งนาซึ่งไหลมาจากแม่ นาปิงของอําเภอบรรพตพิสัย และเป็นแหล่งพันธุ์ไม้ นานาชนิด ชาวบ้านอ่างทองอพยพมาอาศัยในรุ่นแรกๆ นัน คือต้นตระกูล “สีระวัตร” อพยพมาจากบ้านบ่อกุ อํ า เภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี มาตั งรกรากถิ นฐานอยู่บริเวณที่ท่าหินแร่ ตํ า บลหนองกระโดน อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ในปี พ.ศ. 2442 ได้ไปพบแอ่งนาขนาดใหญ่ไม่ไกลจากที่พัก เป็นอ่างนาลึก และนาใส ไม่เหมือนกับนาที่เคยพบเห็นทัวไป ชาวบ้านจึงตั งชื่อว่า อ่างนาทอง 2. วิสัยทัศน์ “เก็บออมในวันนี้ เพื่ออนาคตที่ดีในวันข้างหน้า” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านอ่างทอง วันที่ 8 เดือนมีนาคม พ ศ. 2554 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านอ่างทอง พ.ศ. 2560 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายอําพร สีระวัต โทร : 08 7204 4767 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 15 คน ชาย 7 คน หญิง 8 คน
21 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 8,975,633.63 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 2,671,948.69 228 คน 8 บาท/ปี 1 ปี 8 บาท/ปี 1 ปี 2. โครงการ กข.คจ. 456,341.58 197 คร เงินบริจาค เงินบริจาค 3. กองทุนหมู่บ้านฯ 4,072,533.81 229 คน 8 บาท/ปี 8 บาท/ปี 4. กองทุนสุขาภิบาล 62,000 197 คร. 5. กลุ่มเกษตรกรผู้ทํานา 1,700,000 46 คน 12 บาท/ปี 6. กองทุนแม่ฯ 12,809.55 229 คน 7. กองทุนผู้สูงอายุ 8. กองทุนพัฒนา บทบาทสตรี 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 8 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 8,975,633.63 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านอ่างทอง หมู่ที่ 3 ตําบลอ่างทอง อําเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์
22 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ระย ะ เ ว ล า ป ล อ ย ก 1 ป ระยะเวลาปลอยก ู ้ 1ปี ระยะเวลาปล ่ อยก ู 1ป ยะร ะ เ ว ล า ป ล อ ย ก 1 ป ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านอ่างทอง หมู่ที่ 3 ตําบลอ่างทอง อําเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) เงื่อนไข 1. ลูกหนี้ดี มีวินัย 2. กู้ไม่เกิน 100,000 บาท 3. ระดมหุ้นๆ ละ 50 บาท 4. ชําระคืนรายปี 5. สมาชิกที่เป็นเกษตรกรทํานาเท่านัน ผิดนัดชําระ พิจารณาตามมติคณะกรรมการ เป็นรายกรณี เงื่อนไข 1. ลูกหนี้ดี มีวินัย 2. กู้ไม่เกิน 35,000 บาท/คร กรณีกู้เกิน ต้องได้รับมติอนุมติจาก สมาชิก แต่ไม่เกิน 75,000 บาท/คร 3. ออม (ตามศักยภาพสมาชิก) 4. ชําระคืนรายปี 5. ต้องเปานสมาชิก ผิดนัดชําระ สามารถทําสัญญาขอขยายเวลาการชําระคืน โดยมติคณะกรรมการ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้ดี มีวินัย 2. กู้ไม่เกิน 100,000 บาท/คร 3. ออมเดือนละ 50 บาท 4. ชําระคืนรายปี 5. ต้องเป็นสมาชิก ผิดนัดชําระ 1. ปรับ 3% 2. ไม่สามารถกู้เพิมจากวงเงินเดิมได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้ดี มีวินัย 2. ยืมไม่เกิน 20,000 บาท/คร 3. ชําระคืนรายปี 4. ส่งเสริมอาชีพ 5. ผู้ที่มีรายได้น้อย ผิดนัดชําระ พิจารณาให้หยุดยืม โดยมติที่ประชุมประชาคม เงื่อนไข สําหรับการส่งเสริมแก้ไขปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน เงื่อนไข 1. เป็นสมาชิกในหมู่บ้าน 2. กู้เพื่อบริหารจัดการบ้านเรือน ให้ถูกสุขลักษณะ - สร้างห้องนา คร ละ 3,000 บาท - สร้างที่เก็บนาดื่ม/โอ่ง คร ละ 2,000 บาท - ตู้กับข้าว คร ละ 1,500 บาท ชําระคืนรายปี
23 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี 2561 การส่งเสริมอาชีพ ทําดอกไม้จันทน์ ปี 2560 การส่งเสริมอาชีพ ทอพรมเช็ดเท้า ปี 2562 การส่งเสริมอาชีพการแปรรูป จากพืชพื้นถิน เช่น หญ้าแฝก ต้นกก ผักตบชวา ต้นไผ่ ผลการปรับโครงสร้างหนี้ มีจํา นวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมรวมทังสิ น จํา นวน 90 ครัวเรือน โดย สามารถลดหนี้ จํานวน 25 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 215,000 บาท ปลดหนี้และไม่กลับมาเป็นหนี้ซาได้ จํานวน 3 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 100,000 บาท ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านอ่างทอง หมู่ที่ 3 ตําบลอ่างทอง อําเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ บ้านหนองสาหร่ายใหม่ หมู่ที่ 3 ตําบลคลองทราย อําเภอสากเหล็ก จังหวัดพิจิตร คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองสาหร่ายใหม่
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองสาหร่ายใหม่ หมู่ที่ 3 ตําบลคลองทราย อําเภอสากเหล็ก จังหวัดพิจิตร 1. ความเป็นมา บ้านหนองสาหร่ายใหม่ มีจํานวน 119 ครัวเรือน ประชากรทังสินจํานวน 361 คน ประกอบด้วย ชาย 195 คน หญิง 166 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทําสวนมะม่วง จํานวน 46 ครัวเรือนทํานา จํานวน 21 ครัวเรือน ทําไร่ จํานวน 3 ครัวเรือน นอกจากนี้ยังมีอาชีพรับจ้าง เช่น แรงงานในการทําสวนมะม่วง เป็นการใช่แรงงาน ภายในชุมชน มีการบริหารจัดการโดยแบ่งคุ้มเป็น จํานวน 10 คุ้ม กลุ่ม/องค์กร/กองทุนการเงินหลักที่สามารถบูรณาการจัดตังเป็นศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ประกอบด้วย กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ก่อตังเมื่อ พ ศ. 2544 โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข คจ.) ได้รับจัดสรร งบประมาณ เมื่อ พ ศ. 2544 กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านหนองสาหร่ายใหม่ ก่อตั งขึ้นเมื่อ พ ศ. 2552 จนกระทัง วันที่ 17 กันยายน 2563 ได้ดําเนินการจัดตั งศูนย์จัดการกองทุนชุมชน 2. วิสัยทัศน์ “แหล่งผลิตมะม่วงคุณภาพ สินค้าเกษตรปลอดภัย ประชาชนมีคุณภาพตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง” 3. จัดตังเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านหนองสาหร่ายใหม่ วันที่ 17 เดือนกันยายน พ ศ. 2563 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นางดวงใจ ทศอินทร์ โทร : 08 6202 1911 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 15 คน ชาย 8 คน หญิง 7 คน 25 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565
26 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 3,263,533.06 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 318,329.76 52 12 บาท/ปี 1 ปี 5 บาท/ปี 1 ปี 2. โครงการ กข.คจ. 456,341.58 92 3 บาท/ปี (เงินบริจาค) 5 บาท/ปี (เงินบริจาค) 3. กองทุนหมู่บ้านฯ 2,630,203.3 53 5 บาท/ปี 5 บาท/ปี 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 3 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมีกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (กทบ.) เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการ กองทุนชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 3,263,533.06 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองสาหร่ายใหม่ หมู่ที่ 3 ตําบลคลองทราย อําเภอสากเหล็ก จังหวัดพิจิตร
27 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองสาหร่ายใหม่ หมู่ที่ 3 ตําบลคลองทราย อําเภอสากเหล็ก จังหวัดพิจิตร 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกิน 75,000 บาท /คร (สมาชิกใหม่ 10,000 บาท) 3. ออมในกองทุนเงินหุ้น 300 บาท 4. ชําระรายปี ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 10 บาท/ปี 2. ไม่มีเครดิต เงื่อนไข 1. ลูกหนี้ดีมีวินัย 2. กู้ได้ไม่เกินจํานวนเงินออม เช่นมีออม 20,000 บาท ให้กู้ 15,000 บาท 3. การออม 3.1 ออมปกติตามเงื่อนไขกลุ่มออมทรัพย์ฯ (สมาชิกที่ออมทุกเดือน) 3.2 ออมในกองทุนเงินหุ้น 300 บาท 4. ชําระรายปี 5. สมาชิกที่เป็นเกษตรกรทํานาเท่านัน ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 10 บาท/ปี 2. ไม่มีเครดิต เงื่อนไข 1. ลูกหนี้ดีมีวินัย 2. ยืมไม่เกิน 33,000 บาท/คร 3. ออมในกองทุนเงินหุ้น 300 บาท 4. ชําระรายปี ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 10 บาท/ปี 2. ไม่มีเครดิต
28 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย การส่งเสริมอาชีพเลี้ยงหนูพุก หนูแผง ปี 2564 การส่งเสริมอาชีพเลี้ยงตะพาบ 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองสาหร่ายใหม่ หมู่ที่ 3 ตําบลคลองทราย อําเภอสากเหล็ก จังหวัดพิจิตร 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ.ศ. 2564 มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมรวมทังสิน จํานวน 30 ครัวเรือน โดยสามารถบริหารจัดการหนี้ได้ เป็นเงินจํานวนทังสิน 1,118,050 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองบัว หมู่ที่ 6 ตําบลท่าชัย อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองบัว
30 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองบัว หมู่ที่ 6 ตําบลท่าชัย อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย 1. ความเป็นมา บ้านหนองบัวเป็นหมู่บ้านนาท่วมซาซาก สมัยก่อนมีหนองนา มีดอกบัวขึ้นในหนองสวยงามมาก จึงต้อง ชื่อหมู่บ้านหนองบัว สมัยก่อนในนามีปลาในนามีข้าว พื้นที่ราบลุ่มที่ดอน ฤดูฝนนาท่วมทุกปี ฤดูแล้งนาแห้งไม่ พอใช้ พื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตป่า ไม่มีเอกสารสิทธิ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ทํานาข้าว นาผักบุ้งไร่อ้อย หอมแดง มีความเป็นอยู่พอมีพอใช้ สาเหตุปัญหาหนี้สินครัวเรือนบ้านหนองบัว เนื่องจากแต่เดิมครัวเรือนบ้านหนองบัวมีเป็นหนี้กองทุนต่าง ๆ ในหมู่บ้าน ทังที่ชาวบ้านรวมตัวกันก่อตั งและจัดตั งโดยภาครัฐ ความแตกจากจากวัตถุประสงค์ที่ก่อตั งทําให้ เกิดเงื่อนไขที่แตกต่างกันส่งผลต่อการบริหารจัดการหนี้ต่างกัน นําไปสู่การหมุนหนี้ กู้หลายที่ เป็นหนี้หลายทาง เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาหนี้สินครัวเรือนให้เกิดความมีประสิทธิภาพแลประสิทธิผลจึงได้จัดตั ง ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านหนองบัว โดยมีคณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชนเป็นกลไกลสําคัญในการ ขับเคลื่อนศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทําหน้าที่แก้ไขปัญหาหนี้สินครัวเรือนสามารถบริหารจัดการเงินทุนชุมชน อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด 2. วิสัยทัศน์ “ทุนชุมชนมันคง ซื่อตรงการบริหาร สร้างความโปร่งใส ใส่ใจการบริการ” 3. จัดตังเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านหนองบัว วันที่ 30 เดือนมีนาคม พ ศ. 2562 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายณรงค์ เฉิดฉาย โทร : 08 4818 6046 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 15 คน ชาย 7 คน หญิง 8 คน
31 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 4,738,318 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 978,669 261 12 บาท/ปี 1 ปี 5 บาท/ปี 1 ปี 2. โครงการ กข.คจ. 337,400 38 3 บาท/ปี 3. กองทุนหมู่บ้านฯ 2,721,009 250 10 บาท/ปี 4. หุ้นกองทุนหมู่บ้าน 158,000 250 5. กลุ่มข้าวบ้านหนองบัว 391,000 110 6. กลุ่มปุ๋ยบ้านหนองบัว 310,240 110 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 6 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 4,738,318 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองบัว หมู่ที่ 6 ตําบลท่าชัย อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
32 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองบัว หมู่ที่ 6 ตําบลท่าชัย อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย บ้านหนองบัว โมเดล บาท/ปี ระยะเวลาการ ปล่อยกู้ 1 ปี กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต กทบ. หุ้นกองทุน หมู่บ้าน กลุ่มปุ๋ย บ้านหนองบัว กลุ่มข้าว บ้านหนองบัว โครงการ กข.คจ. เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. เป็นสมาชิกออมทรัพย์ฯ 3. ชําระรายปี 4. ออมต้นชําระหนี้ 5. ออมดอกเบี้ยชําระหนี้ ผิดนัดชําระ พิจารณาเป็นรายกรณี เงื่อนไข 1. ลูกหนี้ดีมีวินัย 2. ชําระรายปี 3. ออมต้นชําระหนี้ 4. ออมดอกเบี้ยชําระหนี้ ผิดนัดชําระ พิจารณาเป็นรายกรณี เงื่อนไข 1. ลูกหนี้ดีมีวินัย 2. กู้ไม่เกิน 75,000 บาท/คร 3. ชําระรายปี 4. ออมต้นชําระหนี้ 5. ออมดอกเบี้ยชําระหนี้ ผิดนัดชําระ พิจารณาเป็นรายกรณี
33 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองบัว หมู่ที่ 6 ตําบลท่าชัย อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี พ ศ. 2562 - 2564 การส่งเสริมอาชีพปลูกผักสวนครัว ทํากระถางต้นไม้จากยางรถยนต์ เพาะเห็ดนางฟ้า 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ ศ. 2662 – 2564 ตลอดระยะเวลา 3 ปี มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรม รวมทังสิ น จํานวน 200 ครัวเรือน โดยสามารถบริหารจัดการหนี้ได้ เป็นเงินจํานวนทังสิ น 14,123,150 บาท ลดหนี้ จํานวน 49 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 310,744 บาท ปลดหนี้และไม่กลับมาเป็นหนี้ซาได้ จํานวน 1 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 10,000 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านเหล่ายาว หมู่ที่ 4 ตําบลเสริมกลาง อําเภอเสริมงาม จังหวัดลําปาง คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านเหล่ายาว
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านเหล่ายาว หมู่ที่ 4 ตําบลเสริมกลาง อําเภอเสริมงาม จังหวัดลําปาง 1. ความเป็นมา กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านเหล่ายาว หมู่ 4 ตําบลเสริมกลาง อําเภอเสริมงาม เป็นกลุ่มเป้าหมาย ในการจัดตั งเป็นสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน เนื่องจากเป็นกลุ่ม ที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่กําหนด เป็นกองทุนที่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ จนได้รับคัดเลือกเป็นกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ดีเด่นระดับจังหวัด ตามโครงการเชิดชูเกียรติผู้นําเครือข่ายพัฒนาชุมชนดีเด่นประจําปี 2551 ประกอบกับ คณะกรรมการและสมาชิกมีความพร้อมและเต็มใจที่จะพัฒนากลุ่มเพื่อจัดตังเป็นสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนขึ้น และเปิดทําการวันแรกในวันที่ 20 มิถุนายน 2552 และเปิดรับสมัครสมาชิก โดยกําหนดเปิดทําการอาทิตย์ละ 1 วัน ในวันพุธกลางสัปดาห์ จังหวัดได้จัดฝึกอบรมเสริมสร้างทักษะคณะกรรมการบริหารสถาบันการจัดการเงิน ทุนชุมชน ได้นําคณะกรรมการไปฝึกทักษะเพื่อเพิมพูนประสบการณ์ ณ สถาบันการเงินทุนชุมชนบ้านทุ่งฮ้าง หมู่ที่ 1 ตําบลทุ่งผึ้ง อําเภอแจ้ห่ม ทําให้คณะกรรมการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการ และได้ นําความรู้จากการฝึกประสบการณ์จริงมาปรับปรุงแก้ไขการดํ าเนินงานของสถาบันให้ดีขึ้น ปัจจุบันมีสมาชิก จํานวน 831 คน 2. วิสัยทัศน์ “ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านเหล่ายาว จะก้าวเดินไปสู่การเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ที่เข้มแข็ง เป็นแหล่งเรียนรู้ สู่แหล่งเงินออม พร้อมแหล่งเงินทุน และ มุ่งดําเนินงานด้วยความโปร่งใส มีวินัย ใช้คุณธรรม นําพาคุณภาพชีวิต ตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านเหล่ายาว วันที่ 20 เดือนมิถุนายน พ ศ. 2552 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านเหล่ายาว วันที่ 30 เดือนมีนาคม พ ศ. 2561 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายเทพ เชียงคํา โทร : 09 6228 0236 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 20 คน ชาย 2 คน หญิง 18 คน 35 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565
36 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 5,309,139 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะ เวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะ เวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 4,478,485 378 24 บาท/ปี ไม่จํากัด 12 บาท/ปี 5 ปี 2. กลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์ 2,100 405 ไม่มีการปล่อยกู้ 3. กลุ่มหัตกรรม 122,600 10 ไม่มีการปล่อยกู้ 4. กลุ่มผู้ใช้นา 206,800 108 ไม่มีการปล่อยกู้ 5. กลุ่มกองทุนสุขาภิบาล 320,950 265 ไม่มีการปล่อยกู้ 6. กลุ่มเลี้ยงสุกร 42,570 20 ไม่มีการปล่อยกู้ 7. กลุ่มเลี้ยงวัว 7,200 68 ไม่มีการปล่อยกู้ 8. กลุ่มร้านค้าชุมชน 52,400 298 12 บาท/ปี 15 ปี 9. กลุ่มธนาคารขยะ 42,200 156 ไม่มีการปล่อยกู้ 10. กองทุนสวัสดิการชุมชน 16,334 298 8 บาท/ปี 3 ปี 11. กลุ่มเย็บผ้า 17,500 15 ไม่มีการปล่อยกู้ 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทั งหมด 11 กลุ่ม / องค์กร / กองทุนการเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการ กองทุนชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 5,309,139 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านเหล่ายาว หมู่ที่ 4 ตําบลเสริมกลาง อําเภอเสริมงาม จังหวัดลําปาง
37 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านเหล่ายาว หมู่ที่ 4 ตําบลเสริมกลาง อําเภอเสริมงาม จังหวัดลําปาง 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) บ้านเหล่ายาวโมเดล บาท/ปี ระยะเวลาการ ปล่อยกู้ 5 ปี เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกิน 20,000 บาท/คร 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ออมขันตา 500 บาท 5. ชําระรายปี 6. เป็นสมาชิกเงินออม ปลดหนี้ ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 2 บาท/วัน 2. ไม่มีเครดิต/ ไม่สามารถกู้เงิน ฉุกเฉินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกิน 5,000 บาท/คร. 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ชําระรายปี ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 2 บาท/วัน 2. ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถ กู้เงินฉุกเฉินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกิน 2,000 บาท/คร. 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ชําระรายปี ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 2 บาท/วัน 2. ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถ กู้เงินฉุกเฉินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ยืมไม่เกิน 10,000 บาท/คร. 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ออมขันตา 100 บาท 5. ชําระรายปี ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 2 บาท/วัน 2. ไม่มีเครดิต/ ไม่สามารถกู้เงิน ฉุกเฉินได้ • จัดตัง พ.ศ. 2533 • ทุน 4,478,485 บาท • ให้คืนเงินยืม 5 ปี • จัดตัง พ.ศ. 2528 • ทุน 206,800 บาท • ให้คืนเงินยืม 1 ปี • จัดตัง พ.ศ. 2500 - 2550 • ทุน 302,904 บาท • ให้คืนเงินยืม 1 ปี • จัดตัง พ.ศ. 2538 • ทุน 320,950 บาท • ให้คืนเงินยืม 1 ปี
38 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี 2560 - 2561 การส่งเสริมอาชีพการทํานายาล้างจาน การเลี้ยงจิงหรีด 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านเหล่ายาว หมู่ที่ 4 ตําบลเสริมกลาง อําเภอเสริมงาม จังหวัดลําปาง 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ ศ. 2660 – 2564 ตลอดระยะเวลา 5 ปี มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วม กิจกรรมรวมทังสิน จํานวน 85 ครัวเรือน โดยสามารถบริหารจัดการหนี้ได้ เป็นเงินจํานวนทังสิน 1,324,50 บาท ลดหนี้ จํานวน 62 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 1,075,500 บาท ปลดหนี้และไม่กลับมาเป็นหนี้ซาได้ จํานวน 15 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 248,800 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองสะแบง หมู่ที่ 6 ตําบลโคกใหญ่ อําเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลําภู คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองสะแบง
40 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองสะแบง หมู่ที่ 6 ตําบลโคกใหญ่ อําเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลําภู 1. ความเป็นมา บ้านหนองสะแบง หมู่ 6 ตําบลโคกใหญ่ อําเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลําภู มีทุนชุมชนที่หลากหลาย และมีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านหนองสะแบง เป็นกลุ่มออมทรัพย์ที่มีระดับการพัฒนาที่เข้มแข็ง (ระดับ 3) กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตได้มาตรฐาน SSG กลุ่มออมทรัพย์ธรรมมาภิบาลดีเด่น จึงเป็นพื้นที่จัดตั ง สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านหนองสะแบง เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2555 โดยได้รับงบประมาณสนับสนุน จากกรมการพัฒนาชุมชนในการขับเคลื่อนกิจกรรมสู่การจัดตั งศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านหนองสะแบง 2. วิสัยทัศน์ “พัฒนาคน พัฒนาหนี้ ชีวีเบิกบาน” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านหนองสะแบง วันที่ 2 เดือนมิถุนายน พ . ศ . 2555 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านหนองสะแบง พ ศ 2560 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ร ต ท กัณหา สีนาง โทร. 08 2101 0883 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 10 คน ชาย 1 คน หญิง 9 คน
41 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 7,444,330 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 4,622,080 615 12 บาท 1 ปี 12 บาท 5 ปี 2. โครงการ กข.คจ. 280,250 118 สัญญาละ 100 บาท สัญญาละ 100 บาท 1 ปี 3. กองทุนหมู่บ้านฯ 2,200,000 415 6 บาท 6 บาท 2 ปี 4. กองทุนปุ๋ย 152,000 214 กระสอบละ 20 บาท 6 เดือน กระสอบละ 20 บาท 6 เดือน 5. กลุ่มทอผ้า 50,000 23 12 บาท 1 ปี 12 บาท 5 ปี 6. สภาชุมชน 140,000 129 12 บาท 3 ปี 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 6 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 7,444,330 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองสะแบง หมู่ที่ 6 ตําบลโคกใหญ่ อําเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลําภู
42 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1 ปี ระยะเวลา ปล่อยกู้ 5 ปี ระยะเวลา ปล่อยกู้ 2 ปี ระยะเวลา ปล่อยกู้ 3 ปี ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองสะแบง หมู่ที่ 6 ตําบลโคกใหญ่ อําเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลําภู 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) เงื่อนไข 1. เป็นคร ยากจนในบัญชี 2. ระยะเวลา 1 ปี 3. ชําระรายปี 4. เป็นสมาชิก 5. บริจาคสัญญาละ 100 บาท 6. ยืมได้ไม่เกิน 8,000 ผิดนัดชําระ ไม่มีเครดิต/ ไม่สามารถกู้เงินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ระยะเวลา 5 ปี 3. ชําระรายปี 4. เป็นสมาชิก 1 ปีขึ้นไป 5. ดอกเบี้ย 12 บาท/ปี 6. กู้ได้ไม่เกิน 30,000 บาท ผิดนัดชําระ ไม่สามารถกู้เงิน ฉุกเฉินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ระยะเวลา 2 ปี 3. ชําระรายปี 4. เป็นสมาชิก 1 ปีขึ้นไป 5. ดอกเบี้ย 6 บาท/ปี 6. กู้ได้ไม่เกิน 30,000 บาท ผิดนัดชําระ ไม่สามารถกู้เงิน ฉุกเฉินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ระยะเวลา 3 ปี 3. ชําระรายปี 4. เป็นสมาชิก 5. ดอกเบี้ย 12 บาท/ปี 6. กู้ได้ไม่เกิน 10,000 บาท ผิดนัดชําระ ไม่สามารถกู้เงิน ฉุกเฉินได้
43 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี 2561 - 2564 การส่งเสริมอาชีพเลี้ยงโค ทํานาปรัง ปลูกผักสวนครัว ทอผ้า 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ ศ. 2663 – 2564 มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมรวมทังสิน จํานวน 60 ครัวเรือน โดยสามารถบริหารจัดการหนี้ได้ จํานวน 57 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวนทังสิน 2,271,000 บาท ลดหนี้ จํานวน 32 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 122,500 บาท ปลดหนี้และไม่กลับมาเป็นหนี้ซาได้ จํานวน 3 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 84,000 บาท ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองสะแบง หมู่ที่ 6 ตําบลโคกใหญ่ อําเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลําภู
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านทมป่าข่า หมู่ที่ 3 ตําบลทมนางาม อําเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านทมป่าข่า
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านทมป่าข่า หมู่ที่ 3 ตําบลทมนางาม อําเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี 1. ความเป็นมา บ้านทมป่าข่า หมู่ 3 ตําบลทมนางาม อําเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี ได้เป็นหมู่บ้านที่มีกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต ที่มีระดับการพัฒนาที่เข้มแข็ง (ระดับ 3) และสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอโนนสะอาด ได้คัดเลือก ให้เป็นหมู่บ้านสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน (เดิม) ในปีงบประมาณ 2560 และในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน” โดยมีการรวมตัวของกลุ่ม/องค์กร/กองทุนการเงินที่มีอยู่ในหมู่บ้าน ทังที่จัดตังโดย ภาคประชาชน และสนับสนุนจากภาครัฐ โดยการบูรณาการข้อมูลในพื้นที่ และบูรณาการเชื่อมโยงการบริหาร จัดการเงินทุนในหมู่บ้านให้สามารถใช้เงินทุนอย่างคุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด 2. วิสัยทัศน์ “ เป็นศูนย์กลางโครงข่ายการเรียนรู้เงินทุน ในการแก้ไขปัญหาของหมู่บ้าน / ชุมชนพึ่งตนเอง อย่างพอเพียงและยังยืน สร้างภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจและสังคม” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านทมป่าข่า วันที่ 27 เดือนมกราคม พ.ศ. 2560 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านทมป่าข่า วันที่ 8 เดือนพฤษภาคม พ ศ. 2561 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายคําพอง ทรทึก โทร : 08 2117 5740 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 8 คน ชาย 4 คน หญิง 4 คน 45 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565
46 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 4,429,420 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงิน ทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 749,420 97 5 บาท/ปี 3 ปี 8 บาท/ปี 1 ปี 2. โครงการ กข.คจ. 280,000 50 3 ปี 3 ปี 3. กองทุนหมู่บ้านฯ 3,400,000 110 6 บาท/ปี 1 ปี 1 ปี 4. กลุ่มทอผ้าฝ้าย 12,881 30 5. กลุ่มไม้กวาดดอกหญ้า 27,553 50 6. กลุ่มดอกไม้จันทน์ 3,200 20 7. กลุ่มจักสานจากเสื่อกก 5,000 20 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 3 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 4,429,420 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านทมป่าข่า หมู่ที่ 3 ตําบลทมนางาม อําเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี
47 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านทมป่าข่า หมู่ที่ 3 ตําบลทมนางาม อําเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี บ้านทมป่าข่าโมเดล อัตราดอกเบี้ย บาท ต่อปี โครงการ กข.คจ. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต กองทุน หมู่บ้านฯ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ยืมไม่เกิน 20,000 บาท/คร. 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ออมขันตา 100 บาท 5. ชําระรายปี 6. เป็นสมาชิกเงินออมปลดหนี้ ผิดนัดชําระ ปรับร้อยละ 2 บาท/วัน เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกิน 35,000 บาท/คร 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ชําระคืนรายปี ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 2 บาท/วัน 2. เสียเครดิต/ไม่สามารถ กู้ฉุกเฉินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกิน 30,000 บาท/คร 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ออมขันตา 100 บาท 5. ชําระรายปี ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 2 บาท/วัน 2. เสียเครดิต/ไม่สามารถ กู้ฉุกเฉินได้ 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) ร ะ ยะเวลาปลอยก ู ้ 1ปี ระยะเวลาปล ่ อยก ู ้ 1ป ระยะเวลาค ื นเง ิ นย ื ม 3 ป
48 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมายปี 2561 และ 2563 – 2564 การส่งเสริมอาชีพการทําไม้กวาดดอกหญ้า ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านทมป่าข่า หมู่ที่ 3 ตําบลทมนางาม อําเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ.ศ. 2660 – 2564 ตลอดระยะเวลา 5 ปี มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วม กิจกรรมรวมทังสิน จํานวน 150 ครัวเรือน โดยสามารถบริหารจัดการหนี้ได้ จํานวน 126 คน เป็นเงินจํานวนทัง สิน 4,329,420 บาท ลดหนี้ จํานวน 124 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 421,00 บาท ปลดหนี้และไม่กลับมาเป็น หนี้ซาได้ จํานวน 2 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 55,000 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองปอ หมู่ที่ 2 ตําบลแหลมงอบ อําเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองปอ
50 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองปอ หมู่ที่ 2 ตําบลแหลมงอบ อําเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด 1. ความเป็นมา บ้านคลองปอ มีกลุ่มกองทุนการเงินต่าง ๆ อยู่หลายกลุ่ม เห็นได้จากการที่มีกลุ่มกองทุนการเงินที่ หลากหลาย ทําให้หมู่บ้านเกิดความซาซ้อนของการบริหารจัดการ ไม่ว่าจะเป็นคณะกรรมการกองทุนที่ส่วนใหญ่ จะเป็นบุคคลคนเดียวกันทุกกองทุน รวมไปถึงสมาชิกของกองทุนต่าง ๆ ที่ส่วนใหญ่จะเป็นสมาชิกของกองทุน ประกอบกับกรมการพัฒนาชุมชนได้ส่งเสริม/สนับสนุนให้หมู่บ้าน จัดตังสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน โดยให้ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่เข้มแข็งและมีความพร้อมเป็นแกนนําในการจัดตั ง โดยบูรณาการกองทุนชุมชน เข้าด้วยกัน เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนชุมชนเป็นไปอย่างมีเอกภาพ และมีประสิทธิภาพในการใช้เงิน กองทุนในการช่วยเหลือหรือแก้ไขปัญหาของหมู่บ้าน ตลอดจนสวัสดิการให้กับประชาชนในหมู่บ้านด้วย สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านคลองปอได้จัดตังในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 โดยสํานักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดตราด ได้คัดเลือกให้กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านคลองปอ หมู่ที่ 2 ตําบลแหลมงอบ เป็นแกนหลัก ในการจัดตั งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน” ทั งนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านคลองปอ ให้ความสํ า คัญกับการส่งเสริมการออม ด้วยการใช้ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นกองทุนหลักในการบริหารหนี้ และการลดภาระหนี้ของคนในชุมชน จึงทําให้ การดําเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2. วิสัยทัศน์ “วิถีชีวิต สร้างเศรษฐกิจชุมชน มุ่งเห็นผลการแก้ไขปัญหาหนี้ ด้วยศูนย์จัดการกองทุนชุมชน” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านคลองปอ วันที่ 30 เดือนมิถุนายน พ ศ. 2553 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านคลองปอ เดือนมกราคม พ ศ. 2561 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นางรุ่งนภา เที่ยงตรง โทร : 08 1865 5674 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 9 คน ชาย 1 คน หญิง 8 คน
51 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 13,016,339.97 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 10,183,763.81 207 1 บาท/ เดือน ไม่กําหนด ระยะเวลา (ชําระเงินต้น ขันตา เดือนละ ไม่น้อยกว่า 500 บาท) 80 สตางค์/ เดือน ไม่กําหนด ระยะเวลา (ชําระเงินต้น ขันตา เดือนละ ไม่น้อยกว่า 500 บาท) 2. กองทุนหมู่บ้านฯ 2,832,576.16 114 5 บาท/ปี 2 ปี 5 บาท/ปี 1 ปี 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 2 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 13,016,339.97 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองปอ หมู่ที่ 2 ตําบลแหลมงอบ อําเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด รวมหนี้ คือ การปรับโครงสร้างหนี้ให้ ครัวเรือนที่มีหนี้หลายสัญญา ให้คงเหลือ เพียง 1 สัญญา (ลดสัญญาเงินกู้จากเดิม)
52 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองปอ หมู่ที่ 2 ตําบลแหลมงอบ อําเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด บ้านคลองปอโมเดล กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต กองทุนหมู่บ้านฯ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. เป็นสมาชิกกลุ่ม 3. กู้ไม่เกิน 20,000 บาท/คร. กรณีกู้เกิน 20,000 บาท ต้องผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการ 4. ชําระรายปี ภายใน 2 ปี ดอกเบี้ย ร้อยละ 5 ปีต่อปี ผิดนัดชําระ เรียกเก็บจากคนคาประกัน เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. เป็นสมาชิกไม่น้อยกว่า 6 เดือน 3. กู้สามัญ - กู้ได้ 2 เท่าของเงินสัจจะสะสม (ไม่เป็นสมาชิกฌาปนกิจ) - กู้ได้ 3 เท่าของเงินสัจจะสะสม (เป็นสมาชิกฌาปนกิจ) - กู้ไม่เกิน 150,000 บาท - ผู้คา 1 คน ต่อวงเงิน 20,000 บาท - ผู้กู้ต้องทําประกันชีวิต 4. กู้สามัญ ชําระเงินต้นและดอกเบี้ยทุกเดือน โดยที่เงินต้นต้องไม่น้อยกว่า 500 บาท ผิดนัดชําระ เรียกเก็บจากคนคาประกัน
53 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองปอ หมู่ที่ 2 ตําบลแหลมงอบ อําเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี 2560 -2562 การส่งเสริมอาชีพการทํายาหม่องเสลดพังพอน การเผาถ่านด้วยเตา 200 ลิตร การทําสบู่สมุนไพร 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ.ศ. 2660 – 2564 ตลอดระยะเวลา 5 ปี มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วม กิจกรรมรวมทังสิ น จํานวน 150 ครัวเรือน โดยสามารถบริหารจัดการหนี้ได้ จํานวน 36 คน เป็นเงินจํานวน ทังสิน 1,550,000 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดอนมะซ่อม หมู่ที่ 4 ตําบลโคกสําราญ อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดอนมะซ่อม
55 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดอนมะซ่อม หมู่ที่ 4 ตําบลโคกสําราญ อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร 1. ความเป็นมา นายพา บุพจันดา เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก ปัจจุบันประชากร มีจํานวน 126 ครัวเรือน 462 คน ประกอบด้วย ชาย 236 คน หญิง 226 คน ภูมิอากาศ บ้านดอนมะซ่อม หมู่ที่ 4 ใน 1 ปี จะมี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดู หนาว ในฤดูร้อนอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่ 35 องศาเซลเซียส ฤดูฝนจะมีฝนตกประมาณประมาณ 3 เดือน ฤดูหนาว อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่ 23 องศาเซลเซียส บ้านดอนมะซ่อม มีผู้นํากลุ่ม/องค์กรต่าง ๆ ที่เข้มแข็ง ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการทํากิจกรรมของหมู่บ้าน มีความสามัคคี มีความซื่อสัตย์ เสียสละ และมีความเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน รวมทังมีกลุ่ม/กองทุนชุมชนที่ หลากหลาย จากความเข้มแข็งของหมู่บ้าน และความหลากหลายของทุนชุมชน โดยเฉพาะการดําเนินงานกลุ่ม ออมทรัพย์บ้านดอนมะซ่อมที่มีความเข้มแข็ง จึงมีความพร้อมในการที่จะบูรณาการกองทุนชุมชน ไปสู่การเป็น สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน เมื่อปี พ ศ. 2560 ได้รับคัดเลือกและได้รับงบประมาณในการจัดตั งศูนย์จัดการ กองทุนชุมชน 2. วิสัยทัศน์ “ หมู่บ้านน่าอยู่ ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนสามารถพึ่งตนเอง ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง” 3. จัดตังเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านดอนมะซ่อม วันที่ 6 เดือนกรกฎาคม พ ศ. 2560 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายเสถียร แสงย้อย โทร : 08 6878 5128 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 9 คน ชาย 3 คน หญิง 6 คน
56 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 4,415,462.6 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 1,500,000 243 8 บาท/ปี 1 ปี 8 บาท/ปี 1 ปี 2. โครงการ กข.คจ. 280,000 60 3. กองทุนหมู่บ้านฯ 2,454,000 96 4 บาท/ปี 4 บาท/ปี 4. กลุ่มออมทรัพย์พิเศษ 31,462.60 126 5. ร้านค้าชุมชน 80,000 126 6. กองทุนสงเคราะห์ 70,000 75 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 6 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 4,415,462.6 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดอนมะซ่อม หมู่ที่ 4 ตําบลโคกสําราญ อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ยืดหนี้ / ขยายระยะเวลาชําระหนี้
57 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดอนมะซ่อม หมู่ที่ 4 ตําบลโคกสําราญ อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) บ้านดอนมะซ่อมโมเดล กองทุนหมู่บ้านฯ โครงการ กข.คจ. ปลอด ดอกเบี้ย ค ื นเงนยม 1 ปี ระยะเวลาปลอยก ู ้ 1ปี ระยะเวลาปลอยก ู ้ 1ปี อัตรา ดอกเบี้ย บาท ต่อปี อัตรา ดอกเบี้ย บาท 8ต่อปี เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกิน 75,000 บาท/คร. แต่กู้เกิน 30,000 บาท ต้องผ่านมติที่ประชุมใหญ่ 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ชําระรายปี ผิดนัดชําระ 1. ปรับดอกเบี้ยจาก 4 บาท เป็นร้อยละ 8 บาท/ปี 2. ผิดนัดไม่เกิน 1 เดือน ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถ กู้เงินฉุกเฉินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ได้ไม่เกินจํานวนเงินออม 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ออมขันตา 20 บาท 5. ชําระรายปี ผิดนัดชําระ 1. ปรับดอกเบี้ยจาก 8 บาท เป็นร้อยละ 12 บาท/ปี 2. ผิดนัดไม่เกิน 1 เดือน ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถ ยืมเงินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ยืมไม่เกิน 15,000 บาท/คร 3. ชําระรายปี ผิดนัดชําระ ผิดนัดไม่เกิน 1 เดือน เกินไม่มีเครดิต/ไม่สามารถ กู้เงินฉุกเฉินได้
58 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี 2560 -2564 การส่งเสริมอาชีพ จัดซื้อฝ้ายให้กลุ่มทอผ้า ปุ๋ยอินทรีย์ และกระถางยางรถยนต์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดอนมะซ่อม หมู่ที่ 4 ตําบลโคกสําราญ อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ.ศ. 2560 – 2564 ตลอดระยะเวลา 5 ปี มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วม กิจกรรมรวมทังสิน จํานวน 150 ครัวเรือน โดยสามารถบริหารจัดการหนี้ได้ จํานวน 106 คน เป็นเงินจํานวน ทังสิน 4,645,900 บาท ลดหนี้ จํานวน 99 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 223,700 บาท ปลดหนี้และไม่กลับมา เป็นหนี้ซาได้ จํานวน 7 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 145,500 บาท ดังนัน พ ศ. 2560 สามารถบริหารจัดการหนี้ได้ จํานวน 15 ครัวเรือน
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองมะแซว หมู่ที่ 1 ตําบลหนองมะแซว อําเภอเมือง จังหวัดอํานาจเจริญ คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองมะแซว
60 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองมะแซว หมู่ที่ 1 ตําบลหนองมะแซว อําเภอเมือง จังหวัดอํานาจเจริญ 1. ความเป็นมา ในปี พ ศ. 2553 ได้มีการสํารวจและรวมข้อมูลกองทุนในหมู่บ้านทัง 3 หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านหนองมแซว หมู่ที่ 2 บ้านปริญญา และหมู่ที่ 12 บ้านพัฒนาสามัคคี มีกองทุนในหมู่บ้านได้แก่ กลุ่มออม ทรัพย์เพื่อการผลิต ศูนย์สาธิตการตลาดโรงสีชุมชน โครงการ กข.คจ. กองทุนหมู่บ้าน ฯลฯ จึงได้มีการประชุม คณะการบริหารจัดการกองทุนต่าง ๆ มีการคัดเลือกคณะกรรมการจากทุกกองทุนมาเป็นกรรมการชุดเดียวกัน โดยใช้เรียกว่า “สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านหนองมะแซว” ปี พ.ศ. 2560 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์ จัดการกองทุนชุมชนบ้านหนองมะแซว” 2. วิสัยทัศน์ “ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนหนองมะแซว ศูนย์จัดการแห่งนาใจ” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านหนองมะแซว วันที่ 1 เดือนมีนาคม พ ศ . 2553 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านหนองมะแซว วันที่ 1 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2560 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายกัลยา บุญกัลฑ์ โทร : 08 5350 3578 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 27 คน ชาย 17 คน หญิง 10 คน ปรับลด อัตราดอกเบี้ย จากสูงไปสู่ ดอกเบี้ยตา
61 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 7,050,560 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กองทุนหมู่บ้าน 1,700,000 98 12 บาท/ปี 1 ปี 12 บาท/ปี 1 ปี 2. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 1,521,560 329 3. โครงการ กข.คจ. 280,000 34 4. กลุ่มอื่น ๆ 1,849,000 13 12 บาท/ปี 12 บาท/ปี 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 5 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 7,050,560 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองมะแซว หมู่ที่ 1 ตําบลหนองมะแซว อําเภอเมือง จังหวัดอํานาจเจริญ พักชําระเงินต้น เป็นการช่วยลดภาระ การผ่อนชัวคราว
62 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองมะแซว หมู่ที่ 1 ตําบลหนองมะแซว อําเภอเมือง จังหวัดอํานาจเจริญ เงื่อนไข 1. สัญญา 1 ปี 2. อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3 บาท/ปี ผิดนัดชําระ ปรับร้อยละ 0.50 บาท/วัน เงื่อนไข 1. สัญญา 1 ปี 2. ไม่มีดอกเบี้ย 3. มีค่าบํารุง ตามศรัทธา ผิดนัดชําระ ปรับร้อยละ 0.50 บาท/วัน เงื่อนไข 1. สัญญา 1 ปี 2. อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 12 บาท/ปี 3. เงินกองทุนปลดหนี้ ผิดนัดชําระ ปรับร้อยละ 0.50 บาท/วัน เงื่อนไข 1. สัญญา 1 ปี 2. อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 12 บาท/ปี 3. กู้ฉุกเฉินร้อยละ 1 บาท/เดือน ผิดนัดชําระ 1. กรรมการพิจารณาตามสมควร 2. ไม่สามารถกู้เพิมจากวงเงินเดิมได้ บ้านหนองมะแซว โมเดล ระยะเวลาปล่อยกู้ 1 ปี อัตราดอกเบี้ย โครงการ กข.คจ. กองทุนอื่น ๆ กองทุน หมู่บ้านฯ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต บาท/ปี 12
63 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปลูกผักปลอดสารพิษ, เลี้ยงเป็ดไก่, ส่งเสริมการขายตามตลาดนัด ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองมะแซว หมู่ที่ 1 ตําบลหนองมะแซว อําเภอเมือง จังหวัดอํานาจเจริญ 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ ศ. 2660 – 2564 ตลอดระยะเวลา 5 ปี มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วม กิจกรรมรวมทังสิ น จํานวน 90 ครัวเรือน โดยสามารถบริหารจัดการหนี้ได้ จํานวน 69 คน สามารถลดหนี้ จํานวน 4 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 143,370 บาท ปลดหนี้และไม่กลับมาเป็นหนี้ซาได้ จํานวน 4 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 20,600 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดอนชาด หมู่ที่ 4 ตําบลชะโนดน้อย อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดอนชาด
65 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดอนชาด หมู่ที่ 4 ตําบลชะโนดน้อย อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร 1. ความเป็นมา ลักษณะที่ตังของหมู่บ้าน พื้นที่เป็นที่ราบมีแหล่งนาจากห้วยชะโนด อาณาเขต ทิศเหนือติดกับคลองส่งนา ทิศตะวันตกติดกับบ้านเหล่าดง ทิศตะวันออกโรงเรียนติดกับชะโนด 2 ทิศใต้ติดกับบ้านนาคํา ตําบลคําปาหลาย อําเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร เดิมพื้นที่หมู่บ้านตั งอยู่ตําบลหนองบัว อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร เมื่อปี พ ศ. 2516 ได้ย้ายมาตํ าบลชะโนดน้อย มีนายวิโรจน์ วงค์กระโซ่ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน จํานวนครัวเรือน 103 ครัวเรือน จํานวนประชากร 371 คน แบ่งเป็น ชาย 181 คน หญิง 190 คน ส่วนใหญ่ประชากอบอาชีพ ทํานา ทําสวน 2. วิสัยทัศน์ “แก้ไขปัญหาหนี้ คือหน้าที่ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านดอนชาด” 3. จัดตังเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านดอนชาด วันที่ 14 เดือนกุมภาพันธ์ พ ศ. 2560 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายทิพย์ คํามุงคุณ โทร : 08 0726 5229 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 12 คน ชาย 9 คน หญิง 3 คน
66 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 3,007,409 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 296,800 105 10 บาท/ปี 1 ปี 10 บาท/ปี 1 ปี 2. กองทุนหมู่บ้าน 2,362,354 90 6 บาท/ปี 4 บาท/ปี 2. โครงการ กข.คจ. 302,505 33 ไม่มี ไม่มี 4. กลุ่มผู้ใช้ประโยชน์ จากแหล่งนา 45,750 33 6 บาท/ปี 5 บาท/ปี 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 4 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 3,007,409 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดอนชาด หมู่ที่ 4 ตําบลชะโนดน้อย อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร
67 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดอนชาด หมู่ที่ 4 ตําบลชะโนดน้อย อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) ระยะเวลา ปล่อยกู้/ยืม 1 ปี กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต โครงการ กข.คจ. กองทุน หมู่บ้านฯ บ ้ านดอนชาดโมเดล เงื่อนไข 1. เป็นสมาชิก 2. ระยะเวลากู้ 1 ปี 3. ชําระรายปี 4. ดอกเบี้ย 5 บาท/ปี ผิดนัดชําระ ติดตาม/ทวงถาม เงื่อนไข 1. เป็นสมาชิก 2. ระยะเวลากู้ 1 ปี 3. ชําระรายปี 4. กู้ได้ไม่เกิน 30,000 บาท 5. ดอกเบี้ย 4 บาท/ปี ผิดนัดชําระ ติดตาม/ทวงถาม เงื่อนไข 1. เป็น คร. ยากจนในบัญชี 2. ระยะเวลายืม 1 ปี 3. ชําระคืน 1 ปี 4. ไม่มีดอกเบี้ย ผิดนัดชําระ ติดตาม/ทวงถาม เงื่อนไข 1. เป็นสมาชิก 2. กู้ไม่เกิน 20,000 บาท 3. ชําระรายปี 4. ดอกเบี้ย 10 บาท/ปี ผิดนัดชําระ ติดตาม/ทวงถาม
68 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ส่งเสริมอาชีพการปลูกผักสวนครัว เลี้ยงปลา 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ ศ. 2660 – 2562 ตลอดระยะเวลา 3 ปี มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วม กิจกรรมรวมทังสิ น จํานวน 90 ครัวเรือน โดยสามารถบริหารจัดการหนี้ได้ จํานวน 39 คน สามารถลดหนี้ เป็นเงินจํานวน 904,563 บาท 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดอนชาด หมู่ที่ 4 ตําบลชะโนดน้อย อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านกุงโกน หมู่ที่ 6 ตําบลหนองฮี อําเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านกุงโกน
70 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านกุงโกน หมู่ที่ 6 ตําบลหนองฮี อําเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม 1. ความเป็นมา บ้านกุงโกน เดิมราษฎรอพยพมาจากบ้านโพธิชัย หรือที่วัดโพธิชัย บ้านผักอีตู่ในปัจจุบัน ปี พ ศ. 2436 หรือ 110 กว่าปีที่ผ่านมา เกิดโรคระบาดไข้ทรพิษหรือโรคฝีดาษ และป่วยเป็นโรคอหิวาตกโรค ชาวบ้าน เจ็บป่วยเป็นจํานวนมาก ชาวบ้านในสมัยนันเข้าใจว่าห่าลงกินคนจึงได้พากันอพยพหลบหนีไปคนละทิศละทาง กลุ่มหนึ่งก็ย้ายมาอยู่บ้านกุงโกน กลุ่มนี้มีหลวงพ่อต้นซึ่งเป็นผู้นําในการอพยพพอมาถึงต้นไม้ใหญ่ต้นหนึ่งชื่อว่า ต้นกุง ข้างในลําต้นเป็นโกน (เป็นโพลง) ใหญ่มาก หลวงพ่อต้นจึงได้พาชาวบ้านพักอาศัยอยู่บริเวณต้นไหม้ใหญ่ต้น นัน ซึ่งต่อมาเห็นว่าเป็นพื้นที่เหมาะกับการตังหมู่บ้านจึงได้เสี่ยงทายตังหมู่บ้าน ผลการเสี่ยงทายเป็นไปตามโฉลก จึงตั งบ้านใหม่ในบริเวณป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ และตังชื่อหมู่บ้านว่า บ้านกุงโกน เพราะถือเอาต้นไม้ใหญ่ คือ ต้นกุงโกน (กุง ภาษาท้องถินแปลว่าต้นพลวง โกน แปลว่าโพรง) ต่อมาบ้านกุงโกนมีประชากรหนาแน่นยากแก่ การปกครอง ชาวบ้านจึงขอยื่นคําร้องแบ่งแยกหมู่บ้านขึ้นใหม่และได้แบ่งแยกหมู่บ้านขึ้นใหม่เมื่อปี พ ศ. 2524 โดยตั งชื่อหมู่บ้านใหม่ว่าบ้านกุงใหม่ (คือต้นกุงที่เกิดขึ้นใหม่) หมู่ที่ 10 ในปัจจุบัน ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพเกษตรกรรมแบบผสมผสาน มี 234 ครัวเรือน 573 คน ประกอบด้วย ชาย 277 คน หญิง 296 คน 2. วิสัยทัศน์ “ชุมชนเข้มแข็ง เป็นแหล่งเรียนรู้ ร่วมใจก้าวสู่ ลด ปลด และหมดหนี้ อย่างยังยืน” 3. จัดตังเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านกุงโกน เดือนกันยายน พ ศ. 2563 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายวัฒนา คงอยู่ โทร : 08 7220 9304/09 1060 6178 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 17 คน ชาย 5 คน หญิง 12 คน
71 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 3,054,851 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 2,765,577 228 10 บาท/ปี 1 ปี 10 บาท/ปี 1 ปี 2. โครงการ กข.คจ. 289,274 62 3 บาท/ปี เงินบริจาค 3 บาท/ปี เงินบริจาค 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 2 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 3,054,851 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านกุงโกน หมู่ที่ 6 ตําบลหนองฮี อําเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม
72 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านกุงโกน หมู่ที่ 6 ตําบลหนองฮี อําเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกิน 100,000 บาท/คร 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ออมขันตา 500 บาท 5. ชําระรายปี 6. เป็นสมาชิกเงินออมปลดหนี้ ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 2 บาท/วัน (ผิดนัดจาก 3 เพิมเป็น 10) 2. ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถกู้เงินฉุกเฉินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ยืมไม่เกิน 10,000 บาท/คร 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ออมขันตา 100 บาท 5. ชําระรายปี 6. เป็นสมาชิกเงินออมปลดหนี้ ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 2 บาท/วัน 2. ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถยืมเงินได้
73 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี 2564 การส่งเสริมอาชีพเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านกุงโกน หมู่ที่ 6 ตําบลหนองฮี อําเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ ศ. 2564 มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมรวมทังสิน จํานวน 90 ครัวเรือน โดยสามารถบริหารจัดการหนี้ได้ จํานวน 30 คน เป็นเงินจํานวน 1,675,000 บาท สามารถลดหนี้ จํานวน 28 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 29,250 บาท สามารถปลดหนี้ จํานวน 1 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 20,000 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านเชิงแส หมู่ที่ 4 ตําบลเชิงแส อําเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านเชิงแส
75 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านเชิงแส หมู่ที่ 4 ตําบลเชิงแส อําเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา 1. ความเป็นมา “บ้านเชิงแสเหนือ” ตั งอยู่หมู่ที่ 4 ตําบลเชิงแส อําเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา บ้านเชิงแส มีการ ก่อตั งหมู่บ้านมานานกว่า 200 ปีมาแล้ว จากคําบอกเล่าว่ามีคนจีนเป็นคนกลุ่มแรก ชื่อว่า “เซ่งแซ่” ที่เดินทาง มาจากประเทศจีน โดยทางเรือสําเภา เพื่อเข้ามาค้าขาย และได้หยุดพักตั งสินค้าที่เป็นที่ตั งของหมู่บ้านเชิงแส ปัจจุบัน เพื่อเอาสินค้าไปขายที่บ้านทุ่งเยาว์ซึ่งเป็นหมู่บ้านของคนไทย มีพื้นที่เป็นที่สูง อยู่ทางทิศตะวันออกของ บ้านลงมาสมทบกับกลุ่มคนจีนที่อาศัยอยู่แล้วจนเป็นปึกแผ่น เป็นหมู่บ้านและชุมชนต่อมา และจาก “เซ่งแซ่” ได้เรียกชื่อหมู่บ้านนี้เพี้ยนมาเป็น “ บ้านเชิงแส ” จนถึงปัจจุบัน มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มติด ริมทะเลสาบสงขลา ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ทํานา ปลูกผัก ประมง อาชีพเสริม ค้าขาย มีจํานวนครัวเรือน 259 ครัวเรือน จํานวน 590 คน ประกอบด้วย ชาย 283 คน หญิง 297 คน 2. วิสัยทัศน์ “ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านเชิงแส ศูนย์กลางการบริหารจัดการเงินทุนชุมชนและแก้ปัญหา หนี้สิน ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” 3. จัดตังเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านเชิงแส วันที่ 19 เดือนกันยายน พ ศ. 2563 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายโกวิทย์ ทะลิทอง โทร : 09 5495 0110 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน จํานวน 9 คน แยกเป็น ชาย 3 คน หญิง 6 คน การพักหนี้ คือ หยุดคิด ดอกเบี้ยด้วย
76 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 2,656,637.46 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กองทุนหมู่บ้านและ ชุมชนเมือง (กทบ.) 2,351,000 122 6 บาท/ปี 2 ปี 6 บาท/ปี 1 ปี (รายเดือน) 2. โครงการ กข.คจ. 282,585.52 51 3. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 1,000 10 4. กลุ่มผู้ใช้นาบ้านเชิงแส 50 5. กลุ่มสัมมาชีพชุมชน บ้านเชิงแส 10,300 30 6. กองทุนแม่ของแผ่นดิน 8,551.94 50 7. กลุ่มเศรษฐกิจพอเพียง บ้านเชิงแส 3,200 20 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 7 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (กทบ.) เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการ กองทุนชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 2,656,637.46 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านเชิงแส หมู่ที่ 4 ตําบลเชิงแส อําเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา
77 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านเชิงแส หมู่ที่ 4 ตําบลเชิงแส อําเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) ชำระ รายเดือน (ภายใน ) 1 ปี โครงการ กข.คจ. กองทุน หมู่บ้านฯ บ ้ านเช ิ งแสโมเดล อัตรา ดอกเบี้ย บาท ต่อปี อัตราดอกเบี้ย ปลอด เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ยืมไม่เกิน 5,000 บาท/ครัวเรือน 3. ออมเงินขันตา 50 บาท 4. ชําระรายเดือน (ภายใน 1 ปี) 5. ไม่มีหนี้นอกระบบ ผิดนัดชําระ ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถยืมเงินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ยืมไม่เกิน 30,000 บาท/ครัวเรือน 3. ออมเงินขันตา 100 บาท 4. ชําระรายเดือน (ภายใน 1 ปี) ผิดนัดชําระ 1. ปรับวันละ 200 บาท 2. ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถกู้เงินฉุกเฉินได้
78 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านเชิงแส หมู่ที่ 4 ตําบลเชิงแส อําเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี 2564 การส่งเสริมอาชีพทําเครื่องแกง,การแปรรูปปลา,การทํากล้วยฉาบ ที่ กิจกรรม/โครงการ กลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมกิจกรรม งบประมาณ/ แหล่งงบประมาณ 1 กิจกรรรมส่งเสริมอาชีพการทําเครื่องแกง เพื่อเพิมรายได้และลดรายจ่าย 9 คน 10,615 บาท 2 กิจกรรรมส่งเสริมอาชีพการทํากล้วยฉาบ เพื่อเพิมรายได้และลดรายจ่าย 6 คน 2,450 บาท 3 กิจกรรรมส่งเสริมอาชีพการแปรรูปปลา หมู 15 คน 42,435 บาท 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ.ศ. 2564 มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมรวมทังสิ น จํานวน 90 ครัวเรือน โดยสามารถบริหารจัดการหนี้ได้ จํานวน 30 คน สามารถลดหนี้ จํานวน 24 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 18,500 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองราโพ หมู่ที่ 6 ตําบลละงู อําเภอละงู จังหวัดสตูล คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองราโพ
80 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านเหล่ายาว บ้านหนองราโพ หมู่ที่ 6 ตําบลละงู อําเภอละงู จังหวัดสตูล 1. ความเป็นมา บ้านหนองราโพ เป็นหมู่บ้านที่แยกมาจากบ้านทุ่งนางแก้ว หมู่ที่ 5 ตําบลนาผุด อยู่ห่างจาก บ้านทุ่งนางแก้ว ประมาณ 1.5 กิโลเมตร จึงถือว่าเป็นบ้านพี่เมืองน้องกับบ้านนางแก้ว คํ า ว่า หนองราโพธิ มีชื่อเรียกตาม ชื่อพันธุ์ไม้ชนิดหนึ่งที่ขึ้นอยู่ตามหนองนา คือ ต้นราโพ เมื่อมีการตั งถินฐานเป็นหมู่บ้าน จึงเรียกชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านหนองราโพธิ” ปัจจุบัน นายไชยา เทพสง เป็นผู้ใหญ่บ้าน บ้านหนองราโพธิ หมู่ที่ 6 ตําบลนาผุด อําเภอละงู จังหวัดสตูล ตั งอยู่ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตําบลนาผุด 2. วิสัยทัศน์ “ศูนย์บริหารจัดการหนี้ภายในชุมชน นําไปสู่ความมันคงทางการเงินอย่างยังยืน” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านหนองราโพ พ.ศ. 2555 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการ กองทุนชุมชนบ้านหนองราโพ พ ศ. 2560 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายไชยา เทพสง โทร : 09 4096 5342 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 23 คน แยกเป็น ชาย 14 คน หญิง 9 คน ยกหรือผ่อนปรนค่าเบี้ยปรับ หรือดอกเบี้ยผิดนัดชําระหนี้ เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมและให้ความสําคัญกับ ความสามารถในการชําระหนี้ ของลูกหนี้อย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น
81 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 11,040,509 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 4,464,545 353 1 บาท/ปี 1 ปี 0.75 บาท/ปี 3 ปี 2. กองทุนหมู่บ้านฯ 5,630,345 178 3. กลุ่มเครื่องแกง 85,874 22 4. กองทุนปุ๋ยหมุนเวียน 140,000 150 กระสอบละ 20 บาท 6 เดือน กระสอบละ 20 บาท 6 เดือน 5. กลุ่มผู้ใช้นาประปา (1) 169,245 120 6. กลุ่มเลี้ยงโค 330,000 16 7. กลุ่มเลี้ยงปลา 75,500 29 8. กองทุนแม่ฯ 125,000 50 9. กลุ่มเพาะเห็ด 20,000 20 10. กลุ่มผู้ใช้นาประปา (2) 25 11. กลุ่มเยาวชนทําดีมีอาชีพ 15 12. กลุ่มปลูกผัก 15 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 12 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 11,040,509 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองราโพ หมู่ที่ 6 ตําบลละงู อําเภอละงู จังหวัดสตูล
82 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองราโพ หมู่ที่ 6 ตําบลละงู อําเภอละงู จังหวัดสตูล ดอกเบี้ย ระยะเวลาปล่อยกู้ 3 ปี กองทุน หมู่บ้านฯ บ ้ านหนองราโพโมเดล 0.75/เดือน กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ระยะเวลา 3 ปี 3. ชําระรายปี 4. เป็นสมาชิก 1 ปีขึ้นไป 5. ดอกเบี้ย 0.75 บาท/ปี 6. กู้ได้ไม่เกิน 30,000 บาท ผิดนัดชําระ ไม่สามารถกู้เงินฉุกเฉินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ระยะเวลา 3 ปี 3. ชําระรายปี 4. เป็นสมาชิก 1 ปีขึ้นไป 5. ดอกเบี้ย 0.75 บาท/ปี 6. กู้ได้ไม่เกิน 30,000 บาท ผิดนัดชําระ ไม่สามารถกู้เงินฉุกเฉินได้
83 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ส่งเสริมอาชีพ การเพาะเห็ดนางฟ้า 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านหนองราโพ หมู่ที่ 6 ตําบลละงู อําเภอละงู จังหวัดสตูล 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ มีจํา นวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมรวมทังสิ น จํา นวน 90 ครัวเรือน สามารถบริหารจัดการหนี้ได้ จํานวน 50 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 2,655,000 บาท โดยสามารถลดหนี้ จํานวน 46 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 150,500 บาท และปลดหนี้ จํานวน 4 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 90,000 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองจูด หมู่ที่ 5 ตําบลมะรุ่ย อําเภอทับปุด จังหวัดพังงา คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองจูด
85 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองจูด หมู่ที่ 5 ตําบลมะรุ่ย อําเภอทับปุด จังหวัดพังงา 1. ความเป็นมา บ้านคลองจูดเป็นหมู่บ้านตั งอยู่ริมฝั งทะเลอ่าวพังงา มีลํา คลอง น า ทะเลขึ้นถึงและมี น า จืดไหลลงมา ผสมเรียกว่า น า กร่อย ในบริเวณนี้ น า กร่อยเป็นที่พรุ มีพืชชนิดหนึ่งขึ้นเต็มไปหมดเรียกว่า “ ต้นกระจูด ” ภาษาท้องถินภาคใต้เรียกว่า “ต้นจูด” จึงเป็นที่มาของชื่อบ้านเรียกว่า “คลองจูด” และเมื่อมีคนเข้ามาอยู่อาศัย รวมกันเป็นจํานวนหลายครัวเรือน ชาวบ้านจึงเรียกชื่อบ้านว่า “บ้านคลองจูด” มาจนถึงทุกวันนี้ ชาวบ้านส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การทําสวนปาล์ม อาชีพเสริมการเลี้ยงสัตว์ (หมู ไก่ เป็ด) และค้าขาย 2. วิสัยทัศน์ “กองทุนชุมชนบ้านคลองจูด มุ่งหวังให้สามารถพึ่งตนเองได้ อยู่อย่างพอเพียง ชีวิตมีความสุข” 3. จัดตังเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านคลองจูด เดือนมีนาคม พ.ศ. 2560 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายสุขคิด กล้าการ โทร : 08 9868 4116 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 13 คน ชาย 5 คน หญิง 8 คน
86 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 7,779,788.61 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 5,063,164.13 99 1.5 บาท/เดือน 1 ปี 1 บาท/เดือน 2 ปี 2. โครงการ กข.คจ. 329,322.15 115 0 0 3. กองทุนหมู่บ้านฯ 2,387,302.33 110 0.5 บาท/เดือน 2 ปี 0.5 บาท/เดือน 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 3 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 7,779,788.61 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองจูด หมู่ที่ 5 ตําบลมะรุ่ย อําเภอทับปุด จังหวัดพังงา
87 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองจูด หมู่ที่ 5 ตําบลมะรุ่ย อําเภอทับปุด จังหวัดพังงา 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ภายในวงเงินสะสม 95% หรือ สามารถกู้ได้ไม่เกิน 50,000 บาท ถ้าเงินสะสมมีมากกว่า 50,000 บาท 3. ไม่มีหนี้สินนอกระบบ 4. ชําระหนี้รายเดือน/ราย 6 เดือน แล้วแต่การทําสัญญา 5. ออมเงินขันตา 100 บาท ผิดนัดชําระ 1. ยอดหนี้ 30,000 บาทขึ้นไป ปรับเดือนละ 100 บาท/ ยอดหนี้ตากว่า 30,000 บาท ปรับเดือนละ 50 บาท 2. ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถกู้เงินฉุกเฉินได้ บ้านคลองจูด โมเดล ปล่อยกู้/คืนเงินยืม 1 ปี ระยะเวลา โครงการ กข.คจ. ปลอด ดอกเบี้ย กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต อัตรา ดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย บาท/เดือน 1 กองทุนหมู่บ้านฯ บาท/เดือน 0.50 เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ยืมไม่เกิน 20,000 บาท/ครัวเรือน 3. ไม่มีหนี้สินนอกระบบ 4. ออมเงินหรือชําระหนี้ขันตา 500 บาท 5. ชําระหนี้รายเดือน 6. เป็นสมาชิกเงินออมปลดหนี้ ผิดนัดชําระ ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถกู้เงินฉุกเฉินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ได้ไม่เกิน 50,000 บาท 3. ไม่มีหนี้สินนอกระบบ 4. ชําระหนี้ราย 6 เดือน หรือรายปี ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 25 สตางค์/เดือน 2. ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถ กู้เงินฉุกเฉินได้
88 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี 2560 การส่งเสริมผลิตภัณฑ์ สําหรับใช้ในบ้านเพื่อลดรายจ่าย ปี 2562 การส่งเสริมอาชีพ การปลูกผักกินเอง พร้อมถังหมัก จากขยะเปียก เพื่อบํารุงดิน ปี 2561 การส่งเสริมอาชีพ การปลูกผักกินเอง ปี 2563 การส่งเสริมอาชีพ การทําขนมกาละแม และข้าวเหนียวกวน ปี 2564 การส่งเสริมอาชีพ การปลูกผัก ปลูกสมุนไพร 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองจูด หมู่ที่ 5 ตําบลมะรุ่ย อําเภอทับปุด จังหวัดพังงา 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ ศ. 2660 – 2564 ตลอดระยะเวลา 5 ปี มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วม กิจกรรมรวมทังสิ น จํานวน 384 ครัวเรือน สามารถบริหารจัดการหนี้ได้ เป็นเงินจํานวน 3,560,800 บาท โดยสามารถลดหนี้ จํานวน 214 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 2,258,180 บาท และปลดหนี้ จํานวน 171 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 1,302,620 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านบางหวาน หมู่ที่ 1 ตําบลกมลา อําเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านบางหวาน
90 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านบางหวาน หมู่ที่ 1 ตําบลกมลา อําเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต 1. ความเป็นมา บ้านบางหวาน มีจํานวนครัวเรือนทังสิ น 227 ครัวเรือน ประชากร 529 คน แยกเป็น ชาย 252 คน หญิง 277 คน ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตร เช่น ทํานาข้าวในที่ลุ่ม ทําสวนยางพารา และ สวนผลไม้เช่น ทุเรียน ลองกอง สะตอ จําปาดะ มะพร้าว รวมทังการเลี้ยงเป็ด ไก่ ในครัวเรือนเพื่อบริโภค ด้วยธรรมชาติหาดกมลา หาดแหลมสิงห์ ที่เป็นเวิงนายาวไปถึงหาดกะตะ หาดกะรน มีความเป็นธรรมชาติและ สวยงาม จึงเกิดธุรกิจการท่องเที่ยว ชาวบ้านจึงหันมาสร้างห้องเช่า ค้าขายของที่รับจ้าง อาชีพรับจ้างกันมากขึ้น คนในชุมชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 95 และศาสนาพุทธร้อยละ 5 พื้นที่หมู่บ้านจะมีต้นไม้ชนิดหนึ่ง คือ หมากพู (ภาษาถิ นเรียกว่า พร้าวนกคุ่ม) มีใบคล้ายใบหมากและ มีลูกติดพื้นดิน ผลสุกมีลักษณะสีแดงรสชาติหวานอมฝาด เมื่อทานผลไม้นี้แล้วก็ดื่มน าในภาษาถิ นเรียกว่า บาง ( หมายถึงลํ า ธาร ) ทํ า ให้มีความรู้สึกว่า น า ในลํ า ธารแห่งนี้ มีรสชาติหวานคนจึงเรียกติดปากกันมาว่า บ้านบางหวาน จนถึงปัจจุบัน ด้วยวิสัยทัศน์ ที่ว่า “นาตกบางหวาน ลําธารสวย คนรวยนาใจ” 2. วิสัยทัศน์ “นาตกบางหวาน ลําธารสวย คนรวยนาใจ” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านบางหวาน วันที่ 2 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2555 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านบางหวาน ปี พ ศ. 2560 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายวรวุฒิ ยาดี โทร : 09 4892 1456 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 13 คน ชาย 7 คน หญิง 6 คน
91 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 2,690,000 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 90,000 54 ไม่มี ดอกเบี้ย 5 ปี ไม่มี ดอกเบี้ย 2 ปี 2. กองทุนหมู่บ้านฯ 2,600,000 80 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 2 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (กทบ.) เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการ กองทุนชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 2,690,000 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านบางหวาน หมู่ที่ 1 ตําบลกมลา อําเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
92 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านบางหวาน หมู่ที่ 1 ตําบลกมลา อําเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ยืมไม่เกิน 10,000 บาท/คน 3. ไม่มีหนี้สินนอกระบบ 4. ออมขันตา 100 บาท 5. ชําระรายปี ผิดนัดชําระ ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถยืมเงินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกิน 20,000 บาท/คน 3. ไม่มีหนี้สินนอกระบบ 4. ออมขันตา 100 บาท 5. ชําระรายปี ผิดนัดชําระ ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถกู้เงินฉุกเฉินได้
93 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี 2562 การส่งเสริมอาชีพการทํานายาซักผ้า และการทํานายาล้างจาน เพื่อใช้ และจําหน่ายแก่โรงแรมในพื้นที่ไกล้เคียง ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านบางหวาน หมู่ที่ 1 ตําบลกมลา อําเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ปี 2560 การส่งเสริมอาชีพจําหน่ายข้าวสารราคาตากว่าท้องตลาดเพื่อช่วยเหลือสมาชิก โดยร่วมมือกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
94 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านบางหวาน หมู่ที่ 1 ตําบลกมลา อําเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ลําดับ ที่ ชื่อ - สกุล บ้านเลขที่ อาชีพ จํานวนเงิน ผลการบริหาร จัดการหนี้ ปี 2565 ลด/ปลดหนี้ (บาท) 1 ไม่เปิดเผยรายชื่อ 12/10 รับจ้าง/ ทําสวน 20,000.- 15,000.00 2 28/23 รับจ้าง/ ค้าขาย 20,000.-
3 6 ซักรีด 20,000.-
13 12 ค้าขาย
14 75/60 ค้าขาย
15 13
ค้าขาย
16 28/24 ค้าขาย
ผลการปรับโครงสร้างหนี้ มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรม รวมทังสิ น 90 ครัวเรือน สามารถ บริหารจัดการหนี้ได้ ดังนี้
8,880.00
5,880.00 4 17/34 รับจ้าง 20,000.- 3,000.00 5 75/60 ธุรกิจส่วนตัว 20,000.- 20,000.00 6 29/2 รับจ้าง 20,000.- 8,400.00 7 13/2 รับจ้าง 20,000.- 4,000.00 8 19/7 ค้าขาย 20,000.- 8,880.00 9 13/1 ค้าขาย 20,000.- 20,000.00 10 12/3 รับจ้าง 20,000.- 20,000.00 11 17/10 ค้าขาย 20,000.- 20,000.00 12 17/8 ค้าขาย 20,000.- 20,000.00
20,000.- 20,000.00
20,000.- 20,000.00
2
20,000.- 20,000.00
20,000.- 20,000.00
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองฝรัง หมู่ที่ 7 ตําบลไทรน้อย อําเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองฝรัง
96 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองฝรัง หมู่ที่ 7 ตําบลไทรน้อย อําเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี 1. ความเป็นมา เดิมบ้านคลองฝรัง มีกองทุนอยู่หลากหลายรูปแบบ มีแนวคิดในการจัดตั ง การรวมกลุ่ม ตลอดจน แนวทางการบริหารจัดการภายในกองทุนที่แตกต่างกันไป โดยกองทุนที่ดํ าเนินกิจการเพื่อแสวงหาผลกํ าไร จะเน้นการปล่อยกู้ให้กับสมาชิก ซึ่งปัญหาที่ตามมาในภายหลังคือ การกํ าหนดเงื่อนไขและระยะเวลาในการ ชําระหนี้ของแต่ละกองทุน ไม่ตรงกัน เปิดโอกาสให้คนในชุมชนกู้ยืมได้หลายกองทุน และอัตราการปล่อยกู้ที่สูง ทําให้คนที่กู้เงินจากหลายกองทุนไม่สามารถหาเงินมาชําระหนี้ได้ทัน เกิดการกู้ยืมจากกองทุนหนึ่งเพื่อไปชําระหนี้ อีกกองทุน เกิดเป็นหนี้หมุนเวียน หนี้ซาซ้อนไม่สินสุดและมีแต่จะเพิมพูนขึ้น ดังนัน เพื่อให้ชีวิต ความเป็นอยู่ ของคนในชุมชนดีขึ้น และให้แต่ละกลุ่มกองทุนดําเนินงานได้อย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม ภายใต้การทํางาน ที่เชื่อมโยงและเกื้อกูลกัน จึงได้เกิดแนวคิดในการจัดระบบกองทุนในรูปแบบ การบูรณาการกองทุน ภายใต้ชื่อ “ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านคลองฝรัง” ประกอบด้วย กลุ่มกองทุนชุมชนจํานวน 16 กลุ่ม มุ่งเน้นการ บริหารจัดการกองทุนให้มีความเป็นเอกภาพ ลดปัญหาการเป็นหนี้ของคนในชุมชน เพิ มประสิทธิภาพ ในการ บริหารจัดการหนี้ของคนในชุมชน 2. วิสัยทัศน์ “ซื่อสัตย์ โปร่งใส ใส่ใจสมาชิก” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านคลองฝรัง วันที่ 27 เดือนกรกฎาคม พ ศ . 2552 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านคลองฝรัง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายฉลองชัย พ่วงคง โทร : 08 6668 2834 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 15 คน ชาย 9 คน หญิง 6 คน
97 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 5,298,772 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 2,164,100 163 12 บาท/ปี 3 ปี 12 บาท/ปี 3 ปี 2. กองทุนหมู่บ้านฯ 2,313,249 230 9 บาท/ปี 1 ปี 9 บาท/ปี 1 ปี 3. กองทุนสวัสดิการชุมชน 240,233 180 4. กองทุนส่งเสริมพันธุ์ข้าว 96,304 22 1 บาท/ เดือน 6 เดือน 1 บาท/ เดือน 6 เดือน 5. กองทุนปุ๋ย 91,579 40 6. กองทุนพัฒนาสตรีหมู่บ้าน (นาพริก) 14,900 40 7. กองทุนคณะกรรมการหมู่บ้าน 61,772 15 8. กองทุน อสม. 1,579 14 9. ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน 45,279 10. กองทุนนาแก้ว 24,180 11. กองทุนโต๊ะ-เต๊นท์ 55,678 12. กองทุนตู้นาหยอดเหรียญ 54,685 230 13. กองทุนถ้วย ชาม 19,789 14. กองทุนภัยแล้ง 20,296 15. กองทุนสาธารณประโยชน์ 24,200 16. กองทุนพัฒนาชุมชน 70,949 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 16 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 5,298,772 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองฝรัง หมู่ที่ 7 ตําบลไทรน้อย อําเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี
98 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองฝรัง หมู่ที่ 7 ตําบลไทรน้อย อําเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี 12 กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต กองทุนหมู่บ้านฯ 9 อัตรา ดอกเบี้ย บาท ต่อปี อัตรา ดอกเบี้ย บาท ต่อปี บ้าน คลองฝรั่ง โมเดล ระยะเวลาปล่อยกู้ 1 ปี ระยะเวลาปล่อยกู้ 3 ปี เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกินเงินฝากของตนเอง/คน 3. กู้ไม่เกินราคาประเมินของหลักทรัพย์/คน 4. ออมขันตา 100 บาท 5. ชําระรายเดือน ผิดนัดชําระ 1. ให้ส่งดอกเบี้ย 2. ไม่สามารถกู้เงินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกิน 40,000 บาท/คน 3. ผู้คาประกัน 3 คน 4. ออมขันตา 50 บาท 5. ชําระรายปี ผิดนัดชําระ 1. ให้ส่งดอกเบี้ย 2. ไม่สามารถกู้เงินได้
99 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองฝรัง หมู่ที่ 7 ตําบลไทรน้อย อําเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี 2560 - 2562 การส่งเสริมอาชีพปลูกมะพร้าว ปลูกมะม่วง ปลูกกล้วยนาว้า (พันธุ์มะลิอ่อง)และเลี้ยงปลาดุก 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ.ศ. 2660 – 2564 ตลอดระยะเวลา 5 ปี มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วม กิจกรรมรวมทังสิ น จํานวน 122 ครัวเรือน สามารถบริหารจัดการหนี้ได้ เป็นเงินจํานวน 4,091,000 บาท โดยสามารถลดหนี้ จํานวน 7 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 397,000 บาท และปลดหนี้ จํานวน 38 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 3,202,000 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านโพธิราษฎร์ หมู่ที่ 4 ตําบลบางเจ้าฉ่า อําเภอโพธิทอง จังหวัดอ่างทอง คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านโพธิราษฎร์
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน้นแบบบ้านโพธิราษฎร์ หมู่ที่ 4 ตําบลบางเจ้าฉ่า อําเภอโพธิทอง จังหวัดอ่างทอง 1. ความเป็นมา บ้านโพธิราษฎร์ หมู่ที่ 4 ตํ าบลบางเจ้าฉ่า อําเภอโพธิทอง จังหวัดอ่างทอง มีจํานวน 106 ครัวเรือน และ มีประชากรทังหมด 425 คน สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน (ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) จัดตังขึ้นเป็นแห่งแรก ของจังหวัดอ่างทอง เมื่อวันที่ 30 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2552 ที่ตั งอยู่ที่ศาลาประชาคมหมู่บ้านโพธิราษฎร์ หมู่ที่ 4 ตําบลบางเจ้าฉ่า อําเภอโพธิทอง จังหวัดอ่างทอง มีกลุ่ม/องค์กร/กองทุนชุมชนที่หลากหลายแตกต่างกัน ออกไป ซึ่งส่วนใหญ่มีการให้ครัวเรือนกู้ยืมเงินหลายกองทุน จนทําให้เกิดปัญหาภาวะหนี้สินของครัวเรือนมาก เกินความจําเป็น จนไม่สามารถชําระหนี้ได้ตามสัญญา และเกิดปัญหายืมเงินหมุนเวียน กล่าวคือ ขอกู้ยืมเงิน จากกองทุนหนึ่งมาใช้อีกกองทุนหนึ่ง จนท้ายที่สุดก็ต้องพึ่งพาการกู้ยืมจากหนี้นอกระบบที่มีดอกเบี้ยสูงและผิด กฎหมาย จนกลายเป็นปัญหาที่จะส่งผลกระทบการดําเนินชีวิตของคนในชุมชนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ กรมการพัฒนาชุมชนจึงได้มีการจัดตั งศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านโพธิราษฎร์ขึ้น โดยพิจารณาจาก กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีระดับการพัฒนาที่เข้มแข็ง (ระดับ 3) ซึ่งเป็นหัวใจสําคัญของการบริหารจัดการหนี้ เพราะการสร้างวินัยทางการเงิน จากการส่งเสริมการออมเงินของคนในชุมชน เปรียบเสมือนการสร้างภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้สามารถดําเนินชีวิตภายใต้สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป และอาจส่งผลกระทบต่อรายได้และความสามารถในการชํา ระหนี้สินได้ เป็นปัจจัยหลักของการบริหารหนี้ ของศูนย์ฯ และการลดภาระหนี้ของคนในชุมชน 2. วิสัยทัศน์ “สร้างงานคุณภาพ บริหารอย่างโปร่งใส ประชาชนสุขใจ ออมเงินหมดหนี้ ” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านโพธิราษฎร์ วันที่ 30 เดือน มิถุนายน พ ศ . 2552 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านโพธิราษฎร์ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นางวันเพ็ญ ทัดจันทร์ โทร : 08 9519 2369 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 11 คน ชาย 4 คน หญิง 7 คน 101 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565
102 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านโพธิราษฎร์ หมู่ที่ 4 ตําบลบางเจ้าฉ่า อําเภอโพธิทอง จังหวัดอ่างทอง 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 13 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 8,959,705 บาท ดังนี้ กลุ่ม / กองทุนทางการเงิน ในชุมชน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวนสมาชิก (คน) รูปแบบเป็นทางการ 1. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 5,290,360 184 2. กองทุนหมู่บ้านฯ 2,565,414 56 3. โครงการ กข.คจ. 282,177 51 รูปแบบไม่เป็นทางการ 4. กลุ่มสวัสดิการชุมชน 139,900 48 5. กลุ่มสตรีพัฒนา 948 10 6. กลุ่มสมาชิกชุมชนพอเพียงชาวนา ชาวสวน 63,845 45 7. กลุ่มสาธิตโครงการขับเคลื่อนหมู่บ้าน 1,000 10 8. กลุ่มโครงการร้านค้าชุมชน 45,396 40 9. กลุ่มโครงการตู้นาหยอดเหรียญ 18,193 17 10. กลุ่มปุ๋ยชีวภาพ 13,399 17 11. กลุ่มสมาชิกโครงการเพาะเห็ด 901 20,000 15 12. กลุ่มฌาปนกิจเพื่อนช่วยเพื่อน 10,000 270 13. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการปลดหนี้ 509,073 180
103 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านโพธิราษฎร์ หมู่ที่ 4 ตําบลบางเจ้าฉ่า อําเภอโพธิทอง จังหวัดอ่างทอง 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) ในปัจจุบันที่เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ซึ่งสมาชิกหรือ ลูกหนี้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ดังกล่าว จึงได้จัดประชุมเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ โดยลดอัตรา ดอกเบี้ย จากเดิม ร้อยละ 6 ต่อปี ให้เหลือ ร้อยละ 3 ต่อปี ตามมติเห็นชอบในที่ประชุม บ้านโพธิ์ราษฎร์ โมเดล จากเดิม ร้อยละ 6 ต่อปี ให้เหลือ อัตรา ดอกเบี้ย ร้อยละ บาท ต่อปี 3 กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต โครงการ กข.คจ. ยอดหนี้น้อยกว่า 60,000 บาท ยอดหนี้ 60,001 ขึ้นไป
104 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านโพธิราษฎร์ หมู่ที่ 4 ตําบลบางเจ้าฉ่า อําเภอโพธิทอง จังหวัดอ่างทอง กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ส่งเสริมอาชีพและการฝึกอบรมด้านอาชีพต่าง ๆ เพื่อเกิดอาชีพใหม่ ตัวอย่างเช่น การฝึกอบรมด้านการทํา ยาสีฟันจากสมุนไพร การทําที่ใส่แก้วนาจักสาน การทําขนมไทย และการทําไข่เค็มสมุนไพร เป็นต้น 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” การบริหารจัดการหนี้ (ลดหนี้ ) ครัวเรือนเป้าหมาย ในปี 2562 - 2564 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน สามารถบริหารจัดการหนี้ (ลดหนี้) ให้แก่ครัวเรือนเป้าหมาย จํานวน 38 ครัวเรือน (สมาชิกทังหมด 90 ราย) คิดเป็นเงิน 2,132,100 บาท รายละเอียด ดังนี้ การบริหารจัดการหนี้ (ปลดหนี้ ) ครัวเรือนเป้าหมาย ในปี 2562 - 2564 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน สามารถบริหารจัดการหนี้ (ปลดหนี้) ให้แก่ครัวเรือนเป้าหมาย จํานวน 30 ครัวเรือน (สมาชิกทังหมด 62 ราย) คิดเป็นเงิน 2,080,280 บาท รายละเอียด ดังนี้ ลําดับ ปีที่ดําเนินการ จํานวนครัวเรือนเป้าหมาย (ครัวเรือน) จํานวนสมาชิก (คน) ยอดการชําระหนี้ (บาท) 1 2562 16 40 875,000 2 2563 19 44 1,133,500 3 2564 3 6 123,600 รวมทังสิน 38 90 2,132,100 ลําดับ ปีที่ดําเนินการ จํานวนครัวเรือนเป้าหมาย (ครัวเรือน) จํานวนสมาชิก (คน) ยอดการชําระหนี้ (บาท) 1 2562 14 26 1,075,490 2 2563 10 22 863,390 3 2564 6 14 141,400 รวมทังสิน 30 62 2,080,280 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านพูนทรัพย์ หมู่ที่ 7 ตําบลซับสมบูรณ์ อําเภอลําสนธิ จังหวัดลพบุรี คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านพูนทรัพย์
106 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านพูนทรัพย์ หมู่ที่ 7 ตําบลซับสมบูรณ์ อําเภอลําสนธิ จังหวัดลพบุรี 1. ความเป็นมา บ้านพูนทรัพย์ เป็นหมู่บ้านตั งใหม่แยกมาจากหมู่บ้านไทรงาม หมู่ที่ 5 ตํ าบลซับสมบูรณ์ เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2545 ใช้ชื่อ “บ้านพูนทรัพย์” เพื่อเป็นมงคลแก่หมู่บ้านและผู้อยู่อาศัย มีนายอภัยวงศ์ พรมนา เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก มี 108 ครัวเรือน ประชากรรวม 324 คน ชาย 161 คน หญิง 163 คน ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพทําไร่อ้อย ไร่มันสัมปะหลัง ไร่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และการเลี้ยงสัตว์ เช่น เลี้ยงวัวเนื้อ เลี้ยงหมู มีการอพยพไปประกอบอาชีพต่างจังหวัด พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบสูงสลับภูเขา สภาพพื้นดินเป็นดินร่วน ปนทราย มีคลองลําพญากลางเป็นคลองสายหลัก และคลองแห้งซึ่งเป็นคลองขนาดเล็กไหลผ่านหมู่บ้าน ฤดูแล้ง น า จะแห้งขาดไม่สามารถใช้น า เพื่อการเกษตรได้ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ เหมาะกับการ ทําเกษตรประเภทไร่ เลี้ยงสัตว์ อาศัยนาฝนจากธรรมชาติเป็นหลัก มีปัญหาด้านนาด้านการเกษตรไม่เพียงพอ 2. วิสัยทัศน์ “เศรษฐกิจฐานรากดี มีวินัยทางการเงิน เพิมศักยภาพกองทุนชุมชน คนบ้านพูนทรัพย์มีความสุข” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านพูนทรัพย์ วันที่ 17 เดือนมิถุนายน พ ศ . 2552 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการกองเงินทุนชุมชนบ้านพูนทรัพย์ วันที่ 1 เดือนตุลาคม พ ศ. 2561 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายอภัยวงศ์ พรมนา โทร : 08 5420 5424 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 9 .คน ชาย4 คน หญิง 5 คน
107 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 5,947,349 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มี เงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะ เวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะ เวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 2,678,480 บาท 1. เงินสัจจะ 2,475,280 บาท 2.เงินกู้ ธ ออมสิน 203,200 บาท 244 10 บาท/ปี 1 ปี 7 บาท/ปี 1 ปี, 5 ปี 2. กองทุนหมู่บ้านฯ 3,268,869 บาท 1. บัญชีที่ 1 2,200,000 บาท 2. บัญชีที่ 2 868,869 บาท 3. บัญชีเงินกู้ธนาคาร 200,000 บาท 94 1 ปี, 7 ปี 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 2 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 5,947,349 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านพูนทรัพย์ หมู่ที่ 7 ตําบลซับสมบูรณ์ อําเภอลําสนธิ จังหวัดลพบุรี
108 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านพูนทรัพย์ หมู่ที่ 7 ตําบลซับสมบูรณ์ อําเภอลําสนธิ จังหวัดลพบุรี บ้านพูนทรัพย์โมเดล เงื่อนไข 1. ปรับลดอัตราดอกเบี้ย จากร้อยละ 10 ลดเหลือ ร้อยละ 7 2. ปรับระยะเวลากู้จาก 1 ปี เป็นกู้ 5 ปี โดยให้ผ่อนชําระเป็นรายปี 3. ให้สมาชิกชําระหนี้บางส่วนหรือทังหมด ได้ตาม ช่วงเวลาที่มีรายได้ โดยไม่ต้องรอให้ครบสัญญา 4. จัดสวัสดิการสําหรับสมาชิกที่ลดหรือปลดหนี้ เช่น ลดอัตราดอกเบี้ย มอบของที่ระลึกฯลฯ 5. ออมปลดหนี้ เงื่อนไข 1. ปรับลดอัตราดอกเบี้ย จากร้อยละ 10 ลดเหลือ ร้อยละ 7 2. ปรับระยะเวลากู้จาก 1 ปี เป็นกู้ 7 ปี (เงินกู้ธนาคารป โดยให้ผ่อนชําระเป็นรายปี) 3. จัดสวัสดิการสําหรับสมาชิกที่ลดหรือปลดหนี้ เช่น ลดอัตราดอกเบี้ย มอบของที่ระลึกฯลฯ
109 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย การส่งเสริมอาชีพการทําไร่เมล็ดพันธุ์ข้าวโพดลูกผสมและปุ๋ย ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านพูนทรัพย์ หมู่ที่ 7 ตําบลซับสมบูรณ์ อําเภอลําสนธิ จังหวัดลพบุรี 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ ศ. 2660 – 2564 ตลอดระยะเวลา 5 ปี มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วม กิจกรรมรวมทังสิน จํานวน 150 ครัวเรือน สามารถลดหนี้ จํานวน 131 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 514,000 บาท และปลดหนี้ จํานวน 2 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 49,000 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านห้วยพลู หมู่ที่ 11 ตําบลร่อนทอง อําเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านโพธิราษฎร์
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านห้วยพลู หมู่ที่ 11 ตําบลร่อนทอง อําเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 1. ความเป็นมา บ้านห้วยพลู มีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขา ประชาชนสวนใหญ่ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ได้แก่ การปลูกยางพารา สับประรด มะพร้าว ปาล์ม ทุเรียน และรับจ้าง มีจํา นวน 130 ครัวเรือน ประกอบด้วย ชาย 120 หญิง 200 คน สาเหตุการเป็นหนี้ ราคาพืชผลผลิตตกตา ราคาปุ๋ยแพงมากขึ้นและการแพร่ระบาด โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของคนในชุมชนบ้านห้วยพลู ในการประกอบอาชีพและการส่งออกสินค้าภาคการเกษตร 2. วิสัยทัศน์ “เศรษฐกิจฐานรากมันคงและชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านห้วยพลู พ.ศ. 2554 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน บ้านห้วยพลู วันที่ 18 เดือนกันยายน พ ศ 2563 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายบรรเทิง วงษ์สมัย โทร : 08 7801 3227 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 17 คน ชาย 6 คน หญิง 11 คน 111 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565
112 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 13,236,771.83 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 10,516,771.83 471 14 บาท/ปี 2 ปี 1 บาท/ปี 2 ปี 2. โครงการ กข.คจ. 280,000 30 7 บาท/ปี 1 ปี 6 บาท/ปี 3. กองทุนหมู่บ้านฯ 2340,000 77 6 บาท/ปี 4. กองทุนเงินหมุนเวียน เศรษฐกิจชุมชน (เงิน อปท.สนับสนุน) 100,000 30 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 4 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 13,236,771.83 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านห้วยพลู หมู่ที่ 11 ตําบลร่อนทอง อําเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
113 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านห้วยพลู หมู่ที่ 11 ตําบลร่อนทอง อําเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกิน 20,000 บาท/คร 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ออมขันตา 500 บาท 5. ชําระรายปี 6. เป็นสมาชิกเงินออมปลดหนี้ ผิดนัดชําระ ปรับร้อยละ 2 บาท/วัน เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกิน 20,000 บาท/คร 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ออมขันตา 500 บาท 5. ชําระรายปี 6. เป็นสมาชิกเงินออมปลดหนี้ ผิดนัดชําระ ปรับร้อยละ 2 บาท/วัน เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกิน 20,000 บาท/คร. 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ออมขันตา 500 บาท 5. ชําระรายปี 6. เป็นสมาชิกเงินออมปลดหนี้ ผิดนัดชําระ ปรับร้อยละ 2 บาท/วัน เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ยืมไม่เกิน 10,000 บาท/คร. 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ออมขันตา 100 บาท 5. ชําระรายปี 6. เป็นสมาชิกเงินออมปลดหนี้ 7. เป็นสมาชิกฌาปนกิจ สงเคราะห์ 20 บาทต่อคน ผิดนัดชําระ ปรับร้อยละ 2 บาท/วัน
114 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี 2563 - 2564 การส่งเสริมอาชีพการเกษตร และการสนับสนุนปุ๋ยเพื่อการเกษตร ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านห้วยพลู หมู่ที่ 11 ตําบลร่อนทอง อําเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ.ศ. 2663 – 2564 มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมรวมทังสิน จํานวน 68 ครัวเรือน สามารถบริหารจัดการหนี้ได้ เป็นเงินจํานวน 161,274 โดยสามารถลดหนี้ จํานวน 66 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 153,274 บาท และปลดหนี้ จํานวน 1 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 8,000 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดวงดี หมู่ที่ 7 ตําบลสองพี่น้อง อําเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดวงดี
116 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดวงดี หมู่ที่ 7 ตําบลสองพี่น้อง อําเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร 1. ความเป็นมา บ้านดวงดี มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบสูง มีลักษณะเป็นร่องลาดชันระหว่างภูเขา เป็นพื้นที่ชายแดน มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน คือประเทศเมียนมาร์ อยู่ห่างจากอําเภอท่าแซะ ประมาณ 40 กิโลเมตร ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่าไม้มีเทือกเขาตะนาวศรีกันเขตแดน และเป็นป่าต้นนา และมีคลองอธรรม ไหลผ่านทางด้านทิศใต้ มีคลองดุดวงและคลองซังไหลผ่านกลางหมู่บ้าน ซึ่งเป็นพื้นที่การเกษตร เช่น ทํา สวนผลไม้ สวนปาล์ม น า มัน สวนยางพารา กาแฟ ทุเรียน และเลี้ยงสัตว์ มีจํานวนประชากร 510 ครัวเรือน รวม 1,419 คนแยกเป็น ชาย 714 คน หญิง 705 คน ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) รวม 116 คน เป็นชุมชนไม่หนาแน่น ยังต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันทําให้เกิดความรักความสามัคคีในชุมชน และให้ความสําคัญกับส่วนรวมเป็นอย่างดี มีการออมเงินในหมู่บ้านโดยรวมกันเป็นกลุ่ม ชื่อว่ากลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิตบ้านดวงดี สมาชิกทุกทุนมีระเบียบในการออม ทํ า ให้กลุ่มโตเร็วมีเงินออมมาก จนเป็นที่รู้จัก ทังอําเภอ เมื่อกลุ่มการเงินทุกกลุ่มมองเห็นข้อดีของการรวมก็จับมือกันตั งเป็น สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน บ้านดวงดี ขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2554 2. วิสัยทัศน์ “ระเบียบดี ลดหนี้ได้ ” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านดวงดี วันที่ 21 เดือนกรกฎาคม พ ศ. 2554 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านดวงดี พ.ศ. 2559 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นาย จรูญศักดิ นุ่นแก้ว โทร : 08 7895 3973 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 11 คน ชาย 10 คน หญิง 1 คน
117 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 2,353,409 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 1,021,000 634 1 บาท/ เดือน 1 ปี 1 บาท/ เดือน ไม่มีกําหนด 2. กลุ่มออมทรัพย์ประมง 1,239,246 370 3. กลุ่มนาประปาหมู่บ้าน 50,000 300 4. กลุ่มกองทุน ต้านยาเสพติด 43,163 80 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 4 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 2,353,409 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดวงดี หมู่ที่ 7 ตําบลสองพี่น้อง อําเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ บาท/เดือน กล ุ ่ มออมทรพย ์ เพ ื ่ อการผลต กล ุ ่ มออมทรพย ์ ประมง เงื่อนไข 1. ลูกหนี้ดี มีวินัย 2. กู้ได้ไม่เกินจํานวนเงินออม 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. เป็นสมาชิก 5. ออมขันตา 20 บาท 6. ชําระรายเดือน ผิดนัดชําระ 1. ผิดนัดไม่เกิน 3 ครัง 2. เสียเครดิต ไม่สามรถกู้ฉุกเฉินได้ 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน)
118 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี 2560 - 2563 การส่งเสริมอาชีพ ปลูกผักสวนครัว กลุ่มเกษตรเลี้ยงผึ้งโพรง กลุ่มทําปุ๋ยหมัก และ ผักสวนครัวรัวกินได้ กลุ่มกองทุนปุ๋ยชุมชน 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดวงดี หมู่ที่ 7 ตําบลสองพี่น้อง อําเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ ศ. 2564 มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมรวมทังสิน จํานวน 90 ครัวเรือน โดยสามารถบริหารจัดการหนี้ได้ จํานวน 30 คน เป็นเงินจํานวน 1,675,000 บาท สามารถลดหนี้ จํานวน 28 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 29,250 บาท สามารถปลดหนี้ จํานวน 1 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 20,000 บาท
119 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านวังนกไข่ หมู่ที่ 8 ตําบลหนองนกไข่ อําเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านวังนกไข่
120 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านวังนกไข่ หมู่ที่ 8 ตําบลหนองนกไข่ อําเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร 1. ความเป็นมา พื้นที่หมู่ที่ 8 บริเวณโรงเรียนวังนกไข่ และบริเวณรอบ ๆ มีลักษณะเป็นหนองนาขนาดใหญ่ และมีนก หลากหลายชนิดมาสร้างรังและออกไข่ ชาวบ้านจึงเรียกพื้นที่บริเวณนี้ว่า “วังนกไข่” ต่อมาพื้นที่บริเวณนี้ไม่มี เหตุการณ์นาท่วม เนื่องจากมีการขุดลอกคูคลองเพื่อระบายนาทําพื้นที่เป็นวังนาทําให้ปริมาณนาลดลงกลายเป็น หนองนาเล็ก ๆ และหนองนานันได้ถูกถมที่ และสร้างเป็นโรงเรียนนามว่า “วังนกไข่” ปัจจุบันชาวบ้านส่วนใหญ่ในพื้นที่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ปลูกฝรัง ชมพู่ เป็นต้น และมีชาวบ้าน บางส่วนประกอบอาชีพค้าขาย และรับจ้างทัวไป ประชากรในพื้นที่มีจํานวนทังหมด 430 คน ประกอบด้วย ชาย 206 คน หญิง 224 คน หรือเป็นครัวเรือนทังหมด 156 ครัวเรือน 2. วิสัยทัศน์ “ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านวังนกไข่ เป็นแหล่งเรียนรู้ แหล่งเงินออม และแหล่งเงินทุนในการ ประกอบอาชีพ ดําเนินงานด้วยความโปร่งใส มีคุณธรรม สมาชิกดํารงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” 3. จัดตังเป็น ศูนย์จัดการกองเงินทุนชุมชนบ้านวังนกไข่ วันที่ 25 เดือนกันยายน พ ศ. 2563 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายธวัช อุทัย โทร : 08 4662 3687 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 12 คน ชาย 4 คน หญิง 8 คน
121 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านวังนกไข่ หมู่ที่ 8 ตําบลหนองนกไข่ อําเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 4,311,146 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงิน ทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 1,106,022 70 15 บาท/ปี 10 เดือน 6 บาท/ปี 10 เดือน 2. กองทุนหมู่บ้านฯ 3,205,124 250 1 ปี 1 ปี 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 2 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 4,311,146 บาท ดังนี้
122 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านวังนกไข่ หมู่ที่ 8 ตําบลหนองนกไข่ อําเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ไม่มีหนี้นอกระบบ 3. ออมขันตา 100 บาท 4. ชําระรายปี ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 1 2. ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถยืมเงินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ไม่มีหนี้นอกระบบ 3. ชําระรายปี ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 1 2. ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถกู้เงินฉุกเฉินได้ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต กองทุน หมู่บ้านฯ บ ้ านวงนกไข ่ โมเดล อัตราดอกเบี้ย บาท ต่อปี ระยะเวลาปล่อยกู้ 10 เดือน ระยะเวลาปล่อยกู้ 1 ปี
123 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านวังนกไข่ หมู่ที่ 8 ตําบลหนองนกไข่ อําเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี 2564 การส่งเสริมอาชีพ ทําสวน 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ ศ. 2564 มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมรวมทังสิ น จํานวน 30 ครัวเรือน สามารถบริหารจัดการหนี้ได้ จํานวน 30 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 318,200 บาท โดยสามารถลดหนี้ จํา นวน 21 ครัวเรือน เป็นเงินจํา นวน 105,200 บาท และปลดหนี้ จํา นวน 9 ครัวเรือน เป็นเงินจํา นวน 213,100 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองเป้ง หมู่ที่ 2 ตําบลบางนางลี่ อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองเป้ง
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองเป้ง หมู่ที่ 2 ตําบลบางนางลี่ อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม 1. ความเป็นมา บ้านคลองเป้ง มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบลุ่ม เหมาะสําหรับทําการเกษตร ชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพทําสวน เช่น มะพร้าว ส้มโอ มะละกอ กล้วย ปลูกพืชผสมผสาน และรับจ้างทัวไป หมู่บ้านคลองเป้งมีผู้เฒ่าผู้แก่เล่ากันว่า สมัยก่อนในพื้นที่มีการปลูกมะพร้าวเป็นจํานวนมากตามแนวชายคลอง ต้นมะพร้าวก็จะเอนไปขวางทาง น า พอเรือพายไปในลําคลองตอนกลางคืน หัวเรือก็จะไปชนกับตอหรือต้นมะพร้าวเสียงดัง “เป้ง” ก็เลยเป็นที่มา ของชื่อหมู่บ้าน “คลองเป้ง” ตั งแต่นันเป็นต้นมา ปัจจุบันมีครัวเรือน จํานวน 118 ครัวเรือน มีประชากร จํานวน 343 คน แยกเป็นชาย 160 คน หญิง 183 คน 2. วิสัยทัศน์ “คุณภาพชีวิตดี เศรษฐกิจพัฒนา พึ่งพาตนเองได้” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านคลองเป้ง วันที่ 19 เดือนพฤษภาคม พ ศ . 2554 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านคลองเป้ง วันที่ 25 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2562 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายวิโรจน์ สุวรรณปรีชา โทร : 08 6175 9878 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 9 คน ชาย 4 คน หญิง 5 คน รีไฟแนนซ์ (refinance) คือการปิดสินเชื่อจากเจ้าหนี้เดิมแล้วย้าย/ โอนหนี้ ไปทําสัญญากับเจ้าหนี้ใหม่ ที่ให้เงื่อนไขดีกว่า เช่น มีอัตราดอกเบี้ย ถูกลง หรือมีการปรับยอดชําระลดลง 125 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565
126 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 5,923,694.98 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะ เวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะ เวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 247,915.63 57 6 บาท/ปี 1-2 ปี 6 บาท/ปี 1-2 ปี 2. กองทุนหมู่บ้านฯ 2,759,309.58 137 3. กลุ่มชุมชนออมทรัพย์ บ้านคลองเป้ง หมู่ที่ 2 2,916,469.77 130 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 3 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 5,923,694.98 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองเป้ง หมู่ที่ 2 ตําบลบางนางลี่ อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
127 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองเป้ง หมู่ที่ 2 ตําบลบางนางลี่ อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) เงื่อนไข 1. เป็นเงินออมและประกันความเสี่ยง 2. ออมขันตาคนละ 50 บาท/เดือน 3. ส่งเงินสัจจะเป็นประจําสมาเสมอ ผิดนัดชําระ 1. ติดตาม/ทวงถาม เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ลูกหนี้รายใหม่ 10,000 บาท /ครัวเรือน 3. ลูกหนี้รายเก่า 20,000 บาท /ครัวเรือน 4. ชําระเงินรายปี หรือรายเดือนได้ ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 0.2 บาท/เดือน 2. เสียเครดิต 3. ไม่สามารถกู้เงิน ฉุกเฉินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยในการชําระเงินคืน และบริหารจัดการหนี้ได้ 2. ชําระเงินรายเดือน 3. มีการออมเงินขันตาคนละ 50 บาท/เดือน ผิดนัดชําระ 1. ติดตาม/ทวงถาม 2. ปรับร้อยละ 0.2 บาท/เดือน 3. เสียเครดิต
128 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี 2560 - 2563 การส่งเสริมอาชีพเลี้ยงไก่ไข่และไส้เดือนขยายพันธุ์พืช (การตอนกิงส้มโอ) 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านคลองเป้ง หมู่ที่ 2 ตําบลบางนางลี่ อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ ศ. 2660 – 2564 ตลอดระยะเวลา 5 ปี มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วม กิจกรรมรวมทังสิน จํานวน 150 ครัวเรือน สามารถบริหารจัดการหนี้ได้ จํานวน 156 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 837,000 บาท โดยสามารถลดหนี้ จํานวน 36 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 387,000 บาท และปลดหนี้ จํานวน 20 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 450,000 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านปลายคลอง 18 หมู่ที่ 11 ตําบลหมอนทอง อําเภอบางนาเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านปลายคลอง 18
130 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านปลายคลอง 18 หมู่ที่ 11 ตําบลหมอนทอง อําเภอบางนาเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา 1. ความเป็นมา บ้านปลายคลอง 18 หมู่ 11 ตําบลหมอนทอง อําเภอบางนาเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา เดิมหมู่บ้าน ชื่อบ้าน คลอง 19 ตําบลหมอนทอง อําเภอบางนาเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ต่อมาตําบลหมอนทองได้มีการแบ่งแยก ออกเป็น 2 ตําบล คือ ตําบลสิงโตทอง จํานวน 8 หมู่บ้าน และตําบลหมอนทองเหลือ 11 หมู่บ้าน ตามสภาพ ภูมิศาสตร์พื้นที่ตั งหมู่บ้านอยู่ปลายคลอง 18 และได้เรียกบ้านปลายคลอง 18 จนถึงปัจจุบัน ชาวบ้านส่วนใหญ่ ตั งบ้านเรือนริมฝังคลอง อาศัยนาในการอุปโภคและเพาะปลูก ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ทํานา อาชีพเสริมการปลูกผัก และรับจ้างทัวไป ในหมู่บ้านมีจํานวน 111 ครัวเรือน 388 คน ประกอบด้วย ชาย 186 คน หญิง 202 คน เป็นหมู่ที่มีความเข้มแข็งด้านผู้นําชุมชน เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมในหมู่บ้าน รวมทังพัฒนา ขับเคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ ของกองทุนชุมชนอย่างต่อเนื่อง จึงได้คัดเลือกบ้านปลายคลอง 18 เป็นหมู่บ้าน การดํ าเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2555 โดยการบูรณาการเชื่อมโยง กลุ่มองค์กรกองทุนการเงินต่าง ๆ ซึ่งมีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นแกนนําในการดําเนินการบริหารจัดการ เงินทุนชุมชน และเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 ได้มีการเปลี่ยนชื่อมาเป็น “ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้าน ปลายคลอง 18” โดยมีเป้าหมายการดําเนินงานที่สําคัญ คือ การบริหารจัดการหนี้ 2. วิสัยทัศน์ “ซื่อสัตย์ โปร่งใส ให้บริการ ชุมชนเป็นสุข” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านปลายคลอง 18 วันที่ 15 เดือนมิถุนายน พ ศ. 2555 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านปลายคลอง 18 วันที่ 20 เดือนกุมภาพันธ์ พ ศ. 2561 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นางมยุเรศ ปลอดเปลื้อง โทร : 08 1946 0730 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 16 คน ชาย 4 คน หญิง 12 คน
131 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านปลายคลอง 18 หมู่ที่ 11 ตําบลหมอนทอง อําเภอบางนาเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 11,038,039.15 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 7,921,530.36 181 6 บาท/ปี 1 ปี 6 บาท/ปี 1 ปี 2. โครงการ กข.คจ. 314,018.72 111 3. กองทุนหมู่บ้านฯ 2,802,490.07 131 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 3 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 11,038,039.15 บาท ดังนี้
132 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) บ้านปลายคลอง 18 โมเดล เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ยืมไม่เกินคนละ 100,000 บาท/ปี 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ออมขันตา 50 - 1,000 บาท 5. ชําระรายปี 6. เป็นสมาชิกเงินออมวันละบาท ผิดนัดชําระ ปรับร้อยละ 12 บาท/ปี เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกินครัวเรือนละ 30,000 บาท/ปี 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ออมขันตา 50 - 1,000 บาท 5. ชําระรายปี 6. เป็นสมาชิกเงินออมวันละบาท ผิดนัดชําระ ปรับร้อยละ 12 บาท/ปี เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกินครัวเรือนละ 30,000 บาท/ปี 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ออมขันตา 50 - 1,000 บาท 5. ชําระรายปี 6. เป็นสมาชิกเงินออมวันละบาท ผิดนัดชําระ ปรับร้อยละ 12 บาท/ปี ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านปลายคลอง 18 หมู่ที่ 11 ตําบลหมอนทอง อําเภอบางนาเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา
133 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ปี 2560 -2562 การส่งเสริมอาชีพปลูกผักปลอดภัย การแปรรูปนาพริก การแปรรูปกล้วย 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ ศ. 2660 – 2564 ตลอดระยะเวลา 5 ปี มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วม กิจกรรมรวมทังสิน จํานวน 150 ครัวเรือน สามารถบริหารจัดการหนี้ได้ จํานวน 61 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 2,523,000 บาท โดยสามารถลดหนี้ จํานวน 5 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 53,000 บาท และปลดหนี้ จํานวน 21 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 713,000 บาท ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านปลายคลอง 18 หมู่ที่ 11 ตําบลหมอนทอง อําเภอบางนาเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดงตาแทน หมู่ที่ 4 ตําบลดงพระราม อําเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดงตาแทน
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านดงตาแทน หมู่ที่ 4 ตําบลดงพระราม อําเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี 1. ความเป็นมา ตํ า บลดงตาแทน ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรม สภาพดินฟ้าอากาศ มี 3 ฤดู หมู่บ้านมีการปลูกไม้เศรษฐกิจ คือ ไม้ไผ่รวก ไผ่เลี้ยง ไผ่ตง ปลูกเป็นแนวเขตบริเวณ รอบบ้าน นอกจากนี้ยังปลูกไม้ผล ปลูกผักสวนครัว ชนิดต่าง ๆ อีกมากมาย เช่น กระท้อน มะไฟ ขนุน ทุเรียน มะปราง มังคุด และไม้ดอกไม้ประดับ และการทํานา ในปี พ.ศ. 2552 กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย และหน่วยงานภาคีการพัฒนาได้ส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนในหมู่บ้านดงตาแทน ได้น้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการ พัฒนาหมู่บ้าน และชีวิตประจําวันของประชาชน โดยบ้านดงตาแทนได้เป็นเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับการพัฒนา “พออยู่ พอกิน” และเป็นหมู่บ้านที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน ตามระบบมาตรฐานงานชุมชน (มชช.) ประเภทชุมชน ในปี พ ศ. 2554 และได้รับงบประมาณจากกรมการพัฒนาชุมชน จํานวน 54,900 บาท สํานักงานพัฒนาชุมชอําเภอร่วมกับกองทุนชุมชนบ้านดงตาแทน ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กองทุนแก้ไขปัญหาความยากจน(กข คจ.) กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กลุ่มจักสานและกลุ่มประปาหมู่บ้าน จัดตั งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านดงตาแทน ขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ ศ. 2554 มีคณะกรรมการ สถาบัน จํานวน 11 คน มีนายสมศักดิ ธัญญวิกัย เป็นประธาน มีภารกิจหลักในการบริหารจัดการกองทุนชุมชน ส่งเสริมการบริหารหนี้แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ส่งเสริมสวัสดิการแก่ชุมชน ต่อมาในวันที่ 13 มีนาคม 2560 ได้เปลี่ยนชื่อจากสถาบันการจัดการกองทุนชุมชนเป็นศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านดงตาแทน 2. วิสัยทัศน์ “กลุ่มทุนเข้มแข็ง มีแหล่งเรียนรู้ มุ่งสู่สวัสดิการชุมชนสร้างกระบวนการพึ่งตนเอง ร่วมกันพัฒนา หมู่บ้านให้ยังยืน” 3. จัดตังเป็น เดิมใช้ชื่อ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านดงตาแทน วันที่ 18 เดือนกรกฎคม พ ศ. 2554 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านดงตาแทน วันที่ 13 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2560 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน พ.อ.อ.สมศักดิ ธัญญวิกัย โทร : 08 2684 5796 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 11 คน ชาย 4 คน หญิง 7 คน 135 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565
136 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 6,620,710 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะ เวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 4,040,710 213 12 บาท/ปี 10 เดือน 6 บาท/ปี 30 เดือน หรือ ตามความ เหมาะสม 2. กองทุนหมู่บ้านฯ 2,580,000 109 6 บาท/ปี 1 ปี 2 ปี 3. โครงการ กข.คจ. 281,000 30 ไม่ได้ ปล่อยให้ ยืม 4. กลุ่มประปาหมู่บ้าน ดงตาแทน 620,879 227 5. กลุ่มจักสาน บ้านดงตาแทน 80,000 25 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 5 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 6,620,710 บาท ดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดงตาแทน หมู่ที่ 4 ตําบลดงพระราม อําเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี
137 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดงตาแทน หมู่ที่ 4 ตําบลดงพระราม อําเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) บ้านดงตาแทนโมเดล กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต กองทุน หมู่บ้านฯ อัตรา ดอกเบี้ย บาท ต่อปี เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. ไม่มีหนี้นอกระบบ 3. ออมขันตา 100 บาท 4. พิจารณาการกู้เงินจากวินัยการส่งเงิน 5. ชําระเป็นรายเดือน 6. ปรับลดดอกเบี้ยแก่ครัวเรือนเป้าหมาย ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 7.5 บาท/ปี 2. ไม่ได้รับสวัสดิการ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกิน 50,000 บาท/คน 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 4. ชําระรายปี ผิดนัดชําระ ไม่ได้รับสวัสดิการ
138 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านดงตาแทน หมู่ที่ 4 ตําบลดงพระราม อําเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี ปี 2560 - 2564 การส่งเสริมอาชีพทําดอกไม้จันท์ ทําปุ๋ยชีวภาพ จัดสานเข่ง ทํานายาล้างจาน การทําบายศรี 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ . ศ . 2660 – 2564 ตลอดระยะเวลา 5 ปี มีจํา นวนครัวเรือนที่ เข้าร่วมกิจกรรมรวมทังสิ น จํานวน 150 ครัวเรือน สามารถบริหารจัดการหนี้ได้ จํานวน 24 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 622,000 บาท โดยสามารถลดหนี้ จํานวน 19 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 470,000 บาท และปลดหนี้ จํานวน 5 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 152,000 บาท
ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านสนามเพ็ง หมู่ที่ 9 ตําบลสามบัณฑิต อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา คลิปวีดิทัศน์ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านสนามเพ็ง
140 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านสนามเพ็ง หมู่ที่ 9 ตําบลสามบัณฑิต อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 1. ความเป็นมา สมัยก่อนบริเวณที่ตังหมู่บ้าน มีต้นสําเพ็งขึ้นอยู่มากมายผู้คนปลูกบ้านเรือนอาศัยอยู่เป็นกลุ่ม ๆ โดยเรียก ชื่อบ้านตามสภาพสิงแวดล้อมที่ปรากฏอยู่ ดังนี้ กลุ่มบ้านดอนเดื่อ กลุ่มบ้านดอนข่อยชัน และกลุ่มบ้านสนามเพ็ง ต่อมาภายหลังมีการตั งชื่อหมู่บ้านจึงใช้ชื่อกลุ่มบ้านสนามเพ็งซึ่งเป็นกลุ่มบ้านที่ใหญ่กว่า จึงเป็นที่มาของ ชื่อหมู่บ้านสนามเพ็ง มาถึงปัจจุบันนี้ มีจํานวนครัวเรือนทังหมด 120 ครัวเรือน มีจํานวนประชากร 431 คน แยกเป็น ชาย 207 คน หญิง 224 คน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทํานา และรองลงมาเป็นอาชีพรับจ้าง 2. วิสัยทัศน์ “ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนดี บริหารหนี้ได้” 3. จัดตังเป็น ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านสนามเพ็งวันที่ 1 เดือนเมษายน พ ศ. 2560 4. ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน นายภานรินทร์ บํารุงวงษ์ โทร : 08 6127 1817 5. คณะกรรมการบริหารศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จํานวน 15 คน ชาย 7 คน หญิง 8 คน
141 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านสนามเพ็ง หมู่ที่ 9 ตําบลสามบัณฑิต อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) เงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 9,059,060 บาท กลุ่มกองทุนมีเงิน/ กลุ่มกองทุนไม่มีเงิน จํานวนเงินทุน (บาท) จํานวน สมาชิก (คน) การปรับโครงสร้างหนี้ อดีต ปัจจุบัน ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ ดอกเบี้ย ระยะเวลา ปล่อยกู้ 1. กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต 4,196,310 268 12 บาท/ปี 1 ปี 12 บาท/ปี 1 ปี 2. กองทุนหมู่บ้านฯ 2,200,000 198 6 บาท/ปี 2 ปี 6 บาท/ปี 2 ปี 3. เงินสัจจะ 2,662,750 198 6. สมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (โครงสร้างศูนย์จัดการกองทุนชุมชน) การบูรณาการกองทุนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทังหมด 3 กลุ่ม/องค์กร/กองทุน การเงิน โดยมี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นแกนนําหลักในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน มีเงินทุนในการบริหารจัดการทังสิน จํานวน 9,059,060 บาท ดังนี้
142 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านสนามเพ็ง หมู่ที่ 9 ตําบลสามบัณฑิต อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 7. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ (เงื่อนไขการดําเนินงาน) เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกินเงินสัจจะ/คน 3. ออมขันตา 50 บาท ไม่เกิน 300 บาท 4. ชําระรายเดือน ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 2 บาท/เดือน 2. ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถยืมเงินได้ เงื่อนไข 1. ลูกหนี้มีวินัยดี 2. กู้ไม่เกิน 75,000 บาท/คน 3. ชําระรายปี ผิดนัดชําระ 1. ปรับร้อยละ 2 บาท/เดือน 2. ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถกู้ได้
143 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านสนามเพ็ง หมู่ที่ 9 ตําบลสามบัณฑิต อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 8. การส่งเสริมอาชีพกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” กิจกรรม ลดรายจ่าย เพิมรายได้ แก่ครัวเรือนเป้าหมาย การส่งเสริมอาชีพทํานาพริก กระยาสารท นายาเอนกประสงค์ 9. ผลสําเร็จการบริหารจัดการหนี้ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ผลการปรับโครงสร้างหนี้ พ.ศ. 2660 – 2562 ตลอดระยะเวลา 5 ปี มีจํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วม กิจกรรมรวมทังสิน จํานวน 90 ครัวเรือน สามารถบริหารจัดการหนี้ได้ จํานวน 40 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 964,000 บาท โดยสามารถลดหนี้ จํานวน 29 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 409,000 บาท และปลดหนี้ จํานวน 11 ครัวเรือน เป็นเงินจํานวน 555,000 บาท
144 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 คณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชน สนับสนุนงบการฝึกอาชีพผ่านกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” เน้นการสร้างอาชีพแบบยังยืน คํานึงถึงการต่อยอดจาก อาชีพเดิมที่มีความชํานาญ ความเป็นไปได้ที่นํ าสินค้าออกจําหน่ายได้ตามร้านค้าชุมชน ตลาดนัดพื้นบ้าน คณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ให้สามารถ ขับเคลื่อนการดําเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จนประสบความสําเร็จ มีดังนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบางแห่ง มีการเชิดชูเกียรติและสร้างแรงจูงใจครัวเรือน เป้าหมาย ที่สามารถเป็นต้นแบบการลดหนี้/ปลดหนี้ เช่น (1) เชิดชูเกียรติครัวเรือนเป้าหมาย จัดทําบัญชีครัวเรือนสมาเสมอ โดยมอบใบประกาศเกียรติคุณบุคคลต้นแบบด้านการมีวินัย การทําบัญชีครัวเรือน พร้อมมอบเงินรางวัล จํานวน 800 บาท/คน/บัญชี เพื่อสร้างแรงจูงใจ ให้ประชาชนจัดทําบัญชีครัวเรือน (2) เชิดชูเกียรติครัวเรือนเป้าหมาย ที่มีการออมยอดสะสม สูงสุดต่อปี โดยมอบใบประกาศเกียรติคุณบุคคลต้นแบบการมีวินัยด้านการออม พร้อมมอบ เงินรางวัล จํานวน 1,000 บาท และส่งเสริมการออมแบบอัตราดอกเบี้ยก้าวกระโดดจาก อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2 เป็นร้อยละ 4 เมื่อมียอดเงินออมสะสมภายใน 1 ปี จํานวน 60,000 บาท ขึ้นไป ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน มีโมเดลทางเลือกที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ชุมชนนั น ๆ นอกจากนี้ ยังมี แนวทางการบริหารจัดการหนี้ที่เป็นรูปแบบสากลที่มีการนํามาใช้กันในปัจจุบัน ซึ่งกรมฯ นําเสนอเพื่อเป็นทาง เลือกสําหรับพื้นที่ชุมชนในการนําไปปรับใช้ให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละพื้นที่ โดยคณะกรรมการศูนย์จัดการ กองทุนชุมชนมีทางเลือกตั งแต่ 1 ทางเลือกขึ้นไป ให้ถือว่าสามารถบริหารจัดการหนี้ได้ มีแนวทาง ดังนี้ 1) รวมหนี้ คือ การปรับโครงสร้างหนี้ให้ครัวเรือนที่มีหนี้หลายสัญญา ให้คงเหลือเพียง 1 สัญญา (ลดสัญญาเงินกู้จากเดิม) 2) ยืดหนี้/ขยายระยะเวลาชําระหนี้ 3) ปรับลดอัตราดอกเบี้ย จากแพงเป็นถูกลง 4) พักชําระเงินต้น เป็นการช่วย ลดภาระการผ่อนชัวคราว 5) การพักหนี้ คือ หยุดคิดดอกเบี้ยด้วย 6) ยกหรือผ่อนปรนค่าเบี้ยปรับ หรือดอกเบี้ย ผิดนัดชําระหนี้ เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม และให้ความสําคัญกับความสามารถในการชําระหนี้ของลูกหนี้อย่างเป็น รูปธรรมมากขึ้น 7) รีไฟแนนซ์ (refinance) คือการปิดสินเชื่อจากเจ้าหนี้เดิมแล้วย้าย/โอนหนี้ ไปทําสัญญากับ เจ้าหนี้ใหม่ที่ให้เงื่อนไขดีกว่า เช่น มีอัตราดอกเบี้ย ถูกลง หรือมีการปรับยอดชําระลดลง ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน มีเงื่อนไขการสร้างแรงจูงใจเข้าร่วมโครงการ (1) ส่งเสริมการออมควบคู่กับการชําระหนี้ “บัญชีออมปลดหนี้ ” เช่น กรณีที่ ครัวเรือนเป้าหมายสามารถชําระหนี้เงินกู้ได้ครบก่อนกําหนดการชําระหนี้ 1 ปี ฟรีปลอดดอกเบี้ย (2) จัดกิจกรรมส่งเสริมการปรับลดอัตราดอกเบี้ย (3) ปลอดดอกเบี้ยในปีแรกของการชําระ และ (4) การชําระหนี้ปีแรกให้ชําระ แต่ดอกเบี้ย เป็นต้น
145 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 วิถีชนบทในพื้นที่ “ชุมชนเกื้อกูล” ที่มีมาอย่างช้านาน มีความรัก ความ สามัคคี พึ่งพาอาศัยกันจนเป็นพื้นฐานการดําเนินชีวิตร่วมกันของคนในชุมชน ความขัดแย้งในชุมชนสามารถจัดการด้วยวิถีประชาธิปไตย และการยอมรับ ในเสียงส่วนใหญ่ จึงทําให้การดํ าเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชนในการ บริหารจัดการหนี้ สามารถดําเนินงานได้อย่างราบรื่น คณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชนมองการไกล โดยสร้างภาคี การพัฒนาร่วมภายใต้ความคิดในการที่จะทําให้คนในชุมชนมีอาชีพ รายได้ ที่ยังยืน พึ่งตนเองได้ รวมทังลดหนี้ ปลดหนี้ได้ในที่สุด โดยการแสวงหา หน่วยงานภายนอกมาส่งเสริม สนับสนุนการสร้างงาน สร้างอาชีพที่ยังยืน ให้แก่คนในชุมชนต่อไป คณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชนเป็นชุดเดียวกับกลุ่ม/กองทุน/องค์กรการเงินชุมชนอื่น ทําให้การดําเนินงานบริหารจัดการหนี้ มีแนวทางการปฏิบัติอันเดียวกันสนับสนุนให้การดําเนินงานได้ ง่ายมากขึ้น “คณะกรรมการชุดเดียวกัน แนวทางเดียวกัน” ประธานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน มีบทบาทหน้าที่ต้องรับผิดชอบหลาย อย่างในเวลาเดียวกัน เช่น เป็นประธานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต โครงการ แก้ไขปัญหาความยากจน (กข คจ.) และกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (กทบ.) และดํารงตําแหน่งเป็นถึงนายกองค์การบริหารส่วนตํ าบล กํานัน ผู้ใหญ่บ้านทําให้ การบูรณาการกลุ่ม / กองทุน / องค์กรการเงินชุมชน สามารถการบริหารจัดการ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนเป็นไปได้ง่าย ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน มีสภาพคล่องทางการเงินของ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เพราะส่วนใหญ่กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต จะเป็นแกนหลักที่รับเป็นเจ้าหนี้ในการบริหาร จัดการหนี้ หากมีจํา นวนเงินหมุนเวียนที่ดี ทํา ให้เห็นถึงความ สามารถในการบริหารจัดการหนี้ของศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ได้อย่างชัดเจน
146 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด/อําเภอมีระบบการสอนงาน (Coaching) ของจังหวัด/ อําเภอ และมีการจัดตังกลุ่ม Line เพื่อติดต่อสื่อสาร สร้างความเข้าใจร่วมกันขับเคลื่อนงาน ทําให้งานออกมามีประสิทธิภาพ เพื่อให้เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนเกิดการเรียนรู้ในภารกิจงาน ของกรมการพัฒนาชุมชน และเข้าใจการดําเนินงาน ศูนย์จัดการกองทุนชุมขน สร้างเครือข่ายระหว่างจังหวัดกับอําเภอ อําเภอกับคณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชน เพื่อให้การขับเคลื่อนงานมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสบการณ์การขับเคลื่อนงาน เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จังหวัด/อําเภอ ให้สามารถขับเคลื่อนการดําเนินงาน ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน จนประสบความสําเร็จ มีดังนี้ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ศึกษาทําความเข้าใจแนวทางการขับเคลื่อน การดํ าเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชนอย่างถ่องแท้ ศึกษาข้อมูลพื้นที่อย่างชัดเจน เพื่อที่สามารถ ช่วยในการขับเคลื่อนและแก้ไขปัญหาร่วมกับคณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชนได้อย่างทันท่วงที และลงพื้นที่เพื่อติดตามการดําเนินงานคณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชนอย่างสมาเสมอ สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอพิจารณาคัดเลือกหมู่บ้าน/ ชุมชน ที่มีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่มีความเข้มแข็ง ตามหลักธรรมาภิบาลเป็นแกนหลักในการจัดตั ง สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ/เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานศูนย์จัดการกองทุน ชุมชนระดับอําเภอ ในฐานะพี่เลี้ยงได้ติดตามสนับสนุนให้คําปรึกษาการดําเนินงาน ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนอย่างต่อเนื่อง เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีกับหน่วยงานภาคี ทํา ให้ภาคีการพัฒนาให้การ สนับสนุน และให้ความสําคัญกับการดําเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน มีการถ่ายทอดแนวทาง การดําเนินงานศูนย์ฯ ไปสู่อําเภอที่เป็นผู้ปฏิบัติในการเข้าไปทําความเข้าใจแนวทางการดําเนินงาน ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน กับประชาชน ในพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน
147 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 บันทึกถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565
148 ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ 2565 คณะทํา งาน ที่ปรึกษา นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน นายวิฑูรย์ นวลนุกูล รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน นายสุรศักดิ อักษรกุล รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน นางทัศนีย์ ชัยคุณแสง ผู้อานวยการสานักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน คณะผู้จัดทา นางสาววนิชดา สร้อยมณี ผู้อํานวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาองค์กรการเงินชุมชน นายชาลี ชูชี นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ นายสมระลึก สุระมาศ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ นางสาวสุธาสินี พุ่มกุมาร
นายธนพล ทองแตง
นางสาวกวีธิดา
นางสาวกาญจนา สิมพันธ์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ พิสูจน์อักษร นางสาวกาญจนา สิมพันธ์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ เดือน ปี ที่จัดพิมพ์ พฤศจิกายน 2565 จานวนที่พิมพ์ 2,380 เล่ม ISBN : 978-974-458-758-9 จัดพิมพ์ที่ บริษัท รุ่งทิพย์ เนรมิตร จํา กัด เลขที่ 2/45 ถ. เพิมสิน 34 แขวงคลองถนน เขตสายไหม กทม. 10220 กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาองค์กรการเงินชุมชน สานักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ นางสาวกาญจนา สิมพันธ์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ
นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ
ใจศิริ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ ผู้เขียน/ออกแบบ/รวบรวม/เรียบเรียง
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ อาคารรัฐปศาสนภักดี (อาคาร B) ชัน 3 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทร. 0-2141-6143 www.cdd.go.th

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.