ALTERNATIVE - Family Issue

Page 1


Family Issue Editorial Pirun Anusuriya ครอบครัว สถาบันส�ำคัญที่จะหล่อหลอมให้เราด�ำรงตนในสังคมออกมาแบบไหน ผมมีความเชือ ่ ในสถาบันนีม ้ ากทีส ่ ด ุ เป็นสิง่ ทีจ่ ะก�ำหนดชะตาชีวต ิ คนๆ หนึง่ ได้เลยว่า เมื่อลืมตาดูโลกใบนี้แล้ว สิ่งแวดล้อมที่เขาต้องเผชิญ ทัศนคติที่เขามีต่อชีวิตและ คนรอบข้างจะเป็นอย่างไร คนในครอบครัวนั้นมีอิทธิพลมากที่สุด เมื่อไม่นานมานี้ ผมเองก็ต้องประสบเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ในชีวต ิ เมือ ่ ครอบครัวร้องขอแกมบังคับให้กบ ั ไปช่วยธุรกิจทีบ ่ ้าน ซึง่ เคยมีข้อเสนอ แบบนี้อยู่หลายครั้ง ผมก็ผลัดผ่อนเสมอ จนกระทั่งวันหนึ่งที่ผมอายุมากขึ้น กอปรกับความคิดบางอย่างที่เรามีต่ออาชีพที่ท�ำอยู่ได้เปลี่ยนไป ผมเลยตัดสินใจ ลดภาระงานของตัวเองลง และปลีกตัวไปช่วยทางบ้าน แม้ว่าจะเป็นการงานในธุรกิจของครอบครัว แต่ผมก็ร้ส ู ก ึ ตืน ่ เต้นอยู่ไม่น้อย ระคนด้วยความกังวลว่าจะท�ำมันออกมาได้ดี เหมือนงานอืน ่ ทีเ่ ราเคยท�ำหรือเปล่า แต่พอมาคิดๆ ดูแล้ว การได้อยู่ใกล้ชด ิ พ่อแม่ในห้วงเวลาแบบนีอ้ าจเป็นเรือ่ งส�ำคัญกว่า เมื่อเราตระหนักได้ว่าอะไรซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุดในชีวิตแล้ว เราจะไม่ลังเลที่จะ เลือกหนทางนั้น ซึ่งในเวลานี้ ผมยินดีเลือกท�ำตามความต้องการของครอบครัว และถือเป็นความยินดีอย่างมากทีไ่ ด้มเี พือ ่ นๆ มากมายให้ความช่วยเหลือ ในการเขียน แปล และดูแลเรื่องศิลปะ คนเหล่านี้มีส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้หนังสือเล่ม นี้ได้เผยแพร่ออกมา เป็นความกรุณาที่ไม่เคยได้รับค่าตอบแทนแม้แต่บาทเดียว

Contributor Anna Deenok Contributor Molly Thamrongvoraporn The very first social institution a person enters in their life is the family. A person learns to become the person that he or she is from the socialization and upbringing from this foremost institution. From the very basic functions of life to the most complex emotions, most people go through it within the context of a family. Firmly established as it is, a family is but a general term. It can come in different compositions, sizes, and nature. You can have a household of 10 or a household of 2, and make a family out of it as long as each member is willing to make it so. In this issue of Alternative, we explore the different families in cinema that challenge the meaning of what a family should be and what wouldn’t a family do for each other. Whether it’s leading a life on the edge of the knife for the Sicilian crime family in The Godfather (1972) or the compassionate ways of the people in Bajrangi Bhaijaan (2015), the idea of being a family is presented and upheld in the most colorful and meaningful ways.

Contributor ชาญชนะ หอมทรัพย์ เนือ ่ งในเดือนแห่งครอบครัว เราอาจพบว่าพอพูดถึงหนังครอบครัว มีหลาย เรือ ่ งเหลือเกินทีก ่ ล่าวถึงครอบครัวในรูปแบบ สถานะ ทีไ่ ด้เผชิญปัญหาต่างๆ ทัง้ ครอบครัวทีส่ มบูรณ์พร้อมไปจนถึงครอบครัวแตกสลาย แต่ในความเป็นจริง ค�ำว่า “ครอบครัว” กลับไม่ได้ประกอบด้วยค�ำว่า พ่อ แม่ ลูก หรือเครือญาติต่างๆ เท่านั้น หากยังหมายถึงกลุ่มคนที่ผูกผันกันด้วยหน้าที่การงาน-ความเชื่อศาสนา-หรือแม้แต่เชื้อชาติ หนังครอบครัวในมุมที่ผมอยากน�ำมาพูดถึง จึงเป็นเรื่อง Bajrangi Bhaijaan ที่ข้ามพ้นเงื่อนไขข้อจ�ำกัดต่างๆ และ พิสูจน์ให้เห็นว่าสังคมมนุษย์เรานี่แหละคือครอบครัวของโลกใบนี้

ตอนได้ยินครั้งแรกว่านิตยสารหัวนี้จะเกิดขึ้น ก็เริ่มไม่แน่ใจว่าจะ ไปไกลได้แค่ไหนตั้งแต่ตอนนั้น ทว่ามันไม่ส�ำคัญเลย หลังถูกชวน มาให้ออกแบบหน้าปกและให้คำ� ปรึกษาด้าน Key Art ต่างๆมาสักพัก สิง่ ทีส ่ ม ั ผัสได้ผ่าน Alternative คือความมุ่งมัน ่ ความตัง้ ใจ และ passion มากมายผ่านผู้สร้างมัน เพียงหวังว่าผู้อ่านทุกท่านจะถูก จุดประกายความเป็นอัลเทอร์บางอย่างให้ลุกขึ้นมาท�ำสิ่งพิเศษ หรือสิ่งที่คิดว่าท�ำไม่ได้ให้เกิดขึ้นจริง ผ่านการเสพนิตยสารเล่มนี้ โดยไม่รีรอโอกาสหรือปล่อยเวลาผ่านไปแบบเสียเปล่า

Contributor เชตี หญิงร้ายในกายทราม หาก Alternative แปลว่าทางเลือก นิตยสารภาพยนตร์ฉบับนี้ก็ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของคนรักหนังที่พยายามเดินตามเส้นทาง ของตนเองเพือ ่ คนคอเดียวกัน และเพราะก้าวเล็กๆ ของคนรักหนัง คนหนึ่ง ผสมกับความทุ่มเทกลายเป็นนิตยสารหนึ่งฉบับ ในฐานะ ที่ได้ร่วมเดินด้วยแม้เพียงเล็กน้อยก็นับเป็นความยินดีมาก Alternative ฉบับนี้กล่าวถึงสถาบันเล็กๆ สถาบันหนึ่ง แต่เป็นสถาบันที่ส�ำคัญยิ่งของสังคม นั่นคือ “ครอบครัว” เพราะ สถาบันครอบครัวเป็นสถาบันพืน ้ ฐาน ครอบครัวจึงเป็นสิง่ ทีห ่ ล่อหลอม พฤติกรรม ความคิดของมนุษย์แต่ละคน ใครจะมีนิสัย พฤติกรรม อย่างไร จึงปฏิเสธไม่ได้ว่ามีผลมาจากครอบครัวเสียส่วนมาก ทว่าครอบครัวแท้จริงแล้วคืออะไร คือกลุ่มคนทีม ่ คี วามสัมพันธ์ ทางสายเลือดเท่านัน ้ หรือผู้ทผ ี่ ก ู พันกันรักใคร่กน ั ก็ถอ ื เป็นครอบครัวได้ ในภาพยนตร์เราก็คงเห็นแล้วว่าครอบครัวมีความสัมพันธ์หลายแบบ หลากนิยาม สมาชิกในครอบครัวคงไม่ได้หมายถึงเพียง พ่อ แม่ ลูก หรือพี่ป้าน้าอา แต่กินความหมายลึกซึ้งยิ่งกว่า เฉกเช่นเดียวกันกับภาพยนตร์ที่ฉายภาพครอบครัวใน รูปแบบต่างๆ ให้เราเห็น และ Alternative ฉบับนี้จะพาคุณไป ร่วมสัมผัสนิยามค�ำว่า “ครอบครัว” ไปด้วยกัน


Contents

WWW. FACEBO O K. CO M/BEIN G ALTER

4

Cover Feature - I’ ll make them an offer they can’t refuse.

14

Film Analysis - The Setup

8

Wide Angle - Brødre - Visitor Q - Bajrangi Bhaijaan

Credit: http://www.splendor-films.com

It’s my time. It’s just my time. Oh, now, don’t you be afraid, sweetheart. Death is just a part of life. It’s something we’re all destined to do. I didn’t know it, but I was destined to be your momma. I did the best I could. - Mrs. Gump

FONTS CS PraJad / ThaiSans Neue / Birch Std / Cambria Math / Century Gothic / Engravers MT / Microsoft Himalaya / Trajan Pro / Times New Roman / Trebuchet MS / Vani


CO VER F EATURE

I’ ll make them an offer they can’t refuse. ข้อเสนอทีไ่ ม่อาจปฎิเสธได้ของ ฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา

The Godfather เป็นภาพยนตร์ไตรภาคสุดคลาสสิคของ ฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา ปรมาจารย์ด้านการท�ำหนังแห่งยุ ค 70 และ The Godfather II นัน้ ถือเป็นผลงาน มาสเตอร์พีซชิ้นหนึ่งในชีวิตการท�ำงานของเขา แม้ความส�ำเร็จจากภาคแรกจะได้ไปทัง้ เงินและกล่อง แต่ความคิดที่จะท�ำภาคสองนัน้ ไม่เคยอยู ่ในหัวของคอปโปลาเลย ALTERNATIVE ฉบับนีจ้ งึ ได้แปลและเรียบเรียงบทดีวดี คี อมเมนทารี่ The Godfather I ถ่ายทอดถึงเบื้องลึกเบื้องหลัง กว่าจะมาเป็นหนังภาคต่อในต�ำนานเรื่องนี้ คอปโปลาได้ ใชอ้ �ำนาจและศักยภาพที่มีผลักดันหนังเรื่องนี้ให้เกิดขึ้นได้อย่างไร

4 / ALTERNATIVE FAMILY ISSUE


ALTERNATIVE FAMILY ISSUE / 5

Credit: http://www.vintag.es


The Godfather II แปลและเรียบเรียง โดย พิรุณ อนุสุริยา

แต่ยังไงผมก็อยากให้หนังมันชื่อนี้ ผมเลย บอกทางสตูดิโอไปว่า “ฟังนะ นั่นเป็น เงือ ่ นไขของผม” สุดท้ายก็ยอมให้ผมตัง้ ชือ ่ หนังเรื่องนี้เป็น The Godfather II

ส�ำหรับ The Godfather II ผมไม่ นึกว่าจะได้ทำ� หนังเรือ ่ งนี้ มันเป็นไอเดีย ที่ ท างสตู ดิ โ อเขาเปรยไว้เ ฉยๆว่า จะ ท�ำภาคต่อ พวกเขาบอกกับผมว่า “นายค้น พบสู ต รท� ำ โคคาโคล่า แล้ว แต่ไม่อยากท�ำขวดอื่นอีกงั้นเหรอ”

สิ่งที่ผมจะท�ำในหนังเรื่องนี้คือการ ใช้วตั ถุดบ ิ จากหน้าหนังสือเป็นต้นฉบับ ที่ว่าด้วยเรื่องของวีโต้ คอลีโอเน่ จากวั น ที่ เ ขาเติ บ โตในซิ ซิ ลี จ น กระทั่งอพยพมาที่อเมริกา เติบโต มากลายเป็นดอน คอลีโอเน่ คาแรคเตอร์ ทีเ่ ราเห็นในหนังภาคแรกทีเ่ ล่นโดย มาร์ลอน แบรนโด ซึ่งเรื่องราว ส่วนนี้มาจากหนังสือทั้งหมด

ผมเคยมีความหลังที่ไม่ดีนักกับ The Godfather ภาคแรก เป็นความทรงจ�ำ ที่ไม่ดีเอาซะเลย ความคิดที่จะท�ำมัน อีกครั้งโดยต้องหวนกลับไปยุ่งเกี่ยว กับคนทีผ่ มไม่ปลืม ้ นักในสตูดโิ อ มันหนัก เกินไป ผมเลยบอกกับทางสตูดิโอว่า ผมไม่อยากท�ำ แต่ผมรู้จกั ผู้กำ� กับรุ่นใหม่ คนหนึ่ง และผมจะแค่โปรดิวซ์ให้ ทาง สตูดิโอก็บอกว่า ได้

ส่วนตัวละครไมเคิล เขาได้สวมรอย ตามแบบพ่อ และกลายเป็นหัวหน้า ครอบครัว ทีม ่ อ ี ำ� นาจสูงสุด ในฉาก เปิดเรือ ่ งของภาคแรกทีเ่ ป็นงานเลีย้ ง เราจึงเลือกน�ำเสนอภาพของงาน เลีย้ งยิง่ ใหญ่แบบเดียวกันในภาคสอง ซึ่งเรามองว่าเป็นธรรมเนียมของ หนังไปแล้ว ด้วยภาพงานกลางแจ้ง อาหารชั้ น ดี แ ละเวที ใ ห้แ ขกเหรื่ อ และคนในครอบครั ว ที่ ร ่ว มเลี้ ย ง ฉลองกัน

แต่พอผมกลับไปบอกทางสตูดิโอว่า ผมได้คนแล้ว คนทีจ่ ะก�ำกับหนังเรือ ่ งนี้ คือ มาร์ติน สกอร์เซซี่ ทางสตูดโิ อ กลับไม่เอา เขาบอกว่า ไม่มีทางที่ สกอร์เซซีจ่ ะไม่ได้กำ� กับหนังเรือ่ งนีห ้ รอก พวกเขาเลยท�ำสิ่งหนึ่งกับผม เหมือนอย่างที่เคย ท�ำกับอัล ปาชิโน่ หรือมาร์ลอน แบรนโด ด้วยการ พูดว่า

จากตรงนั้นก็เป็นภาพห้องรับแขก ทีม ่ ด ื ทึม และการเสนอข้อแลกเปลีย่ น ทีเ่ ต็มไปด้วยเล่ห์เหลีย่ ม และพยายาม คงไว้ซึ่งมาดเจ้าพ่อบารมีล้นฟ้าให้ อยู่ในตัวลูกชายผู้นี้ที่มารับบัลลังก์ ต่อจากพ่อของเขา

“พวกเราอยากให้คุณท�ำหนังเรื่องนี้ คุ ณ ต้อ งการอะไรบอกเรามาได้เ ลย อะไรเราก็จะท�ำตามได้หมด” ผมเลยยื่นเงื่อนไขไปว่า หนึ่งสตูดิโอ ต้องไม่มามีส่วนเกี่ยวข้อง ไม่ว่าอะไร ก็ตาม แม้แต่อ่านสคริปต์ผมก็ไม่ให้ดู ห้ามมาสั่งให้แก้หรือปรับอะไรทั้งนั้น สองผมต้อ งการหนึ่ ง ล้า นดอลลาร์ หรือเท่าไหร่เนีย่ แหละ ผมจ�ำตัวเลขเป๊ะๆ ไม่ได้ แต่เพือ่ เป็นค่าเหนือ่ ยทีส่ มเหตุสมผล และสามคือ ผมไม่อยากเรียกหนังเรือ ่ ง นีว้ ่าภาคต่อ แต่จะใช้ค�ำว่า The Godfather II

เงือ ่ นไขสองข้อแรกโอเค แต่ข้อสามพวกเขาไม่ค่อย จะเห็นด้วย เพราะกังวลเรือ ่ งคนดูจะเข้าใจผิดว่า “อ่าว นีม่ นั หนังอีกครึง่ หนึง่ ของเรือ่ งเดอะ ก็อดฟาเธอร์ งัน้ สิ แต่ฉนั ดูหนังเรือ่ งนัน้ มาแล้ว ไม่ต้องไปดูมนั หรอก”

6 / ALTERNATIVE FAMILY ISSUE

หนังภาคนี้มีความทะเยอทะยานมากใน แง่การเล่าเรื่อง เพราะเราก�ำลังเล่าเรื่อง สองในช่วงเวลาคู่ขนานกัน โดยบอกเล่า เรือ ่ งราวในอดีตพร้อมๆ กับทีข่ บ ั เคลือ ่ น เรือ ่ งไปข้างหน้าด้วย ผมมีไอเดียดังกล่าวนี้ ก่อนที่จะท�ำ The Godfather II ด้วยซ�้ำ

Credit: http://www.vintag.es

ก่อ นหน้า นี้ ผ มอยากเขี ย นเรื่ อ งราวชี วิ ต ข อ ง ช า ย ค น ห นึ่ ง กั บ ชี วิ ต ลู ก ข อ ง เ ข า เปรี ย บเที ย บให้เ ห็ น ในช่ว งที่ ทั้ ง คู ่ต ่า งก็ อายุ 30 เหมือนกัน โดยเล่าแบบคู่ขนาน กันไป จนกระทัง่ มาท�ำ The Godfather II ถึ ง ได้ต ระหนั ก ว่า ตั ว เองได้เ อาแนวคิ ด นี้ มาไว้ในหนัง และช่วงชีวิตของทั้งสองต่าง ก็เป็นกระจกสะท้อนกันและกัน


สิ่งที่มีให้เห็นอยู่บ่อยครั้งในหนังเรื่อง The Godfather คือการที่ผู้คนต่างให้อภัยอีกฝ่ายเสมอ พลัน เราก็เห็นสายตาที่แฝงอยู่ในนั้นและเราก็ตระหนักได้ว่า คนเหล่านี้ไม่เคยให้อภัยใครได้จริงๆ พวกเขา แค่พูดให้อีกฝ่ายรู้สึกว่าได้รับการอภัยแล้ว เพื่อให้คนฟังรู้สึกเบาใจ แต่แท้จริงไม่มีการสวมกอดเพื่อ หวังปกป้อง เป็นแค่การรอเวลาที่จะประหัตประหารกันเท่านั้น ดังนั้นระวังตัวไว้ได้เลย ถ้าหากคุณ ประสบเหตุการณ์ที่พวกมาเฟียมาให้อภัยอะไรกับคุณ ในหนังภาคนี้ ชีวต ิ ของไมเคิลมาถึงจุดทีเ่ รียกได้ว่าเลวร้ายทีส ่ ด ุ เขาสูญเสียทุกสิง่ เสียครอบครัว เสียลูก และเสียเมีย และสะท้อนในซีนใกล้จบที่เขามาเห็นเมียแอบมาเยี่ยมลูกๆ ที่บ้าน ซึ่งเขาก็ได้ท�ำสิ่งที่ เคยท�ำกับเธอในภาคแรก คือปิดประตูต่อหน้าเธอ ส่วนตัวผมคิดว่า คงไม่มีอะไรที่จะพาตัวละครมา ไกลได้ถึงขนาดนี้อีกแล้ว ชายคนนี้ท�ำลายชีวิตตัวเอง และสูญเสียทุกอย่างที่เคยมีค่าต่อตัวเขา ทั้งที่ เขาก็เริ่มมาจากการเป็นคนที่แสนดีคนหนึ่งแต่กลับลงท้ายด้วยการเป็นคนเลว และเขาก็จะต้องทน เจ็บปวดกับมันไปอีกนานแสนนาน

Credit: http://thegodfathertrilogyblogspot.blogspot.com

ฉากจบของเรื่องนี้ ผมพาคนดูย้อนกลับไปสู่จุดเริ่มต้น ซึ่งในแง่การถ่ายท�ำคือการน�ำตัวละครจากภาค ที่แล้วกลับมาให้มากที่สุด เพื่อสะท้อนมุมมองของคนในครอบครัวมีต่อไมเคิลเมื่อครั้งอดีต เราได้ เห็นการตัดสินใจของเขาที่จะไปสมัครเป็นทหารในกองทัพเรือสหรัฐ จากหนุ่มมหาลัยอนาคตไกล เปลีย่ นเป็นวีรบุรษ ุ สงครามทีซ่ อ ื่ ตรง กลับต้องมาลงเอยด้วยการเป็นคนไร้หวั จิตหัวใจทีส ่ งั หารพีช่ ายตัวเอง ห่างเหินต่อคนในครอบครัวและทอดทิ้งลูกเมีย มันคือฉากจบทีย ่ อดเยีย ่ มฉากหนึง่ ระหว่างไมเคิลและดอนคอลีโอเน่ แม้ว่าเราจะไม่เห็นดอนปรากฎตัว เลยก็ตาม แต่ผมต้องการน�ำเสนอภาพที่พี่น้องต่างค่อยๆ ทยอยลุกออกจากโต๊ะไป แล้วทิ้งให้ผู้ชม เฝ้าดูไมเคิลนั่งนิ่งที่โต๊ะ ตามด้วยเสียงแสดงความยินดีที่พ่อมาถึงบ้าน แต่ผู้ชมยังคงเห็นว่าเขายังนั่ง อยู่ตรงนั้น รับรู้ได้ว่าเขายังอยู่ที่เดิม แล้วฉากนี้ก็สิ้นสุดลงโดยไมเคิลเพียงล�ำพัง เชื่อมด้วยภาพสมัยที่ พ่อก�ำลังจับมือให้เขาโบกขณะนั่งรถไฟเหมือนกับการชักใยหุ่นกระบอก ส�ำหรับผมนี่คือบทสรุปของ The Godfather เราได้เห็นไมเคิลนั่งครุ่นคิดอยู่คนเดียว ชายคนนี้ที่ถูกทิ้งให้รับชัยชนะได้ทุกสิ่ง และก็สูญเสียทุกสิ่งในเวลาเดียวกัน

ALTERNATIVE FAMILY ISSUE / 7


WIDE ANGLE

Brødre

ส่วนเกินของครอบครัว หนังรางวัล World Cinema จากเทศกาล Sundance เมื่อปี 2005 ที่ถกู ฮอลลีวูดซื้ อไปรีเมคโดย จิม เชอริแดน มีอดีตสไปเดอร์แมน โทบี้ แมคไกวร์น�ำแสดง สมทบด้วย นาตาลี พอร์ทแมน และเจค จินเลนฮาล และตัง้ ชื่ อ ให้เป็นอเมริกันว่า Brothers ที่เราจะไม่พูดถึงในบทความนี้ อ่าว!

Credit: http://www.prisguide.no

8 / ALTERNATIVE FAMILY ISSUE


แต่เราจะกล่าวถึง Brødre ผลงานต้นฉบับเวอร์ชั่นของประเทศเดนมาร์ก ก�ำกับโดย ซูซาน เบียร์ เล่าเรื่องราวของมิคาเอล พ่อ/หัวหน้าครอบครัว/ สามีอันเป็นที่รัก เมื่อต้องไปประจ�ำการรบที่อัฟกานิสถานในฐานะผู้บังคับบัญชา เกิดประสบเหตุไปคาดฝันเมื่อเฮลิคอปเตอร์ที่เขาโดยสารถูกยิงตก ทิ้งข่าวร้ายให้กับซาราห์ผู้เป็นภรรยากับลูกสาวอีกสองคนเผชิญกับความสูญเสียครั้งใหญ่ในชีวิต การสูญเสียครั้งนี้ส่งผลต่ออีกคน คือน้องชายของมิคาเอลที่ชื่อ ยานิค เขาเป็นคนไม่เอาไหนและชอบสร้างปัญหาให้กับครอบครัวนี้เป็นประจ�ำตั้งแต่ ตอนที่มิคาเอลยังอยู่ ทุกคนต่างมองยานิคเป็นส่วนเกิน ไม่เว้นแม้แต่พ่อผู้ให้ก�ำเนิดที่มักจะเปรียบเทียบเขากับมิคาเอลที่ต่างกันราวฟ้ากับเหว มิคาเอลคือทหารกล้าทีร่ บ ั ใช้ชาติ มีครอบครัวสมบูรณ์เพียบพร้อม ขณะทีย ่ านิคเป็นไอ้ขเี้ มาทีเ่ พิง่ ออกจากคุก ตกงาน และพูดจาไม่ร้ก ู าลเทศะบ่อยๆ จนกระทั่งเมื่อครอบครัวสูญเสียมิคาเอล ยานิคได้เริ่มปรับปรุงตัวและกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของบ้านได้อีกครั้ง

ทุกอย่างคงจะดีถ้าไม่เกิดการสปาร์คระหว่างยานิคผู้เป็นน้องเขยและม่ายสาวอย่างซาราห์ ในห้วงเวลาที่จต ิ ใจต่างก็เปราะบางต้องการที่ยึดเหนี่ยว จากการสูญเสียมิคาเอล ที่เป็นคนส�ำคัญในชีวิตทั้งสองเหมือนกัน เพียงแต่ต่างสถานะ ด้วยความทีเ่ ป็นหนังจากเดนมาร์ก ทุนสร้างไม่สงู เหมือนฮอลลีวด ู การเล่าเรือ ่ งในขอบเขตทีไ่ ม่ได้กน ิ อาณาบริเวณกว้างขวางนัก เราจึงได้เห็นตัวละคร ส่วนใหญ่ใช้ชวี ต ิ อยู่ในบ้าน อันเป็นเซ็ตติง้ มาตรฐาน แต่หนังกลับใช้ประโยชน์จากข้อจ�ำกัดนี้ น�ำเสนอปมขัดแย้งทีค ่ ่อยๆ ทวีความคุกรุ่นได้อย่างมีชน ั้ เชิง ตัวละครทุกตัวในเรื่องถูกแจกจ่ายบทให้มีส่วนในการประกอบสร้างครอบครัวเล็กๆ นี้ รวมทั้งลูกสาวสองคนด้วย ขณะที่เหตุการณ์ฮอตกนั้นถูกสานต่อด้วยการเปิดเผยว่า มิคาเอลรอดตายราวปาฎิหาริย์แต่ กลับต้องถูกจับเป็นเชลยในค่ายของศัตรู เรื่องราวของมิคาเอลและยานิคถูกเล่าคู่ขนานกัน ยานิคค่อยๆ มาแทนที่มิเกลทั้งในเชิงสัมพันธภาพกับซาราห์และลูก และเชิงกายภาพที่กลับ มาต่อเติมห้องครัวที่มิคาเอลเคยสัญญากับซาราห์ว่าจะมาซ่อมให้ ส่วนพ่อของยานิคก็เริ่ม กลับมามองลูกตัวเองเป็นผู้เป็นคนได้เสียที บ้านจึงกลายเป็นสัญญะหนึ่งของการกลับมาก่อร่างสร้างครอบครัวขึ้นอีกครั้ง ส่วนหนึ่งคือ การเข้ามาของยานิค ส่วนการสูญเสียมิคาเอลเป็นอดีตที่ถูกทิ้งไว้เบื้องหลัง ตามครรลอง ของชีวิต ในที่สุดคนในบ้านก็ยอมรับความจริงได้และก้าวต่อไป ขณะที่อีกด้านมิคาเอลที่ถูก จับขังเป็นเชลย มีเพียงครอบครัวเท่านั้นที่เป็นแรงผลักดันให้เขาทนมีชีวิตอยู่ต่อภายใต้ สถานการณ์เลวร้าย ยานิคจากที่เคยเป็นส่วนเกิน บัดนี้ทุกคนยอมรับให้มาเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว แต่โชคไม่ เข้าข้างมิคาเอล การถูกขังในค่ายเชลยได้เปลี่ยนแปลงตัวเขาไปอย่างสิ้นเชิง มิคาเอลยอม ท�ำบางสิ่งเพื่อให้มีชีวิตรอดไปพบหน้าลูกเมีย แต่มันได้ท�ำลายส่วนหนึ่งในตัวเขาไปแล้ว บาดแผลจากสงครามนี้ท�ำให้เขาไม่หลงเหลือความเป็นพ่อ ซ�้ำร้ายกว่านั้นเขาไม่หลงเหลือ ความเป็นมนุษย์อีกต่อไป เรื่องราวยังคงซ่อนประเด็นคลุมเครือระหว่างยานิคและซาราห์ว่าเผลอใจเลยเถิด ไปถึงไหน จนกระทัง่ เมือ ่ ขมวดเข้าสู่องก์ท้าย การได้เห็นเหตุการณ์ทเี่ หมือนย้อนรอย ฉากบนโต๊ะอาหารต้นเรื่อง เพียงแต่ครั้งนี้ครอบครัวที่กลับมาประกอบกันใหม่ได้ แฝงรอยร้าวที่ลึกเกินจะกู้คืน แปรเปลี่ยนเป็นระเบิดเวลาที่รอวันปะทุเท่านั้น นีค ่ อ ื หนังดราม่าชัน ้ ดีทไี่ ม่ต้องใช้ทน ุ สูง แต่เข้าถึงอารมณ์คนดูด้วยบทและการแสดง แม้จะไม่ได้มน ี ก ั แสดงหล่อสวยมาเรียกแขกเหมือนหนังเวอร์ชน ่ั รีเมคเลยก็ตาม

พิรุณ อนุสรุ ยิ า

ALTERNATIVE FAMILY ISSUE / 9


WIDE ANGLE

Visitor Q

คืนความสุขให้คนในครอบครัว ถ้าให้คณ ุ นึกถึงภาพยนตร์ครอบครัวสักเรื่องหนึ่ง คุณจะนึกถึงเรื่องอะไร? น้อยนักที่จะมีใครนึกถึง Visitor Q เพราะนี่คอื ครอบครัวที่เต็มไปด้วยความวิปริตอย่างสุดแสน และบีบคัน้ อารมณ์ความรู ส้ กึ อึดอัดขยะแขยงแก่ผูช้ ม ได้ไม่บกพร่องตัง้ แต่ตน้ จนจบเรื่อง จนน่าจะห่างไกลค�ำว่าภาพยนตร์ครอบครัว (แบบฟี ลกูด๊ ) ไปไกลหลายช่ วงตัว แต่อย่างไรเสียมันก็คอื ภาพยนตร์ครอบครัว

Credit: http://www.negativ-film.de

10 / ALTERNATIVE FAMILY ISSUE


Visitor Q (2001) เป็นภาพยนตร์สัญชาติญี่ปุ่น ฝีมือการก�ำกับของทาคาชิ มิอิเกะ ผู้ท�ำภาพยนตร์ โหดๆ อาทิ Audition, Ichi the Killer ส่วน Visitor Q เป็นหนังที่กวาดรางวัลจากเวทีประกวด ทัง้ ในและนอกประเทศ ด้วยทุนสร้างต�ำ่ เพียง 7 ล้านเยน (ประมาณ 60,000 บาทในเวลานัน ้ ) และใช้เพียง กล้องวิดีโอถ่าย แทบไม่พึ่งพาการจัดแสง ภาพที่ออกมาจึงมีสไตล์คล้ายฟุตเทจโฮมวิดีโอ ซึ่งท�ำให้ หนังดู “สมจริง” ขณะเดียวกันก็ช่วยขับเน้นความผิดประหลาดของเนื้อหาที่แสนรุนแรงและตลกร้าย

Credit:http://lightsinthedusk.blogspot.com

Visitor Q เปิดเรื่องด้วยค�ำถามที่ว่า “Have you ever done it with your Dad?” ฉากถัดมา ทีผ่ ้ชู มจะได้เห็นคือ มิกิ หญิงสาวโสเภณีขายบริการให้คโิ ยชิ พ่อแท้ๆ ของเธอเอง พ่อผู้มอี าชีพเป็นผู้สอื่ ข่าว ด้วยความต้องการท�ำข่าวฉาวเพื่อเรียกเรตติ้ง เขาจึงร่วมเพศกับลูกสาวและถ่ายวิดีโอไปด้วย นอกจากนีค ้ โิ ยชิยงั ใช้กล้องวิดโี อบันทึกภาพความรุนแรงอีกหลายอย่าง เช่น เมือ ่ ถูกแก๊งวัยรุ่นปาประทัด ใส่บ้านจนเสียหาย และเมือ ่ แก๊งเดียวกันนีท ้ ำ� ร้าย ทาคุยะ ลูกชายของเขา คิโยชิเห็นเหตุการณ์ดงั กล่าว แทนที่จะช่วยลูกชายตามวิถีที่คนเป็นพ่อควรจะท�ำ เขากลับอัดวิดีโอลูกชายถูกท�ำร้ายด้วยความยินดี เพราะหวังจะใช้คลิปนี้เรียกเรตติ้งรายการ ความวิปริตของครอบครัวนีย้ งั ไม่จบเท่านัน ้ ภาพยนตร์ขน ึ้ ค�ำถามทีว่ ่า “Have you ever hit your mom?” เมื่อทาคุยะระบายอารมณ์กับเคอิโกะ ผู้เป็นแม่ด้วยการใช้ไม้ฟาด และเมื่อกล้องตามตัวละครแม่ไป ผู้ชมก็จะเห็นความผิดเพี้ยนอีกรูปแบบหนึ่ง คือแม่ที่เนื้อตัวเต็มไปด้วยบาดแผล ติดเฮโรอีน และแอบ ไปขายบริการทางเพศ เรื่องราวความผิดประหลาดของครอบครัวนี้คงด�ำเนินไปเช่นนั้น หากไม่มี “Q” ผู้มาเยือนที่เข้ามาอาศัยอยู่ในบ้าน ภาพยนตร์เปิดตัวเขาด้วยประโยคค�ำถามที่ว่า “Have you ever been hit on the head?” เมื่อเขาใช้ก้อนหินทุบหัวคิโยชิจากด้านหลังถึง 2 ครั้ง และกลายมาเป็นแขกในบ้านโดยปริยาย การเข้ามาของ Q นี้เองที่ท�ำให้ความสัมพันธ์ของคนในครอบครัวเริ่มเปลี่ยนไป ความเปลีย ่ นแปลงทีม ่ าจาก Q หาได้ใช้วธิ อ ี ่อนโยนใดๆ เพือ ่ เยียวยาครอบครัวนี้ หน�ำซ�ำ้ Q ยังโอนอ่อนตามพฤติกรรมสุดเพีย ้ นของคนในครอบครัวด้วย โดยเฉพาะกับ คิโยชิที่ลงมือฆ่าเพื่อนร่วมงาน Q ซึ่งอยู่ในเหตุการณ์กลับช่วยถ่ายวิดีโอขณะเหตุการณ์ด�ำเนินอยู่โดยไม่ห้ามปราม ทั้งหมดนั้นคือสิ่งที่เกิดขึ้นในหนัง ความรุนแรงวิปริต ความไม่น่าอภิรมย์ต่างๆ ถูกส�ำรอกออกมา มองเผินๆ คงเป็นความน่าสะอิดสะเอียนที่ไม่น่าจะให้ข้อคิดอะไร คนดูได้ แต่แน่ใจแล้วหรือ พ่ออย่างคิโยชิไม่ค�ำนึงถึงลูกชายสักนิด พฤติกรรมของคิโยชิสะท้อนให้เห็นความบิดเบี้ยวจาก “ความเป็นพ่อ” ในขนบที่สังคมคาดหวัง เช่น พ่อจะต้องเป็นผู้น�ำ ต้องปกป้องดูแลคนใน ครอบครัว แต่นอกจาก คิโยชิจะไม่เป็นไปตามขนบแล้ว ยังเผย “ความเป็นมนุษย์” อย่างสุดขั้ว ด้วยการผลักให้เห็นสัญชาตญาณทางเพศทีไ่ ร้การควบคุมของศีลธรรมหรือกฎหมาย ขณะเดียวกัน ก็อาจเป็นการตั้งค�ำถาม (แบบตลกร้าย) ถึงระบบที่มนุษย์สร้างขึ้นมากดทับความต้องการของ มนุษย์เสียเอง นอกจากนี้สิ่งที่น่าสนใจคือ คิโยชิควบรวมบทบาทของ “สื่อสารมวลชน” ไว้ด้วย พฤติกรรม ของเขาที่กระหายข่าวฉาวและความรุนแรง โดยไม่สนว่าความฉาวโฉ่นั้นเกิดขึ้นกับลูกสาว ลูกชายของเขา และบังคับคนใกล้ตวั อย่างเพือ ่ นร่วมงานช่วยสร้างสถานการณ์เพือ ่ ท�ำรายการด้วย สะท้อนให้เห็นภาพสื่อในสังคมร่วมสมัยที่ไร้จรรยาบรรณ มุ่งแต่ขายข่าว กระตุ้นเรตติ้งเพื่อ ยอดขายเท่านั้น ท่าทีของคิโยชิชวนให้ตั้งค�ำถามไปถึงบทบาทของสื่อ ว่าท�ำหน้าที่ “สะท้อน” ความจริง หรือสื่อ “สร้าง” ความจริงขึ้นมาเสียเองกันแน่ ตัวละครแม่เมือ ่ มองเผินๆ เคอิโกะดูเหมือนเป็นทัง้ ภรรยาและแม่ในอุดมคติ เธอดูแลปรนนิบต ั ค ิ รอบครัวไม่ขาดตกบกพร่อง แต่ลบ ั หลังชีวต ิ ของเธอก็ผด ิ เพีย ้ นไม่แพ้สามี เมื่ออยู่ในบ้านเคอิโกะมีสถานะเป็นผู้ถูกกระท�ำ ต้องรองรับอารมณ์และความต้องการของคนในบ้าน ซึ่งลักษณะดังกล่าวราวกับเป็นการยั่วล้อสถานะภรรยาและแม่ ของสังคมญี่ปุ่นที่ต้องตกเป็นเบี้ยล่างของคนในครอบครัว เคอิโกะไร้หนทางต่อสู้ เธอท�ำได้เพียงแต่ร้องห้ามลูกชายไม่ให้ท�ำร้ายที่ใบหน้า นอกเหนือจากนั้นจะเห็นเธอวุ่นวายประทินโฉมใบหน้ามากกว่าจะสนใจบาดแผลตามร่างกาย เพราะมันสามารถปกปิดได้เมื่อสวมเสื้อผ้า สะท้อนให้เห็นค่านิยมที่ หลงใหลและใส่ใจที่ลักษณะภายนอกมากกว่าคุณค่าภายใน (ทั้งตัวมนุษย์รวมไปถึงสินค้า) ภาพยนตร์ยั่ ว ล้อ บทบาทพ่อ แม่ด ้ว ยการให้ทั้ ง คู ่ ช่วยกันปกป้องลูกชายเป็นครั้งแรก ด้วยการฟัน แก๊งวัยรุ่นที่รังแกลูกชายจนหัวแบะ (โดยมี Q ช่วย ถ่ายวิดโี อ) สองสามีภรรยายังช่วยกันหัน ่ ท�ำลายศพ ด้วยความเบิกบาน น�ำมาซึง่ ความซาบซึง้ ใจของ ลูกชายทีล ่ งไปนอนในแอ่งน�ำ้ นมของแม่ และกล่าว ขอบคุณ Q ที่เข้ามาท�ำให้ครอบครัวของเขาได้ ใกล้ชิดกันมากขึ้น

ทว่าหน้าที่ของ Q ยังไม่จบลง เพราะยังเหลือคนใน ครอบครัวอีกคน คือ มิกิ ลูกสาวของบ้านที่เป็นโสเภณี เธอเข้ามาชักชวนให้ Q ซือ ้ บริการทางเพศจากเธอ แต่กลับ ถูก Q เอาก้อนหินทุบ พอได้สติ มิกิกลับบ้านไปพบพ่อดูด นมจากทรวงอกของแม่ เธอตื้นตันจนเข้าไปดูดนมแม่ด้วย น�ำ้ นมจากทรวงอกของแม่ คือสัญลักษณ์ของความเป็นแม่ ทีช่ ว่ ยคืนความสุขให้คนในครอบครัว และน�ำครอบครัวที่ แตกแยกห่างเหินให้กลับมารักกันกลมเกลียว

วิถีทางการกลับสู่ความเป็นครอบครัวที่เต็มไปด้วยการใช้ความรุนแรงเช่นนี้ แม้ตัวละครจะรู้สึกบรรลุหรือเข้าใจตัวตนไปจนถึงเยียวยาตนเองได้ แต่นั่นก็เป็นเพราะ ความรุนแรงทีไ่ ด้แสดงโต้กลับ อย่างการฆาตกรรมแก๊งอันธพาล การอ�ำพรางศพ แม้แต่ Q เองทีเ่ ข้ามา “คืนความสุข” ให้ครอบครัวนี้ ก็ใช้ความรุนแรงตัง้ แต่แรกเริม ่ รวมไปถึงการเพิกเฉยต่อความรุนแรงในครอบครัวด้วย Visitor Q จึงเป็นภาพยนตร์เสียดสีตลกร้ายที่เต็มไปด้วยการตั้งค�ำถามว่า ความสุขในครอบครัวที่แท้แล้วเป็นแบบไหน และท้ายที่สุดแล้ว “การคืนความสุข” ด้วยการใช้ความรุนแรงอาจถือเป็นเรื่องปกติ ตราบใดที่ท�ำให้รอยร้าวสมานฉันท์ได้ ก็ไม่ต้องสนใจวิธีการ อยู่ที่วิจารณญาณของเราเองแล้วล่ะว่าจะเลือกยังไง

เชตี หญิงร้ายในกายทราม

ALTERNATIVE FAMILY ISSUE / 11


WIDE ANGLE

Bajrangi Bhaijaan ครอบครัวไร้พรมแดน

Bajrangi Bhaijaan ประกอบด้วยค�ำภาษาฮินดี 1 ค�ำ กับ ค�ำภาษาอู รดู (ภาษาทางการของปากีสถาน) อีก 1 ค�ำ โดยแยกค�ำแรกเป็นค�ำฮินดี Bajrangi แปลว่า หนุม่ กล้ามใหญ่ พ่อกล้ามโต อะไรเทือกนี้ ส่วน Bhaijaan เป็นค�ำ ภาษาอู รดู แทนสรรพนามใช้เรียกคนอายุ มากกว่าที่เรานับถือมากๆ ว่าเป็น “พี่ชาย” หรือ “พี่ใหญ่”

Credit: http://amazingwallpapers.net

12 / ALTERNATIVE FAMILY ISSUE


Credit: http://www.filmibeat.com/

ฉะนั้ น เมื่ อ สองค� ำ นี้ ร วมกั น เลยแปลได้ว ่า “พี่ชายกล้ามใหญ่” หรือ “พี่ใหญ่กล้ามโต” ที่ต้องอธิบายตั้งแต่ชื่อ เพราะหนังอินเดีย เ รื่ อ ง นี้ เ ข า แ ย บ ย ล ใ น ก า ร ส อ ด แ ท ร ก ประเด็ น ร่ว มสมั ย ตั้ ง แต่เ รื่ อ งครอบครั ว ชนชัน ้ เชือ ้ ชาติ ศาสนา ความเชือ ่ ให้รวม อยู่ในเรื่องเดียวกันได้แนบเนียน บอกใบ้ คนดูกลายๆ ว่าต่อให้คนจากสองวัฒนธรรม สองชาติทตี่ ่างกันสุดขัว้ เป็นศัตรูกน ั บนเวทีโลก แต่เนื้อในแล้วลึกๆ พวกเขายังเป็นพี่น้อง เครือญาติ หรือนับเนือ่ งเป็นครอบครัวเดียวกันด้วย น่า เสี ย ดายที่ ห นั ง ฟอร์ม ยั ก ษ์จ ากอิ น เดี ย เรื่องนี้ได้เข้าฉายโปรแกรมเล็กๆ อยู่ยาว ร่วมเดือนในบ้านเรา แต่กลับไม่ได้รบ ั โอกาส ให้ฉายวงกว้างในแบบเดียวกับหนังอินเดีย เรื่องดังอย่าง Dhoom 3 และ PK (ฉายพากย์ไทยและลงโรงในต่างจังหวัดด้วย) อาจเพราะจากตัวเรื่องที่โรงฉายอาจมองข้าม หนังว่าด้วย พวัน ไอ้หนุ่มกล้ามใหญ่ชาวอินเดียต้องพา มุนนี สาวน้อยชาวปากีสถานเดินเท้ากลับ บ้านเกิด หลังพลัดหลงกับแม่ทช่ี ายแดนฝั่งอินเดีย ปัญหาใหญ่คอ ื หนูน้อยเป็นใบ้ จากอุบต ั เิ หตุสะเทือนใจในอดีตจนท�ำให้เธอไม่สามารถพูดจาได้ Bajrangi Bhaijaan เป็นหนังครบรสตามแบบฉบับหนังอินเดียแท้ๆ ถึงเครือ ่ งทัง้ ดราม่า, ตลก, เพลงเพราะ แซมด้วยฉากบู๊เล็กๆ แถมประเด็นหลัก เรื่องความขัดแย้งระหว่างอินเดีย-ปากีสถาน ระหว่างศาสนาฮินดู-อิสลามนั้นแนบเนียนในเรื่องอย่างไม่เคอะเขิน คนดูพร้อมจะเอาใจช่วยพวัน พามุนนีข้ามแดนให้ส�ำเร็จ แม้ทางที่เลือกเดินของเขาจะค่อนข้างประหลาดบ้าบอ ทั้งซื่อถึงขั้นเซ่อจนเกิดปัญหาขึ้นเรื่อยๆ ปัญหาแรกทีท ่ งั้ คู่ต้องเผชิญคือ การถูกกีดกันจากครอบครัวฝั่งพวัน เขาอาศัยอยู่กบ ั เพือ ่ นพ่อ และได้รบ ั การเลีย ้ งดูเสมือนครอบครัว ทว่าการตัดสินใจ พานังหนูข้ามไปส่งถึงปากีสถานกลับท�ำให้ตัวเขาเองคล้ายถูกตัดพ่อลูกไปเลยทีเดียว เหตุผลนั้นแค่น�้ำผึ้งหยดเดียวคือความเกลียดชังระหว่าง อินเดีย-ปากีสถาน ฝังรากลึกจนตัวเพื่อนพ่อเองวางอัตตาไม่ลง ปัญหาต่อมาเมือ ่ ข้ามแดนไปฝั่งปากีสถานได้แล้ว ทัง้ คู่เผชิญหน้ากับเจ้าหน้าทีร่ ฐั ซึง่ ยังถูกปลูกฝังความเกลียดชังในเชิงนโยบายคล้ายกัน ทัง้ ทีพ ่ วัน เชื่อมาตลอดว่าอินเดียและปากีสถานเป็นครอบครัวเดียวกันเสมอมา ไม่ควรแบ่งแยกใครจากกัน ภารกิจน�ำมุนนีไปส่งครอบครัวถึงปากีสถาน ก็เพื่อท�ำให้ “ครอบครัว” ที่พี่น้องทะเลาะกันมาหลายสิบปีนี้หวนกลับมาคืนดีกันเสียที มุขทีย ่ อดเยีย ่ มมากๆ ของหนังอยู่ตรงการวางให้พวันเชือ ่ มัน ่ ในหลักการอนุญาต ถ้าหากได้รบ ั อนุญาตย่อมไม่ผด ิ กฎหมาย แต่หากไม่ได้รบ ั อนุญาต แล้วละก็ ต่อให้ถูกกฎหมายหรือระเบียบแค่ไหนเขาก็ไม่มีวันท�ำเด็ดขาด ความเชื่อตรงนี้ท�ำให้พวันยิ่งเผชิญเหตุการณ์สะท้อนความมือถือสาก ปากถือศีลของระบบราชการ และท�ำให้เขาเห็นว่าจริงๆ แล้ว ความเกลียดชังระหว่างสองประเทศนีเ้ ป็นเรือ ่ งเชิงนโยบาย ผู้คนถูกชักน�ำด้วยสิง่ เร้า นอกกายต่างๆ ตั้งแต่ศาสนา ความเชื่อ นโยบายทางการเมือง นโยบายทางการทหาร จนท�ำให้เส้นแบ่งระหว่างสองประเทศตั้งอยู่บนอารมณ์ เกลียดชัง หาใช่บนเขตแดนหรือแนวรั้วใดๆ ในไม่ช้าคนดูคงพอเดาได้ว่า “ครอบครัว” ของหนังเรือ ่ งนี้ หาใช่แค่ครอบครัวฝั่งพวัน หรือฝัง่ มุนนีทเี่ ป็นชาวปากีสถาน เท่านั้น แต่เป็นกลุ่มตัวละครใหญ่ๆ ที่เข้ามาเกี่ยวพันกับ การผจญภัยครัง้ นี้ รวมไปถึง จัน นักข่าวจอมจุ้นซึง่ แรกเริม ่ ตามติดพวันเพื่อต้องการข่าวไปขาย แต่ยิ่งคลุกคลีด้วย มากเท่าไหร่ เขายิง่ พบว่าจริงๆ แล้ว อคติบงั ตาคนทัง้ สอง ประเทศนั้นก�ำลังจะถูกทลายลงด้วยการเดินทางครั้งนี้ ซึ่ ง นั่ น อาจเป็น ข่า วใหญ่แ ละน่า ตื่ น เต้น ที่ สุ ด ของสอง ประเทศนับแต่ได้รบ ั เอกราชจากการปกครองของอังกฤษ และเมื่อหนังเดินทางมาถึงวินาทีท้ายๆ เราต่างเข้าใจ ตรงกันว่า “ครอบครัว” ที่หนังก�ำลังพูดถึง ไม่ใช่แค่ ประกอบด้วย พ่อ แม่ หรือ ลูก แต่มันกินความกว้างไกล ถึงผูค ้ นมากมายที่มีประสบการณ์หรือความรูส ้ ึกร่วมกัน ระหว่างทางอาจยาวไกลเต็มไปด้วยอุปสรรค แต่ในท้ายสุด มุนนี หนูน้อยจากปากีสถานกลับได้พบว่า ตลอดเวลาที่ เธอจากครอบครัวมา เธอค่อยๆ เติบโตขึน ้ ใหม่ภายใต้ครอบครัวใหม่ โดยมีพวัน พีช่ ายกล้ามโตคนนีเ้ ป็นทัง้ พ่อ พี่ และเพือ ่ นเล่น ซึง่ ท�ำให้เธอกล้า เอาชนะความกลัว เปล่งเสียงค�ำแรกในรอบหลายๆ ปีออกมาอีกครัง้ เป็นค�ำสัน ้ ๆ ทีเ่ ปี่ยมความหมายของค�ำว่า “ครอบครัว” ยิง่ นัก ไม่ใช่คำ� ว่า “รัก” ไม่ใช่ค�ำว่า “เรา” ส่วนจะเป็นค�ำไหน ต้องลองหาหนังเรื่องนี้มาดูกัน

ชาญชนะ หอมทรัพย์

ALTERNATIVE FAMILY ISSUE / 13


FIlm Analysis

The Setup WRITTEN BY PIRUN ANUSURIYA TRANSLATED BY MOLLY THAMRONGVORAPORN

TThe Dark Knight

Credit: http://www.rancidrainbow.com

Screenwriting, like any other art form, is both an art and a craft. The one element good screenwriting should have is the ‘setup’. The general meaning of a setup is the installment or the laying down ofthe script’s paradigm. At the same time, it is also the setting of the paradigm of the writer’s mind on how to play out the narrative to the audiences. In other words, the setup can be explained as setting the scenes for the opening of the story. The first few minutes of a story are often its most important. Many scripts have problems with the setup. It’s unclear, unfocused. It sets up everything but the story. The purposes of the setup is to tell us the vital information we need to get the story started. Who’s the protagonist? Who are the main characters? What’s the context? Where is it located? When does it take place? What’s the genre? Is it comedy, drama, or a combination genre?

14 / ALTERNATIVE FAMILY ISSUE


The Context

Generally, the first minute of a film is used to depict the context of that film to the audiences. What is ‘context’? It is the disclosure of the details about the world in which the film is set. It gives the audiences an anticipation in the kind of story about to be told. If a context given is of a war film, the audiences build up the anticipation in the type of war they are about to see, the type of weapons to beused, and the historical period the battle occurs. For example, the context of a World War II era war film is different from a Vietnam War era film. The location also sets the context apart from one film to the next. A Thai war film feels different than the one that takes place in Iraq. Even within the same border, two films that take place in different areas can give totally different feels. An occurrence in a capital city like Bangkok is different than the one in the touristy Chiang Mai or the one in the high-risk zone like Pattanee, hence all occurrences are situated within the border of Thailand. The script writer also has to explain the context of the ‘era’ in which the story takes place. A contemporary (set no more than 40 years into the past) context may not need a lot of explanation. On contrary, a film that takes place in the Buddhist Antiquity or the Sukhothai era will take a lot more details and explanation in order to convince the audiences that the film really takes place in such period of time. The creation of the film’s context must be able to ‘convince’ the audiences that the details of the film they are watching do not contradict too much against the truth or what they’ve learned about the story in real life. It also needs to blends smoothly into the time period of which the film takes place, especially when the surround contexts are familiar to the audiences. As mentioned, a familiar context doesn’t need a lot of explanation, but it will take good elements to be able to convince. This is the tough part since the script writer must thoroughly know the diegetic context of the world his or her story is based on. In many films, the script writers have a technique of revealing the context of the film even before the narrative is rolled out. This is to give the audiences a glimpse of what kind of ‘world’ they are about to experience. An effective lead on the context will eliminate any questions from the audiences’ mind about the progress of the film, the actions of the characters, and even the reasons why they characters do what they are doing.

Credit: http://lizhi2015.com

Childern of Men ALTERNATIVE FAMILY ISSUE / 15


Let’s take a look at an example from a classic opening scene. Star Wars: A New Hope (1977) Written by George Lucas, the film tells the story of the intergalactic wars that became one of the most popular franchises of all time. The opening scene is situated in the outer space followed by the shot of the yellowish planet of Tatooine, which is different from a world familiar to the audiences. A spaceship approaches the planet as it is being chased by a colossal warship that is shooting at the fleeing spaceship towards Tatooine. A cut to the inside of the fleeing ship shows 2 robots, C3PO and R2D2. One of them is able to communicate in human language while the other communicates by making electronic noises. The two, however, seem to understand each other as C3PO talks about their ship being shot, and how they are running out of ways to help the Princess escape. Another cut shows the outside situation where the bigger warship engulfs the smaller ship. The door of the small ship was busted open, and the Stormtroopersis rushed to attack by the evil Darth Vader.

Star Wars

Anyone who has seen the Star Wars movies would remember the legendary opening sequence. The yellow stylized text moving up from the bottom of the screen accompanied by the recognizable theme song. The audiences get it from the setup that the story takes place in the outer space, and the planet they are shown is colored totally different from the familiar Earth. The sequence of the fleeing ship being chased and attacked by the warship’s laser weapon allow the audiences to understand that the attack is badly affecting the fleeing ship, hence the fact that none of the audiences have had the same experience before in their life. For the fleeing ship, George Lucas chose robots to be the first characters seen in the film, not humans, and they are able to communication with each other. This setup tells the audiences that the world they’re being led into is of a futuristic fantasy. While the audiences can see a robot communicating by a human language; they also see C3PO showing the humanoid emotion of worrying about their own safety and the subject of bringing a Princess out of the dangerous situation. This also lets the audiences know that humans are still relevant in this fantasy world. Without hesitation, the audiences are shown the Stormtroopers rushing into shooting the guards inside of the fleeing ship dead, and the arrival of the mysterious character in a black cape and strange-looking mask. In combination of what C3PO says earlier, the audiences can guess that Darth Vader is in search of something or someone. From the way the Stormtroopers act around him, the audiences don’t need to be told that Darth Vader is definitely the superior of the villains in the film. The consequences of all this setup lead to the intergalactic warfare everyone knows as Star Wars.

16 / ALTERNATIVE FAMILY ISSUE


Credit: http://www.starwarsringtheory.com

The sharpness of this opening sequence by George Lucas lies in how he dared revealing the unfamiliar things to audiences from the first scene. The risk of confusing the audiences was high for the decade with the image of an exotic planet, the colossal space warship, a robot with a sense of humor, and the opposition between characters that leads to an intergalactic war. All is told sequentially, ranging from the biggest element (the galaxies) to the smallest element (two robots fleeing from being hunted by Darth Vader), in one opening scene. The example above explains one of the many techniques to setup. The best sense humans have is their visual sensory, and the easiest and most used mode to setup is via images

The First Image of a Film

The context is often told through images in cinema. From the very beginning, the audiences are shown a sequence of images packed with information about where the film takes place, the emotions, the atmosphere at that point in the film, and sometimes the theme. The first images of a film can be a spacecraft battle like that in Star Wars, a New York City gang like that in West Side Story, an ambitious middle-age loner like that in There Will Be Blood, or a primitive world and a mysterious stone slab like that in 2001: A Space Odyssey. Opening a film by dialogue is more difficult compared to images. For a dialogue opening, the script writer must spend time in finding the sharpest, clearest, and most relevant sentences for the dialogue opening. A dialogue opening tend to draw less attention than an image opening because the visual sensory can capture more meanings and details than the audio sensory. If a piece of important information is given via a dialogue before anything is revealed to the audiences, the feels and direction of the film might be more unclear to the audiences than with images. In a film that has a dialogue opening, it would usually take a minute or more for the audiences to fully understand the setup of the film. This could be hinted in the action of the character reciting the dialogue or the emotions that can be sensed through the way it is being said.

ALTERNATIVE FAMILY ISSUE / 17


An example of a classic opening from The Godfather The Godfather is one of the most classic gangster movies of all time. The work of the legendary Francis Ford Coppola is the story of an Italian mafia family headed by Don Vito Corleone. The Don has 3 sons, and one of them is the protagonist of the film, Michael, who would unintentionally ascend to his father’s position. The Godfather opened in Don Corleone’s office as he is receiving a guess who hopes to seek help from the Don’s ‘influence’. The name of the guest is unknown to the audiences, but the film opened with a monologue from this man. The very first shot of the film was a very tight close up of his face. The camera then slow zooms out to reveal that he was sitting across the table from another man, and this is what he says: “I believe in America. America has made my fortune. I raised my daughter in the American fashion; I gave her freedom, but taught her never to dishonor her family. She found a boy friend, not an Italian. She went to the movies with him, stayed out late. Two months ago he took her for a drive, with another boy friend. They made her drink whiskey and then they tried to take advantage of her. She resisted; she kept her honor. So they beat her like an animal. When I went to the hospital her nose was broken, her jaw was shattered and held together by wire, and she could not even weep because of the pain. I went to the Police like a good American. These two boys were arrested and brought to trial. The judge sentenced them to three years in prison, and suspended the sentence. Suspended sentence! They went free that very day. I stood in the courtroom like a fool, and those bastards, they smiled at me. Then I said to my wife, for Justice, we must go to The Godfather.”

Credit: http://attackzonemedia.com

The film script was written by Francis Ford Coppola, the director, and Mario Puzo who authored the novel. The film deeply and dexterously reflects on the values and tradition of the Italian-Americans through the first monologue of Bonasera, the middle-age undertaker. When justice is not served by the police, he seeks it from the Don Corleone. Although the audiences know nothing about the character, the setup in the opening scene render the Sicilian way of life. Bonasera’s story progresses in different moods from calm, serious, depression, sorrow, and anger all from a single scene of monologue. The audiences are shown the grudge from the injustice Bonasera bears. The only way to settle the grudge for him was to seek help from the Don who is also a Sicilian like himself. This is a neat setup that leads to the character who is about to be introduced to the audiences.

18 / ALTERNATIVE FAMILY ISSUE


Once Bonasera is done, the shot is cut to the image of an elderly man sitting across the table. A man with grey hair dressed in a meticulous tuxedo outfit and a cat in his arms. The audiences learn right away that this man is the Don Corleone, the influential figure who seems to manipulate the ins and outs of the law and happenings as he sees fit. The Don then tells Bonasera to say what he wants help with by whispering it into his ear. Not a single word was heard, but it is easily implied from the monologue and Bonasera’s secretive manner that his wish is most definitely nothing ‘righteous’. As mentioned previously, opening a film solely with a dialogue can put the audiences in a struggle to follow along with the story, especially when the opening scene doesn’t have a premade setup. Flooding the audiences with information easily confuses the audiences on the direction of the film, unless the director is really good. Anyone who has seen this film will notice how slowly and calmly Bonasera seems on the surface while he tells the story. Behind the calmness, however, the audiences can sense the constant intensity from him. The audiences are put on the same side of Don Corleone as listeners in this setup. A good visual technique is used for drawing the attention of the audiences to Bonasera’s face, who is constantly telling his story from the close up to the long shot that reveals his manners. This maintains the attention of the audiences towards Bonasera’s story. A lesson from The Godfather’s opening scene is that a good setup takes a good understanding of the characters and a depth to the narrative to the story. This and many more cinematographic techniques don’t just depend only on the director, but also on the film script. The Godfather

The script writer needs to understand the setup of each scene and make sure that he/she knows what is to be presented next, how will it be presented, and how would a twist be put into the film. Lastly, there are many films with interesting opening scenes that are not mentioned in this paper. Each uses different techniques to open. As a recommendation for films with interesting opening, check out Watchmojo.com’s Top 10 Movie Opening Scenes. Reference: Linda Seger’s Making a Good Script Great

ALTERNATIVE FAMILY ISSUE / 19


20 / ALTERNATIVE FAMILY ISSUE

Credit: http://www3.hiendy.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.