Food Focus Thailand No.171 June 2020

Page 1


ad_Metter_FU.pdf

1

26/5/2563 BE

12:02

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

สอบถาม

0 2723 0381


TH-EN June 2020 l Vol.15 No.171

A Strategic Approach to

Sustainability

Liquid Food Production

Cover_Food_171_June.indd 2

Weight Control & Management

Optimized Applications in F&B

21/5/2563 BE 16:20


ad_Anton Paar.indd 1

20/5/2563 BE 14:09


Food Processing & Packaging System Automatic Rice Cooking Line with RICE-FRIEND-SUPER To improve rice cooking efficiency and save manpower, you certainly need elaborate line. The ricefriend series provide 8 different cookers to feed 500 to 4,000 people per hour, select one cooker and some necessary machines to construct an automatic rice cooking line perfectly fit for your needs. Rice pot washer Rice silo with measurement device

Soaking and filling machine

Rice cooking pot sterilizer and storage

Rice mixing machine

Simmer conveyor RICE-FRIEND Preparation control box

Rice washing machine

Machines you need

408/2 ถนนจรัญสนิทวงศ์ บางยี่ขัน บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 408/2 Charansanitwong Road, Bangjikan, Bangplad, Bangkok 10700

ad_Better Pack.indd 1

โทร. / Tel. (662) 886 9000, (662) 409 5499 แฟกซ์. / Fax. (662) 886 9393

20/5/2563 BE 14:17


6-7_Advertorial_Mettler.indd 6

22/5/2563 BE 16:55


6-7_Advertorial_Mettler.indd 7

20/5/2563 BE 14:06


june 2020 / Vol.15 / No.171

C O N T E N T S

32

23 BONUS ATTRACTIONS

REGULAR ATTRACTIONS

SCOOP

20 STAR ITEMS

23 Opportunities and Challenges of ASEAN amid Changes

ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ดาวเด่​่นประจำำ�ฉบั​ับ

Seen in Supply Chain Post COVID-19

โอกาสและความท้​้าทายของอาเซี​ียน…ท่​่ามกลางการเปลี่​่�ยนแปลงของ ห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทานในยุ​ุคหลั​ังวิ​ิกฤต COVID-19

40

By: Kasikorn Research Center

SPECIAL FOCUS 29 Plastic Packaging still Confronting Sustainability Challenges

ความยั่​่�งยื​ืน…เรื่​่�องท้​้าทายของบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิก

By: ChinaplasOnline

STAND OUT TECHNOLOGY 58 A Decade of Spinning on The Same Bearings!

32 10 Ways We Can Make the Food System More Sustainable

หนึ่​่�งทศวรรษกั​ับเครื่​่�องหมุ​ุนเหวี่​่�ยงผั​ักสดโดยไม่​่ต้​้องเปลี่​่�ยนชุ​ุดลู​ูกปื​ืน

10 แนวทางมุ่​่�งสู่​่�เป้​้าหมายระบบอาหารที่​่�ยั่​่�งยื​ืน

By: SORMAC B.V.

OCCASIONAL ATTRACTIONS

By: Megan Ray Nichols, Ecowarriorprincess

36 Breathing a New Sustainable Life to “Plastic Waste”

ชุ​ุบชี​ีวิ​ิตใหม่​่ให้​้ “ขยะพลาสติ​ิก” อย่​่างยั่​่�งยื​ืน SOURCE OF ENGINEER

By: Food Focus Thailand Magazine

62 8 Optimized Applications Must Not be Overlooked in

Food & Beverage Business

STRONG QC & QA

8 หนทางเพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพสำำ�หรั​ับธุ​ุรกิ​ิจอาหารและเครื่​่�องดื่​่�มที่​่�ไม่​่ควรมองข้​้าม

40 Innovative Lab Device for your Demand

เครื่​่�องมื​ือในห้​้องแล็​็บ…ทั​ันสมั​ัย เพื่​่�อตอบโจทย์​์การใช้​้งาน

By: Kittikoon Gajaseni, Consultant/Author

8-10_Content.indd 8

By: Götz Birke, BÜCHI Labortechnik AG, Switzerland

21/5/2563 BE 16:25


Banding Machine

Small and Medium Tray Sealer with MAP option

Tel. 0 2758 8445-6, 081 558 3704 E-mail: somsuda@forefrontfoodtech.com Ad.Fore front.indd 7

www.forefrontfoodtech.com 20/5/2563 BE 21:31


june 2020 / Vol.15 / No.171

C O N T E N T S

46

50

SMART PRODUCTION

52

50 Aseptic Premiere for Milk

43 Unique Technology to Suit Liquid Food Production

ปฐมทั​ัศน์​์แห่​่งการผลิ​ิตนมแบบปลอดเชื้​้�อ

เทคโนโลยี​ีการผลิ​ิตสำำ�หรั​ับอาหารเหลว

By: Atit Tongthawornwong, MT Food Systems Co., Ltd.

By: KRONES AG

STRATEGIC R&D

46 High-Performance pH Measurement in Liquid Sugar Production

52 Weight Control and Management Strategies

เครื่​่�องวั​ัดค่​่า pH ประสิ​ิทธิ​ิภาพสู​ูง สำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรมการผลิ​ิตน้ำำ��ตาล ในรู​ูปของเหลว

กลยุ​ุทธ์​์การควบคุ​ุมน้ำำ��หนั​ัก

By: Mettler-Toledo (Thailand) Ltd.

68

U Share. V Care.

The Winners of U Share. V Care. April 2020 Issue

By: Assistant Professor Tosporn Namhong Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi

DEPARTMENTS 16 Advertising Index

รายชื่อผู้ลงโฆษณา 18 Schedule of Events

ข้อมูลงานนิทรรศการ การประชุม สัมมนา และฝึกอบรมต่างๆ 66 Surrounds

อั​ัปเดตข่​่าวสารในวงการอุ​ุตสาหกรรมอาหารและเครื่​่�องดื่​่�ม แบบสอบถามความคิดเห็น พร้อมลุ้นรับของรางวัล Share your comment and win a gift

8-10_Content.indd 10

PTT Privilege Card worth THB 500

(Only One Lucky Winner)

22/5/2563 BE 16:59


Automatic Vacuum Stuffer “Vacuum linkwel”

Meat In Meat Line

Pet Food Line

Bakery Line

Versatile Super Slicer

Automatic Tray Sealer

Gyoza and Shaomai Forming Machines

Pizza Line

HITEC FOOD EQUIPMENT CO., LTD.

Address: 1970, 1971, 1972 Moo 1 Sukhumvit Road, Soi Sukhumvit 74 Samrongnuea Sub-District Mueang Samutprakan District Samutprakan 10270 ad_Hi-tec_June.indd 17

0 2026 3543, 0 2117 3658 0 2117 3659 sales@hitec-th.com

21/5/2563 BE 16:44


EDITOR’S TALK

2020 Thai Economy to Grow at the Slowest Pace in 11 Years due to COVID-19 Outbreak

Sirintra Boonsumrej

Managing Editor Food Focus Thailand Magazine

Publisher Be Media Focus (Thailand) Co., Ltd. 5/38 Soi Ngamwongwan 25 Yak 26, Bangkhen, Muang Nonthaburi, Nonthaburi 11000 Thailand T +66 2192 9598 F +66 2116 5732 E contact@foodfocusthailand.com W www.foodfocusthailand.com

ฝ่ายบรรณาธิการ / Editorial Department บรรณาธิการบริหาร / Managing Editor: ศิรินทรา บุญส�ำเร็จ / Sirintra Boonsumrej ผู้ช่วยบรรณาธิการ / Assistant Editor: อัครพล อนันตโชติ / Arkkrapol Anantachote ฝ่ายขายและการตลาด / Sales & Marketing Department ผู้อำ� นวยการฝ่ายธุรกิจ / Business Director: เพ็ญแข ประวัติพัฒนากูล / Phenkhae Prawatphatthanakoon ผู้จัดการฝ่ายขาย / Sales Manager: สิริวรรณ ขาวสะอาด / Siriwan Khaosaard เจ้าหน้าที่ฝ่ายขายโฆษณา / Advertising Sales Executive: นิภาพร ละครอนันต์ / Nipaporn Lakornanan sales@foodfocusthailand.com ฝ่ายสมาชิก / Circulation Department เจ้าหน้าที่ฝ่ายสมาชิก / Circulation Officer: จิตสุดา ทองปาน / Jitsuda Thongparn ชาลินี จันทานนท์ / Chalinee Chanthanon นาถเรขา ทัพภูตา / Natrekha Tapputa seminar@foodfocusthailand.com ฝ่ายศิลปกรรม / Graphic Department

ผู้อำ� นวยการฝ่ายศิลปกรรม / Graphic Director: สุรีรัตน์ หลักบุตร / Sureerat Lukbud graphic@foodfocusthailand.com ฝ่ายบัญชีและการเงิน / Accounting & Finance Department ผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน / Accounting & Finance Manager: นาตยา พงษ์สัตยาพิพัฒน์ / Nataya Pongsatayapipat account@foodfocusthailand.com

สถานการณ์​์การระบาดของเชื้​้�อไวรั​ัสโควิ​ิด-19 ยั​ังส่​่อเค้​้าความรุ​ุนแรงและกระจายเป็​็นวงกว้​้างมากขึ้​้�นทั่​่�วโลก หลั​ังจากยอดผู้​้�ติ​ิดเชื้​้�อนอกจี​ีนเพิ่​่�มขึ้​้�นอย่​่างรวดเร็​็ว โดยล่​่าสุ​ุดทั่​่�วโลกมี​ีผู้​้�ติ​ิดเชื้​้�อไวรั​ัสโควิ​ิด-19 มากกว่​่า 90,000 คน ครอบคลุ​ุมมากกว่​่า 70 ประเทศทั่​่�วโลก สำำ�หรั​ับผลกระทบต่​่อเศรษฐกิ​ิจไทย เนื่​่�องจากสถานการณ์​์การแพร่​่ระบาดของเชื้​้�อไวรั​ัสโควิ​ิด-19 ที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�น นอกประเทศจี​ีนมี​ีระดั​ับความรุ​ุนแรงและมี​ีแนวโน้​้มที่​่�จะลากยาวไปมากกว่​่าไตรมาสแรก ทางศู​ูนย์​์วิ​ิจั​ัยกสิ​ิกรไทย จึ​ึงประเมิ​ินสถานการณ์​์การแพร่​่ระบาดของเชื้​้�อไวรั​ัสโควิ​ิด-19 ทั่​่�วโลก รวมถึ​ึงประเทศไทย เพื่​่�อใช้​้เป็​็นสมมติ​ิฐาน ในการประมาณการเศรษฐกิ​ิจไทยปี​ี 2563 โดยประเมิ​ินว่​่า 1) สถานการณ์​์ในจี​ีน สามารถควบคุ​ุมจำำ�นวนการเพิ่ม่� ขึ้​้น� ของผู้​้�ติ​ิดเชื้​้�อโควิ​ิด-19 ได้​้ในระยะ 1-2 เดื​ือนข้​้างหน้​้า โดยไม่​่มี​ีสถานการณ์​์การแพร่​่ระบาดปะทุ​ุขึ้​้�นมาอี​ีก 2) สถานการณ์​์ในประเทศอื่​่�นๆ ที่​่�มี​ีการแพร่​่ระบาดของเชื้​้�อโควิ​ิด-19 อย่​่างรวดเร็​็ว โดยเฉพาะประเทศอิ​ิตาลี​ี และเกาหลี​ีใต้​้ สามารถควบคุ​ุมได้​้ภายในไตรมาส 2 และ 3) สถานการณ์​์ในไทย จำำ�นวนผู้​้�ติ​ิดเชื้​้�อไม่​่ได้​้เพิ่​่�มขึ้​้�น อย่​่างรวดเร็​็วในระยะเวลาสั้​้�นๆ ภายใต้​้สมมติ​ิฐานข้​้างต้​้นจึ​ึงมี​ีการปรั​ับประมาณการอั​ัตราการเติ​ิบโตทางเศรษฐกิ​ิจของไทยปี​ี 2563 จากเดิ​ิม 2.7% ลงมาอยู่​่�ที่​่� 0.5% โดยได้​้คำำ�นึ​ึงถึ​ึงมาตรการกระตุ้​้�นเศรษฐกิ​ิจต่​่างๆ ที่​่�ภาครั​ัฐอาจนำำ�ออกมาใช้​้เพื่​่�อเยี​ียวยาความเสี​ียหายทางเศรษฐกิ​ิจในระยะสั้​้�นแล้​้ว ซึ่​่�งการใช้​้จ่​่ายของภาครั​ัฐน่​่าจะเป็​็นปั​ัจจั​ัยหลั​ักที่​่�ช่​่วยประคองเศรษฐกิ​ิจไทย ในปี​ีนี้​้� ทั้​้�งนี้​้� แม้​้ว่​่าอั​ัตราการเติ​ิบโตที่​่� 0.5% จะเป็​็นอั​ัตราการเติ​ิบโตที่​่�ต่ำำ��สุ​ุดตั้​้�งแต่​่วิ​ิกฤตซั​ับไพรม์​์ในปี​ี 2552 ท่​่ามกลางความเสี่​่ย� งที่​่�ไทยอาจเกิ​ิดภาวะเศรษฐกิ​ิจถดถอยทางเทคนิ​ิค (Technical recession) จากอั​ัตราการเติ​ิบโต ทางเศรษฐกิ​ิจติ​ิดลบเมื่​่�อเที​ียบกั​ับไตรมาสก่​่อนหน้​้าในช่​่วงครึ่​่ง� ปี​ีแรกของปี​ีนี้​้� อย่​่างไรก็​็ดี​ี สถานการณ์​์ทางเศรษฐกิ​ิจ ในครั้​้�งนี้​้�เกิ​ิดจากปั​ัจจั​ัยทางธรรมชาติ​ิ ไม่​่ได้​้เกิ​ิดจากปั​ัจจั​ัยทางโครงสร้​้างเช่​่นในปี​ี 2540 ส่​่งผลให้​้เศรษฐกิ​ิจไทย น่​่าจะกลั​ับมาฟื้​้�นตั​ัวอย่​่างรวดเร็​็วหลั​ังจากสถานการณ์​์คลี่​่�คลาย ดั​ังนั้​้�น ถ้​้าสถานการณ์​์การแพร่​่ระบาดเป็​็นไปตาม สมมติ​ิฐาน เศรษฐกิ​ิจไทยน่​่าจะกลั​ับมาขยายตั​ัวเป็​็นบวกได้​้ในช่​่วงครึ่​่�งปี​ีหลั​ังของปี​ีนี้​้� The COVID-19 pandemic is set to be severe and spread broadly around the globe after new infections outside of China have surged. So far, the number of confirmed COVID-19 cases has reached more than 90,000 in over 70 countries and territories worldwide. Regarding the impact of the COVID-19 pandemic on the Thai economy, since the outbreak outside of China is at a critical juncture and set to persist beyond 1Q20, KResearch has conducted an assessment on the COVID-19 outbreak at home and abroad to be used as part of our assumptions for the 2020 Thai economic growth forecast as follows: 1) the number of infections in China will be contained over the next 1-2 months without any reemergence of the virus outbreak; 2) the COVID-19 outbreak in other countries, where there has been a rapid spread of the virus, will be contained by 2Q20; 3) the number of infections in Thailand will not increase rapidly over the short term. ​ Under such assumptions, the 2020 growth forecast for the Thai economy has been revised to 0.5% from the prior estimate of 2.7%. The new projection takes into account various economic stimuli implemented by the government to ease the short-term economic impact. Meanwhile, public spending will likely be a key factor helping maintain Thai economic performance during 2020. Although the 2020 growth forecast for the Thai economy at 0.5% represents the slowest growth since the US subprime mortgage crisis in 2009 amid risk that Thailand may experience a technical recession, based on a quarter-on-quarter economic contraction during 1H20, the economic situation this time around has been caused by natural factors, rather than a structural factor as that of the 1997 financial crisis. As a result, the Thai economy may rebound quickly after the COVID-19 pandemic has eased. Therefore, if the COVID-19 epidemic evolves per assumptions, the Thai economy will likely resume growth during 2H20.

Food Focus Thailand Magazine The texts and photos in Food Focus Thailand, as well as personal comments of contributors are all rights reserved. Reproduction of the magazine, in whole or in part, is prohibited without the prior written consent of the publisher.

12

FOOD FOCUS THAILAND

12_Editorial.indd 12

DEC 2017

21/5/2563 BE 16:27


We bring colour into view!

compact pressure switches with ŕš? 360 custom-colour status display

VEGA Instruments Co., Ltd. ad.Vega.indd 4

Tel.: +66 2700 9240

E-mail: info.th@vega.com

www.vega.com 20/5/2563 BE 13:36


BOARD OF CONSULTANTS Sakchai Sriboonsue D.V.M., LB.

President of the Milk Board Dairy Farming Promotion Organization of Thailand

Juadee Pongmaneerat

Secretary General National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards (ACFS)

Visit Limprana

Honorary Advisor Food Processing Industry Club The Federation of Thai Industries

Visit Limlurcha

Chairman Food Processing Industry Club The Federation of Thai Industries

Pattra Maneesin, Ph.D.

Director Thai Packaging Centre Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR)

Asst. Prof. Anadi Nitithamyong, Ph.D.

President Food Science and Technology Association of Thailand (FoSTAT)

Assoc. Prof. Winai Dahlan, Ph.D. Founding Director The Halal Science Center Chulalongkorn University

Assoc. Prof. Sombat Chinawong, Ph.D.

Director Institute of Food Research and Product Development (IFRPD) Kasetsart University

Assoc. Prof. Anuvat Jangchud, Ph.D. Dean Faculty of Agro-Industry Kasetsart University

Asst. Prof. Akkharawit Kanjana-Opas, Ph.D. CEO Food Innopolis

Anong Paijitprapapon President National Food Institute Ministry of Industry

Phanit Laosirirat, Ph.D. Executive Director Thailand Productivity Institute Ministry of Industry

Chalat Santivarangkna, Ph.D. Director Institute of Nutrition Mahidol University

Prof. Visith Chavasit, Ph.D. Institute of Nutrition Mahidol University

Poj Aramwattananont, Ph.D. President Thai Frozen Foods Association

Sinchai Thiensiri

CEO, GS1 Thailand and Director, TIPMSE The Federation of Thai Industries

ENDORSEMENT Food and Drug Administration Ministry of Public Health

Food Processing Industry Club The Federation of Thai Industries

Food Innopolis

14_Endorsements final.indd 14

Thailand Institute of Scientific and Technological Research

National Food Institute Ministry of Industry

Thai Packaging Centre Thailand Institute of Scientific and Technological Research

Thailand Productivity Institute Ministry of Industry

Food Science and Technology Association of Thailand

Office of Small and Medium Enterprises Promotion

The Halal Science Center Chulalongkorn University

Thai Frozen Foods Association

Institute of Food Research and Product Development Kasetsart University

Faculty of Agro-Industry Kasetsart University

GS1 Thailand The Federation of Thai Industries

20/5/2563 BE 19:13


ad_Cargill_June.pdf

1

26/5/2563 BE

11:55

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

Patented process and proprietary technology that delivers excellent solubility, great mouthfeel and clean neutral flavor optimized for plant-based beverages

Cargill Siam Limited

130-132 Sindhorn Tower 3, 24th floor, Wireless Road, Lumpini, Pathumwan, Bangkok 10330 Tel: +66 2263 2929 Fax: +66 2263 2940 WWW.CARGILL.COM


ADVERTISING INDEX

ADVERTISING INDEX

JUNE 2020

Service Info

Company

Page No.

3M Thailand Limited.

B019

17

Anton Paar (Thailand) Ltd.

B491

4

Banpu Next Co., Ltd.

B552

33

Betagro Science Center Co., Ltd.

B050

19

Better Pack Co., Ltd.

B011

5

Buchi (Thailand) Co., Ltd.

B225

41

Cargill Siam Limited

B569

15

Dhawath Technology Systems Co., Ltd.

B251

IBC

Ecolab Ltd.

B073

27

Food & Hotel Thailand 2020

B378

61

Forefront Foodtech Co., Ltd.

B082

9

Hitec Food Equipment Co., Ltd.

B290

11

JTES Company Limited

B044

21

Krones (Thailand) Co., Ltd.

B104

35

Mayekawa (Thailand) Co., Ltd.

B382

25

Mettler-Toledo (Thailand) Ltd.

B010

FC, IFC, 6-7,47

MT Food Systems Co., Ltd.

B292

45

N.P.B. Machine And Service Co., Ltd.

B508

63

P&S Steel Work Service Co., Ltd.

B506

65

Paspand Manufacturing Co., Ltd.

B538

31

Senta Pack Machinery & Service Co., Ltd.

B025

BC

Shrinkflex (Thailand) Co., Ltd.

B452

55

SORMAC B.V.

B521

59

Thai Scale Co., Ltd.

B197

37

Union Inta Co., Ltd.

B473

57

VEGA Instruments Co., Ltd.

B555

13

Yamamori Trading Co., Ltd.

B282

39

Be Media Focus (Thailand) Co., Ltd. T +66 2192 9598 E sales@foodfocusthailand.com W www.foodfocusthailand.com

16

FOOD FOCUS THAILAND

JUN 2020


Don’t just keep up. Keep your edge. Stay ahead. Total Solutions for Poultry Processing An uneventful day is a good day. But when that next unplanned event occurs (and it will), you can face it head-on. With 3M Food Safety as your partner, you have the tools to deal with the tough challenges that inevitably arise in the poultry processing industry, regardless of when they occur. Our complete testing solutions help you meet testing requirements and your customers’ expectations. Browse poultry solutions at

3M.com/PoultryProducts

3MTM Molecular Detection System

Accurate and reliable pathogen testing method.

3MTM PetrifilmTM Plates

Sample-ready microbial indicator testing plates.

3MTM Clean-TraceTM Hygiene Monitoring & Management System Streamlined, simplified hygiene monitoring hardware and software.

3MTM Allergen Testing Qualitative rapid lateral flow and quantitative ELISA immunoassays.

3MTM Sample Collection, Preparation & Processing Quality products for sample collection and transport.

2020-006867

แผนกผลิตภัณฑ์เพื่อความปลอดภัยของอาหาร บริษัท 3เอ็ม ประเทศไทย จ�ำกัด

ชั้น 12 อาคารเสริมมิตรทาวเวอร์ 159 ถนนอโศกมนตรี แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0 2260 8577 ต่อ 1305 www.3M.com/foodsafety/us

ad_3M_Fe.indd 1

22/5/2563 BE 16:38


AUGUST 26-28 TILOG-LOGISTIX 2020

24 JULY

@ Central Place Hotel

Samut Sakhon

The Focus on Healthier Innovations

Beverage Innovation Leads to Huge Growth

10 August 2020

11 August 2020

@ Jupiter Room, Challenger Hall, IMPACT

@ BITEC, Bangkok, Thailand E info@tilog-logistix.com W www.tilog-logistix.com

@ Jupiter Room, Challenger Hall, IMPACT

SEPTEMBER 9-12 FOOD & HOTEL THAILAND (FHT) 2020 @ BITEC, Bangkok, Thailand E Putthaporn.p@informa.com W www.propakasia.com

22-26 THAIFEX ANUGA ASIA 2020

@ Challenger Hall, IMPACT, Muang Thong Thani, Nonthaburi, Thailand E warisara@expolink.net (Warisara) l.how@koelnmesse.com.sg W www.thaifex-anuga.com

OCTOBER 20-23 PROPAK ASIA 2020 @ BITEC, Bangkok, Thailand E nongnaphat.J@informa.com W www.propakasia.com

23-24 VITAFOODS ASIA 2020 @ Sands Expo & Convention Centre, Singapore E colin.williams@informa.com W www.vitafoodsasia.com

NOVEMBER

28 -30 SIAL CHINA 2020 @ Shanghai New International Expo Centre, Shanghai, China E visit@sialchina.cn W www.sialchina.com

DECEMBER

28-30 THAILAND LAB INTERNATIONAL 2020

18-20 ASIA FRUIT LOGISTICA 2020

9-11 FOOD INGREDIENTS ASIA (Fi ASIA) 2020

@ BITEC, Bangkok, Thailand E thailandlab@vnuasiapacific .com W www.thailandlab.com

@ Singapore EXPO, Singapore E pimpornravee@gp-events.com W www.asiafruitlogistica.com

@ JI Expo, Jakarta, Indonesia E Nureen.c@informa.com W www.fiasia-indonesia.com

SEMINAR & TRAINING 2-17

By

โครงการเปิดโลกการค้ากับทูตพาณิชย์ (Export Clinic) ออนไลน์ New Economy Academy

8 By

เทคนิคการปรับปรุงวิธีการทำ�งาน (Online Training)

9 By

การบริหารความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์

10

ต่อยอดเส้นทางเพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Facebook Live)

By

Thailand Productivity Institute Thailand Productivity Institute

Thailand Productivity Institute

15-19 หลักสูตร

By

18

รุ่นที่ 137

“ความรู้เบื้องต้นในการประกอบธุรกิจส่งออก”

17 By

การบริหารวงจรคุณภาพ QCC

19

โปรแกรมพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับทักษะอนาคต F : Adaptability Skills ความสามารถในการปรับตัว ยุคดิจิทัล (Facebook Live)

By

Thailand Productivity Institute

Thailand Productivity Institute

23 By

3Q เพื่อพัฒนาตนเอง (EQ- AQ- MQ)

30

การวิเคราะห์และปรับปรุงประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร (OEE)

By

CONTACT

New Economy Academy T 0 2507 8128, 1169 E nea@ditp.go.th

Thailand Productivity Institute T 0 2619 5500 # 451-455 E training@ftpi.or.th

Thailand Productivity Institute

Thailand Productivity Institute

New Economy Academy

FOOD FOCUS THAILAND JUN 2020

18_Schedule of Event.indd 18

22/5/2563 BE 16:57


ad__New.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

26/5/2563 BE

11:48


STAR ITEMS

TPO 5000 TOTAL PACKAGE OXYGEN METER

BAKE STABLE CARAMEL

G-SERIES THERMAL INKJET PRINTER

TPO 5000 เครื่​่�องที่​่�สามารถวั​ัดปริ​ิมาณออกซิ​ิเจน ทั้​้�งหมดในเครื่​่�องดื่​่�มได้​้เร็​็วที่​่�สุ​ุด สามารถเลื​ือก วั​ัดออกซิ​ิเจนที่​่�พื้​้�นที่​่�ว่​่างเหนื​ือตั​ัวอย่​่างในบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ และออกซิ​ิเจนที่​่�ละลายในตั​ัวอย่​่างได้​้ โดยตรง ทั้​้� ง ในบรรจุ​ุ ภั​ั ณ ฑ์​์ ที่ ่� เ ป็​็ น กระป๋​๋ อ ง ขวดแก้​้ว และขวดพลาสติ​ิก โดยอาศั​ัยเซ็​็นเซอร์​์ ออพโตเคมิ​ิคอลออกซิ​ิเจนในการตรวจวั​ัดแล้​้ว แสดงผลบนหน้​้าจอ ตั​ัวเครื่​่�องทำำ�จากสเตนเลส มี​ีความคงทน และออกแบบให้​้ป้​้องกั​ันน้ำำ�� เพื่​่�อ ให้​้แน่​่ใจว่​่าสามารถใช้​้งานในพื้​้�นที่​่�ในระหว่​่าง กระบวนการผลิ​ิตได้​้ ยิ่​่�งไปกว่​่านั้​้�น TPO 5000 ของ Anton Paar ยั​ังมี​ีฟั​ังก์​์ชั​ันในการทำำ�ความสะอาดอั​ัตโนมั​ัติ​ิหลั​ังจากการวั​ัดในแต่​่ละครั้​้�ง เพื่​่�อให้​้แน่​่ใจว่​่าเครื่​่�องมื​ือพร้​้อมสำำ�หรั​ับการวั​ัด ครั้​้�งต่​่อไปได้​้ตลอดเวลา

นวั​ัตกรรมของคาราเมลสอดไส้​้ที่​่�มี​ีความคงทน ต่​่อกระบวนการอบที่​่�อุ​ุณหภู​ูมิ​ิสู​ูง (220 องศาเซลเซี​ียส เป็​็นเวลา15 นาที​ี) ทำำ�ให้​้สามารถ รั​ั ก ษาเนื้​้� อ สั​ั ม ผั​ั ส และคุ​ุ ณ สมบั​ั ติ​ิ ข องคาราเมล สอดไส้​้ไว้​้ได้​้อย่​่างดี​ี ไม่​่ส่​่งผลต่​่อแป้​้งพั​ัฟ และ การขึ้​้� น ของแป้​้ ง โด ไม่​่ ไ หลทะลั​ั ก หรื​ือสร้​้ า ง โพรงอากาศ หลั​ังอบเสร็​็จ อี​ีกทั้​้�งยั​ังคงทนต่​่อ การเก็​็บรั​ักษาที่​่�อุ​ุณหภู​ูมิ​ิแช่​่แข็​็ง

เครื่​่�องพิ​ิมพ์​์ Thermal Inkjet Printer รุ่​่�น GSeries โซลู​ูชั​ันการพิ​ิมพ์​์ที่​่�ง่​่ายต่​่อการเชื่​่�อมเข้​้า กั​ับสายการผลิ​ิตและออกแบบมาเพื่​่�องานพิ​ิมพ์​์ ที่​่�ต้​้องการความละเอี​ียดสู​ูง สามารถตอบสนอง ความต้​้องการของคุ​ุณได้​้หลากหลายรู​ูปแบบ พร้​้อมด้​้วยการยึ​ึดเกาะที่​่�ดี​ีเยี่​่�ยม มี​ีหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ที่​่� แห้​้งเร็​็วเป็​็นพิ​ิเศษ ช่​่วยให้​้ได้​้งานพิ​ิมพ์​์ที่​่�คมชั​ัด สมบู​ูรณ์แ์ บบแม้​้ในสายการผลิ​ิตที่​่มี​ี� ความเร็​็วสูงู สามารถพิ​ิมพ์​์ได้​้ทั้​้�งข้​้อความตั​ัวอั​ักษร ตั​ัวเลข บาร์​์โค้​้ด และ 2D Data matrix เพื่​่�อเพิ่​่�มความสามารถในการตามสอบย้​้อนกลั​ับ เพื่​่�อความปลอดภั​ัยของผู้​้�บริ​ิโภคได้​้อี​ีกด้​้วย

TPO 5000 provides the fastest way to measure total package oxygen in beverage production. It selectively measures the headspace oxygen and the dissolved oxygen directly out of cans, glass bottles, and PET bottles with optochemical oxygen sensor. The instrument has a stainless steel housing and splash-proof design to ensure resistance to process environments. Moreover, Anton Paar’s TPO 5000 is equipped with a self-cleaning functionality for automatic cleaning after each measurement to ensure that the instrument is always ready for the next measurement at any time. By: Anton Paar (Thailand) Ltd. www.anton-paar.com

20

This is a new innovative caramel filling that comes with special heat stability. When cooking at very high temperatures (220℃ for 15 minutes), it will keep its texture throughout the baking process, cause no impact on puff pastry or rising of the dough, and not spread or create a hole. This new innovative caramel filling is also stable to freezing temperature.

By: I.P.S. International Co., Ltd. www.ips-international.co.th

If you are looking for a coding solution that is easy to integrate into your production line and designed for high resolution printing. G-Series thermal ink jet printers can meet your needs including a diverse range of applications, high quality printing with excellent adhesion, and super fast dry times enabling perfect code clarity at high production line speeds. Combinations of alphanumeric texts, barcodes and 2D Data matrix codes can be applied for enhanced traceability.

By: Harn Engineering Solution Pcl. www.harn.co.th

FOOD FOCUS THAILAND JUN 2020

20-22_Star Item.indd 20

21/5/2563 BE 17:12


ad_JTE.indd 5

21/2/2563 BE 14:25


STAR ITEMS

CHECKWEIGHER C33 PLUSLINE ROBUST PERFORMANCE

TOPAX 990 NEUTRAL DISINFECTANT AGENT FOR COP

FLEXGUARD MOBILE SANITIZER

เครื่​่�องตรวจสอบน้ำำ��หนั​ักบนสายพานรุ่​่�น C33 PlusLine สำำ�หรั​ับงานที่​่�ต้​้องการความแม่​่นยำำ�สู​ูง รองรั​ับความเร็​็วสู​ูงสุ​ุด 300 ชิ้​้�นต่​่อนาที​ีและ พิ​ิกั​ัดการชั่​่�งน้ำำ��หนั​ักอยู่​่�ระหว่​่าง 7 กรั​ัม ถึ​ึง 7.5 กิ​ิโลกรั​ัม มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพการทำำ�งานระดั​ับสู​ูง เหมาะอย่​่างยิ่​่�งสำำ�หรั​ับการใช้​้งานขั้​้�นสู​ูงที่​่�ต้​้องการ ควบคุ​ุมน้ำ��ำ หนั​ัก 100% มาพร้​้อมสายพานลำำ�เลี​ียง D15 ที่​่�ให้​้ความแม่​่นยำำ�สู​ูงในการชั่​่�งน้ำำ��หนั​ัก และความเร็​็วที่​่�เร็​็วกว่​่าสำำ�หรั​ับบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ที่​่�มี​ี น้ำำ��หนั​ักเบา นอกจากนี้​้� ระบบยั​ังมี​ีหน้​้าจอสั​ัมผั​ัส ขนาด 12 นิ้​้�ว ติ​ิดตั้​้�งไว้​้ที่​่�ด้​้านหน้​้าของสายพานลำำ�เลี​ียงเพื่​่�อความปลอดภั​ัยสู​ูงสุ​ุดของผู้​้�ใช้​้งาน

โทแพ็​็คซ์​์ 990 ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ฆ่​่าเชื้​้�อแบคที​ีเรี​ียบน พื้​้�น ผนั​ัง อุ​ุปกรณ์​์ เครื่​่�องมื​ือ เครื่​่�องจั​ักร ในฟาร์​์ม เลี้​้ย� งสั​ัตว์​์ โรงฆ่​่าสั​ัตว์​์ โรงงานแปรรู​ูปผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์เนื้​้�อสั​ัตว์​์ และโรงงานผลิ​ิตอาหารสั​ัตว์​์ ด้​้วย คุ​ุณสมบั​ัติ​ิที่​่�ไม่​่มี​ีส่​่วนผสมของ Quaternary Ammonium Compound (QAC) และฟอสเฟต รวมทั้​้�งไม่​่มี​ีส่​่วนผสมของคลอรี​ีนและสารออกซิ​ิเดที​ีฟ ทำำ�ให้​้โทแพ็​็คซ์​์ 990 สามารถใช้​้ได้​้กั​ับ วั​ัสดุ​ุอื่​่น� ๆ นอกเหนื​ือจากสเตนเลส โดยมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพในการกำำ�จั​ัดเชื้​้�อจุ​ุลิ​ินทรี​ีย์​์ เช่​่น Escherichia coli, Salmonella enterica, Pseudomonas aeruginosa และ Listeria monocytogenes ถึ​ึง 99.999% ด้​้วยการเจื​ือจางที่​่�ต่ำ��ำ เพี​ียง 0.13% โดยปริ​ิ ม าตร นอกจากนี้​้� ยั ั ง มี​ี ป ระสิ​ิ ท ธิ​ิ ภ าพ ในการฆ่​่าเชื้​้�อแบคที​ีเรี​ียและราได้​้ดี​ี แม้​้ใช้​้ที่​่� อุ​ุณหภู​ูมิ​ิต่ำำ��

เครื่​่อ� งพ่​่นหมอกควั​ันน้ำำ�� ยาฆ่​่าเชื้​้อ� โรค ชนิ​ิดตั้​้ง� พื้​้น� แบบมี​ีล้​้อ ขนาดบรรจุ​ุน้ำำ��ยา 5 ลิ​ิตร สามารถพ่​่น ไอหมอกขนาด 0.5 ถึ​ึง 10 ไมครอน ละออง ขนาดเล็​็ก ไม่​่ทำำ�ให้​้พื้​้�นที่​่�พ่​่นเปี​ียกชื้​้�น สามารถ ดั​ั ก จั​ั บ เชื้​้ � อ แบคที​ี เ รี​ี ย และไวรั​ั ส ได้​้ อ ย่​่ า งมี​ี ประสิ​ิ ท ธิ​ิ ภาพ เหมาะกั​ั บ การพ่​่ นฆ่​่ า เชื้​้ � อ โรค ในห้​้ อ ง และมี​ี อุ ุ ป กรณ์​์ ท่ ่ อ อ่​่ อ นต่​่ อ สำำ � หรั​ั บ พ่​่นตามพื้​้�นที่​่�ซอกมุ​ุมได้​้ ตั​ัวเครื่​่�องทำำ�จากเหล็​็ก พ่​่ น สี​ี ชนิ ิ ดป้ ้ อ งกั​ั น การสะสมเชื้​้ � อ แบคที​ี เ รี​ี ย ถั​ังบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ทำำ�จาก PP พร้​้อมใส่​่ล้​้อมี​ีล็​็อค สามารถเคลื่​่�อนย้​้ายได้​้สะดวก

With a throughput of up to 300 packs per minute and a weighing range from 7 g to 7.5 kg, the C33 PlusLine’s at the forefront of checkweighing technology, ensuring precision weighing at its best. A robust performance makes the checkweigher ideal for advanced applications requiring 100% weight control. D15 conveyors ensure high weighing accuracy and faster speeds for lightweight packages. In addition, the system incorporates a 12” touchscreen mounted in front of the conveyor for maximum user safety.

By: Mettler-Toledo (Thailand) Ltd. www.mt.com

22

TOPAX 990 is a neutral foam sanitizer, approved for microbiological control in production equipment of poultry, food, and beverage industries. It does not contain Quaternary Ammonium Compound (QAC) and phosphate. It is also free from chlorine and other oxidative ingredient that may damage non-stainless steel material. It’s unique formulation provides 99.999% efficacy removal for microorganisms such as Escherichia coli, Salmonella enterica, Pseudomonas aeruginosa, and Listeria monocytogenes from as low as 0.13% v/v dilution. By: Ecolab Ltd. www.ecolab.com

FLEXGUARD Mobile Sanitizer comes with 5 litres PP sanitizing agent reservoir. The droplets generated can be as small as 0.510 microns which won’t wet carpet and can be used to kill bacteria and virus effectively. Additional hose is also included for small area and corners. The body is constructed with anti-bacterial paint coated metal equipped with wheels for easy moving.

By: Official Equipment Manufacturing Co., Ltd. www.official.co.th

FOOD FOCUS THAILAND JUN 2020

20-22_Star Item.indd 22

22/5/2563 BE 17:53


SCOOP

ศู​ูนย์​์วิ​ิจั​ัยกสิ​ิกรไทย Kasikorn Research Center

โอกาสและความท้​้าทายของอาเซี​ียน… ท่​่ามกลางการเปลี่​่�ยนแปลงของห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทาน ในยุ​ุคหลั​ังวิ​ิกฤต COVID-19

สถานการณ์​์การระบาดของ COVID-19 ส่​่งผลให้​้ประเทศที่​่�พึ่​่�งพาการนำำเข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางจากจี​ีนได้​้รั​ับผลกระทบจากการที่​่�จี​ีน หยุ​ุดผลิ​ิตหรื​ือไม่​่สามารถขนส่​่งสิ​ินค้​้าได้​้ ขณะที่​่�ญี่​่�ปุ่​่�นซึ่​่�งเป็​็นอี​ีกประเทศที่​่�มี​ีความสำำคั​ัญต่​่อห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทานของโลกกำำลั​ังเผชิ​ิญกั​ับ การระบาดระลอกสอง ซึ่​่�งสร้​้างความเสี่​่�ยงต่​่อความชะงั​ักงั​ันของการผลิ​ิตสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางที่​่�สำำคั​ัญ โดยการระบาดดั​ังกล่​่าวตอกย้ำำ��ถึ​ึง ความเปราะบางของการพึ่​่�งพาแหล่​่งผลิ​ิตสิ​ินค้​้าจำำเป็​็นที่​่�มี​ีการกระจุ​ุกตั​ัวของประเทศผู้​้�ผลิ​ิต ในขณะเดี​ียวกั​ัน การระบาดดั​ังกล่​่าว เกิ​ิดในช่​่วงเวลาที่​่�สำำคั​ัญที่​่�ภาคธุ​ุรกิ​ิจกำำลั​ังทบทวนมุ​ุมมองในการตั​ัดสิ​ินใจย้​้ายฐานการผลิ​ิต ท่​่ามกลางแรงกดดั​ันจากสงคราม การค้​้าที่​่�ยั​ังคงรอวั​ันปะทุ​ุ ซึ่​่�งอาจนำำมาสู่​่�กระแสการปรั​ับเปลี่​่�ยนห่​่วงโซ่​่การผลิ​ิตที่​่�สำำคั​ัญ คื​ือ การลดการพึ่​่�งพาการนำำเข้​้าสิ​ินค้​้า จากจี​ีนของหลายๆ ประเทศ ทั้​้�งนี้​้� ศู​ูนย์​์วิ​ิจั​ัยกสิ​ิกรไทยได้​้รวบรวมประเด็​็นการพึ่​่�งพาสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางของประเทศในอาเซี​ียน ตลอดจน นั​ัยจากทิ​ิศทางการปรั​ับตั​ัวของห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทานในระยะข้​้างหน้​้าที่​่�น่​่าสนใจดั​ังนี้​้� ทั้​้�งนี้​้� ในการวิ​ิเคราะห์​์ความเปราะบางของการพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้า สิ​ินค้า้ ขั้​้น� กลางจากต่​่างประเทศ นอกจากปั​ัจจั​ัยของระดั​ับความเข้​้มข้​้น ของการพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางแล้​้ว ระดั​ับความซั​ับซ้​้อน ของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์สินค้ ิ ้าขั้​้�นกลาง (Product Complexity Index; PCI) ที่​่� พึ่​่ง� พาก็​็เป็​็นอี​ีกปั​ัจจั​ัยที่​่ส่� ง่ ผลต่​่อความเปราะบางด้​้วยเช่​่นกั​ัน เนื่​่อ� งจาก การพึ่​่�งพาสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางที่​่�มี​ีระดั​ับความซั​ับซ้​้อนสู​ูง อาจหมายถึ​ึง การปรั​ับเปลี่​่�ยนการพึ่​่�งพาผู้​้�ผลิ​ิตสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางที่​่�ทำำ�ได้​้ยากเช่​่นกั​ัน โดประเทศในอาเซี​ียนอาจสามารถแบ่​่ ง กลุ่​่ � ม ตามความซั ั บ ซ้​้ อ น ของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์สิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางและระดั​ับความเข้​้มข้​้นของการนำำ�เข้​้า สิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางดั​ังนี้​้� • กลุ่​่ม� ที่​่ก� ารพึ่​่ง� พาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้น� กลางที่​่มี​ีค � วามซั​ับซ้​้อนต่ำำ�� ทั้​้�งนี้​้� การนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางในหมวดนี้​้�ส่​่วนใหญ่​่จะเป็​็นการนำำ�เข้​้า วั​ัตถุ​ุดิ​ิบที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับสิ่​่�งทอ เหล็​็ก เคมี​ีภั​ัณฑ์​์พื้​้�นฐาน โดยการนำำ�เข้​้า สิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางในหมวดดั​ังกล่​่าว มั​ักเป็​็นการนำำ�เข้​้าจากประเทศผู้​้�ผลิ​ิต โดยตรง ขณะที่​่แ� หล่​่งนำำ�เข้​้าสิ​ินค้า้ ขั้​้น� กลางหลั​ักจะมาจากจี​ีนเป็​็นหลั​ัก ยกเว้​้ น เคมี​ีภั​ั ณ ฑ์​์ ที่​่ � มี​ี การกระจายการนำำ � เข้​้ า วั​ัตถุ​ุดิ​ิ จ ากจี​ีนและ อาเซี​ียน อย่​่างไรก็​็ดี​ี กลุ่​่�มที่​่�มี​ีสั​ัดส่​่วนการพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้า ขั้​้�นกลางที่​่�มี​ีความซั​ับซ้​้อนต่ำำ��ยั​ังสามารถแบ่​่งได้​้เป็​็น 2 ประเภทย่​่อย ได้​้แก่​่ 1. กลุ่​่�มประเทศที่​่�มี​ีการพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางที่​่�มี​ีความซั​ับซ้​้อนต่ำำ�� และมี​ีสั​ัดส่​่วนการพึ่​่ง� พาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้า้ ขั้​้น� กลางในระดั​ับ ค่​่อนข้​้างต่ำำ�� ทั้​้�งนี้​้� ลั​ักษณะของประเทศในกลุ่​่�มนี้​้�ส่​่วนใหญ่​่จะเป็​็น ประเทศที่​่มี​ี� ระบบเศรษฐกิ​ิจค่​่อนข้​้างปิ​ิด อาทิ​ิ สปป.ลาว เมี​ียนมา และ อิ​ินโดนี​ีเซี​ีย ซึ่​่�งเน้​้นการนำำ�เข้​้าวั​ัตถุ​ุดิ​ิบขั้​้�นกลางเพื่​่�อผลิ​ิตสิ​ินค้​้าสำำ�หรั​ับ

รูปที่ 1 ระดับความซับซ้อนของผลิตภัณฑ์สินค้าขั้นกลางของประเทศต่างๆ ในอาเซียน

Figure 1 Product Complexity Index (PCI) of Intermediate Goods Import in ASEAN Countries

ที่มา/Source: UNCOMTRADE, Center for International Development at Harvard University

หมายเหตุ: ดัชนีความซับซ้อนของผลิตภัณฑ์ (PCI) เป็นดัชนีที่คิดค้นโดย Prof.Ricardo Hausmann และ Prof.César A. Hidalgo แห่งศูนย์เพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ (CID) ของฮาร์วาร์ด เพื่อ สะท้อนองค์ความรู้และระดับการพัฒนาความสามารถที่เกี่ยวข้องในการสร้างผลิตภัณฑ์ที่ซับซ้อน โดยผลิตภัณฑ์ที่มีค่าดัชนี PCI ที่สูง หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ต้องใช้ระดับความรู้และการพัฒนาที่สูง ในการผลิตผลิตภัณฑ์ดังกล่าว Remark: The PCI was developed by Professor Ricardo Hausmann and Professor César A. Hidalgo of the Center for International Development at Harvard University to reflect knowledge and level of capability development related to the creation of complex products. Products with high PCI mean that their production requires exceptionally high level of knowledge and development.

การบริ​ิโภคในประเทศเป็​็นหลั​ัก โดยการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางในหมวดนี้​้� ส่​่วนใหญ่​่จะเป็​็น การนำำ�เข้​้าวั​ัตถุ​ุดิ​ิบที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับสิ่​่�งทอและเหล็​็ก ยกเว้​้นอิ​ินโดนี​ีเซี​ียที่​่�มี​ีการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้า เอนไปทางสิ​ินค้​้าอุ​ุตสาหกรรม อาทิ​ิ เคมี​ีภั​ัณฑ์​์ JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND

23-28_Scoop_Covid.indd 23

23

22/5/2563 BE 17:51


SCOOP 2. กลุ่​่ม� ประเทศที่​่มี​ี� การพึ่​่ง� พาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้น� กลางที่​่มี​ีค � วามซั​ับซ้​้อนต่ำำ�� แต่​่ มี​ีสั​ัดส่​่วนการพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางในระดั​ับสู​ูง ได้​้แก่​่ ประเทศกั​ัมพู​ูชา เป็​็นประเทศที่​่มี​ีค � วามเสี่​่ย� งจากการชะงั​ักงั​ันของห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทานมากที่​่สุ​ุ� ด เนื่​่อ� งจาก ภาคการส่​่งออกของกั​ัมพู​ูชาขาดการกระจายตั​ัวและพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้าวั​ัตถุ​ุดิ​ิบ ขั้​้�นกลางของอุ​ุตสาหกรรมสิ่​่�งทอจากจี​ีนในสั​ัดส่​่วนที่​่�สู​ูง • กลุ่​่�มที่​่�มี​ีสั​ัดส่​่วนการพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางที่​่�มี​ีความซั​ับซ้​้อนสู​ูง ทั้​้�งนี้​้� การนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางในหมวดเทคโนโลยี​ีส่​่วนใหญ่​่จะเป็​็นสิ​ินค้​้าอิ​ิเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์ ซึ่​่ง� มั​ักจะใช้​้ชิ้​้นส่​่ � วนสิ​ินค้​้าขั้​้น� กลางที่​่มี​ีค � วามซั​ับซ้​้อนของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์สูงู ทั้​้ง� นี้​้� แหล่​่งที่​่�มี​ีของการนำำ�เข้​้าที่​่�สำำ�คั​ัญจะมาจากเกาหลี​ีใต้​้ จี​ีน และญี่​่�ปุ่​่�น โดยมี​ีข้​้อสั​ังเกตว่​่า ชิ้​้�นส่​่วนสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางที่​่�มี​ีความซั​ับซ้​้อนสู​ูงส่​่วนใหญ่​่ จะมาจากเกาหลี​ีใต้​้เป็​็นหลั​ัก ขณะที่​่�จี​ีนจะผลิ​ิตสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางที่​่�มี​ีความซั​ับซ้​้อนน้​้อยกว่​่า ในส่​่วนสิ​ินค้​้าหมวด ยานยนต์​์จะมี​ีการพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางจากญี่​่�ปุ่​่�นเป็​็นหลั​ัก 1. กลุ่​่�มที่​่�มี​ีสั​ัดส่​่วนการพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางที่​่�มี​ีความซั​ับซ้​้อนสู​ูง แต่​่มี​ีสั​ัดส่​่วนการพึ่​่ง� พาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้น� กลางในระดั​ับค่​่อนข้​้างต่ำำ�� โดย มาเลเซี​ีย สิ​ิงคโปร์​์ และไทยอยู่​่�ในกลุ่​่�มนี้​้� ทั้​้�งนี้​้� ลั​ักษณะเชื่​่�อมโยงของห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทานจะถู​ูกยื​ืด ออกไป เนื่​่�องจากสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางที่​่�มี​ีความซั​ับซ้​้อนไม่​่สู​ูงมากจะถู​ูกผลิ​ิตผ่​่าน อาเซี​ียนและจี​ีนที่​่�มี​ีการพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางจากเกาหลี​ีใต้​้และญี่​่�ปุ่​่�น ซึ่​่�งเป็​็นเจ้​้าของเทคโนโลยี​ีที่​่�สำำ�คั​ัญในการผลิ​ิตสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางสำำ�หรั​ับส่​่งออกใน สั​ัดส่​่วนที่​่�ค่​่อนข้​้างสู​ูงเพื่​่�อลดต้​้นทุ​ุนการผลิ​ิต อย่​่างไรก็​็ดี​ี สิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางที่​่�มี​ีระดั​ับ ความซั​ับซ้​้อนสู​ูงส่​่วนใหญ่​่ยั​ังคงพึ่​่�งพาจากประเทศในเอเชี​ียตะวั​ันออก โดยเฉพาะ เกาหลี​ีใต้​้และญี่​่�ปุ่​่�น 2. กลุ่​่�มประเทศที่​่�มี​ีการพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางที่​่�มี​ีความซั​ับซ้​้อน ในระดั​ับสู​ูงและมี​ีสั​ัดส่​่วนการพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางในระดั​ับสู​ูง ได้​้แก่​่ ประเทศฟิ​ิลิปิ ปิ​ินส์​์ และเวี​ียดนาม เป็​็นประเทศที่​่มี​ีค � วามเสี่​่ย� งจากการชะงั​ักงั​ันของ ห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทานในระดั​ับสู​ูง เนื่​่�องจากทั้​้�ง 2 ประเทศพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลาง ที่​่�มี​ีความซั​ับซ้​้อนของสู​ูง โดยเฉพาะสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางที่​่�นำำ�เข้​้าจากเกาหลี​ีใต้​้เป็​็น

สิ​ินค้​้าเทคโนโลยี​ีที่​่�ผู้​้�ผลิ​ิตรายอื่​่�นอาจทดแทนได้​้ยาก ทั้​้�งนี้​้� ในภาพรวมอาจสรุ​ุปได้​้ว่​่าประเทศในอาเซี​ียนส่​่วนใหญ่​่อาจเผชิ​ิญกั​ับ ความเปราะบางของห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทาน อั​ันเป็​็นผลจากการพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้า ขั้​้�นกลางจากแหล่​่งที่​่�ได้​้เปรี​ียบในต้​้นทุ​ุนการผลิ​ิต อาทิ​ิ จี​ีน ตลอดจนการพึ่​่�งพา เทคโนโลยี​ีจากประเทศต้​้นน้ำำ��ที่​่�เป็​็นเจ้​้าของเทคโนโลยี​ีขั้​้�นสู​ูง อาทิ​ิ เกาหลี​ีใต้​้ และญี่​่�ปุ่​่�น อั​ันบ่​่งชี้​้�ถึ​ึงปั​ัจจั​ัยที่​่�เสี่​่�ยงต่​่อการชะงั​ักงั​ันของห่​่วงโซ่​่การผลิ​ิต ทั้​้�งนี้​้� แม้​้ว่​่าในส่​่วนสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางที่​่�มี​ีระดั​ับความซั​ับซ้​้อนในการผลิ​ิตปานกลาง อาเซี​ียนสามารถที่​่�จะผลิ​ิตเองได้​้ แต่​่คงต้​้องยอมรั​ับว่​่าด้​้วยการผลิ​ิตสิ​ินค้​้า ขั้​้�นกลางเหล่​่านั้​้�นพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางโดยตรงจากผู้​้�ผลิ​ิตต้​้นน้ำำ��ที่​่� เป็​็นเจ้​้าของเทคโนโลยี​ีขั้​้�นสู​ูงด้​้วยเช่​่นกั​ัน อั​ันหมายความว่​่าการกระจายความเสี่​่�ยง ในห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทานจากการพึ่​่�งพาผู้​้�ผลิ​ิตสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางในภู​ูมิ​ิภาคอาจทำำ�ได้​้ ค่​่อนข้​้างจำำ�กั​ัด มองไปข้​้างหน้​้า สถานการณ์​์การระบาดของ COVID-19 ที่​่�กระทบรุ​ุนแรง ต่​่อประเทศขนาดใหญ่​่ที่​่ � เ ป็​็ นตล าดปลายทางของสิ​ิ น ค้​้ า อุ​ุตสาหกรรม อั​ันตอกย้ำำ�ถึ​ึ � งความเปราะบางของห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทานที่​่มี​ี� การพึ่​่ง� พาแหล่​่งผลิ​ิตสิ​ินค้​้า ขั้​้�นกลางที่​่�กระจุ​ุกตั​ัว กอปรกั​ับแรงกดดั​ันจากการเก็​็บภาษี​ีการค้​้าของสหรั​ัฐ อเมริ​ิกา อาจเป็​็นปั​ัจจั​ัยเร่​่งให้​้เกิ​ิดการพิ​ิจารณาการปรั​ับเปลี่​่�ยนฐานการผลิ​ิต

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบต้นทุนด้านโลจิสติกส์และจุดแข็งของต้นทุนการผลิตเพื่อการส่งออกระหว่างอาเซียนกับจีน Table 1 Comparison of logistic costs and production costs for exports between ASEAN and China

24

FOOD FOCUS THAILAND

23-28_Scoop_Covid.indd 24

JUN 2020 21/5/2563 BE 18:01


SCOOP สิ​ินค้​้าสำำ�คั​ัญออกจากจี​ีน ทั้​้�งนี้​้� หากเปรี​ียบเที​ียบ อาเซี​ียนและจี​ีนจะพบว่​่าความได้​้เปรี​ียบของ อาเซี​ียนจะอยู่​่�ที่​่�สิ​ิทธิ​ิพิ​ิเศษทางการค้​้าที่​่�หลายๆ ประเทศได้​้รับั จากทั้ง้� สหรั​ัฐอเมริ​ิกาและสหภาพยุ​ุโรป ตลอดจนต้​้นทุ​ุนแรงงานที่​่�ยั​ังคงต่ำำ��กว่​่าจี​ีน ในหลายๆ ประเทศ ซึ่​่�งน่​่าจะช่​่วยลดทอนข้​้อเสี​ี ย เปรี​ี ย บด้​้ า นต้​้ น ทุ​ุ น ค่​่ า ขนส่​่ ง ได้​้ บ างส่​่ ว น โดยศู​ูนย์​์วิจัิ ยั กสิ​ิกรไทยได้​้รวมประเด็​็นที่​่�น่า่ สนใจ ต่​่อการปรั​ับเปลี่​่�ยนห่​่วงโซ่​่ดั​ังกล่​่าวต่​่อห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทานจากจี​ีนสู่​่�อาเซี​ียนดั​ังนี้​้� • สิ​ินค้​้าถู​ูกปกป้​้อง (Safeguard) และมี​ีการใช้​้แรงงานที่​่�เข้​้มข้​้น อาจมี​ีความคุ้​้�มค่​่าในการย้​้าย ฐานการผลิ​ิ ต ออกจากจี​ี น โดย กั​ั ม พู​ูชา เมี​ียนมา และสปป.ลาว อาจได้​้รั​ับประโยชน์​์ใน การดึ​ึงดู​ูดการลงทุ​ุนในกลุ่​ุ�มสิ​ินค้​้าเหล่​่านี้​้�จาก ต้​้นทุ​ุนแรงงานที่​่�ถู​ูกกว่​่าจี​ีน ตลอดจนสิ​ิทธิ​ิพิ​ิเศษ ทางการค้​้าอั​ันสามารถชดเชยต้​้นทุ​ุนค่​่าขนส่​่งที่​่� อาจสู​ูงขึ้​้� น จากการย้​้ า ยฐานการผลิ​ิ ต ทั้​้� ง นี้​้� กั​ัมพู​ูชา เมี​ียนมา และสปป.ลาว อาจมี​ีข้อ้ ได้​้เปรี​ียบ จากการได้​้รั​ับสิ​ิทธิ​ิพิ​ิเศษทางการค้​้าแก่​่ประเทศ ยากจน โดยเฉพาะสิ​ิ ท ธิ​ิ Everything But Arms (EBA) ยกเว้​้นการเก็​็บภาษี​ีนำ�ำ เข้​้าโดยไม่​่มี​ี การกำำ � หนดโควตา โดยตั​ั ว อย่​่ า งของสิ​ิ น ค้​้ า ในกลุ่​่�มนี้​้� อาจได้​้แก่​่ อุ​ุตสาหกรรมสิ่​่�งทอและ เครื่​่อ� งนุ่​่�งห่​่มที่​่�มีกี ารย้​้ายการผลิ​ิตสิ​ินค้​้าขั้​้น� ปลาย ออกจากจี​ีน แต่​่ยั​ังคงอาศั​ัยจุ​ุดเด่​่นของแหล่​่ง ผลิ​ิตที่​่�อยู่​่�ไม่​่ไกลมาก (Nearshoring) เนื่​่�องจาก การผลิ​ิตสิ​ินค้​้าดั​ังกล่​่าวยั​ังต้​้องอาศั​ัยวั​ัตถุ​ุดิ​ิบ ต้​้นน้ำำ��จากจี​ีนที่​่�ยั​ังมี​ีข้​้อได้​้เปรี​ียบด้​้านการผลิ​ิต • สิ​ินค้​้าขั้​้�นปลายที่​่�จี​ีนมี​ีศั​ักยภาพในการทำำ� กำำ�ไรและไม่​่ได้​้พึ่​่�งพิ​ิงการใช้​้แรงงานในการผลิ​ิต สิ​ินค้​้า การย้​้ายฐานการผลิ​ิตออกจากจี​ีนอาจ เกิ​ิดขึ้​้�นในวงจำำ�กั​ัด เนื่​่�องจากจี​ีนยั​ังคงมี​ีความได้​้เปรี​ียบในด้​้านต้​้นทุ​ุนการผลิ​ิตสิ​ินค้​้า ตลอดจน ต้​้นทุ​ุนการขนส่​่ง โดยสิ​ินค้​้าในส่​่วนนี้​้�ส่​่วนใหญ่​่ เป็​็นสิ​ินค้​้าที่​่�เน้​้นการใช้​้ทุ​ุนเข้​้มข้​้น อาทิ​ิ อุ​ุตสาหกรรมเหล็​็กซึ่​่ง� จี​ีนยั​ังคงมี​ีข้อ้ ได้​้เปรี​ียบในการผลิ​ิต สิ​ินค้​้าดั​ังกล่​่าว • ในส่​่วนของสิ​ินค้​้าที่​่�มี​ีผลต่​่อความมั่​่�นคง ของห่​่วงโซ่​่การผลิ​ิตหรื​ือสิ​ินค้​้าเทคโนโลยี​ีขั้​้น� สู​ูงที่​่� มี​ีความเสี่​่�ยงทรั​ัพย์​์สิ​ินทางปั​ัญญา (Intellectual property) การย้​้ายฐานการผลิ​ิตน่​่าจะเป็​็นการย้​้ า ยฐานกลั​ั บ (Reshoring) มายั​ั ง ประเทศ ปลายทางที่​่�เป็​็นเจ้​้าของเทคโนโลยี​ีเพื่​่�อกระจาย ความเสี่​่� ย ง โดยเฉพาะสิ​ิ น ค้​้ า ที่​่� ส ามารถใช้​้ หุ่​่�นยนต์​์และเครื่​่�องจั​ักรในการผลิ​ิต ตลอดจน

สิ​ินค้​้าที่​่�มี​ีความอ่​่อนไหวต่​่อการเกิ​ิดการชะงั​ักงั​ันในห่​่วงโซ่​่การผลิ​ิตของสิ​ินค้​้าที่​่�มี​ีความสำำ�คั​ัญ ทั้​้�งนี้​้� สิ​ินค้​้า ที่​่�มี​ีโอกาสถู​ูกดึ​ึงกลั​ับมาผลิ​ิตในประเทศปลายทางที่​่�เป็​็นเจ้​้าของเทคโนโลยี​ีซึ่�่งได้​้แก่​่ สิ​ินค้​้าต้​้นน้ำำ��ใน อุ​ุตสาหกรรมอิ​ิเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์ที่​่�ใช้​้เทคโนโลยี​ีขั้​้�นสู​ูง อาทิ​ิ เซมิ​ิคอนดั​ักเตอร์​์ ตลอดจนสิ​ินค้​้าอุ​ุตสาหกรรม ที่​่�ใช้​้เทคโนโลยี​ีขั้​้�นสู​ูงในการผลิ​ิต เช่​่น โลหะผสม และวั​ัสดุ​ุคอมโพสิ​ิต • สิ​ินค้​้าที่​่�ใช้​้ระดั​ับเทคโนโลยี​ีในการผลิ​ิตไม่​่สู​ูงมาก อาเซี​ียนอาจได้​้รั​ับอานิ​ิสงส์​์จากการย้​้ายฐาน การผลิ​ิตบางส่​่วน คงต้​้องยอมรั​ับว่​่าความสามารถในการผลิ​ิตสิ​ินค้​้าของประเทศในอาเซี​ียนส่​่วนหนึ่​่�งยั​ัง ถู​ูกจำำ�กั​ัดด้​้วยองค์​์ความรู้​้�ในการผลิ​ิตสิ​ินค้​้าซั​ับซ้​้อนที่​่�ทำำ�ได้​้จำำ�กั​ัดและยั​ังคงต้​้องพึ่​่�งพาเทคโนโลยี​ีการผลิ​ิต ตลอดจนสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางจากต่​่างประเทศ ทำำ�ให้​้การผลิ​ิตสิ​ินค้​้าทดแทนจี​ีนอาจทำำ�ได้​้เพี​ียงบางส่​่วนของ ห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทาน โดยเฉพาะการผลิ​ิตสิ​ินค้​้าขั้​้�นปลายเป็​็นหลั​ัก ทั้​้�งนี้​้� รู​ูปแบบของการย้​้ายฐานการผลิ​ิตจาก จี​ีนอาจสามารถแยกออกเป็​็น 2 แบบย่​่อย ได้​้แก่​่

JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND 23-28_Scoop_Covid.indd 25

25

21/5/2563 BE 18:01


SCOOP 1. การย้​้ายฐานการผลิ​ิตออกจากจี​ีนเพื่​่�อที่​่�จะทำำ�การตลาดในอาเซี​ียน ทั้​้�งนี้​้� การปรั​ับเปลี่​่�ยนดั​ังกล่​่าวอาจมาจากบริ​ิษั​ัทจี​ีนที่​่�แสวงหาแหล่​่งผลิ​ิต สิ​ิ น ค้​้ า ที่ ่ � มี ี ต้ ้ น ทุ​ุ น การผลิ​ิ ต ที่​่ � ต่ำ ำ � � กว่​่ า การผลิ​ิ ต ในประเทศจี​ี น ตลอดจน การแสวงหาตลาดสิ​ินค้​้าใหม่​่ทดแทนส่​่วนที่​่�ได้​้รั​ับผลกระทบจากสงคราม การค้​้า ซึ่​่�งตั​ัวอย่​่างของสิ​ินค้​้ากลุ่​่�มนี้​้� อาจได้​้แก่​่ ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์เครื่​่�องใช้​้ไฟฟ้​้าที่​่� ไม่​่ พึ่ ่ � ง พาเทคโนโลยี​ี ก ารผลิ​ิ ต ในระดั​ับสู​ู ง ชิ้​้� น ส่​่ ว นรถยนต์​์ ที่ ่ � มี ี ค วามซั​ับซ้​้อนต่ำำ�� ตลอดจนอาศั​ัยแหล่​่งวั​ัตถุ​ุดิ​ิบที่​่�อยู่​่�ในท้​้องถิ่​่�นเพื่​่�อลดต้​้นทุ​ุน การผลิ​ิต อาทิ​ิ ยางรถยนต์​์ นอกจากนี้​้� การย้​้ายฐานการผลิ​ิตอาจมาจากปั​ัจจั​ัย ที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับนโยบายปกป้​้องอุ​ุตสาหกรรมของประเทศปลายทาง อาทิ​ิ อุ​ุตสาหกรรมเหล็​็กที่​่�บริ​ิษั​ัทผู้​้�ผลิ​ิตเหล็​็กในจี​ีนได้​้มี​ีการกระจายฐานการผลิ​ิต มายั​ังอิ​ินโดนี​ีเซี​ียเพื่​่อ� ขยายฐานการผลิ​ิต และใช้​้ประโยชน์​์จากต้​้นทุ​ุนพลั​ังงาน และทรั​ัพยากรแร่​่ธาตุ​ุในอิ​ินโดนี​ีเซี​ียที่​่�มี​ีต้​้นทุ​ุนต่ำำ��กว่​่าจี​ีน 2. การย้​้ายฐานการผลิ​ิตออกจากจี​ีนเพื่​่อ� ผลิ​ิตสิ​ินค้​้าส่​่งออกไปยั​ังตลาด หลั​ักนอกอาเซี​ียน โดยเฉพาะในกรณี​ีนี้​้� บริ​ิษั​ัทที่​่�ย้​้ายฐานการผลิ​ิตจะ พิ​ิจารณาถึ​ึงสิ​ิทธิ​ิประโยชน์​์จากข้​้อตกลงทางการค้​้าของแหล่​่งผลิ​ิตในอาเซี​ียน ได้​้รั​ับสิ​ิทธิ​ิพิ​ิเศษทางภาษี​ี นอกเหนื​ือจากปั​ัจจั​ัยต้​้นทุ​ุนการผลิ​ิต หรื​ือเป็​็น การกระจายฐานการผลิ​ิตเพื่​่�อลดความเสี่​่�ยงจากการพึ่​่�งพาฐานการผลิ​ิต จากจี​ีนเพี​ียงแห่​่งเดี​ียว ซึ่​่�งระดั​ับของเทคโนโลยี​ีและความซั​ับซ้​้อนของ ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ในกลุ่​่�มดั​ังกล่​่าวจะสู​ูงกว่​่าสิ​ินค้​้าในกลุ่​่�มแรก และอาจต้​้องพึ่​่�งพา เทคโนโลยี​ีหรื​ือการนำำ�เข้​้าสิ​ินค้​้าขั้​้น� กลางจากผู้​้�ผลิ​ิตต้​้นน้ำำ�� ทั้​้ง� นี้​้� การย้​้ายฐาน การผลิ​ิตในกลุ่​่�มดั​ังกล่​่าวอาจเป็​็นการขยายฐานการผลิ​ิตเดิ​ิมของบริ​ิษั​ัท ข้​้ามชาติ​ิที่​่�มี​ีการลงทุ​ุนทั้​้�งในอาเซี​ียนและจี​ีนเพื่​่�อหลี​ีกหนี​ีผลจากการเก็​็บ ภาษี​ีการค้​้า การแสวงหาความมั่​่�นคงของห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทาน ตลอดจนการหา แหล่​่งผลิ​ิตที่​่�มี​ีต้​้นทุ​ุนต่ำำ��เพื่​่�อสร้​้างความได้​้เปรี​ียบจากสิ​ินค้​้าที่​่�มี​ีบริ​ิษั​ัทจี​ีน เป็​็นคู่​่�แข่​่ง โดยตั​ัวอย่​่างสิ​ินค้​้าดั​ังกล่​่าวอาจได้​้แก่​่ การผลิ​ิตสิ​ินค้​้าอิ​ิเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์ขั้​้�นปลาย อาทิ​ิ เครื่​่�องใช้​้ไฟฟ้​้า และอุ​ุปกรณ์​์อิ​ิเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์พกพา ชิ้​้�นส่​่วนรถยนต์​์ ที่​่�มี​ีความซั​ับซ้​้อนปานกลาง ตลอดจนการผลิ​ิตเครื่​่�องมื​ือ การแพทย์​์ที่​่�ไม่​่ได้​้ซั​ับซ้​้อนมาก โดยสรุ​ุปแล้​้ว แม้​้ว่​่าอาเซี​ียนซึ่​่�งเป็​็นแหล่​่งการผลิ​ิตสิ​ินค้​้าที่​่�สำำ�คั​ัญแหล่​่ง หนึ่​่�งของโลกจะมี​ีศั​ักยภาพในการดึ​ึงดู​ูดการย้​้ายฐานการผลิ​ิตออกจากจี​ีน แต่​่การเปลี่​่ย� นแปลงของห่​่วงโซ่​่อุปุ ทานดั​ังกล่​่าวยั​ังมี​ีหลายปั​ัจจั​ัยที่​่เ� กี่​่ย� วข้​้อง ไม่​่ว่า่ จะเป็​็นการพิ​ิจารณาย้​้ายฐานกลั​ับเพื่​่อ� ลดความเสี่​่ย� งจากการชะงั​ักงั​ัน ของห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทาน ปั​ัจจั​ัยด้​้านต้​้นทุ​ุนการผลิ​ิต ตลอดจนการเข้​้าถึ​ึงตลาด ปลายทางที่​่�ยั​ังคงเป็​็นน้ำำ��หนั​ักที่​่�ส่​่งผลต่​่อการตั​ัดสิ​ินใจในการปรั​ับเปลี่​่�ยน ห่​่วงโซ่​่การผลิ​ิตออกจากจี​ีน ทั้​้�งนี้​้� หากพิ​ิจารณาศั​ักยภาพของการผลิ​ิต ของประเทศในอาเซี​ียน จะพบว่​่าอาเซี​ียนอาสามารถที่​่�จะผลิ​ิตสิ​ินค้​้า ขั้​้�นปลายทดแทนจี​ีนได้​้หลากหลายประเภท ผ่​่านการพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้า สิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางจากจี​ีนหรื​ือประเทศที่​่�เป็​็นเจ้​้าของเทคโนโลยี​ี ขณะที่​่�การผลิ​ิต สิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางที่​่�พึ่​่�งพาสิ​ินค้​้าต้​้นน้ำำ��จากในภู​ูมิ​ิภาคอาจทำำ�ได้​้เพี​ียงบางหมวด สิ​ินค้​้า อั​ันบ่​่งชี้​้�ถึ​ึงนั​ัยของการพึ่​่�งพาสิ​ินค้​้าขั้​้�นกลางที่​่�อาจไม่​่ได้​้เปลี่​่�ยนแปลง อย่​่างมี​ีนั​ัยสำำ�คั​ัญมากนั​ัก

26

FOOD FOCUS THAILAND

23-28_Scoop_Covid.indd 26

Opportunities and Challenges of ASEAN amid Changes Seen in Supply Chain Post COVID-19 The COVID-19 pandemic has affected a number of countries relying on imports of intermediate products from China. This is because China has largely suspended such production or not been able to transport those intermediate products. Meanwhile, Japan, which is one of the world’s supply chain superpowers, is experiencing the second wave of the COVID-19 pandemic, and this may trigger risks of disruption to its production of important intermediate products. The COVID-19 pandemic has reinforced the fragility of being too dependent on certain production clusters of essential products. It has emerged during an important juncture when the business sector is revising views towards relocating production bases amid pressure from a simmering trade war. This may prompt many countries to change key supply chains in order to reduce their dependency on products imported from China. KResearch has summarized issues related to ASEAN’s dependency on intermediate product imports and the significance of changes in supply chains, going forward, as follows: An analysis on the fragility of being dependent on intermediate product imports is based on the degree of such dependency and Product Complexity Index (PCI). Being dependent on intermediate product imports with high levels of complexity may make it more difficult to switch to other production sources of intermediate products. ASEAN nations can be categorized into two groups per the degree of their dependency on intermediate product imports with different levels of complexity, as follows:

JUN 2020 21/5/2563 BE 18:01


SCOOP • ASEAN nations that are dependent on intermediate product imports with low levels of complexity: Most of these imports are raw materials for the production of textiles, iron products and base chemicals. These intermediate products are directly imported from countries producing those products. China serves as a major import source of intermediate products with the exception of chemicals for which their raw materials have been diversified from China and ASEAN. ASEAN countries under this category can also be classified into two sub-groups, as follows: 1. ASEAN countries that are dependent on intermediate product imports with low levels of complexity, and their dependency on intermediate product imports overall is low: Such ASEAN nations are predominantly closed economies, namely Lao PDR, Myanmar and Indonesia. Their imports of intermediate products are primarily for the manufacturing of products for domestic consumption. Most of the imported intermediate products are used as raw materials for textile and iron production. Indonesia, however, tends to import intermediate products for manufacturing of industrial products, such as chemicals. 2. ASEAN countries that are dependent on imports of intermediate products with low levels of complexity, but their dependency on intermediate product imports overall is high: Such ASEAN nations include Cambodia; there are growing risks of disruption to its supply chains as compared to other ASEAN nations because it lacks export diversification while its textile industry is heavily dependent on intermediate products imported from China. • ASEAN countries that are dependent on intermediate product imports with high levels of complexity: Most of intermediate product imports in the technology category of these ASEAN nations are electronics with high levels of complexity. Their major import sources are South Korea, China and Japan. Noticeably, most of complex intermediate products imported by these ASEAN

nations are from South Korea. China, however, manufactures less complex intermediate products. For intermediate products in the automotive category, these ASEAN countries primarily import them from Japan. ASEAN countries under this category can also be classified into two sub-groups, as follows: 1. ASEAN countries that are dependent on intermediate product imports with high levels of complexity, but their dependency on intermediate product imports overall is low: Malaysia, Singapore and Thailand are under this category. The link of supply chains in these countries will be stretched out because they may import intermediate products with moderate complexity from other ASEAN nations and China, which in turn rely on intermediate products imported from South Korea and Japan, being owners of important technologies, for export at a relatively high proportion to reduce manufacturing costs. However, they remain dependent on intermediate product imports with high levels of complexity from East Asian countries, in particular South Korea and Japan. 2. ASEAN countries that are dependent on intermediate product imports with high levels of complexity, and their dependency of intermediate product imports overall is high: Such ASEAN nations are the Philippines and Vietnam. There are increased risks of disruption to their supply chains because they are heavily dependent on intermediate product imports with a high level of complexity, in particular technology products that are difficult to produce by countries other than South Korea. All in all, a majority of ASEAN countries will likely experience the fragility of supply chains as they are dependent on intermediate products imported from sources that are highly competitive in manufacturing costs, such as China, plus technologies imported from countries that own advanced technologies, namely South Korea and Japan. Such a dependency points towards a risk of supply chain disruption. Although ASEAN countries can manufacture intermediate products with moderate

JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND 23-28_Scoop_Covid.indd 27

27

21/5/2563 BE 18:01


SCOOP levels of complexity by themselves, they remain dependent on intermediate products imported from countries that own advance technologies. Given this, their attempts to diversify risks from being too dependent on certain production clusters of intermediate products in the region are quite limited. Looking ahead, the COVID-19 pandemic, which is hammering large countries, which are export destinations of industrial products, has reinforced the fragility of supply chains as countries are heavily dependent on certain production clusters of intermediate products. This along with pressure from possible trade tariffs imposed by the US will likely accelerate companies’ consideration of relocating key production bases out of China. It has been found that ASEAN nations enjoy several advantages over China, including trade privileges granted by many countries, such as the US and European Union, plus lower labor costs. These advantages may help offset ASEAN’s disadvantage in logistic costs somewhat. KResearch has summarized several interesting issues concerning changes seen in China-ASEAN supply chains, as follows: • It may be worthwhile to relocate production bases from China if a host country has the policy of safeguarding products imported from China, and its industry overall remains labor intensive. Cambodia, Myanmar and Lao PDR could benefit from attracting investments in safeguarded products because of the low labor costs relative to China, and trade privileges, which may help companies to offset the lofty logistic costs arising from production relocation. Cambodia, Myanmar and Lao PDR may benefit from trade privileges granted to them as poor countries, in particular under the Everything But Arms (EBA) initiative, and import tax exemptions without any quota set on certain product categories. These include textiles and garments that have had their production bases relocated from China. These ASEAN nations continue to enjoy an advantage of being a nearshoring location because such production still requires raw materials from China, which stands to benefit from its advantage in manufacturing. • There will be limited production relocation of downstream products that have the potential to generate profit and are not dependent on labor from China because it still has advantages in production and logistic costs. A majority of downstream products are capital intensive, including iron; China remains competitive in the production of such products. • Reshoring is highly likely for the manufacturing of products that affects the security of production chains or high-tech products with inherent intellectual property risks, in particular products manufactured by robots and machines, plus those that are highly sensitive to supply chain disruption. Reshoring is also likely for upstream products in the electronic industry using advanced technologies, such as semiconductors, and hi-tech industrial products, such as alloys and composite materials. • ASEAN may partially benefit from the relocation of production bases of products using

28

FOOD FOCUS THAILAND

23-28_Scoop_Covid.indd 28

medium manufacturing technologies. Currently, manufacturing capabilities of ASEAN are inhibited by limited knowhow in the production of complex products and dependency on manufacturing technologies and intermediate product imports. As a result, ASEAN may be able to produce only some products in lieu of China, in particular downstream products. Production base relocation from China can be classified into two models: 1. Production base relocation from China to market products in ASEAN: Such a move has been undertaken by Chinese companies to seek low-cost production sources relative to China, and new markets in place of those affected by the trade war. These Chinese companies manufacture electrical appliances without the need to rely on advanced technologies, and auto-parts that are not overly complex. They have also moved production bases, for instance auto-tires, to other countries in order to take advantage of locallyproduced raw materials with the aim of reducing manufacturing costs. Other factors prompting Chinese companies to relocate production bases include the host country’s policy of protecting local industry. For instance, a Chinese iron and steel company has diversified its production to Indonesia so as to expand its production and take advantage of abundant energy and mineral resources that are lower in costs than in China. 2. Production base relocation from China to manufacture products for export to key markets outside of ASEAN. Under this model, companies in China may consider tax privileges under the trade agreements that the production sources in ASEAN have received, plus their production costs. This model represents a diversification of production base with the aim of reducing risks from being solely dependent on production bases in China. In addition, the levels of technologies and complexity of products under this model are higher than the first model; therefore, the production of such products requires technologies or intermediate product imports from upstream manufacturers. Production base relocation under this model may be undertaken by multinational companies already invested in ASEAN and China to expand existing production bases, avoid the impact of trade tariffs, seek security for their supply chains, and find new low-cost production sources in order to build their competitive advantage against products manufactured by rival Chinese companies. Items may include finished electronic products, namely electrical appliances, portable electronic equipment, auto-parts with moderate complexity and medical equipment that is not overly complex. In summary, although ASEAN, being one of the world’s important production sources, has the potential to attract companies to relocate production bases from China, there are numerous factors that are involved in such changes in supply chains. Among them include reshoring to reduce risks stemming from supply chain disruption, production costs and market access. These factors will continue to affect the decision of companies to move out of China. Regarding the manufacturing potential of ASEAN countries, it has been found they have capabilities to produce many types of finished products to replace those manufactured by China via intermediate product imports from China or countries that own technologies. ASEAN nations, however, may be able to manufacture some categories of intermediate products, using regionally-sourced raw materials, suggesting that they will continue to be dependent on intermediate products.

JUN 2020 21/5/2563 BE 18:01


ความยั่​่�งยื​ืน… เรื่​่อ� งท้​้าทายของบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์พลาสติ​ิก

SPECIAL FOCUS

การระบาดของเชื้​้�อไวรั​ัส COVID-19 ส่​่งผลกระทบต่​่อหลายอุ​ุตสาหกรรม รวมทั้​้�งอุ​ุตสาหกรรมอาหารและเครื่​่�องดื่​่�ม ในอี​ีกมุ​ุมหนึ่​่�ง เราได้​้เห็​็นความสำำคั​ัญของบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิกที่​่�สามารถเก็​็บรั​ักษาความสดของสิ​ินค้​้า ยื​ืดอายุ​ุการเก็​็บรั​ักษา อี​ีกทั้​้�งยั​ังปกป้​้อง สิ​ินค้​้าอาหารและเครื่​่�องดื่​่�มจากการปนเปื้​้�อน ตอบโจทย์​์ในช่​่วงเวลาที่​่�ต้​้องอยู่​่�บ้​้าน หยุ​ุดเชื้​้�อ เพื่​่�อชาติ​ิ เช่​่นนี้​้� เพราะบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ พลาสติ​ิกจะช่​่วยเก็​็บรั​ักษาเสบี​ียงอาหารไว้​้ได้​้เป็​็นระยะเวลานาน

ChinaplasOnline

Translated and Compiled By: กองบรรณาธิ​ิการ

การระบาดของเชื้​้�อไวรั​ัส COVID-19 ยั​ังเป็​็นปั​ัจจั​ัยเร่​่งให้​้เทรนด์​์ของอี​ีคอมเมิ​ิร์​์ซ เติ​ิบโตมากขึ้​้น� ซึ่​่ง� ส่​่งผลกระทบต่​่อบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ของสิ​ินค้​้า จริ​ิงๆ แล้​้วการค้​้าออนไลน์​์ ก็​็เติ​ิบโตมาระยะหนึ่​่�งแล้​้ว แต่​่ในภาวะที่​่�หลายคนทำำ�งานจากที่​่�บ้​้าน ยิ่​่�งส่​่งผลให้​้ การค้​้าออนไลน์​์เติ​ิบโตมากขึ้​้�น และอาจเปลี่​่�ยนโฉมวงการค้​้าปลี​ีกบางส่​่วน ไปตลอดกาล ข้​้อมู​ูลจาก Emarsys และ GoodData รายงานว่​่าการค้​้าออนไลน์​์ในภู​ูมิ​ิภาค อเมริ​ิกาเหนื​ือ เฉพาะผู้​้�ค้​้าปลี​ีกที่​่�ทำำ�การค้​้าผ่​่านระบบออนไลน์​์ในสหรั​ัฐอเมริ​ิกา และแคนาดามี​ียอดคำำ�สั่​่�งซื้​้�อออนไลน์​์เพิ่​่�มขึ้​้�นถึ​ึงร้​้อยละ 52 ในช่​่วงของวั​ันที่​่� 22 มี​ีนาคม-4 เมษายน 2563 เมื่​่�อเที​ียบกั​ับช่​่วงเวลาเดี​ียวกั​ันของปี​ีก่อ่ นหน้​้า รายได้​้ ของผู้​้�ค้​้าปลี​ีกเฉพาะที่​่�มี​ีการซื้​้�อขายทางออนไลน์​์ในสหรั​ัฐอเมริ​ิกาและแคนาดา ก็​็เพิ่​่�มขึ้​้�นร้​้อยละ 30 ในช่​่วงเวลาเดี​ียวกั​ัน ช่​่วงเวลาเดี​ียวกั​ันนี้​้�ในภู​ูมิ​ิภาคเอเชี​ียแปซิ​ิฟิ​ิก พบว่​่าผู้​้�ค้​้าปลี​ีกผ่​่านระบบออนไลน์​์ มี​ีการซื้​้�อขายเติ​ิบโตขึ้​้�นร้​้อยละ 23 และสร้​้างรายได้​้เพิ่​่�มขึ้​้�นร้​้อยละ 19

อี​ีคอมเมิ​ิร์​์ซเติ​ิบโตอย่​่างมาก

การค้​้าปลี​ีกในรู​ูปแบบอี​ีคอมเมิ​ิร์​์ซนั้​้�นเติ​ิบโตขึ้​้�นอย่​่างมาก ไม่​่ว่​่าจะอยู่​่�ในช่​่วง สถานการณ์​์ของไวรั​ัส COVID-19 หรื​ือไม่​่ก็​็ตาม ทาง Statista Inc. ในนิ​ิวยอร์​์ค ระบุ​ุว่​่า ในปี​ี 2562 ยอดขายปลี​ีกสิ​ินค้​้าที่​่�จั​ับต้​้องได้​้ทางออนไลน์​์มี​ีมู​ูลค่​่า 365.2 พั​ันล้​้านเหรี​ียญสหรั​ัฐ และคาดว่​่าจะเพิ่​่�มขึ้​้�นเป็​็น 600 พั​ันล้​้านเหรี​ียญสหรั​ัฐ ภายในปี​ี 2567 ส่​่วนในประเทศจี​ีนจะมี​ีวันั คนโสด ซึ่​่ง� ตรงกั​ับวั​ันที่​่� 11 เดื​ือน 11 นั​ับเป็​็นเทศกาล ลดราคาครั้​้�งใหญ่​่ การซื้​้�อขายผ่​่านทางออนไลน์​์ในวั​ันที่​่� 11 พฤศจิ​ิกายน 2562 มี​ีมู​ูลค่​่า 38 พั​ันล้​้านเหรี​ียญสหรั​ัฐ ท่​่ามกลางการเติ​ิบโตของวงการอี​ีคอมเมิ​ิร์​์ซ ก็​็มี​ีมุ​ุมมื​ืดในเรื่​่�องบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ ที่​่�มากล้​้น และส่​่งผลกระทบต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม หน่​่วยงานด้​้านไปรษณี​ีย์​์ China’s State Post Bureau ได้​้รายงานว่​่า ในช่​่วงวั​ันที่​่� 11-16 พฤศจิ​ิกายน 2562 มี​ีการจั​ัดส่​่ง สิ​ินค้​้าที่​่�ซื้อ�้ ขายผ่​่านออนไลน์​์ถึงึ 1.88 พั​ันล้​้านกล่​่อง เพิ่​่�มขึ้​้น� จากปี​ีก่อ่ นเกื​ือบร้​้อยละ 26 ทางกรี​ีนพี​ีซคาดการณ์​์ว่​่าจะมี​ีขยะที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นจากการช็​็อปปิ้​้�งออนไลน์​์ในช่​่วง เทศกาลคนโสดมากถึ​ึง 250,000 ตั​ัน 29-31_Specila Focus_pack.indd 29

นิ​ิตยสาร ฟู้​้�ด โฟกั​ัส ไทยแลนด์​์ Editorial Team

Food Focus Thailand Magazine editor@foodfocusthailand.com

ในปี​ีที่​่�ผ่​่านมา วั​ัสดุ​ุบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ที่​่�ใช้​้ในการขนส่​่งสิ​ินค้​้าออนไลน์​์มี​ีปริ​ิมาณถึ​ึง 9.4 ล้​้านตั​ัน กรี​ีนพี​ีซและหน่​่วยงานที่​่�ไม่​่ใช่​่องค์​์กรภาครั​ัฐยั​ังได้​้คาดการณ์​์ว่​่า จะขยั​ับขึ้​้�นมากกว่​่า 4 เท่​่า เป็​็น 41.3 ล้​้านตั​ัน ภายในปี​ี 2568 อย่​่างแน่​่นอน

ความยั่​่�งยื​ืนยั​ังคงเป็​็นประเด็​็นสำำ�คั​ัญ

การเติ​ิบโตของอี​ีคอมเมิ​ิร์​์ซช่​่วยเพิ่​่�มยอดขายให้​้เติ​ิบโต ทั้​้�งยั​ังสร้​้างความสะดวกสบายแก่​่ผู้​้�บริ​ิโภค แต่​่ก็​็แน่​่นอนว่​่ามาพร้​้อมกั​ับต้​้นทุ​ุน และวงการบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ต้​้องให้​้ ความสำำ�คั​ัญกั​ับเรื่​่�องสิ่​่�งแวดล้​้อมด้​้วย ประธานเจ้​้าหน้​้าที่​่�บริ​ิหารจากบริ​ิษั​ัทแห่​่งหนึ่​่�ง1 ได้​้กล่​่าวในงานประชุ​ุมออนไลน์​์ เมื่​่�อวั​ันที่​่� 31 มี​ีนาคม 2563 ที่​่� ผ่ ่านมาว่​่า วิ​ิกฤต COVID-19 กำำ �ลั​ังจะจบลง แต่​่อากาศที่​่�เราหายใจ น้ำำ��และผื​ืนดิ​ินที่​่�เราใช้​้ประโยชน์​์และอาศั​ัยจะอยู่​่�ตลอดไป เราได้​้เริ่​่�มแนวทางที่​่�จะปกป้​้องสิ่​่�งแวดล้​้อมแล้​้ว และจะมุ่​่�งไปสู่​่�ระบบเศรษฐกิ​ิจ หมุ​ุนเวี​ียนต่​่อไป

เดิ​ินหน้​้าต่​่อด้​้วยหลากหลายแนวทาง

หลายๆ บริ​ิษัทั มี​ีกลยุ​ุทธ์​์และแนวทางดำำ�เนิ​ินการเรื่​่อ� งความยั่​่ง� ยื​ืน อาทิ​ิ เพิ่​่�มการรี​ีไซเคิ​ิล พลาสติ​ิก นำำ�บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์กลั​ับมาใช้​้ใหม่​่ เลื​ือกใช้​้วั​ัสดุ​ุชี​ีวภาพมากขึ้​้�น ลดปริ​ิมาณ วั​ัสดุ​ุบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ลง และออกแบบบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ให้​้ตอบโจทย์​์แนวทางของระบบเศรษฐกิ​ิจ หมุ​ุนเวี​ียน นั​ักออกแบบบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ต้อ้ งเข้​้าใจความแตกต่​่างของบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์สินิ ค้​้าที่​่� วางขายบนชั้​้น� วางกั​ับบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์สินิ ค้​้าที่​่�ขายออนไลน์​์ เนื่​่�องจากสิ​ินค้​้าที่​่�ขายออนไลน์​์ ไม่​่ต้​้องการบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ที่​่�สะดุ​ุดตามากเท่​่าแบบที่​่�ขายบนชั้​้�นวางในห้​้าง แต่​่ต้​้องมี​ี ความแข็​็งแรง ทนทาน ที่​่�จะไม่​่ก่​่อให้​้เกิ​ิดความเสี​ียหายในระหว่​่างการขนส่​่ง วงการสิ​ินค้​้าที่​่�พร้​้อมอุ​ุปโภคบริ​ิโภคทั​ันที​ี (Consumer Packaged Goods; CPG) นิ​ิยมใช้​้บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์แบบถุ​ุงเพ้​้าช์​์ชนิ​ิดอ่​่อนตั​ัว (Flexible pouches) ซึ่​่�งสะดวกต่​่อ การขนส่​่งสิ​ินค้​้าอี​ีคอมเมิ​ิร์​์ซและได้​้รั​ับความนิ​ิยมเป็​็นอย่​่างมาก แต่​่ติ​ิดตรงที่​่�ไม่​่ สามารถจะนำำ�มารี​ีไซเคิ​ิลได้​้ จึ​ึงได้​้มี​ีการรื้​้�อแนวคิ​ิดการออกแบบบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ใหม่​่เปลี่​่�ยน โครงสร้​้ า งของวั​ั ส ดุ​ุ ที่​่� เ ป็​็ น มั​ั ล ติ​ิ เ ลเยอร์​์ ห ลากหลายชั้​้� น ซึ่​่� ง มี​ี คุ​ุ ณ สมบั​ั ติ​ิ ป้ ้ อ งกั​ั น การซึ​ึมผ่​่านของ ความชื้​้น� ออกซิ​ิเจน และแสงยู​ูวี​ี ให้​้เป็​็นโครงสร้​้างแบบวั​ัสดุ​ุ ชนิ​ิดเดี​ียว JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND

29

21/5/2563 BE 18:49


SPECIAL FOCUS (Mono-material) ที่​่� สามารถนำำ�มารี​ีไซเคิ​ิลได้​้

ถุ​ุงเพ้​้าช์​์แบบวั​ัสดุ​ุชนิ​ิดเดี​ียว

บริ​ิษั​ัทแห่​่งหนึ่​่�งในประเทศออสเตรี​ีย2 ได้​้ร่​่วมกั​ับพั​ันธมิ​ิตร โดยใช้​้เวลาถึ​ึง 4 ปี​ีในการพั​ัฒนาพอลิ​ิเอทิ​ิลี​ีน เพื่​่�อใช้​้เป็​็นวั​ัสดุ​ุ ชนิ​ิดเดี​ียวในการผลิ​ิตถุ​ุงเพ้​้าช์​์แบบตั้​้�งได้​้ให้​้กั​ับ Werner & Mertz GmbH ในเยอรมนี​ี โดยใช้​้เป็​็นบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ผงซั​ักฟอก แบรนด์​์ Frosch ซึ่​่�งถุ​ุงเพ้​้าช์​์นี้​้� ได้​้รั​ับการจดสิ​ิทธิ​ิบั​ัตร บริ​ิเวณ ด้​้ า นข้​้ า งทั้​้� ง 2 ด้​้ า นของถุ​ุ ง สามารถถอดออกได้​้ ช่​่ ว ยให้​้ นำำ�ไปรี​ีไซเคิ​ิลได้​้ง่​่ายขึ้​้�น นอกจากนี้​้�ยั​ังมี​ีเทคโนโลยี​ีของบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์3 ที่​่�พั​ัฒนาขึ้​้�น เพื่​่�อใช้​้บรรจุ​ุสิ​ินค้​้าของเหลว โดยเป็​็นบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ชนิ​ิดอ่​่อนตั​ัว แต่​่ยั​ังคงมี​ีความแข็​็งแรง ผลิ​ิตจากฟิ​ิล์​์มชนิ​ิดอ่​่อนตั​ัวที่​่�ผ่​่าน กระบวนการโคเอ็​็กซ์​์ทรู​ูชั​ัน มี​ีการอั​ัดอากาศเข้​้าไปในถุ​ุงเพ้​้าช์​์ เพื่​่อ� ให้​้ถุงุ พองตั​ัวในสั​ัดส่ว่ นที่​่ต้� อ้ งการ โดยเฉพาะที่​่บ� ริ​ิเวณขอบ ซึ่​่�งจะทำำ�ให้​้ถุ​ุงมี​ีความแข็​็งแรง ถุ​ุงเพ้​้าช์​์นี้​้3� ใช้​้ปริ​ิมาณพลาสติ​ิกเพี​ียงครึ่​่�งหนึ่​่�งของพลาสติ​ิก ที่​่�ใช้​้ในขั้​้�นตอนการเป่​่าขวดแบบดั้​้�งเดิ​ิม และยั​ังขนส่​่งใน รู​ู ป แบบเป็​็ นม้ ้ ว นไปยั​ั ง โรงบรรจุ​ุ จึ​ึงช่​่ ว ยให้​้ ก ารขนส่​่ ง ใน ซั​ัพพลายเชนไม่​่ยุ่​่�งยาก นอกจากนี้​้� จากการที่​่�สามารถลด การใช้​้พลาสติ​ิกลง ทางผู้​้�ผลิ​ิตจึ​ึงคาดหวั​ังว่​่าจะสามารถรี​ีไซเคิ​ิล ถุ​ุงเพ้​้าช์​์ได้​้ 100% ภายในปี​ี 2568

Plastic Packaging still Confronting Sustainability Challenges The coronavirus has only helped to underscore the importance of plastic packaging when it comes to keeping food contaminationfree and to preserving its freshness and usability for longer. This is particularly vital now, given how millions of people worldwide are sheltering in place, and doing their best to make their provisions stretch. But the COVID-19 pandemic has also accelerated another trend that has a major impact on product packaging -- e-commerce. Online shopping already was showing strong growth, but the current stay-at-home phenomenon has only increased demand. An even broader awakening to the convenience of delivery to your doorstep may forever reshape parts of the retail sector. In North America, it reported, the number of online orders for web-only online retailers soared 52% year-over-year in the United States and Canada for the period of March 22 through April 4, according to an online tracker from marketing platform Emarsys and analytics platform GoodData. Revenue for web-only retailers in the U.S. and Canada was up 30% year-over-year for the period. In the Asia-Pacific (APAC) region during the same two-week period, year-overyear transactions for web-only retailers grew by 23%, according to Emarsys/GoodData. During the same period, year-over-year revenue was up 19% in the region.

E-commerce Growing Sharply

บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์แบบวนใช้​้ สร้​้างให้​้เกิ​ิดการใช้​้ซ้ำ�ำ�

บริ​ิษั​ัทแห่​่งหนึ่​่�งในนิ​ิวเจอร์​์ซี​ีย์​์4 ได้​้นำำ�เสนอสิ่​่�งที่​่�แตกต่​่าง ออกไปด้​้วยรู​ูปแบบการช็​็อปปิ้​้�งที่​่�ใช้​้บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์แบบหมุ​ุนเวี​ียน ได้​้รั​ับความนิ​ิยมจากแบรนด์​์ดั​ังระดั​ับโลกหลายราย อาทิ​ิ Unilever, PepsiCo, Nestlé, Danone, Procter & Gamble และ UPS ทาง UPS จะเป็​็นผู้​้�ให้​้บริ​ิการขนส่​่งสิ​ินค้​้า ไม่​่ว่​่าจะเป็​็น อาหาร ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่ใ�่ ช้​้ในครั​ัวเรื​ือน ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ดูแู ลส่​่วนบุ​ุคคล โดยใช้​้บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ที่​่�เรี​ียกว่​่า Loop tote ซึ่​่�งสามารถพั​ับและ ใช้​้ซ้ำำ��ได้​้ ลองนึ​ึกภาพคนส่​่งนมที่​่�จะนำำ�ขวดนมมาส่​่งที่​่�หน้​้าบ้​้าน ขวดนมเหล่​่านั้​้�นอยู่​่�ในบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ เราหยิ​ิบขวดนมออกมา แล้​้วคนส่​่งนมก็​็จะนำำ�เอาบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ใบนั้​้�นมารั​ับขวดนมเปล่​่า เพื่​่�อนำำ�ขวดนมไปล้​้าง ทำำ�ความสะอาด และนำำ�กลั​ับมา ใช้​้ใหม่​่ต่​่อไป หลายบริ​ิษัทั ได้​้ลงทุ​ุนในด้​้านเทคโนโลยี​ีเพื่​่อ� พั​ัฒนาระบบ การรี​ีไซเคิ​ิล ตลอดจนการพั​ัฒนาวั​ัสดุ​ุบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ชี​ีวภาพ และสามารถย่​่อยสลายได้​้ 30

FOOD FOCUS THAILAND

29-31_Specila Focus_pack.indd 30

JUN 2020

Virus or not, retail e-commerce is rising sharply. New York-based consumer research firm Statista Inc. said that U.S. online retail sales of physical goods amounted to USD 365.2 billion in 2019, and projects that will rise to nearly USD 600 billion in 2024. Consider also that China’s annual, 24-hour online shopping spree known as Single’s Day -- last held on Nov. 11, 2019 -- generated record sales estimated at some USD 38 billion. The darker side of such a sales boom relates to the impact on the environment of so much product packaging. China’s State Post Bureau reported that e-commerce giants delivered 1.88 billion packages from Nov. 11 to Nov. 16 last year, an annual increase of almost 26%. Greenpeace estimated that the waste generated exceeded 250,000 tonnes. The volume of packaging material used by China’s e-commerce and express delivery sectors hit 9.4 million tonnes last year, and is on course to more than quadruple to 41.3 million tonnes by 2025 if they keep up the rate of increase, according to Greenpeace and other non-government bodies.

Sustainability Still Important

So, booming e-commerce offers sales growth for key sectors as well as greater convenience (and safety) now for many, but it clearly comes at a cost. While public health trumps sustainability concerns at the moment, it’s clear that the packaging sector cannot afford to take its collective eye off the ball when it comes to being ecoconscious. As CEO of a private company1 mentioned in ANTEC 2020 virtual conference on March 31: The COVID-19 crisis is going to end, “but the air we breathe, our water and the land we live on is here forever. And we can’t afford to lose the momentum that we’ve started to gain already to safeguard the environment and help us move to a more circular economy.”

Multiple Approaches being Pursued

Such firms are exploring and advancing multiple strategies to address these issues, including increased plastics recycling, more reusable packaging, greater use of

22/5/2563 BE 17:49


SPECIAL FOCUS biomaterials, reduced material use, and design for circularity. Package designers also need to take into account the different priorities for on-shelf vs. e-commerce products. Eye-catching package design is less vital for products sold online than in the store, but ensuring the shipped product arrives at its destination undamaged is vital. Advances in these areas take diverse forms, but consider the efforts being by CPGs to redesign the e-commerce-friendly and highly popular –– but largely unrecyclable –– flexible pouches to make them more eco-friendly. This mostly involves finding a way to convert those pouches’ multilayer, multimaterial constructions, which till now have been needed to protect the contents from such unwelcome factors such as moisture, oxygen, and ultraviolet light, into recyclable, mono-material structures.

This system uses UPS to ship a variety of food, household cleaning, and personal-care products in a reusable and collapsible, padded container called the Loop tote. The products are dispensed from reusable containers, which are returned in the same reusable tote when empty. Some have dubbed it “the milkman model,” in a nod to the old days when milk was delivered to your doorstep in glass bottles, which were later collected, cleaned, and reused. Numerous companies are also investing in initiatives and technologies to advance both mechanical and chemical recycling, and to develop biocompatible and compostable materials.

ข้​้อมู​ูลเพิ่​่�มเติ​ิม/Additional Information 1 Dow Inc., CEO Jim Fitterling 2 Austria’s Mondi Group 3 AeroFlexx, developed by Procter & Gamble Co. 4 New Jersey recycler, TerraCycle Inc. is taking a completely different approach with its Loop circular shopping platform.

Mono-material Pouches

Several advances are happening in this area. Austria’s company2, for just one example, worked with several partners for four years to develop an all-polyethyelene, stand-up pouch for Germany’s Werner & Mertz GmbH to use with its Frosch-brand detergent. This patented pouch features detachable decorative panels on both sides, to help enable easier recycling. Another new technology3 enables liquid packaging in a flexible yet rigid package. Made with coextruded flexible film, the product leverages compressed air to inflate specific portions of the pouch, specifically along the edges, to bring a degree of rigidity not otherwise possible in a flexible package. A package3 uses half the plastic needed to blow mold a traditional bottle and can be delivered as roll stock to a filling facility, meaning it is easier to ship throughout the supply chain. In addition to significantly reducing plastic at the source, the Chicagobased company’s vision is to be 100% recycle ready by 2025.

Loop Platform Touts Reusability

New Jersey recycler4, meanwhile, is taking a completely different approach with its circular shopping platform. This platform has gained support from many of the world’s best-known brands, ranging from Unilever, PepsiCo, and Nestlé to Danone, Procter & Gamble, and UPS.

JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND 29-31_Specila Focus_pack.indd 31

31

21/5/2563 BE 18:50


SPECIAL FOCUS

Megan Ray Nichols

Ecowarriorprincess

Translated and Compiled By: กองบรรณาธิ​ิการ

นิ​ิตยสาร ฟู้​้�ด โฟกั​ัส ไทยแลนด์​์

Editorial Team

Food Focus Thailand Magazine editor@foodfocusthailand.com

แนวทางมุ่​่�งสู่​่�เป้​้าหมาย

ระบบอาหารที่​่�ยั่​่�งยื​ืน

ในช่​่วง 2-3 ปี​ีที่​่�ผ่​่านมานี้​้� หากคุ​ุณได้​้ติ​ิดตามข่​่าวสารความเคลื่​่�อนไหวของอุ​ุตสาหกรรมอาหาร คุ​ุณอาจจะได้​้ยิ​ินคำำว่​่า “ความยั่​่�งยื​ืน” อยู่​่�บ่​่อยครั้​้�ง ระบบอาหารที่​่�ยั่​่�งยื​ืน จริ​ิงๆ แล้​้วหมายถึ​ึงอะไร? คำำ�ตอบนั้​้�นมี​ีความซั​ับซ้​้อน และขึ้​้�นอยู่​่�กั​ับหลายปั​ัจจั​ัย แต่​่หั​ัวใจหลั​ักก็​็คื​ือ ระบบของอาหารที่​่�ยั่​่�งยื​ืนจะช่​่วย สนั​ับสนุ​ุนสุ​ุขภาพร่​่างกายของมวลชน รวมทั้​้�งสุ​ุขภาพทางการเงิ​ินของเกษตรกร และผู้​้�ผลิ​ิต ตลอดจนการได้​้ดู​ูแลโลก สั​ัตว์​์ และคน อย่​่างเป็​็นธรรม ระบบอาหารที่​่�ยั่​่�งยื​ืน ยั​ังหมายถึ​ึงแนวทางที่​่�จะรั​ักษาทรั​ัพยากรของโลกใบนี้​้� ไว้​้ให้​้กั​ับคนรุ่​่�นหลั​ัง มี​ีแนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิในการปกป้​้องและรั​ักษาทรั​ัพยากรเหล่​่านี้​้� ไม่​่ให้​้หมดไป แล้​้วเพราะเหตุ​ุใดเราจึ​ึงยั​ังไม่​่บรรลุ​ุเป้​้าหมายของความยั่​่�งยื​ืน อาจเป็​็นเพราะผู้ที่้� ท่� ราบวิ​ิธี​ีหรื​ือแนวทางในการเดิ​ินทางสู่​่ค� วามยั่​่ง� ยื​ืนยั​ังมี​ีไม่​่มากนั​ัก เนื้​้� อ หาในบทความนี้​้� จ ะกล่​่าวถึ​ึ ง 10 แนวทางที่​่� ผู้​้� บ ริ​ิ โ ภค ผู้​้�ผลิ​ิ ต อาหาร และผู้อ้� อกกฎหมาย สามารถทำำ�งานร่​่วมกันั เพื่​่�อมุ่​่ง� สู่​่เ� ป้​้าหมายระบบอาหารที่​่ยั่� ง่� ยื​ืน

1

กินในท้องถิน่ ต้นทุนในการขนส่งอาหารข้ามทวีป ไม่ได้ถูกวัดหรือประเมิน

เป็​็นมู​ูลค่​่าของเงิ​ินตราเพี​ียงเท่​่านั้​้�น แต่​่ยั​ังรวมถึ​ึงการปลดปล่​่อยก๊​๊าซคาร์​์บอน อี​ีกด้​้วย เมื่​่�อคุ​ุณซื้​้อ� อาหารจากเกษตรกรในท้​้องถิ่​่น� นั่​่น� เป็​็นการกระจายรายได้​้ให้​้กับั ท้​้องถิ่​่�นของคุ​ุณ และยั​ังช่​่วยลดผลกระทบต่​่อธรรมชาติ​ิ ถื​ือว่​่าวิ​ิน-วิ​ิน ทั้​้�งสองฝ่​่าย เคล็​็ดลั​ับ: หากคุ​ุณต้​้องการลดระยะทางในการขนส่​่งอาหาร ลองปลู​ูกพื​ืชผั​ัก สวนครั​ัวภายในพื้​้�นที่​่�ของคุ​ุณเอง ไม่​่ยาก แถมยั​ังเป็​็นการประหยั​ัดและสร้​้าง ความยั่​่�งยื​ืนอี​ีกด้​้วย

2

เข้าครัวต่อ…ไม่รอล่ะนะ ความยั่งยืนช่วยสนับสนุนให้เกิดสุขภาพที่ดี

ขึ้​้�นได้​้ สวมวิ​ิญญาณเชฟชื่​่�อดั​ังในบ้​้านของคุ​ุณ เข้​้าครั​ัวให้​้บ่​่อยขึ้​้�น เพิ่​่�มทั​ักษะ ในการทำำ�อาหาร เพราะเมื่​่�อคุ​ุณลงมื​ือจั​ับกระทะเองแล้​้ว คุ​ุณจะสามารถลดส่​่วนผสม บางอย่​่างลงได้​้เอง เช่​่น น้ำำ��ตาล ไขมั​ัน นำำ�ไปสู่​่�การมี​ีสุ​ุขภาพดี​ี 32

FOOD FOCUS THAILAND

32-35_Special Focus.indd 32

3

คิดเมนูโดนๆ ตามฤดูกาล เรามักจะอยากกินผักและผลไม้ตลอด

ทั้​้�งปี​ี นั่​่�นเป็​็นอี​ีกเหตุ​ุผลหนึ่​่�งว่​่า ทำำ�ไมเราจึ​ึงต้​้องนำำ�เข้​้าอาหารจากประเทศ ต่​่างๆ ทั่​่�วโลก ก็​็เพื่​่�อตอบสนองความต้​้องการของผู้​้�บริ​ิโภค แต่​่นั่​่�นไม่​่ใช่​่หนทาง สู่​่�ความยั่​่�งยื​ืน หากคุ​ุณยั​ังต้​้องการผลผลิ​ิตตามฤดู​ูกาล ลองหั​ันมาซื้​้�อวั​ัตถุ​ุดิ​ิบ ในท้​้ อ งถิ่​่� น และให้​้ มั่​่� น ใจว่​่าเมนู​ูของคุ​ุ ณ จะมี​ีความหลากหลายตลอดทั้​้� ง ปี​ี แนวทางนี้​้�จะช่​่วยลดคาร์​์บอนฟุ​ุตพริ้​้�นท์​์และยั​ังส่​่งเสริ​ิมสุ​ุขภาพของคุ​ุณได้​้

4

ปลูกพืชผักให้หลากหลาย การปลูกพืชเดิมๆ ซ�้ำๆ สง่ ผลให้ดนิ เสือ่ มโทรม

และบ่​่อยครั้​้�งที่​่ต้� อ้ งพึ่​่�งพาปุ๋​๋ย� เคมี​ี ลองทำำ�ตามแนวทางง่​่ายๆ แบบธรรมชาติ​ิ ดู​ูบ้​้าง นั่​่�นคื​ือการปลู​ูกพื​ืชแบบหมุ​ุนเวี​ียนทุ​ุกๆ 2-3 ปี​ี เปลี่​่�ยนชนิ​ิดของพื​ืชบ้​้าง เพื่​่�อรั​ักษาความอุ​ุดมสมบู​ูรณ์​์ของดิ​ิน

5

ลดของเสี ย หากคุณรวบรวมอาหารทั้งหมดที่จะผลิตตั้งแต่ตอนนี้

ไปจนถึ​ึงปี​ี 2593 จะเท่​่ากั​ับปริ​ิมาณอาหารที่​่�เคยถู​ูกบริ​ิโภคเมื่​่�อ 8,000 ปี​ีที่​่�แล้​้วเลยที​ีเดี​ียว เมื่​่�ออุ​ุตสาหกรรมอาหารเติ​ิบโตก็​็จะเกิ​ิดผลกระทบต่​่อโลก ใบนี้​้� เพื่​่�อชดเชยผลกระทบดั​ังกล่​่าว ผู้​้�บริ​ิโภคอย่​่างเราต้​้องมุ่​่�งมั่​่�นที่​่�จะลด การทิ้​้�งอาหารที่​่�สู​ูญเสี​ียไปอย่​่างเปล่​่าประโยชน์​์ในระดั​ับครั​ัวเรื​ือนลง ส่​่วนใน ภาคธุ​ุรกิ​ิจอย่​่างซู​ูเปอร์​์มาร์​์เก็​็ตและอุ​ุตสาหกรรมการผลิ​ิตอาหารก็​็ต้​้องลด การทิ้​้�งอาหารลงด้​้วยเช่​่นกั​ัน โดยสามารถนำำ�อาหารไปบริ​ิจาค แบ่​่งปั​ันให้​้กั​ับ องค์​์กรการกุ​ุศลหรื​ือองค์​์กรอื่​่�นๆ เคล็​็ดลั​ับ: หากนำำ�ขยะอาหารที่​่�เน่​่าเสี​ียไปกำำ�จั​ัดด้​้วยการฝั​ังกลบจะก่​่อให้​้ เกิ​ิดก๊​๊าซมี​ีเทนซึ่​่ง� เป็​็นก๊​๊าซเรื​ือนกระจกที่​่ถู� กู ปลดปล่​่อยสู่​่�ชั้​้น� บรรยากาศโลก ดั​ังนั้​้น� เราจึ​ึงควรนำำ�ขยะอาหารไปย่​่อยสลายให้​้กลายเป็​็นปุ๋​๋�ย

JUN 2020 21/5/2563 BE 18:56


6

สนับสนุนการค้าที่เป็นธรรม ผลิตภัณฑ์

อาหารที่​่มี� ฉี ลาก “Fair Trade” จะถู​ูกผลิ​ิตโดย มั่​่�นใจได้​้ว่​่ามี​ีการปฏิ​ิบั​ัติ​ิต่​่อลู​ูกจ้​้างและโลกใบนี้​้� อย่​่ า งเป็​็ น ธรรม ในฐานะผู้​้�บริ​ิ โ ภคที่​่ � ต้ ้ อ งการ มี ี ส่ ่ ว นร่​่ วมกั​ั บ การสร้​้ า งความยั่​่� ง ยื​ื น ก็​็ ส ามารถ เลื​ือกซื้​้�อสิ​ินค้​้าที่​่�ได้​้รั​ับการรั​ับรองฉลากนี้​้� เคล็​็ดลั​ับ: หากคุ​ุณอยากเป็​็นแนวร่​่วมของ ระบบอาหารยั่​่�งยื​ืน ลองเลื​ือกซื้​้�อผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์อาหาร จากพื​ืช ลดการบริ​ิโภคเนื้​้�อสั​ัตว์​์ หรื​ือลองกิ​ินอาหาร มั​ังสวิ​ิรั​ัติ​ิหรื​ืออาหารวี​ีแกน

10

SPECIAL FOCUS

สละความสะดวกสบายบ้ า ง การเป็นแนวร่วมเพื่อสร้างระบบอาหารที่ยั่งยืนไม่ใช่

เรื่​่�องง่​่ายนั​ัก เมื่​่�อเราตั้​้�งใจที่​่�จะซื้​้�อสิ​ินค้​้าในท้​้องถิ่​่�น ซื้​้�ออาหารที่​่�ผลิ​ิตอย่​่างเป็​็นธรรม โดยมี​ีเป้​้าหมาย ที่​่�จะสร้​้างความยั่​่�งยื​ืน เราอาจต้​้องใช้​้ทั้​้�งเวลาและเงิ​ิน แต่​่ในท้​้ายที่​่�สุ​ุดแล้​้ว คุ​ุณกำำ�ลั​ังจะส่​่งผ่​่านโลก ที่​่น่� ่าอยู่​่�ใบนี้​้�ให้​้กั​ับคนรุ่​่�นหลั​ังต่​่อไป แม้​้ว่​่าการมี​ีส่​่วนร่​่วมกั​ับระบบอาหารยั่​่�งยื​ืนต้​้องลงทุ​ุนทั้​้�งเวลาส่​่วนตั​ัวและเงิ​ิน แต่​่เมื่​่�อชั่​่�งน้ำำ��หนั​ักกั​ับ ประโยชน์​์ที่​่�จะได้​้รั​ับก็​็นั​ับว่​่าเป็​็นสิ่​่�งที่​่�คุ้​้�มค่​่า เมื่​่�อเราได้​้ปรั​ับเปลี่​่�ยนวิ​ิถี​ีชี​ีวิ​ิตเล็​็กๆ น้​้อยๆ ในชี​ีวิ​ิตประจำำ�วั​ัน เราอาจจะสร้​้างผลกระทบที่​่�ยิ่​่�งใหญ่​่ให้​้กั​ับระบบอาหารในทศวรรษหน้​้าก็​็ว่​่าได้​้ ลองเลื​ือกใช้​้แนวทาง ที่​่ใ� ช่​่สักั 1-2 แนวทางที่​่คิ� ดิ ว่​่าจะสามารถปฏิ​ิบัติั ไิ ด้​้จริ​ิงในชี​ีวิ​ิตประจำำ�วันั …เพื่​่�อมุ่​่�งสู่​่�เส้​้นชั​ัยของความยั่​่�งยื​ืน ร่​่วมกั​ัน

7

ตระหนักถึงต้นทุนทีแ่ ท้จริงของอาหาร

ต้​้ น ทุ​ุ น ที่​่ � แ ท้​้ จ ริ​ิ ง ของอาหาร หมายรวมถึ​ึ ง ผลกระทบของการผลิ​ิตอาหารในระดั​ับอุ​ุตสาหกรรม ต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมและสั​ังคมซึ่​่�งเรามั​ักจะมองไม่​่เห็​็น แม้​้ว่​่าผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์อาหารที่​่�ไม่​่ได้​้ผลิ​ิตด้​้วยแนวทาง ความยั่​่�งยื​ืนจะมี​ีราคาขายที่​่�ถู​ูกกว่​่า แต่​่หากพิ​ิจารณา ถึ​ึงต้​้นทุ​ุนที่​่�แท้​้จริ​ิงของสิ​ินค้​้าอาจพบว่​่ามี​ีต้​้นทุ​ุน ที่​่สู� ูงกว่​่าก็​็ได้​้ เพราะก่​่อให้​้เกิ​ิดผลกระทบเชิ​ิงลบต่​่อ ผู้​้�คนและโลก ลองพิ​ิจารณาประเด็​็นนี้​้�ในการเลื​ือกซื้​้�อ สิ​ินค้​้าอาหารครั้​้�งต่​่อไป

8

ลงทุ น ทางการเงิ น เนเธอร์แลนด์เป็น

ประเทศเล็​็กๆ แต่​่สามารถส่​่งออกอาหารใน เชิ​ิงมู​ูลค่​่าได้​้มากเป็​็นอั​ันดั​ับ 2 ของโลก เป็​็นรองเพี​ียง ประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา เขาทำำ�ได้​้อย่​่างไร? ก็​็เพราะ ประเทศนี้​้มี� กี ารลงทุ​ุนการทำำ�เกษตรที่​่ยั่​่� ง� ยื​ืน โดยใช้​้ เทคโนโลยี​ีและนวั​ัตกรรมต่​่างๆ เช่​่น การเพาะปลู​ูกพื​ืช ในอาคารหรื​ือโรงเรื​ือน เพื่​่�อใช้​้พื้​้�นที่​่�ทุ​ุกตารางนิ้​้�ว อย่​่างคุ้​้�มค่​่า และยั​ังไม่​่ใช้​้ยาปราบศั​ัตรู​ูพื​ืชที่​่�เป็​็น เคมี​ีจึ​ึงเป็​็นการช่​่วยบำำ�รุ​ุงดิ​ินอี​ีกทางหนึ่​่�ง เคล็​็ดลั​ับ: เกษตรแนวตั้​้�งเป็​็นตั​ัวอย่​่างที่​่�ดี​ีของ การทำำ�การเกษตรในอาคาร โดยเป็​็นการปลู​ูกพื​ืช เป็​็นชั้​้�นๆ ในโรงเรื​ือนที่​่�มี​ีหลั​ังคา สามารถป้​้องกั​ัน แมลงและวั​ัชพื​ืชต่​่างๆ ได้​้

9

หลีกเลีย่ งวัตถุเจือปน ยาปราบศัตรูพชื และมุ่​่� ง สู่​่� อ อร์​์ แ กนิ​ิ ก ยาปราบศั​ัตรู​ูพื​ืช

สั​ังเคราะห์​์ ปุ๋​๋�ย และยาปฏิ​ิชี​ีวนะ ส่​่งผลกระทบต่​่อโลก และสั​ัตว์​์ แต่​่ก็​็ยั​ังมี​ีการใช้​้ในการเกษตรและปศุ​ุสั​ัตว์​์ แบบดั้​้�งเดิ​ิม เพื่​่�อให้​้มั่​่�นใจว่​่าพื​ืชผลและสั​ัตว์​์จะ เจริ​ิญเติ​ิบโต และผั​ันมาเป็​็นผลกำำ�ไรได้​้เร็​็วที่​่�สุ​ุด เท่​่าที่​่จ� ะทำำ�ได้​้ หากคุ​ุณมี​ีทางเลื​ือกลองเลื​ือกซื้อ�้ พื​ืชผล ที่​่ป� ลู​ูกแบบออร์​์แกนิ​ิก ปราศจากการใช้​้วัตั ถุ​ุเจื​ือปน หรื​ือเนื้​้อ� สั​ัตว์​์ที่ผ�่ ลิ​ิตจากสั​ัตว์​์ที่เ�่ ลี้​้ย� งด้​้วยหญ้​้า ซึ่​่ง� จะ ระบุ​ุบนฉลากสิ​ินค้​้าไว้​้อย่​่างชั​ัดเจน JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND 32-35_Special Focus.indd 33

33

21/5/2563 BE 18:56


SPECIAL FOCUS

Ways We Can Make the Food System More Sustainable If you’ve been paying any attention to the changing food climate over the past several years, you’ve probably heard a certain buzzword repeated time and time again: sustainability.

But what does a sustainable food system refer to, exactly? The answer is complex and composed of many moving parts, but at its heart, a sustainable model in the food system promotes the physical health of the public, the economic health of farmers and producers and the fair treatment of the earth, animals and people. A sustainable food system also refers to an approach that makes the most of the earth’s resources for future generations. It guards against depleting these resources. Why, then, has sustainability not yet been achieved? Perhaps it’s because not enough folks know how to achieve it. Here are 10 ways that consumers, food producers and legislators can work together to make the food system more sustainable.

1Local Eating

The cost of transporting food across the globe isn’t measured just in dollar signs, but in carbon emissions too. When you buy food from local farmers, you’re contributing to your community’s economy and also decreasing your impact on Mother Nature. Win-win. Tip: If you really want to reduce your food miles, we recommend growing your own herb garden. It’s easy, economical and sustainable.

2Encourage Cooking

Since sustainability promotes better health among consumers, learning to cook at home more skilfully — and more frequently — is an essential component. When people have control over their own food, they can eliminate ingredients like added sugars and fats. This, in turn, creates a healthier public.

3Design Menus to Follow Seasons

Eaters like to enjoy fruits and veggies year-round which is

34

FOOD FOCUS THAILAND

32-35_Special Focus.indd 34

JUN 2020

part of the reason foods are imported from all over the world: to gratify the appetites of consumers. This however is unsustainable. If you stick to seasonal produce, however, you’ll be able to buy almost everything locally — and make sure that you get more variety in your diet over the course of a year. This practice will help to reduce your carbon footprint and boost your health.

4Rotate Crop Varieties Regularly

When farmers plant the same crops again and again, they eventually suck the nutrients out of the soil, making it near useless and often necessitating chemical-laden fertilizers. There’s a simple, natural and time-tested trick to avoid this, though. Farmers can plant different crops every few years to keep the soil healthy. Consumers just have to get on board with mixing up their diet too.

5Waste Less

If you added up all the food to be produced from now until the year 2050, the sum would equal the same amount of food that’s been consumed over the past 8,000 years. Clearly, as the food industry grows, so will its impact on the earth. In order to offset this impact, consumers should strive to toss out less food at home and make the most of their groceries. Businesses, supermarkets and industry should stop throwing out food too and strive to donate to charity or other organisations.

Need to Know What is Sustainable Food Production?

Sustainable food production is “a method of production using processes and systems that are non-polluting, conserve non-renewable energy and natural resources, are economically efficient, are safe for workers, communities and consumers, and do not compromise the needs of future generations”.

Source: Foresight, The Future of Food and Farming: Challenges and Choices for Global Sustainability.

21/5/2563 BE 18:56


SPECIAL FOCUS Tip: It’s important that food isn’t sent to landfill as it adds to the carbon pollution problem as rotting food in landfills help to create methane, a greenhouse gas. So make sure to compost your food.

6Support Fair Trade

Foods that bear the Fair Trade label have been produced in a way that ensures fair treatment of employees and the earth. So if you’re committed to the sustainable food movement, you should opt for Fair Trade foods whenever possible to support the right kinds of producers. Tip: If you really want to support a sustainable food system, make sure to choose more plant-based foods, reduce your meat intake or try a vegetarian or vegan diet.

10

Be Willing to Forgo Convenience Supporting a sustainable food system isn’t easy. When you commit to buying locally-produced foods and Fair Trade foods and adhering to other tenants of sustainable living, these conscious choices may cost you time and money. But ultimately, you’re working toward a greater cause that will ensure you pass on a healthy earth to future generations. Contributing to a sustainable food system may require a personal investment on your part, but when you weigh the benefits, it’s well worth the effort. With just a few minor tweaks to your daily life, you could have a huge impact on the way the food system develops in the coming decades. So pick one or two of these steps that you can take to do your part in living (and eating) more sustainably.

Food’s True 7Consider Cost

The “true cost” of food refers to the often unseen environmental and social impacts that mass food production creates. Although unsustainable foods may be cheaper at the supermarket, they ultimately have a higher “true cost” in their negative impact on people and planet. It’s important to keep this issue in mind when you buy food.

8Invest Financially

The Netherlands is a small nation, but it exports the second-highest amount of food in terms of value, after the United States. How? The Dutch have invested in sustainable agriculture. They get innovative, using indoor farming techniques to make the most of every square inch of land. They also forgo most chemical pesticides so they can keep their soil fertile. Tip: Vertical farming is a great example of indoor farming.

Additives, Pesticides 9Avoid and Go Organic

Synthetic pesticides, fertilizers and antibiotics take a toll on the earth and on animals, but are used frequently by primary producers and livestock farmers in conventional farming to ensure produce and animals grow – and turnover profit – as quickly as possible. When you have the option, try to buy organically grown and additive-free produce and grass-fed meats where possible. This should be clearly marked on the packaging but if it isn’t, make sure to ask an assistant.

JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND 32-35_Special Focus.indd 35

35

25/5/2563 BE 13:18


SPECIAL FOCUS

ชุ​ุบชี​ีวิ​ิตใหม่​่ให้​้ “ขยะพลาสติ​ิก” อย่​่างยั่​่�งยื​ืน

World Economic Forum ได้​้จั​ัดอั​ันดั​ับศั​ักยภาพ ในการแข่​่งขั​ันด้​้านธุ​ุรกิ​ิจท่​่องเที่​่�ยวของแต่​่ละประเทศ ทั่​่� ว โลก จากรายงานการจั​ั ดอั ั น ดั​ั บ ในปี​ี 2562 ประเทศไทยติ​ิดอั​ันดั​ับที่​่� 31 ของประเทศที่​่�มี​ีศั​ักยภาพ ในการแข่​่ ง ขั​ั น ด้​้ า นธุ​ุ ร กิ​ิ จ ท่​่ อ งเที่​่ � ย วสู​ู ง ที่​่ � สุ ุ ด ในโลก จากทั้​้�งหมด 140 ประเทศ เพิ่​่�มสู​ูงขึ้​้�นจากอั​ันดั​ับที่​่� 34 ในปี​ี 2560 โดยหากเที​ียบในกลุ่​่�มอาเซี​ียนด้​้วยกั​ัน ประเทศไทยอยู่​่�ในอั​ันดั​ับที่​่� 3 รองจากประเทศสิ​ิงคโปร์​์ และมาเลเซี ี ย …นิ​ิ ต ยสารท่​่ อ งเที่​่ � ย ว Conde Nast Traveller ได้​้ เ ปิ​ิ ด ให้​้ ผู้ ้�อ่​่ า นร่​่ ว มส่​่ ง ผลโหวต เมื​ืองท่​่องเที่​่�ยวที่​่�ชื่​่�นชอบ มี​ีผู้​้�อ่​่านลงทะเบี​ียนโหวต มากถึ​ึง 600,000 คนทั่​่�วโลก ผลประกาศรางวั​ัล Readers’ Choice Awards ครั้​้ง� ที่​่� 32 ประจำำปี​ี 2560 ปรากฏว่​่าประเทศไทยได้​้รับั การโหวตให้​้เป็​็นอั​ันดั​ับที่​่� 2 ของประเทศที่​่�ดี​ีที่​่�สุ​ุดในโลกจากผลสำำรวจทั้​้�งหมด 20 ประเทศ…และคุ​ุณรู้​้�หรื​ือไม่​่ว่​่า…ประเทศเล็​็กๆ อย่​่าง ประเทศไทยที่​่ � ติ ิ ดอั ั น ดั​ั บ ด้​้ า นการท่​่ อ งเที่​่ � ย วอย่​่ า ง งดงามนั้​้� น ก็​็ ติ ิ ดอั ั น ดั​ั บ ที่​่ � 5 ของประเทศที่​่ � ป ล่​่ อ ย “ขยะ” ลงสู่​่�ทะเลมากที่​่�สุ​ุดในโลก!

Compiled By: กองบรรณาธิ​ิการ

นิ​ิตยสาร ฟู้​้�ด โฟกั​ัส ไทยแลนด์​์

Editorial Team Food Focus Thailand Magazine editor@foodfocusthailand.com

แต่​่…จากประเด็​็นด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อมที่​่�ถาโถมเข้​้ามา พลาสติ​ิกเพื่​่�อนของเราได้​้เข้​้าไปเป็​็น ส่​่วนหนึ่​่�งของปั​ัญหานี้​้�ด้ว้ ยอย่​่างหลี​ีกเลี่​่ย� งไม่​่ได้​้ เราได้​้เห็​็น ได้​้ฟังั ได้​้สัมั ผั​ัสข่​่าวปั​ัญหาขยะพลาสติ​ิก ที่​่�ส่​่งผลกระทบต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมในหลากหลายแง่​่มุ​ุม รวมถึ​ึงการรั​ับรู้​้�เรื่​่�องการรณรงค์​์ของมู​ูลนิ​ิธิ​ิ หรื​ือองค์​์กรต่​่างๆ เกี่​่�ยวกั​ับปั​ัญหาขยะพลาสติ​ิก ขวดน้ำำ�� แก้​้วน้ำำ�� หลอดดู​ูด บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิกต่​่างๆ ไม่​่เว้​้นแม้​้แต่​่เศษถุ​ุงและฟิ​ิล์​์มพลาสติ​ิกนั้​้�น ถื​ือกำำ�เนิ​ิดจากมนุ​ุษย์​์และเทคโนโลยี​ีการผลิ​ิตที่​่�ทั​ันสมั​ัย แต่​่เมื่​่�อมนุ​ุษย์​์จั​ัดการกั​ับพลาสติ​ิก หลั​ังใช้​้งานเสร็​็จอย่​่างไม่​่ถู​ูกต้​้อง จึ​ึงก่​่อให้​้เกิ​ิดปั​ัญหาต่​่างๆ ตามมา “พลาสติ​ิกถื​ือเป็​็นความท้​้าทายในการจั​ัดการขยะของสั​ังคมไทยลำำ�ดั​ับแรกๆ” คุ​ุณกมล บริ​ิสุ​ุทธนะกุ​ุล ประธานเจ้​้าหน้​้าที่​่ฝ่� า่ ยการเงิ​ิน บริ​ิษั​ัท ที​ีพีบี​ี ไี อ จำำ�กั​ัด (มหาชน) กล่​่าวเริ่​่�มต้​้น พร้​้อมให้​้ข้​้อมู​ูลกระบวนการ จั​ัดการขยะไว้​้อย่​่างน่​่าสนใจ ประเทศไทยเรามี​ีกระบวนการจั​ัดการกั​ับขยะต่​่างๆ ที่​่�ดำำ�เนิ​ินการอยู่​่�แล้​้ว เช่​่น การรั​ับซื้​้�อขวดน้ำำ��พลาสติ​ิก ขวดแก้​้ว และกระป๋​๋องอลู​ูมิ​ิเนี​ียม เพื่​่�อนำำ�ไปรี​ีไซเคิ​ิลกลั​ับมา ใช้​้ใหม่​่ หรื​ือจะเป็​็นการแยกขยะเปี​ียกอิ​ินทรี​ีย์​์ อย่​่างไรก็​็ตาม ขยะประเภทเศษถุ​ุงและฟิ​ิล์​์มพลาสติ​ิกแบบใช้​้ครั้​้�งเดี​ียว แล้​้วทิ้​้�ง (Single-used plastic) นั้​้�นต้​้องใช้​้ระยะเวลา เมื่​่�อ “ขยะ” โดนเท ในการย่​่อยสลายนานเป็​็นหลายร้​้อยปี​ี นี่​่�คื​ือสาเหตุ​ุที่​่�ทำำ�ให้​้ ทิ้​้ � ง ๆ กั​ั น ไป…คนไทยทั้​้� ง ประเทศทิ้​้ � ง ขยะรวมกั​ั น ในแต่​่ ล ะปี​ี หลายประเทศทั่​่�วโลกต้​้องการลดและเลิ​ิกใช้​้ ถุ​ุงพลาสติ​ิก คิ​ิดเป็​็นปริ​ิมาณกว่​่า 27 ล้​้านตั​ัน หากนึ​ึกภาพตามก็​็เที​ียบเท่​่ากั​ับ ช้​้างกว่​่า 5.56 ล้​้านตั​ัว นั​ับแค่​่กรุ​ุงเทพฯ เมื​ืองฟ้​้าอมร ก็​็ทิ้​้�งขยะ เกื​ือบถึ​ึง 1 ใน 5 ของทั้​้�งประเทศแล้​้ว เป็​็นที่​่�น่​่าสนใจว่​่าในปริ​ิมาณ ขยะกว่​่า 8 ล้​้านตั​ันที่​่�ไหลลงมหาสมุ​ุทรนั้​้�น…กว่​่าครึ่​่�งหนึ่​่�งเป็​็น “พลาสติ​ิก” ประเทศไทยมี​ีปริ​ิมาณขยะถึ​ึงกว่​่า 27.93 ล้​้านตั​ันต่​่อปี​ี สสาร ไม่​่สู​ูญหายไปไหน ขยะเหล่​่านั้​้�นถู​ูกกำำ�จั​ัดอย่​่างถู​ูกวิ​ิธี​ีเพี​ียง 10.85 ล้​้านตั​ัน ซึ่​่�งคิ​ิดเป็​็นร้​้อยละ 26 เท่​่านั้​้�น จึ​ึงไม่​่น่​่าแปลกใจที่​่�ปั​ัญหา “ขยะ” อาจจะสร้​้างความ “ขยาด” ได้​้ พลาสติ​ิกเป็​็นวั​ัสดุ​ุสั​ังเคราะห์​์ที่​่�อาจเรี​ียกได้​้ว่​่าเป็​็นนวั​ัตกรรม ที่​่ถู� กคิ​ิ ู ดค้​้นขึ้​้น� เพื่​่�อแก้​้ปัญ ั หา ตอบโจทย์​์ สร้​้างความสะดวกสบาย ให้​้กั​ับเรา…ประหนึ่​่�งเป็​็นเพื่​่�อนที่​่�เรารู้​้�จั​ักและคุ้​้�นเคยมานานกว่​่า รู​ูปที่​่� 1 ปริ​ิมาณเศษที่​่�โครงการ “วน” ได้​้รั​ับ และปริ​ิมาณน้ำำ��หนั​ักเศษสะสม 130 ปี​ี Figure 1 The collected amount of “Won” plastic scraps and the total weight of accumulated plastic scraps 36

FOOD FOCUS THAILAND

36-39_Special Focus_Recyling.indd 36

JUN 2020 22/5/2563 BE 16:40


SPECIAL FOCUS ในชี​ีวิติ ประจำำ�วั​ัน เช่​่นเดี​ียวกั​ับประเทศไทย ภายใต้​้โรดแมพ การจั​ัดการขยะพลาสติ​ิก พ.ศ. 2561-2573 ทางกระทรวงทรั​ัพยากรธรรมชาติ​ิและสิ่​่�งแวดล้​้อมได้​้ออกกฎบั​ังคั​ับใช้​้ ให้​้ห้​้างสรรพสิ​ินค้​้า ซู​ูเปอร์​์มาร์​์เก็​็ต และร้​้านสะดวกซื้​้�อ งดแจกถุ​ุงพลาสติ​ิก โดยดี​ีเดย์​์ตั้​้ง� แต่​่วันั ที่​่� 1 มกราคม 2563 ที่​่�ผ่า่ นมา

เมื่​่�อขยะ…ต้​้องถู​ูกจั​ัดการ

แล้​้ ว ขยะพลาสติ​ิ กจ ะสามารถเพิ่​่� ม มู​ู ล ค่​่ า ได้​้ หรื​ื อไม่​่ ? คุ​ุณกมลเล่​่าให้​้ฟั​ังว่​่า ยั​ังไม่​่มี​ีหน่​่วยงานหรื​ือองค์​์กรใดที่​่� รั​ับซื้​้�อขยะถุ​ุงพลาสติ​ิกเพื่​่�อนำำ�กลั​ับไปรี​ีไซเคิ​ิลเพิ่​่�มมู​ูลค่​่า ให้​้กั​ับพลาสติ​ิก “ถุ​ุงพลาสติ​ิกเหล่​่านี้​้�มี​ีน้ำำ��หนั​ักเบาและใช้​้พื้​้�นที่​่�ในการจั​ัดเก็​็บมากพอสมควร ประชาชนส่​่วนใหญ่​่ยั​ังไม่​่ทราบว่​่า เศษถุ​ุง ฟิ​ิล์​์มพลาสติ​ิก ก็​็สามารถนำำ�กลั​ับมารี​ีไซเคิ​ิลได้​้ อี​ีกทั้​้�งความรู้​้�ในการแยกชนิ​ิดถุ​ุง ฟิ​ิล์​์มพลาสติ​ิก ที่​่�ถู​ูกต้​้องนั้​้�น ยั​ังไม่​่ขยายเป็​็นวงกว้​้าง เราจึ​ึงเห็​็นถุ​ุง ฟิ​ิล์​์มพลาสติ​ิก ถู​ูกทิ้​้ง� ปนไปกั​ับขยะทั่​่�วไป ซึ่​่ง� พบมากที่​่�สุดุ ในการกำำ�จั​ัดขยะ แบบฝั​ังกลบ หรื​ือ Landfill”

พลาสติ​ิกประเภทดั​ังกล่​่าว ตั​ัดหรื​ือแกะสติ๊​๊ก� เกอร์​์ และ/หรื​ือ กระดาษที่​่� ติ​ิดอยู่​่�กับั พลาสติ​ิกออกก่​่อน หากเลอะ ล้​้างทำำ�ความสะอาด และผึ่​่�งให้​้แห้​้ง นำำ�ส่​่งให้​้กั​ับโครงการ “วน” ทางไปรษณี​ีย์​์ หรื​ือนำำ�ไปส่​่งที่​่�จุ​ุดรั​ับเศษ (Drop point) ซึ่​่�งมี​ีอยู่​่� 167 จุ​ุด (ข้​้อมู​ูล ณ เดื​ือนเมษายน 2562) โดยสามารถดู​ูจุ​ุดรั​ับได้​้ที่​่� Facebook fan page ของโครงการ (wontogether) ที่​่�ผ่​่านมา โครงการ “วน” ได้​้มี​ีความร่​่วมมื​ือกั​ับหน่​่วยงานและโครงการต่​่างๆ เพื่​่�อขยายเครื​ือข่​่าย เช่​่น การเปิ​ิดจุ​ุดรั​ับเศษในองค์​์กรและสถานที่​่�ต่​่างๆ เพิ่​่�มการพั​ัฒนาสิ​ินค้​้า Upcycling การทำำ�กิ​ิจกรรมกั​ับ ภาคี​ี เ ครื​ือข่​่ า ย การให้​้ ควา มรู้​้�ด้​้ า นการคั​ั ด แยกขยะและการจั​ั ดกา รกั​ั บ ขยะพลาสติ​ิ ก ตามโรงเรี​ี ย น บริ​ิษั​ัทเอกชน และสถานที่​่�ราชการ นอกจากนี้​้�ยั​ังใช้​้ประโยชน์​์จากโลกออนไลน์​์ จั​ัดทำำ�เนื้​้�อหาที่​่�น่​่าสนใจ ด้​้านการคั​ัดแยกขยะ การจั​ัดการขยะ และการรี​ีไซเคิ​ิล ผ่​่านทาง Facebook fan page ของโครงการ แล้​้วคุ​ุณล่​่ะ…ได้​้เริ่​่�มแยกขยะ และเป็​็นหนึ่​่�งใน 20,185 Followers ของเพจ Won แล้​้วหรื​ือยั​ัง?

ระบบเศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน…สร้​้างสรรค์​์ ความเปลี่​่ย� นแปลงและชี​ีวิติ ใหม่​่ให้​้พลาสติ​ิก

โครงการ “วน” ก่​่อตั้​้�งขึ้​้�นเมื่​่�อกลางปี​ี 2561 โดยกลุ่​่�มคนที่​่� มี​ีความสนใจจะแก้​้ปั​ัญหาขยะพลาสติ​ิกอย่​่างสร้​้างสรรค์​์ ร่​่วมกั​ันในเครื​ือของที​ีพีบี​ี ไี อ โดยมี​ีคุณ ุ กมลเป็​็นหั​ัวเรื​ือใหญ่​่ ได้​้ นำ ำ � แนวคิ​ิ ด ระบบเศรษฐกิ​ิ จหมุ​ุ น เวี​ี ย น (Circular economy) มาประยุ​ุกต์​์ใช้​้ เน้​้นการแก้​้ปั​ัญหาแบบยั่​่�งยื​ืน ทำำ�อย่​่างไรจึ​ึงจะยั่​่ง� ยื​ืน?…โครงการ “วน” จึ​ึงเน้​้นการให้​้ ความรู้​้� เสนอแนะวิ​ิธี​ีการแยกขยะ ถุ​ุง และ/หรื​ือ ฟิ​ิล์​์มพลาสติ​ิก ออกจากขยะทั่​่�วไป เพื่​่�อให้​้สามารถนำำ� ถุ​ุง และ/ หรื​ือ ฟิ​ิล์​์มพลาสติ​ิก ที่​่�ยั​ังคงมี​ีคุ​ุณภาพดี​ีเหล่​่านั้​้�นมาเป็​็น วั​ัตถุ​ุดิบิ เข้​้าสู่​่�อุตุ สาหกรรมพลาสติ​ิกได้​้อย่​่างยั่​่ง� ยื​ืน และยั​ัง ทำำ�ให้​้เกิ​ิดวั​ัฒนธรรมที่​่�ดี​ีในการใช้​้พลาสติ​ิกของคนไทย อี​ีกด้ว้ ย เพราะการแยก ถุ​ุง และ/หรื​ือ ฟิ​ิล์ม์ พลาสติ​ิก ตั้​้ง� แต่​่ ต้​้นทางคื​ือกุ​ุญแจสำำ�คั​ัญที่​่�จะช่​่วยลดปริ​ิมาณขยะรวม ในการฝั​ังกลบได้​้ นอกจากนี้​้�ยั​ังได้​้มุ่​่�งเน้​้นในทางเดี​ียวกั​ับ การอนุ​ุรักษ์ ั แ์ ละใช้​้ประโยชน์​์จากมหาสมุ​ุทรและทรั​ัพยากร ทางทะเลเพื่​่�อการพั​ัฒนาอย่​่างยั่​่�งยื​ืน (SDGs-UN No.14 Life below water) เพื่​่�อไม่​่ให้​้ถุ​ุงและฟิ​ิล์​์มพลาสติ​ิก ไปรบกวนสิ่​่�งแวดล้​้อมและสั​ัตว์​์น้ำำ��ทางทะเล โครงการ “วน” มุ่​่�งเป้​้าหมายสร้​้างแนวทางให้​้ประเทศไทย เป็​็นแม่​่แบบของสั​ังคมที่​่�มี​ีวิ​ิธี​ีการใช้​้พลาสติ​ิกได้​้อย่​่างถู​ูกต้​้อง โดยการจั​ัดการขยะพลาสติ​ิกได้​้อย่​่างครบวงจร ไม่​่ก่​่อให้​้เกิ​ิด ขยะพลาสติ​ิกรั่​่�วไหลไปสู่​่�สิ่​่�งแวดล้​้อม พลาสติ​ิกที่​่�สามารถนำำ�มารี​ีไซเคิ​ิลได้​้ คื​ือ พลาสติ​ิก ชนิ​ิดอ่​่อน ประเภท PE (พลาสติ​ิกที่​่�สามารถดึ​ึงยื​ืดได้​้) เช่​่น ถุ​ุ ง พลาสติ​ิ ก ฟิ​ิ ล์ ์ ม พลาสติ​ิ ก ทุ​ุ กค นสามารถรวบรวม JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND 36-39_Special Focus_Recyling.indd 37

37

22/5/2563 BE 17:23


SPECIAL FOCUS

Breathing a New Sustainable Life to

“Plastic Waste”

According to the World Economic Forum’s Travel & Tourism Competitiveness Index 2019, Thailand landed on the 31st spot among 140 countries, upping itself from the 34th place in 2017. In comparison with the ASEAN community, Thailand was ranked 3rd, following Singapore and Malaysia. The Conde Nast Traveller magazine conducted a survey for the readers’ most favorite travel destinations in which up to 600,000 international readers participated, and the 32nd Readers’ Choice Awards 2017 ranked Thailand on the 2nd place on the world’s top 20 favorite countries list. But more interestingly, a small nation like Thailand, successfully regarded as one of the leading tourism destinations, also finds itself on the 5th spot among the world’s top ocean-polluting countries!

Literally Down in the “Dumps”

Throw it all away…Thai population annually produces more than 27 million tons of trash, the total weight of which is imaginably comparable to that of 5.56 million elephants. The so-called heavenly metropolitan of Bangkok alone churns out one-fifths of the country’s total waste. Interestingly, more than half of over 8 million tons of rubbish that has ended up in the ocean is made of plastic. Thailand cranks out more than 27.93 million tons of refuse each year, only 10.85 tons, or just 26%, of which are effectively handled for proper disposal. As substance never disappears, it is unsurprising that this “trash” issue may eventually spell “trouble”. Plastic is a synthetic material invented to solve our problems, satisfy our needs, and make our lives easier…a long-time friend that we have known for more than 130 years. Nevertheless, due to an endless influx of environmental issues, our “plastic” friend has inevitably become part of the problem. We have seen and heard the news about several environmental repercussions caused by plastic rubbish. We have also witnessed green campaigns initiated by many organizations or foundations to address such problems. Plastic bottles, cups, containers, or even bag scraps and films are created by human’s modern technology, but when post-use plastic materials are not properly handled, many problems will ensue. “Plastic is one of the top challenges in waste management for Thai society.” Mr.Kamol Borrisuttanakul, Chief Financial Officer, TPBI Public Company Limited, commented while providing interesting

38

FOOD FOCUS THAILAND

36-39_Special Focus_Recyling.indd 38

information on waste management processes. Thailand already has existing procedure for waste management such as the buyback of plastic bottles, glass bottles, and aluminum cans for further recycling process or the separation of wet organic waste. It takes, however, several hundred years for a single-used plastic bag or film to naturally decompose, and this is the reason why many countries in the world, including Thailand, need to reduce and stop using plastic bags in daily life. Following the 2018-2030 roadmap for plastic waste elimination, the Ministry of Natural Resources and

JUN 2020 22/5/2563 BE 16:40


SPECIAL FOCUS Environment has enacted a set of regulations for department stores, supermarkets, and convenience stores to refrain from offering plastic bags, starting from January 1st, 2020.

When Waste Needs Disposal

Can plastic waste be used to create more value? Mr.Kamol commented that there is currently no specific entity or organization that offers to buy back plastic bag scraps for recycling purpose in attempt to create added value for these materials. “Plastic bags are lightweight and require a considerable amount of space for storage. Most people do not know that used plastic bag scraps and films can be recycled. Moreover, the knowledge to correctly identify the types of plastic bags and films is not widespread. That is why used plastic bag scraps and films are seen to be mixed up with general waste, most frequently in landfill sites.”

plastic bags and films. Anyone can collect this type of plastic waste, but stickers and/or papers attached to it must first be cut off or peeled off. If dirty, it needs to be washed and dried first. Collected plastics can be sent by mail to “Won” or deposited at one of the 167 drop points (as of April 2019). The list of drop points can be viewed on the project’s Facebook fan page (Wontogether). So far, “Won” has collaborated with several agencies and organizations to expand its network by, for example, establishing new drop points in organizations or other venues, developing upcycled products, participating in activities with its network associates, and diffusing knowledge on plastic waste separation and management in schools, companies, and government offices. The project also makes use of online platform by creating and displaying engaging content on waste separation, waste management, and recycling on its Facebook fan page. What about you? Have you started separating waste and become one of 20,185 followers of Won page yet?

Circular Economy…Creating Changes and New Life for Plastic

The project “Won” was initiated in the mid of 2018 by a group of people from TPBI who aspired to find creative approaches to deal with plastic waste problems. Spearheaded by Mr.Kamol, the project incorporates the concept of circular economy to attain sustainable solutions. How to reach sustainability? “Won” focuses on the diffusion of knowledge and advices on how to separate plastic bags or films from general waste. The ones with good quality can be used as raw materials for the plastic industry in a sustainable manner. This effort will also create a good culture of conscious plastic use for Thai people as the separation of plastic bags and films from the beginning is a vital key to reduce the amount of garbage to be buried in landfills. Moreover, another focus is also laid on the same path as the conservation of and reliance on oceans and marine resources for sustainable development (SDGs-UN No.14 Life below water) to prevent plastic bags and films from adversely affecting marine life and environment. “Won” aims at establishing guidelines for Thailand to become a social role model for proper plastic use via comprehensive plastic waste management and zero leakage of plastic refuse into the environment. Recyclable plastic is soft PE plastic (one that can be stretched) such as

JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND 36-39_Special Focus_Recyling.indd 39

39

22/5/2563 BE 16:40


STRONG QC&QA Götz Birke

Product Manager Purification BÜCHI Labortechnik AG, Switzerland goetz.b@buchi.com

Translated By:

วรรณวิ​ิภา สุ​ุธาชี​ีวะ

Wanvipa Suthacheeva Product and Marketing Manager Buchi (Thailand) Ltd. suthacheeva.w@buchi.com

เครื่​่�องมื​ือในห้​้องแล็​็บ…

ทั​ันสมั​ัย เพื่​่�อตอบโจทย์​์การใช้​้งาน

การพั​ัฒนาเทคโนโลยี​ีในอุ​ุตสาหกรรมอาหารมี​ีส่ว่ นสำำคั​ัญอย่​่างมากต่​่อการเปลี่​่�ยนแปลงโลกใบนี้​้� ทั้​้�งการช่​่วยปรั​ับปรุ​ุงรสชาติ​ิ และ รู​ูปลั​ักษณ์​์ของอาหาร เพื่​่�อการรั​ับประกั​ันอายุ​ุการเก็​็บรั​ักษาที่​่�ยาวนาน หรื​ือลดผลกระทบต่​่อสุ​ุขภาพของผู้​้�บริ​ิโภค ปั​ัจจุ​ุบั​ัน นวั​ั ต กรรมทางด้​้านการแปรรู​ู ป อาหารและการทำำให้​้อาหารปราศจากการปนเปื้​้ � อ นนั้​้� น มี​ี ค วามหลากหลายเป็​็ น อย่​่ า งมาก ซึ่​่ � ง จะได้​้กล่​่ า วถึ ึ ง ในบทความนี้​้� พร้​้อมด้​้วยตั​ั ว อย่​่ า งการวิ​ิ จั ั ย และกระบวนการผลิ​ิ ต ด้​้วยนวั​ั ต กรรมที่​่� เ กิ​ิ ด จากการวิ​ิ จั ั ย ในห้​้องปฏิ​ิบั​ัติ​ิการ

การทำำ�แห้​้งแบบพ่​่นฝอย

การทำำ�แห้​้งแบบพ่​่นฝอยหรื​ือสเปรย์​์ดรายเป็​็นการสร้​้างผงอนุ​ุภาคขนาดเล็​็ก ในช่​่วงนาโนเมตรจนถึ​ึงขนาดไมครอน โดยเครื่​่อ� งทำำ�แห้​้งแบบพ่​่นฝอยจะใช้​้ เปลี่​่�ยนตั​ัวอย่​่างอาหารเหลวจำำ�พวกสารละลายแขวนลอยหรื​ืออิ​ิมั​ัลชั​ัน ผ่​่านหยดน้ำำ�� ขนาดเล็​็ก และผ่​่านความร้​้อนให้​้เป็​็นผงแห้​้ง ตั​ัวอย่​่างการใช้​้งาน 40

FOOD FOCUS THAILAND

40-42_Strong Q&QA_Buchi.indd 40

เช่​่น ในอุ​ุตสาหกรรมนมผง โดยทั่​่�วไปแล้​้วน้ำำ��นมเหลวจะเปลี่​่�ยนสภาพ ได้​้ง่​่ายและยากต่​่อการเก็​็บรั​ักษาเป็​็นเวลานาน ดั​ังนั้​้�น เพื่​่�อยื​ืดอายุ​ุการเก็​็บรั​ั ก ษาและลดความซั​ั บ ซ้​้ อ นในการขนส่​่ ง การทำำ � แห้​้ ง แบบผงด้​้ ว ยวิ​ิ ธี ี สเปรย์​์ดรายจึ​ึงเป็​็นอี​ีกวิ​ิธี​ีหนึ่​่�งที่​่�ได้​้รั​ับความนิ​ิยม

JUN 2020 22/5/2563 BE 17:21


STRONG QC&QA

เทคโนโลยี​ีเอนแคปซู​ูเลชั​ัน

การผลิ​ิตเม็​็ดแคปซู​ูลหรื​ือเม็​็ดบี​ีดจากสารเหลวจะใช้​้ หลั​ักการห่​่อหุ้​้�มสารสำำ�คั​ัญในอาหาร หรื​ือที่​่�เรี​ียกว่​่า เอนแคปซู​ูเลชั​ัน ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์เม็​็ดแคปซู​ูลที่​่ไ� ด้​้มี​ีลั​ักษณะ เป็​็นเม็​็ดกลม โดยเครื่​่�องห่​่อหุ้​้�มเอนแคปซู​ูเลชั​ันจะ สั่​่�นสะเทื​ือนสารอาหารของเหลวและหุ้​้�มสารอาหาร เหล่​่านั้​้น� ตั​ัวอย่​่างที่​่นำ� �ำ มาใช้​้ ได้​้แก่​่ น้ำำ�มั​ั � นไบโอแอคที​ีฟ ที่​่ห่� อ่ หุ้​้�มด้​้วยสารพอลิ​ิเมอร์​์อั​ัลจิ​ิเนต วิ​ิธี​ีนี้​้ส� ามารถป้​้องกั​ัน ปฏิ​ิกิ​ิริ​ิยาออกซิ​ิเดชั​ันหรื​ือการสั​ัมผั​ัสกั​ับอากาศโดยตรง ทำำ�ให้​้ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์มี​ีคุ​ุณภาพยาวนานขึ้​้�นและสามารถ ออกฤทธิ์​์�ทางชี​ีวภาพในจุ​ุดที่​่ต้� อ้ งการ เช่​่น การเก็​็บกลิ่​่น� ของตั​ัวอย่​่างอาหาร

บางอย่​่างในพื​ืชที่​่�เติ​ิมลงในจิ​ินนั้​้�นไวต่​่อความร้​้อน ดั​ังนั้​้�น ด้​้วยการกลั่​่�นทั่​่�วไปหรื​ือวิ​ิธี​ีดั้​้�งเดิ​ิมจะทำำ�ให้​้ รสชาติ​ิและกลิ่​่�นบางส่​่วนหายไป วิ​ิธี​ีการระเหยของเหลวด้​้วยเทคนิ​ิคดั​ังกล่​่าวช่​่วยลดจุ​ุดเดื​ือดของ แอลกอฮอล์​์ จึ​ึงสามารถใช้​้ความร้​้อนที่​่�ลดลงได้​้ สารประกอบที่​่�ไวต่​่อความร้​้อนจึ​ึงไม่​่ระเหยออกไป นั่​่�นเอง

เทคนิ​ิคโครมาโทกราฟี​ี

สี​ีจากธรรมชาติ​ิหรื​ือเม็​็ดสี​ีใช้​้เป็​็นสารเติ​ิมแต่​่งอาหารเพื่​่�อความสวยงามและยั​ังมี​ีประโยชน์​์ต่​่อสุ​ุขภาพ ปั​ัจจุบั​ัุ นความต้​้องการใช้​้เม็​็ดสี​ีจากแหล่​่งธรรมชาติ​ินั้น�้ เพิ่​่�มสู​ูงขึ้​้น� ตามเทรนด์​์รั​ักสุ​ุขภาพ ตั​ัวอย่​่างเช่​่น บี​ีทรู​ูท หรื​ือเคอร์​์คู​ูมิ​ิน อี​ีกหนึ่​่�งวิ​ิธี​ีที่​่�ประยุ​ุกต์​์ใช้​้ คื​ือ เทคนิ​ิคโครมาโทกราฟี​ีเพื่​่�อแยกเม็​็ดสี​ีบริ​ิสุ​ุทธิ์​์�จาก สารสกั​ัดจากธรรมชาติ​ิ และใช้​้ชุ​ุดแยกสาร (โดยทั่​่�วไปใช้​้ซิ​ิลิ​ิก้​้า) เพื่​่�อดู​ูดซั​ับสารที่​่�เป็​็นพิ​ิษ และ ยั​ังได้​้สี​ีจากแหล่​่งธรรมชาติ​ิที่​่�บริ​ิสุ​ุทธิ์​์�

การทำำ�แห้​้งแบบเยื​ือกแข็​็ง

การทำำ�แห้​้งแบบเยื​ือกแข็​็งเป็​็นอี​ีกหนึ่​่�งวิ​ิธี​ีที่​่�นิ​ิยมใช้​้ใน การถนอมอาหารโดยไม่​่เปลี่​่ย� นรู​ูปลั​ักษณ์​์หรื​ือรสชาติ​ิ ของอาหารนั้​้�นๆ กระบวนการทำำ�ให้​้แห้​้งด้​้วยการแช่​่แข็​็ง คื​ือ การนำำ�อาหารไปแช่​่แข็​็ง และการใช้​้สุ​ุญญากาศ เพื่​่�อระเหิ​ิดน้ำ��ำ ออกจากตั​ัวอย่​่างแช่​่แข็​็ง ภายใต้​้เงื่​่อ� นไข เหล่​่านี้​้�น้ำำ��ในอาหารจะระเหิ​ิดออกและได้​้ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ ที่​่�แห้​้ง ในงานด้​้านอุ​ุตสาหกรรมอาหารมั​ักใช้​้เพื่​่�อ การทำำ�แห้​้งแบบฟรี​ีซดรายในผลไม้​้ เช่​่น กล้​้วย เป็​็นต้​้น

การระเหยสารหรื​ือของเหลวออก

การระเหยสารหรื​ื อ ของเหลวออก หรื​ื อ Rotary evaporation เพื่​่�อทำำ�ให้​้อาหารเหลวข้​้น มี​ีหลั​ักการ ทำำ�งานภายใต้​้ระบบสุ​ุญญากาศด้​้วยการหมุ​ุนและ ให้​้ความร้​้อนกั​ับของเหลว ตั​ัวอย่​่างที่​่�เห็​็นได้​้ชั​ัด คื​ือ การแยกสี​ีจากน้ำำ��ผลไม้​้ แต่​่ยั​ังคงเหลื​ือไว้​้ซึ่​่�งน้ำำ��และ รสชาติ​ิที่​่�บริ​ิสุ​ุทธิ์​์�และสดใหม่​่ อี​ีกวิ​ิธี​ีหนึ่​่�ง คื​ือ การสกั​ัด รสชาติ​ิที่​่�ต้​้องการและกลิ่​่�นหอมระเหยจากการผสมผสาน ของผลไม้​้ สมุ​ุนไพร และแอลกอฮอล์​์ โดยไม่​่ต้​้อง ใช้​้ความร้​้อนมากเกิ​ินไป ตั​ัวอย่​่างที่​่ทุ� กุ คนรู้​้�จั​ักกั​ันดี​ี คื​ือ การผลิ​ิตเครื่​่อ� งดื่​่�มจิ​ิน (Gin) สารประกอบและรสชาติ​ิ JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND 40-42_Strong Q&QA_Buchi.indd 41

41

22/5/2563 BE 17:27


STRONG QC&QA

Innovative Lab Device for your Demand

Developments in food technology have contributed greatly to change our world. They help to improve the food taste and appearance, ensure a long shelf-life or promote health effects. There are various and innovative solutions in the field of food processing and food additive purification as described below with a few examples from research and production.

Spray Drying

A spray dryer allows the generation of dry particles in the nm to Âľm range. Spray dryers are used to transform a liquid, such as solutions, suspensions or emulsions via small droplets and a hot gas into dried powders. A major application is the production of milk powder. In general, liquid milk is easily denaturized and difficult to store for a long time. To prolong its shelf life and to simplify transportation milk is spray dried to milk powder.

Encapsulation Technology

Liquid capsules and beads in the Âľm to mm range can be generated via prilling by vibration using encapsulation. For example, bioactive oils encapsulated in a wet alginate core-shell get protected from oxidation reactions, show an increased physical stability and enhanced bioactivity whilst the alginate masks their unpleasant taste.

Freeze Drying

Freeze drying is used to preserve foods without changing their appearance or taste. The freeze-drying process includes freezing of the food sample and subsequent application of a fine vacuum to the frozen sample. Under these conditions, the water in the food will sublimate, hence, the sample dries. In food applications, freeze drying is commonly used to dry conserve fruits, such as bananas.

42

FOOD FOCUS THAILAND

40-42_Strong Q&QA_Buchi.indd 42

Rotary Evaporation

Rotary evaporation helps in kitchens to concentrate non-volatile components in a mixture. This is done under vacuum with the use of rotation and heat. An example would be removing water from blood orange juice to leave behind pure, fresh flavors. Another use is to extract desirable flavors and volatile aromas from a blend of fruit, herbs and alcohol without excessive heat. A famous example is the production of gin. Some of the compounds and flavors in the plants added to the gin are heat sensitive, so with traditional distillation some of those compounds get lost. The advantage of vacuum distillations is that the boiling point of the alcohol can be reduced, less heat is applied to the botanicals and more heat sensitive compounds are retained.

Chromatography Technique

Pigments are used as additives in food to enhance appearance and to promote health effects. There is a high demand to use pigments derived from natural sources, such as beetroot or curcumin. Preparative chromatography enables the purification of pigments from a natural extract mixture. Preparative chromatography is a type of liquid chromatography, where the compounds get separated by different adsorption behaviors with a porous phase (generally silica).

JUN 2020 22/5/2563 BE 17:33


SMART PRODUCTION

เทคโนโลยี​ีสำำ�หรั​ับ

การผลิ​ิต อาหารเหลว อาทิ​ิตย์​์ ทองถาวรวงศ์​์ Atit Tongthawornwong Sales Engineer MT Food Systems Co., Ltd. atit@mtfs.co.th

ด้​้วยความก้​้าวไกลของวิ​ิศวกรรมในปั​ัจจุ​ุบั​ัน ทำำ�ให้​้มี​ีเทคโนโลยี​ีที่​่�ช่​่วย ลดปั​ัญหาของระบบผลิ​ิตอาหารเหลวแบบเดิ​ิม ตอบสนองแนวคิ​ิดแบบลี​ีน และยั​ังช่​่วยเพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพได้​้อี​ีกด้​้วย จากรู​ูปที่​่� 1 แสดงตั​ัว Mixing/ Cooking bowl สมั​ัยใหม่​่ ตั​ัวเครื่​่�องเป็​็นหม้​้อ 2 ชั้​้�น (Double jacket) ที่​่� สามารถรองรั​ับการปรุ​ุงผสมทั้​้�งแบบให้​้ความร้​้อนและหล่​่อเย็​็น มาพร้​้อมกั​ับ ใบมี​ีด และใบกวนที่​่�สามารถตั้​้�งฟั​ังก์​์ชั​ันการทำำ�งานและ ความเร็​็ว ตั​ัวหม้​้อเองยั​ังสามารถปรั​ับเอี​ียงขึ้​้�นลงได้​้ อั​ัตโนมั​ัติ​ิทำ�ำ ให้​้การลดขนาดวั​ัตถุ​ุดิ​ิบ การกวนผสม ให้​้เป็​็นเนื้​้�อเดี​ียวกั​ัน (Homogenous mixing) ทำำ�ได้​้ดี​ีตามลั​ักษณะสิ​ินค้​้าที่​่�จะผลิ​ิตผู้​้�ผลิ​ิต สามารถเติ​ิ ม ส่​่ ว นประกอบอื่​่� น ระหว่​่ า ง การผสมหรื​ือการปรุ​ุ ง ผ่​่ า นทาง Dosing hopper โดยไม่​่จำำ�เป็​็นต้​้องเปิ​ิดฝาเครื่​่�อง โดยส่​่วนประกอบดั​ังกล่​่าวจะถู​ูกลำำ�เลี​ียงเข้​้า ไปด้​้วยแรงสุ​ุญญากาศของเครื่​่�อง จุ​ุดเด่​่น สำำ�คั​ัญของ Cooking bowl สมั​ัยใหม่​่นี้​้� อยู่​่�ที่​่� ก ารผสม หรื​ือปรุ​ุ ง ภายใต้​้ ส ภาวะ สุ​ุ ญ ญากาศ ซึ่​่� ง ช่​่ ว ยให้​้ ลั​ั ก ษณะเนื้​้� อ

ของอาหารมี​ีความสม่ำำ��เสมอ ปราศจากฟองอากาศ (Air bubble) นอกจากนี้​้� ยั​ังช่​่วยชะลอการเกิ​ิดปฏิ​ิกิ​ิริ​ิยา ทางเคมี​ี และการเจริ​ิญเติ​ิบโตของจุ​ุลิ​ินทรี​ีย์​์ ทำำ�ให้​้อายุ​ุการเก็​็บรักั ษาของอาหาร นานขึ้​้น� เนื่​่อ� งจากไม่​่มีอี อกซิ​ิเจนปะปนอยู่​่� ในเนื้​้�ออาหาร เทคโนโลยี​ีดังั กล่​่าวยั​ังมี​ีการให้​้ความร้​้อนแบบ Direct- steam จึ​ึงช่​่วยป้​้องกั​ันการเกิ​ิดกลิ่​่�นไหม้​้ของสิ​ินค้​้า อี​ีกทั้​้�งยั​ังส่​่งผลให้​้มี​ีการแลกเปลี่​่�ยนความร้​้อนที่​่�ดี​ี ทำำ�ให้​้ลดเวลาในการปรุ​ุงสุ​ุกได้​้อี​ีกทางหนึ่​่�ง ไอน้ำำ��ร้​้อน ที่​่� ใ ช้​้ จ ะถู​ู กก รองให้​้ ส ะอาดตามมาตรฐานสากลก่​่ อ นการใช้​้ ง าน จึ​ึงสามารถมั่​่� น ใจได้​้ ใ นเรื่​่� อ งของความปลอดภั​ั ย ในอาหาร ตั​ัวเครื่​่�องยั​ังมี​ีระบบชั่​่�งสิ​ินค้​้าอั​ัตโนมั​ัติ​ิ เหมาะ อย่​่ า งยิ่​่� ง สำำ �หรั​ั บบ างสิ​ิ น ค้​้ า ที่​่� มี ี ก ระบวนการ ทำำ � ให้​้ เ ข้​้ ม ข้​้ น ช่​่ ว ยให้​้ ผู้​้� ผลิ​ิ ต สามารถทราบ น้ำำ� �หนั​ั ก ของสิ​ิ น ค้​้ า ที่​่� เ ปลี่​่� ย นแปลงระหว่​่ า ง กระบวนการได้​้ อี ี ก ด้​้ ว ย นอกจากนี้​้� ใ นเรื่​่� อ งของ การล้​้างทำำ�ความสะอาด เครื่​่อ� งดั​ังกล่​่าวมี​ีระบบล้​้าง ตั​ั ว เองอั​ั ต โนมั​ั ติ​ิ ช่​่ ว ยทำำ � ให้​้ ล ดขั้​้� น ตอนลดเวลา ได้​้อี​ีกทาง รูปที่ 1 เครื่องผสม/ปรุงอาหารสมัยใหม่ JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND

43-45_Smart Pro_MTFS.indd 43

43

21/5/2563 BE 18:20


SMART PRODUCTION

รูปที่ 2 เครื่อง Micro Slicer (Fine Cutter)

รูปที่ 3 ระบบใบมีดวงแหวนแบบ Non Metal to Metal Contact

สำำ�หรั​ับการผลิ​ิตสิ​ินค้​้าบางประเภทที่​่�ต้​้องการควบคุ​ุม Particle Size ปั​ัจจุ​ุบั​ันมี​ีเครื่​่�อง Micro slicer (Fine cutter) ตามรู​ูปที่​่� 2 ซึ่​่�งผู้​้�ผลิ​ิต สามารถควบคุ​ุม Particle size ของสิ​ินค้​้าได้​้โดยการเลื​ือกใช้​้ Cutting gap ของชุ​ุดใบมี​ีดวงแหวนที่​่�ออกแบบมาเฉพาะให้​้ไม่​่มี​ีการสั​ัมผั​ัสกั​ันระหว่​่าง โลหะ (Non metal to metal contact) ตามรู​ูปที่​่� 3 ทำำ�ให้​้ตั​ัวสิ​ินค้​้าไม่​่เกิ​ิด การไหม้​้ในระหว่​่างการลดขนาด ในขณะเดี​ียวกั​ันชุ​ุดมี​ีดนี้​้�ยั​ังช่​่วยผสม สิ​ินค้​้าให้​้มี​ีความเข้​้ากั​ันอี​ีกทางด้​้วย ปั​ัจจุ​ุบันั มี​ีการประยุ​ุกต์​์โดยนำำ�ทั้​้�งสองเครื่​่อ� งข้​้างต้​้นมาเชื่​่อ� มต่​่อกั​ันเป็​็น ระบบตามรู​ูปที่​่� 4 ทำำ�ให้​้เกิ​ิดระบบการผลิ​ิตอาหารเหลวรู​ูปแบบใหม่​่ รองรั​ับการผลิ​ิตสิ​ินค้​้าที่​่�หลากหลายมากขึ้​้�น และเป็​็นระบบที่​่�หยื​ืดหยุ่​่�น กล่​่าวคื​ือ ผู้​้�ผลิ​ิตสามารถเลื​ือกที่​่�จะปรุ​ุงสิ​ินค้​้าภายในหม้​้อผสมเพี​ียง อย่​่างเดี​ียว หรื​ือปรุ​ุงผสมในหม้​้อและในขณะเดี​ียวกั​ันมี​ีการไหลเวี​ียน สิ​ินค้​้าดั​ังกล่​่าวผ่​่าน Microslicer เพื่​่�อควบคุ​ุมความเนี​ียนของสิ​ินค้​้า หรื​ือในกรณี​ีการผลิ​ิตสิ​ินค้​้าบางอย่​่างที่​่�ต้​้องการเฉพาะการปั่​่�นผสม และ ควบคุ​ุมขนาดอนุ​ุภาค ผู้​้�ผลิ​ิตสามารถเลื​ือกใช้​้วงจรของเครื่​่อ� ง Microslicer เพี​ียงอย่​่างเดี​ียวได้​้ เทคโนโลยี​ีดั​ังกล่​่าวเหล่​่านี้​้�ถื​ือเป็​็นสิ่​่�งที่​่�น่​่าสนใจ อย่​่างยิ่​่�งสำำ�หรั​ับวงการอุ​ุตสาหกรรมการผลิ​ิตอาหารเหลวทั้​้�งในปั​ัจจุ​ุบั​ัน และในอนาคต 44

FOOD FOCUS THAILAND

43-45_Smart Pro_MTFS.indd 44

JUN 2020

Unique Technology to Suit Liquid Food Production With the innovation of engineering, a new technology has been created to solve issues from the conventional liquid food processing and help manufacturers to increase efficiency with lean manufacturing concept. Figure1 shows a modern mixing/cooking bowl in which a double jacket system can handle both heating and cooling process. The machine also comes with a blade and scraper which can be programmed by the functionality and speed. The bowl itself can also be tilted up and down automatically. For all above executions, the result of size reduction and homogenous mixing is excellent and meets the characteristics of the product being produced. Moreover, ingredients can also be added to the machine while a mixing or cooking is in progress via the dosing hopper by using a vacuum system in the bowl without a need to open the lid. Another highlight of modern cooking bowl is the cooking process done under a vacuum condition. This system will not create air bubble during the process which allows a consistent texture of product as well as helps to slow the chemical reaction and the growth of microorganisms which enhance a longer product shelf life. The modern cooking bowl also has a direct stream injection option. Using this kind of heat treatment, it will result in an excellent heat exchanging step while burnt-smell issue can be eliminated. Used steam is also filtrated by the international standard steam filter, so manufacturers can be confident in the safety of food. An automatic weighing system could be additionally installed to allow manufacturers to know the weight of products that change during the concentration process. In addition,

รูปที่ 4 ระบบผลิตอาหารเหลวสมัยใหม่ 22/5/2563 BE 17:24


SMART PRODUCTION the machine also has an automatic self-cleaning system. Currently, for product which want to be only reduced the size and mixed, there is a Microslicer (Fine cutter) (Figure 2) of which manufacturer can control the particle size of product by choosing the cutting gap of knife ring. To avoid product burnt during fine cutting process, the knife ring is specially designed in “non-metal to metal contact” concept (Figure 3). The product also can be mixed homogenously by this kind of knives. Currently, there is special execution to connect two above machines together as Figure 4, resulting in a new liquid food production system. Supports the production with more diverse and flexible. Manufacturers can choose to cook products within the bowl or cook and circulate the product at the same time via Microslicer to control the smoothness of the product. For some products that need only to blend, mix and control the particle size (no need to heat or cool), manufacturers can use

only the circuit of the Microslicer to do the job. Above mention technologies are particularly interesting for liquid food processing industry both now and in the future.

เอกสารอ้​้างอิ​ิง/References http://www.roboqbo.com/en/ https://www.youtube.com/user/roboqbo https://www.gb-busser.com/en

JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND 43-45_Smart Pro_MTFS.indd 45

45

21/5/2563 BE 18:20


SMART PRODUCTION บริ​ิษั​ัท เมทเล่​่อร์​์-โทเลโด (ประเทศไทย) จํ​ํากั​ัด Mettler-Toledo (Thailand) Limited MT-TH.CustomerSupport@mt.com

เครื่​่�องวั​ัดค่​่า pH ประสิ​ิทธิ​ิภาพสู​ูง สำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรมการผลิ​ิตน้ำำ��ตาลในรู​ูปของเหลว ในประเทศกำำลั​ังพั​ัฒนาปริ​ิมาณความต้​้องการน้ำำ��ตาลในรู​ูปของเหลวกำำลั​ังเพิ่​่�มขึ้​้�น สำำหรั​ับผู้​้�ผลิ​ิตในบราซิ​ิลนั้​้�น โซลู​ูชั​ันการวั​ัดค่​่า pH ที่​่�จะทนต่​่อสภาวะของกระบวนการผลิ​ิตที่​่�รุ​ุนแรงถื​ือเป็​็นสิ่​่�งจำำเป็​็น โดยโซลู​ูชั​ันดั​ังกล่​่าว ต้​้องไม่​่เพี​ียงมี​ีความทนทานสู​ูงและ สร้​้างความมั่​่�นใจได้​้เท่​่านั้​้�น แต่​่ยั​ังไม่​่จำำเป็​็นต้​้องมี​ีการบำำรุ​ุง รั​ักษาด้​้วย

ความต้​้องการที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�น

น้ำำ� � ตาลในรู​ู ป ของเหลวมี​ี ก ารผลิ​ิ ต ในหลากหลายรู​ู ป แบบเพื่​่� อ ใช้​้ ใ น อุ​ุตสาหกรรมอาหารและเครื่​่�องดื่​่ม� รวมถึ​ึงอุ​ุตสาหกรรมเคมี​ี สำำ�หรั​ับน้ำำ��ตาล ในรู​ู ป ของเหลวเกรดพรี​ี เ มี​ี ย มนั้​้� น คื​ือน้ำำ� � เชื่​่� อ มซู​ู โ ครสที่ �่ ใ ช้​้ ใ นการผลิ​ิ ต ผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ อ าหารและเครื่​่� อ งดื่​่� ม หลากหลายชนิ​ิ ด ส่​่ ว นน้ำำ� � ตาลในรู​ู ป ของเหลวเกรดมาตรฐาน คื​ือน้ำำ��เชื่​่�อมซู​ูโครสสี​ีเหลื​ืองอ่​่อนที่​่�ใช้​้ในการผลิ​ิต น้ำำ�� เชื่​่อ� มผลไม้​้และน้ำำ�� ผลไม้​้ อย่​่างไรก็​็ตาม น้ำำ�� เชื่​่อ� มซู​ูโครสสามารถนำำ�ไปใช้​้ ในอุ​ุตสาหกรรมที่​่�ไม่​่ใช่​่อาหารได้​้ด้​้วยเช่​่นกั​ัน เช่​่น การนำำ�ไปใช้​้เป็​็นแหล่​่ง อาหารของเชื้​้�อจุ​ุลิ​ินทรี​ีย์​์ในกระบวนการหมั​ักแบบอุ​ุตสาหกรรม การผลิ​ิตน้ำำ��ตาลในรู​ูปของเหลวสามารถทำำ�ได้​้โดยการเติ​ิมน้ำำ��กลั่​่�น ลงในน้ำำ��ตาลแห้​้งหรื​ือโดยกระบวนการแปรรู​ูปน้ำำ��อ้​้อย กระบวนการผลิ​ิต น้ำำ� �ตาลในรู​ู ป ของเหลวจากน้ำำ��อ้​้อยนั้​้�นไม่​่ยุ่​่� งยากเหมื​ือนกระบวนการผลิ​ิตจากน้ำำ��ตาลแห้​้ง และยั​ังทำำ�ให้​้ได้​้ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�มี​ีคุ​ุณภาพสม่ำำ��เสมอ มากขึ้​้�น อย่​่างไรก็​็ตาม น้ำำ��ตาลในรู​ูปของเหลวนั้​้�นมี​ีอายุ​ุการเก็​็บรั​ักษาเพี​ียง 1-2 สั​ัปดาห์​์ ไม่​่เหมื​ือนน้ำำ��ตาลแบบแห้​้งที่​่�มี​ีอายุ​ุการเก็​็บรั​ักษายาวนานกว่​่า ทั้​้�งนี้​้� อุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลในบราซิ​ิลได้​้ยอมลงทุ​ุนอย่​่างมหาศาลสำำ�หรั​ับ อุ​ุตสาหกรรมการผลิ​ิตน้ำำ��ตาลในรู​ูปของเหลวเพื่​่�อให้​้เพี​ียงพอต่​่อความต้​้องการของตลาดที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�น โดยผู้​้�ผลิ​ิตน้ำำ��ตาลรายใหญ่​่ในบราซิ​ิลนั้​้�นจะ ผลิ​ิ ต ผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ น้ำ ำ� � ตาลในรู​ู ป ของเหลวที่​่� ส่ ่ ว นใหญ่​่ นำ ำ � ไปใช้​้ ใ นโรงงาน 46

FOOD FOCUS THAILAND

46-48_Smart Pro_Mettler.indd 46

JUN 2020

ผลิ​ิตน้ำำ��อั​ัดลม ทั้​้�งในระดั​ับท้​้องถิ่​่�นจนถึ​ึงบริ​ิษั​ัทผู้​้�ผลิ​ิตจากต่​่างประเทศ กระบวนการผลิ​ิ ต น้ำำ� � ตาลในรู​ู ป ของเหลวของโรงกลั่​่� น น้ำำ� � ตาลมี​ี ขั้​้น� ตอนการผลิ​ิตในช่​่วงเริ่​่มต้ � น้ เหมื​ือนกั​ับกระบวนการผลิ​ิตน้ำำ�� ตาลแบบแห้​้ง ได้​้แก่​่ การสกั​ัดน้ำำ��อ้​้อย การกรอง การฟอกสี​ีด้​้วยก๊​๊าซซั​ัลเฟอร์​์ไดออกไซด์​์ และการทำำ�ใสโดยตกตะกอนด้​้วยปู​ูนขาว การวั​ัดค่า่ pH ในระหว่​่างกระบวนการฟอกสี​ีและการทำำ�ใสมี​ีความสำำ�คั​ัญอย่​่างมากเนื่​่�องจากค่​่า pH ใน ช่​่วงแรกจะบอกถึ​ึงคุ​ุณภาพของซั​ัลเฟอร์​์ไดออกไซด์​์ที่​่�จะต้​้องเติ​ิมลงไปใน น้ำำ��อ้​้อยเพื่​่�อที่​่�จะป้​้องกั​ันการเปลี่​่�ยนสี​ีของน้ำำ��อ้​้อยใสที่​่�ได้​้ และจุ​ุดประสงค์​์ ที่​่�ต้​้องเติ​ิมปู​ูนขาวก็​็เพื่​่�อที่​่�จะเพิ่​่�มค่​่า pH ให้​้กั​ับน้ำำ��อ้​้อยใสที่�่ได้​้ให้​้อยู่​่�ในช่​่วง ค่​่าเฉลี่​่�ย pH 3-7 ในกระบวนการดั​ังกล่​่าวนั้​้�นจะมี​ีความเข้​้มข้​้นของปริ​ิมาณ น้ำำ�� ตาลในน้ำำ�� อ้​้อยประกอบกั​ับสารเคมี​ีต่า่ งๆ ที่เ่� ติ​ิมลงไปซึ่​่ง� มี​ีผลทำำ�ให้​้การวั​ัด ค่​่า pH ทำำ�ได้​้ยากเนื่​่�องจากตะกอนจะไปเกาะติ​ิดกั​ับอิ​ิเล็​็กโทรดที่​่�วั​ัด ดั​ังนั้​้�น เพื่​่�อเพิ่​่�มโอกาสตามสภาวะแวดล้​้อมของการผลิ​ิต ผู้​้�ผลิ​ิตก็​็จะเลื​ือกระบบ การวั​ัดค่​่า pH ที่�่มี​ีความยื​ืดหยุ่​่�นต่​่อสภาวะการผลิ​ิต โดยไม่​่คำำ�นึ​ึงถึ​ึงเรื่​่�อง การซ่​่อมบำำ�รุ​ุง 22/5/2563 BE 17:31


SMART PRODUCTION

โซลู​ูชั​ันล้ำำ��สมั​ัยเพื่​่�อการทำำ�งานที่​่�ดี​ีกว่​่าเดิ​ิม

เทคโนโลยี​ีที่​่�ล้ำำ��หน้​้าอยู่​่�ที่​่�การติ​ิดตั้​้�งระบบเซ็​็นเซอร์​์ วั​ัดค่​่า pH1 โดยโพรบออกแบบมาให้​้สามารถ ใช้​้งานได้​้ในสภาวะแวดล้​้อมที่​่�รุ​ุนแรงซึ่​่�งต้​้องการ การวั ั ด ค่​่า pH ที่​่� ถู​ู กต้​้ อ งแม่​่นยำำ � และรวดเร็​็ ว อิ​ิเล็​็กโทรไลต์​์เหลวจะค่​่อยๆ ไหลสร้​้างความมั่​่�นใจ ในการตรวจวั​ัดที่​่�รวดเร็​็ว ทั้​้�งยั​ังไม่​่ต้​้องห่​่วงเรื่​่�อง การบำำ�รุ​ุงรั​ักษาไปอี​ีกนาน อิ​ิเล็​็กโทรไลต์​์จะยั​ังคง ปราศจากซิ​ิลเวอร์​์อิ​ิออนเนื่​่�องจากมี​ีเทคโนโลยี​ีที่​่� ได้​้รั​ับการจดสิ​ิทธิ​ิบั​ัตรสามารถดั​ักจั​ับซิ​ิลเวอร์​์ไม่​่ให้​้ รบกวนการทำำ�งานของอิ​ิเล็​็กโทรด

เพื่​่อ� ความสะดวกในการใช้​้งานที่​่ย� อดเยี่​่ย� มยั​ังมี​ีระบบการทำำ�ความสะอาด3 ที่​่ติ� ดิ อยู่​่กั​ั� บตั​ัวเครื่อ�่ งและ ตั​ัวส่​่งสั​ัญญาณซึ่​่�งจะทำำ�หน้​้าที่​่�ดู​ูแลการทำำ�ความสะอาดของขั้​้�วไฟฟ้​้า และการสอบเที​ียบโดยอั​ัตโนมั​ัติ​ิ ระบบที่​่�สมบู​ูรณ์​์แบบนี้​้�ประกอบด้​้วย อิ​ิเล็​็กโทรด อุ​ุปกรณ์​์ป้​้องกั​ัน ตั​ัวส่​่งสั​ัญญาณ ระบบการทำำ�ความสะอาดและสอบเที​ียบอั​ัตโนมั​ัติ​ิ เทคโนโลยี​ีการจั​ัดการเซ็​็นเซอร์​์แบบอั​ัจฉริ​ิยะ ซึ่​่�งเป็​็น เทคโนโลยี​ีล่​่าสุ​ุดที่​่�จั​ัดเก็​็บไว้​้ในเซ็​็นเซอร์​์ ทั้​้�งหมดนี้​้�จะช่​่วยสร้​้างความมั่​่�นใจ และสร้​้างความเชื่​่�อมั่​่�น ตลอดจนนำำ�ไปสู่​่�กระบวนการผลิ​ิตที่​่�มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพอย่​่างโดดเด่​่นสำำ�หรั​ับลู​ูกค้​้า ข้​้อมู​ูลเพิ่​่�มเติ​ิม/Additional Information 1 InPro 2000i pH sensor a member of METTLER TOLEO’s Intelligent Sensor Management (ISM) family of sensors. 2 M400 transmitter as the Dynamic Lifetime Indicator 3 An EasyClean 400 system

ระบบเซ็​็นเซอร์​์วั​ัดค่​่า pH1 มาพร้​้อมเทคโนโลยี​ี การเชื่​่�อมต่​่อกั​ับสมาร์​์ทโฟนที่​่�ผู้​้�ใช้​้งานต้​้องการ ระบบดั​ังกล่​่าวช่​่วยลดความต้​้องการในการบำำ�รุ​ุงรั​ักษา โดยการส่​่งข้​้อมู​ูลวิ​ิเคราะห์​์จากระบบไปยั​ัง เครื่​่�องส่​่งสั​ัญญาณ ซึ่​่�งจะมี​ีการแจ้​้งต่​่อให้​้ผู้​้�ปฏิ​ิบั​ัติ​ิ งานทราบถึ​ึงสถานะการบำำ � รุ​ุ ง รั​ักษาที่​่� จำ ำ � เป็​็ น ก่​่อนเครื่​่�องมื​ือวั​ัดจะได้​้รั​ับผลกระทบ

การบำำ�รุ​ุงรั​ักษาที่​่�รู้​้ไ� ด้​้ล่​่วงหน้​้า

ข้​้อมู​ูลวิ​ิเคราะห์​์จากระบบจะถู​ูกส่​่งไปยั​ังเครื่​่�อง ส่​่งสั​ัญญาณ 2 ซึ่​่ � ง มี​ี ตั​ัวชี้​้ � วั ั ด อายุ​ุ ก ารทำำ � งาน ของเซ็​็นเซอร์​์ โดยจะแสดงผลเป็​็นอายุ​ุการใช้​้งาน ที่​่�เหลื​ืออยู่​่�ตามสภาวะการทำำ�งานปั​ัจจุ​ุบั​ัน และมี​ี ตั​ัวจั​ับเวลาการสอบเที​ี ย บ ซึ่​่ � ง จะแจ้​้ ง ต่​่อให้​้ ผู้​้�ปฏิ​ิบั​ัติ​ิงานทราบเมื่​่�อถึ​ึงสถานะการบำำ�รุ​ุงรั​ักษา ที่​่�จำำ�เป็​็นต่​่อไป นอกจากนี้​้� เครื่​่�องส่​่งสั​ัญญาณ 2 ยั​ังรองรั​ับระบบการส่​่งสั​ัญญาณแบบแอนนาล็​็อก เพื่​่�อความยื​ืดหยุ่​่�นในการทำำ�งาน การออกแบบที่​่�สามารถถอดออกได้​้ช่​่วยให้​้ การทำำ�ความสะอาดเซ็​็นเซอร์​์เป็​็นเรื่​่�องง่​่าย และ ทั่​่� วถึ​ึ ง ทั้​้ � ง ยั​ังสอบเที​ี ย บอิ​ิ เ ล็​็ ก โทรดได้​้ ใ นตั​ัว เมื่​่�อจำำ�เป็​็นโดยไม่​่ต้​้องหยุ​ุดการทำำ�งาน ตลอดจน JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND 46-48_Smart Pro_Mettler.indd 47

47

21/5/2563 BE 18:29


SMART PRODUCTION

High-Performance pH Measurement In Liquid Sugar Production In developing countries, demand for liquid sugars is growing. For a customer in Brazil, a pH measurement solution that would tolerate the harsh process conditions was essential. We provided not just a robust, dependable system, but one that requires very little maintenance.

Growing Demand

Liquid sugars are produced in a number of different formulations for use in the food and beverage, and chemical industries. Premium liquid sugar is virtually clear sucrose syrup used in the manufacture of a wide range of beverages and food products. Standard liquid sugar is lightyellow sucrose syrup used in the production of cordials and juices. Liquid sucrose can be used in non-food applications, for example in industrial fermentation processes as a substrate. Production of liquid sugar can be achieved by adding distilled water to dry sugar, or by processing cane juice. The production process for liquid sugar from cane juice is simpler to that of dry sugar, and it also produces a product of a more uniform quality. However, unlike the extremely long lifetime of dry sugar, liquid sugar has a shelf life of only a few weeks. The sugar industry in Brazil has been investing heavily in liquid sugar production to meet increasing market demand. Our customer, a major sugar refiner in Brazil, manufactures liquid products purchased mainly by soft drinks manufacturers from local producers to multinationals.

Tough Conditions

The refinery’s liquid sugar production process follows the same initial steps to that of dry sugar, namely: juice extraction, filtration, sulfitation and liming. pH measurement during sulfitation and liming is essential as the pH level in the first stage determines the quantity of sulfur dioxide that must be added to the juice to prevent discoloration of the liquor. The purpose of adding slaked lime is to increase the pH of the acidic sulfated liquor from approx. 3 to 7. The high concentration of sugar in the juice and the addition of chemical products make it very difficult to measure pH during these processes, as electrodes can become easily coated in precipitates. In order to maximize production uptime, our customer was looking for a pH measurement system that would endure the process conditions, without requiring a great deal of maintenance.

48

FOOD FOCUS THAILAND

46-48_Smart Pro_Mettler.indd 48

Cutting-edge Solution

We installed a system based around the pH sensor1. This probe is ideal for this application as it has been designed to function in extreme environments where quick, accurate pH measurement is required. Gradual outflow of the pressurized liquid electrolyte ensures fast response and long maintenance intervals, while the patented silverion trap prevents electrode poisoning from sulfides. pH sensor 1 with the technology end-users expect in the contemporary environment of devices such as smart phones reduces the maintenance requirement for pH systems by sending diagnostics data to the transmitter, informing the operator of required maintenance before measurement is affected.

Predictive Maintenance

The diagnostics information is displayed on the connected transmitter2 as the dynamic lifetime indicator which shows the remaining lifetime of the electrode based on the current process conditions, and adaptive calibration timer which tells the user when calibration will next be required. For operational flexibility, the multi-parameter transmitter2 also accepts analog sensors. Its retractable design includes a built-in flushing chamber in which the electrode can be cleaned and calibrated when required, without process interruption. For exceptional ease of use, the cleaning system3 attached to the housing and transmitter takes care of electrode cleaning and calibration, automatically. The complete system: electrode, housing, transmitter, automatic cleaning and calibration system, and ISM technology provide a stateof-the-art pH measurement system; giving customer process confidence and reliability, plus outstanding performance.

JUN 2020 21/5/2563 BE 18:29


House ad_FFT .pdf

1

26/5/2563 BE

09:45

Missed any issues? Current issue and Past issues are available in Digital Format for Online Reading at no cost!

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

YOUR COMPANY

HOME

NEWS

ABOUT

CONTACT

03

01

WEB DESIGN CONCEPT

BLOG

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

02

READ MORE

STAY SAFE

& KEEP READING! www.foodfocusthailand.com

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

YOUR COMPANY

HOME

NEWS

ABOUT

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

CONTACT

03

01

WEB DESIGN CONCEPT

BLOG

YOUR COMPANY

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua.

02

Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

HOME

NEWS

ABOUT

READ MORE

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

YOUR COMPANY

HOME

NEWS

ABOUT

BLOG

CONTACT

03

01

WEB DESIGN CONCEPT Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua.

ABOUT US

02

Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. READ MORE

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

CONTACT US Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

BLOG

CONTACT

03

01

WEB DESIGN CONCEPT Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

02

READ MORE

ABOUT US Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

CONTACT US Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam.


SMART PRODUCTION

ปฐมทั​ัศน์​์แห่​่งการผลิ​ิต

KRONES AG

นมแบบปลอดเชื้​้�อ

ในปี​ี พ.ศ. 2550 วิ​ิลาดิ​ิเมี​ียร์​์ ไคเชฟ ได้​้ซื้​้�อกิ​ิจการฟาร์​์ม ปี​ีติ​ิโกรสกี้​้�แดรี่​่� (Pyatigorskiy Dairy) ที่​่�ซึ่​่�งเคยเป็​็นของรั​ัฐมาตั้​้�งแต่​่ ปี​ี พ.ศ. 2523 ในช่​่วงขณะนั้​้�นโรงงานมี​ีกำำลั​ังผลิ​ิตนมดิ​ิบเพี​ียง 20 เมตริ​ิกตั​ันต่​่อวั​ันและต้​้องการการเปลี่​่�ยนแปลงครั้​้�งใหญ่​่ใน กระบวนการผลิ​ิต ซึ่​่�ง 4 ปี​ีต่​่อมาไคเชฟตั​ัดสิ​ินใจลงทุ​ุนครั้​้�งสำำคั​ัญที่​่�เป็​็นการเปลี่​่�ยนโฉมโรงงานของตนไปสู่​่�ศาสตร์​์แห่​่งเทคโนโลยี​ี ขั้​้�นสู​ูงของวงการนมในประเทศ เมื​ืองปี​ีติ​ิโกรสค์​์ (Pyatigorsk) ตั้​้�งอยู่​่�ทางตอนใต้​้ของประเทศรั​ัสเซี​ียอยู่​่�ใน แนวเทื​ือกเขาคอเคซั​ัส เป็​็นที่​่�ขึ้​้�นชื่​่�อในเรื่​่�องบ่​่อน้ำำ��พุ​ุร้​้อนและบ่​่อน้ำำ��แร่​่ธรรมชาติ​ิ มากมาย นั่​่�นเป็​็นเหตุ​ุว่​่าทำำ�ไมบริ​ิเวณโดยรอบในรั​ัศมี​ี 120 กิ​ิโลเมตรรอบเมื​ือง จึ​ึงเป็​็นพื้​้�นที่​่�อนุ​ุรั​ักษ์​์ ดั​ังนั้​้�น อุ​ุตสาหกรรมขนาดใหญ่​่จึ​ึงไม่​่สามารถดำำ�เนิ​ินการได้​้ใน ย่​่านนี้​้� “การอนุ​ุรั​ักษ์​์พื้​้�นที่​่�กว่​่าหนึ่​่�งหมื่​่�นเฮกเตอร์​์เพื่​่�อเป็​็นแหล่​่งอาหารของวั​ัวที่​่�บริ​ิสุ​ุทธิ์​์� และผลที่​่�ได้​้รั​ับก็คื็ อื การมี​ีนมคุ​ุณภาพดี​ีให้​้กั​ับพวกเรา” ท่​่านประธานคอนสแตนติ​ิน ชู​ูคาเรฟ (Konstantin Sukharev) กล่​่าว เนื่​่�องจากน้ำำ��ที่​่�ให้​้วั​ัวดื่​่�มมาจากแหล่​่งน้ำำ��ที่​่� บริ​ิสุทุ ธิ์​์� น้ำำ�บ � าดาลอุ่​่น� ที่​่มี� แี ร่​่ธาตุ​ุถู​ูกสู​ูบมาจากระดั​ับ 1,600 เมตร ใต้​้พื้​้น� ดิ​ิน “น้ำำ�อุ � ดุ ม ไปด้​้วยแคลเซี​ียมและแมกนี​ีเซี​ียมจะช่​่วยเสริ​ิมสร้​้างกระดู​ูกของวั​ัวให้​้แข็​็งแรง” ชู​ูคาเรฟ กล่​่าวเสริ​ิม น้ำำ��นมดิ​ิบจากฝู​ูงวั​ัวนมราว 2,500 ตั​ัว ที่​่�ได้​้จากฟาร์​์ม คื​ือปริ​ิมาณ 1 ใน 10 ของแหล่​่งน้ำำ��นมดิ​ิบที่​่�ส่​่งต่​่อมายั​ังโรงงานปี​ีติ​ิโกรสกี้​้� ขณะนี้​้�ฟาร์​์มแห่​่งที่​่�สองกำำ�ลั​ัง ก่​่อตั้​้�งขึ้​้�น พร้​้อมกั​ับวั​ัวนมอี​ีก 6,000 ตั​ัว หากทำำ�ได้​้ตามการคาดการณ์​์ นั่​่�นคื​ือ การเพิ่​่�มกำำ�ลั​ังการผลิ​ิตเป็​็นหนึ่​่�งในสามของการแปรรู​ูป โดยน้ำำ��นมส่​่วนที่​่�เหลื​ือจะยั​ัง คงได้​้มาจากฟาร์​์มเล็​็กๆ ที่​่�ยั​ังคงส่​่งเข้​้ามาที่​่�โรงงานเช่​่นเดิ​ิม

UHT ผนวก PET เสริ​ิมแกร่​่ง นมยู​ูเอชที​ีเป็​็นสิ​ินค้​้าหลั​ักของปี​ีติ​ิโกรสกี้​้�แดรี่​่�

“ความต้​้องการในตลาดของรั​ัสเซี​ียโตขึ้​้น� ต่​่อเนื่​่�องทุ​ุกปี​ี” ชู​ูคาเรฟ กล่​่าว ร้​้านค้​้าต่​่างๆ นิ​ิยมนมยู​ูเอชที​ีเพราะระยะเวลาการเก็​็บที่​่น� านกว่​่า นอกจากนั้​้น� พฤติ​ิกรรมผู้​้�บริ​ิโภค ก็​็เปลี่​่�ยนไป พวกเขาใช้​้เวลาน้​้อยลงในการซื้​้อ� สิ​ินค้​้าจึ​ึงต้​้องซื้​้อ� ในปริ​ิมาณมากขึ้​้น� ใน แต่​่ละครั้​้ง� นั่​่�นแปลว่​่าอายุ​ุของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ต้อ้ งยาวนานขึ้​้น� ในทางตอนใต้​้ของรั​ัสเซี​ีย ฤดู​ูร้​้อนสามารถมี​ีอุ​ุณหภู​ูมิ​ิสู​ูงขึ้​้�นถึ​ึง 40 oC (104 oF) จึ​ึงเป็​็นเรื่​่�องที่​่�ยุ่​่�งยากที่​่�ต้​้องเก็​็บ รั​ักษานมในปริ​ิมาณมากให้​้เย็​็นตลอดกระบวนการจั​ัดเก็​็บ ดั​ังนั้​้�น นมยู​ูเอชที​ีจึ​ึงเป็​็น คำำ�ตอบที่​่�ดี​ีในการเพิ่​่�มความสามารถในการขนส่​่งสิ​ินค้​้าไปที่​่�ต่​่างๆ ในดิ​ินแดนที่​่� กว้​้างใหญ่​่แห่​่งนี้​้� “ในขณะเดี​ี ย วกั​ันขวด PET ก็​็ มี ี ค วามนิ​ิ ยมม ากขึ้​้ � น กั​ับผลิ​ิ ตภั​ั ณฑ์​์ น ม” คอนสแตนติ​ิน ชู​ูคาเรฟ กล่​่าวพร้​้อมเสริ​ิมว่​่า “แม้​้ว่​่าตอนนี้​้�ขวด PET จะใช้​้กั​ับนมสด เท่​่านั้​้�น แต่​่ปั​ัจจุ​ุบั​ันเราได้​้พั​ัฒนาให้​้สามารถใช้​้กั​ับนมยู​ูเอชที​ีได้​้แล้​้ว” โดยขวด PET มี​ีลั​ักษณะที่​่�น่​่าสนใจคื​ือ • ผู้​้�บริ​ิโภคพบว่​่าขวด PET น่​่าสนใจมากกว่​่าและใช้​้งานง่​่ายกว่​่า

50

FOOD FOCUS THAILAND

JUN 2020

• ขวดและบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ห่​่อหุ้​้�มมี​ีราคาเพี​ียงครึ่​่�งเดี​ียวของราคาบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ เดิ​ิมที่​่�เป็​็นกล่​่องกระดาษ • สายการผลิ​ิตของขวด PET มี​ีความยื​ืดหยุ่​่�นมากกว่​่าสายของการบรรจุ​ุ กล่​่อง ทำำ�ให้​้การปรั​ับเปลี่​่�ยนขนาดและรู​ูปร่​่างของการบรรจุ​ุทำำ�ได้​้ง่​่ายและประหยั​ัด กว่​่า นี่​่�เป็​็นจุ​ุดเด่​่นที่​่�ทำำ�ให้​้การปรั​ับอั​ัตราการผลิ​ิตของสิ​ินค้​้าทำำ�ได้​้เร็​็วขึ้​้�นเพื่​่�อ ตอบสนองต่​่อความต้​้องการของตลาด • บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์แบบกล่​่องพบว่​่ามี​ีอั​ัตราความสู​ูญเสี​ียระหว่​่างขนส่​่งมากถึ​ึง ร้​้อยละ 1.5

เทคโนโลยี​ีชั้​้�นสู​ูงในอาคารประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ ในการปรั​ับปรุ​ุงกำำ�ลั​ังการผลิ​ิต

ปี​ีติโิ กรสกี้​้ใ� ช้​้อาคารสมั​ัยโซเวี​ียตยู​ูเนี่​่ย� นหลั​ังเก่​่ามาแต่​่งเติ​ิมด้ว้ ยระบบใหม่​่ล่​่าสุ​ุด ตั้​้�งแต่​่ระบบการทำำ�นมยู​ูเอชที​ี เครื่​่�องโฮโมจี​ีไนส์​์เซอร์​์ และเครื่​่�องเหวี่​่�ยงเพื่​่�อการ แยกไขมั​ันกั​ับหางนม การบู​ูรณะตกแต่​่งใหม่​่นี้​้�ทำำ�ควบคู่​่�ไปกั​ับการผลิ​ิตเดิ​ิม อย่​่างต่​่อเนื่​่�อง ประมาณได้​้ว่​่าท่​่อต่​่างๆ ยาวกว่​่า 300 กิ​ิโลเมตรได้​้ถู​ูกทดแทน และติ​ิดตั้​้�งเพิ่​่�ม และมี​ีการเพิ่​่�มสายการบรรจุ​ุนมลงกล่​่องขึ้​้�นอี​ีก 4 ระบบ ที่​่�เป็​็น สายการผลิ​ิตแบบปลอดเชื้​้�อ1 รวมทั้​้�งการเพิ่​่�มสถานที่​่�เก็​็บนมพาสเจอร์​์ไรซ์​์และ ครี​ีมต่​่างๆ กว่​่า 200 เมตริ​ิกตั​ัน ได้​้ถู​ูกจั​ัดสรรขึ้​้�น จนวั​ันนี้​้�โรงงานสามารถขึ้​้�น รองน้ำำ��นมดิ​ิบได้​้ถึ​ึง 300 เมตริ​ิกตั​ันต่​่อวั​ัน ซึ่​่�งบริ​ิษั​ัทกำำ�ลั​ังวางแผนเพิ่​่�มกำำ�ลั​ัง การผลิ​ิตอี​ีกเป็​็นสองเท่​่าในปี​ี พ.ศ. 2564 สายการผลิ​ิตใหม่​่ในการบรรจุ​ุขวด PET1 ถู​ูกออกแบบเป็​็นแบบปลอดเชื้​้�อ ใช้​้ได้​้กั​ับผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�เป็​็นกรดน้​้อยและกรดมากต่​่างกั​ัน ความสามารถในการ รองรั​ับผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�หลากหลายเป็​็นสิ่​่�งสำำ�คั​ัญเพราะสภาพความเป็​็นกรดของ สิ​ินค้​้าสองชนิ​ิดที่​่ต้� อ้ งใช้​้สายการผลิ​ิตร่​่วมกั​ัน นมบริ​ิสุทุ ธิ์​์จ� ะมี​ีค่​่าความเป็​็นกรดที่​่� pH 6.8 ขณะที่​่คี� เี ฟอร์​์หรื​ือนมเปรี้​้�ยวอยู่​่ที่​่� � pH 4.3 ซึ่​่ง� ที่​่โ� รงงานปี​ีติโิ กรสกี้​้จ� ะใช้​้ขวดใส กั​ับผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์นมสด ขณะที่​่ใ� ช้​้ขวดขาวขุ่​่น� กั​ับนมเปรี้​้�ยว ทั้​้ง� สองขวดมี​ีขนาดบรรจุ​ุ ราว 0.9 ลิ​ิตร ขวดขาวขุ่​่�นขึ้​้�นรู​ูปของนมเปรี้​้�ยวจะเป็​็นแบบให้​้ออกซิ​ิเจนผ่​่านได้​้ ต่ำำ��และป้​้องกั​ันแสงยู​ูวี​ีได้​้อี​ีกด้​้วย เมื่​่อ� ต้​้องเปลี่​่�ยนสายการผลิ​ิตจากนมเปรี้​้�ยวเป็​็นนมสด สายการผลิ​ิตนมขวด PET แบบปลอดเชื้​้�อ1 จะต้​้องได้​้รั​ับการทำำ�ความสะอาดและกำำ�จั​ัดเชื้​้�อด้​้วย ไฮโดรเจนเพอร์​์ออกไซด์​์ (H2O2) เพื่​่�อป้​้องกั​ันการปนเปื้​้�อน แม้​้จะมี​ีคุ​ุณลั​ักษณะ ความหนื​ืดของนมเปรี้​้�ยวแต่​่ก็​็ไม่​่ได้​้เป็​็นปั​ัญหาเรื่​่�องการอุ​ุดตั​ันในระบบปลอดเชื้​้�อ


SMART PRODUCTION

การผลิ​ิตนี้​้�สามารถทำำ�ได้​้ 144 ชั่​่�วโมงต่​่อเนื่​่�อง ก่​่อนที่​่�จะต้​้องทำำ�ความ เข้​้าถึ​ึงยากมากในช่​่วงเวลา 9 เดื​ือนเพราะสภาพอากาศที่​่�เลวร้​้าย การขนส่​่งจากเมื​ือง สะอาดกำำ�จั​ัดเชื้​้�อที่​่�ใช้​้เวลาอี​ีกสองชั่​่�วโมงถั​ัดมา ปี​ีติ​ิโกรสค์​์ไปถึ​ึงที่​่�หมายอาจใช้​้เวลานานถึ​ึง 21 วั​ัน ดั​ังนั้​้�น อายุ​ุของสิ​ินค้​้าต้​้องมี​ีมากกว่​่า 45 วั​ัน เป็​็นอย่​่างน้​้อย” ชู​ูคาเรฟ กล่​่าว ทางเลื​ือกในการขยายการผลิ​ิต บริ​ิษั​ัทมี​ีแนวโน้​้มที่​่�จะขยายชนิ​ิด สายการผลิ​ิตขวด PET ปลอดเชื้​้�อ1 นี้​้�ได้​้รั​ับการยอมรั​ับและถู​ูกเปิ​ิดใช้​้งานขึ้​้�นตั้​้�งแต่​่เดื​ือน ของผลิ​ิตภัณ ั ฑ์​์และรู​ูปแบบขวดบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ในสายการบรรจุ​ุของขวด PET มกราคมปี​ีพ.ศ. 2562 “สายการผลิ​ิตขวด PET ปลอดเชื้​้�อ1นี้​้�ได้​้เปิ​ิดศั​ักราชใหม่​่ให้​้กั​ับการ มี​ีการจั​ัดสายการผลิ​ิตโยเกิ​ิร์​์ตเหลวทั้​้�งที่​่�มี​ีชิ้​้�นผลไม้​้และแบบที่​่�ไม่​่มี​ีผลไม้​้ด้​้วย ตลาดของเรา นมยู​ูเอชที​ีในรู​ูปโฉมที่​่�ทั​ันสมั​ัยนี้​้�สร้​้างเอกลั​ักษณ์​์ที่​่�ไม่​่เหมื​ือนใครในตลาด ขวดขนาด 1.3 ลิ​ิตร และ 0.3 ลิ​ิตร โรงงานมี​ีแนวโน้​้มที่​่�จะทำำ�ขวดสี่​่�เหลี่​่�ยม รั​ัสเซี​ีย” วิ​ิลาดิ​ิเมี​ียร์​์ ไคเชฟ ผู้​้�เป็​็นเจ้​้าของ กล่​่าวทิ้​้�งท้​้าย ที่​่�มี​ีผนั​ังขวดหนาและยื​ืดอายุ​ุสิ​ินค้​้าข้​้ามปี​ีสำำ�หรั​ับนมยู​ูเอชที​ีออกสู่​่�ตลาด ด้​้วยในอนาคต “บางพื้​้�นที่​่�ของรั​ัสเซี​ียตอนเหนื​ือและทางตะวั​ันออกไกล

Aseptic premiere for

milk

In 2007, Vladimir Kayshev took over Pyatigorskiy Dairy, formerly a state-run operation dating back to the 1980s. The equipment was in dire need of upgrading and was capable of processing only 20 metric tons of raw milk per day. Four years later, Kayshev decided to invest heavily in the plant and gradually transform it into a state-of-the-art dairy. The city of Pyatigorsk is in the far south of Russia, in the foothills of the Caucasus Mountains. The region is famous for its hot springs and many mineral springs. That is one reason why the area within a 120-kilometer radius around Pyatigorsk is a protected natural area. Heavy industry is not permitted. “That ensures that the feed our cows get from our 10,000 or so hectares of meadows and fields is especially pure. And that, in turn, has a positive impact on the quality of our milk,” says the dairy’s president Konstantin Sukharev. The water the cows are given to drink is also anything but ordinary. The herd drinks lukewarm mineral water that is pumped up from 1,600 meters underground. “It’s high in calcium and magnesium, which promotes healthy bone growth,” explains Sukharev. With 2,500 cows, the dairy’s own farm produces around one-tenth of the raw milk Pyatigorskiy processes. A second farm is currently being established for another 6,000 dairy cows. Once that is complete, the dairy hopes to supply around one-third of the milk it processes. The remaining milk will continue to come from small local farms.

UHT and PET Make a Good Team UHT milk remains Pyatigorskiy Dairy’s

main product. “Demand on the Russian market is growing year by year,” says Sukharev. Retailers prefer UHT milk because of its longer shelf life. Besides that, consumers prefer it because their buying habits have changed: they want to spend less time on shopping, so they buy larger quantities to have on hand – which means the products have to keep longer. In southern Russia, summertime temperatures can rise above 40 degrees Celsius (104 degrees Fahrenheit). It would be complicated to keep larger quantities of fresh milk in the cold chain. And then there’s the fact that UHT is the only way to go for transporting milk to other parts of the vast country. “At the same time, PET bottles are becoming increasingly popular as a packaging material for milk,” explains Konstantin Sukharev. “So far, though, they have only been used for fresh milk. Now we have combined PET packaging and UHT milk.” PET has several things going for it as a packaging material: • Consumers find PET bottles visually appealing and easy to use. Bottling and packaging in PET can cost half as much as packaging in cartons. • A PET filling line is far more flexible than a carton packaging line, since switching to different container sizes and shapes entails less effort and cost. And that enables producers to respond flexibly to market demands. • Carton packaging, on the other hand, is more susceptible to damage during transport – up to 1.5 percent of carton packaging is compromised in the delivery process.

Modern Technology in a Historic Building For the expansion of its production capacity, Pyatigorskiy is using an existing, Soviet-era building, outfitting it with state-of-the-art UHT systems, homogenizers, and centrifuges. Renovations have been and continue to be made while production is ongoing: over 300 kilometers 50-51_Smart Pro_Krones.indd 51

of piping and tubing have been replaced, four new carton packaging systems have been installed in addition to the new aseptic line1, and storage capacity for 200 metric tons of pasteurized milk and cream has been created. Today, the dairy is capable of accepting 300 metric tons of raw milk per day. The company plans to double that capacity by 2021. The new PET line1 is designed for aseptic filling of low and high-acid products. This versatility is important for the dairy because of the very different pH values of the two products it has so far run on the line: milk has a pH of around 6.8, while kefir’s is around 4.3. Pyatigorskiy fills the UHT milk into transparent containers and the kefir into round, opaque white containers. Both container varieties have a volume of around 900 milliliters. The preforms used for the white kefir bottles have an integrated low-level oxygen and UV barrier. When changing over from kefir to milk, the new PETAsept line1 is properly cleaned and sterilized with hydrogen peroxide (H2O2) in order to prevent contamination of the milk. Even the considerably higher viscosity of kefir does not present a problem for the aseptic block. It can operate for 144 hours at a stretch before a two-hour sterilization is required.

Options for Expansion The company intends to gradually expand the range of products and containers processed on the PET line. It is already set up to fill yoghurt smoothies with and without fruit bits and to handle 1.3-liter and 0.3-liter bottles. The dairy also wants to bring a squareshaped bottle to market sometime in the future, with higher barrier properties that should increase the shelf life of UHT milk to an entire year. “Some regions of Russia in the north and far east are logistically impossible to reach for as much as nine months of the year because of their extreme climates. And transport from Pyatigorsk to these areas takes 21 days as it is. So, a longer shelf life than the 45 days you generally get with normal preforms definitely makes sense,” says Konstantin Sukharev. The PET aseptic line1 was validated and went into operation in January 2019. “The new PET- Asept line1 has opened up a new market segment for us. UHT milk in these containers is a brand-new and unique product on the Russian market,” says owner Vladimir Kayshev.

ข้​้อมู​ูลเพิ่​่ม� เติ​ิม / Additional Information 1 KRONES’s PET-AseptBloc D aseptic block with H2O2 sterilization 22/5/2563 BE 17:36


STRATEGIC R&D ผู้​้�ช่​่วยศาสตราจารย์​์ ทศพร นามโฮง Assistant Professor Tosporn Namhong

Visiting Lecturer Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi tnamhong@hotmail.com

“อ้​้วน…อ้​้วน…” คำำนี้​้�อาจเป็​็นคำำพู​ูดที่​่�แสลงใจของใครบางคน ในปี​ี 2556 ข้​้อมู​ูลจากกระทรวงวิ​ิทยาศาสตร์​์และเทคโนโลยี​ี (กระทรวงการอุ​ุดมศึ​ึกษา วิ​ิทยาศาสตร์​์ วิ​ิจั​ัยและนวั​ัตกรรม ในปั​ัจจุ​ุบั​ัน) ได้​้เผยตั​ัวเลขว่​่า คนไทยเผชิ​ิญกั​ับโรคอ้​้วนถึ​ึง 1 ใน 5 ของประชากรทั้​้�งหมด ต่​่อมาในปี​ี 2562 มี​ีสถิ​ิติ​ิใหม่​่ว่​่า คนไทยมี​ีภาวะความอ้​้วนถึ​ึง 1 ใน 3 นั่​่�นหมายความว่​่าคนไทย 3 คน จะมี​ีคนที่ ่ � มี​ี ภาวะอ้​้ ว น 1 คน ซึ่​่ � ง สถิ​ิ ติ ิ นี้ ้ � คิ ิ ด เป็​็ น อั​ั น ดั​ั บ 2 ของอาเซี​ียน รองจากประเทศมาเลเซี​ียเท่​่านั้​้�น

กลยุ​ุทธ์​์การควบคุ​ุมน้ำำ�� หนั​ัก ภาวะน้ำำ��หนั​ักเกิ​ินและโรคอ้​้วนเป็​็นปั​ัจจั​ัยเสี่​่�ยงสำำ�คั​ัญของการเกิ​ิดโรค ไม่​่ติ​ิดต่​่อเรื้​้�อรั​ัง (Non-communicable Diseases; NCDs) โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�ง โรคเบาหวาน โรคความดั​ันโลหิ​ิตสู​ูง ไขมั​ันในเลื​ือดสู​ูง โรคระบบหั​ัวใจและ หลอดเลื​ือด และโรคมะเร็​็ง นอกจากนี้​้�ยั​ังพบว่​่า ภาวะอ้​้วนลงพุ​ุงมี​ีความสั​ัมพั​ันธ์​์ กั​ับภาวะต้​้านอิ​ินซู​ูลิ​ิน และโรคระบบหั​ัวใจและหลอดเลื​ือด ภาวะอ้​้วนจึ​ึงทำำ�ให้​้ ปี​ีสุ​ุขภาวะของคนลดลงจากการเกิ​ิดโรคเรื้​้�อรั​ัง ซึ่​่�งมี​ีผลต่​่อคุ​ุณภาพชี​ีวิ​ิตและ ความสู​ูญเสี​ียทางเศรษฐกิ​ิจ เนื่​่�องจากต้​้องเพิ่​่�มค่​่าใช้​้จ่​่ายทางสุ​ุขภาพ และ การสู​ูญเสี​ียปี​ีสุ​ุขภาวะจากภาวะพิ​ิการและการตายก่​่อนวั​ัยอั​ันควร

แค่​่ไหนถึ​ึงเรี​ียกว่​่าอ้​้วน?

จากคำำ�จำำ�กั​ัดความขององค์​์การอนามั​ัยโลก หรื​ือ WHO ได้​้ให้​้นิ​ิยามไว้​้ว่​่า ภาวะน้ำำ��หนั​ักเกิ​ินหรื​ือภาวะอ้​้วน คื​ือ ภาวะที่​่�ร่​่างกายมี​ีการสะสมไขมั​ันไว้​้ มากเกิ​ินระดั​ับปกติ​ิจนทำำ�ให้​้เกิ​ิดผลเสี​ียต่​่อสุ​ุขภาพ ดั​ังนั้​้�น จึ​ึงมี​ีการใช้​้ดั​ัชนี​ีต่​่างๆ เพื่​่�อคั​ัดกรองภาวะน้ำำ�� หนั​ักเกิ​ินหรื​ือภาวะอ้​้วน ดั​ังต่​่อไปนี้​้� • ดั​ัชนี​ีมวลกาย หรื​ือ Body Mass Index (BMI) เป็​็นค่​่าดั​ัชนี​ีความสั​ัมพั​ันธ์​์ ระหว่​่างส่​่วนสู​ูงและน้ำำ��หนั​ักตั​ัว โดยคำำ�นวณจากน้ำำ��หนั​ักตั​ัวเป็​็นกิ​ิโลกรั​ัม หารด้​้วยความสู​ูง (เมตรยกกำำ�ลั​ังสอง) องค์​์การอนามั​ัยโลกได้​้แบ่​่งเกณฑ์​์ระดั​ับดั​ัชนี​ีมวลกาย โดยได้​้กำำ�หนดว่​่า 52

FOOD FOCUS THAILAND

52-57_Strategic R&D_tosporn.indd 52

ถ้​้ามี​ีค่​่า BMI มากกว่​่าหรื​ือเท่​่ากั​ับ 25 กิ​ิโลกรั​ัมต่​่อตารางเมตร แสดงว่​่าเริ่​่�มมี​ี น้ำำ��หนั​ักเกิ​ิน และถ้​้าค่​่า BMI ที่​่� 30 กิ​ิโลกรั​ัมต่​่อตารางเมตรหรื​ือมากกว่​่า หมายถึ​ึง อ้​้วน แต่​่สำำ�หรั​ับประชากรในเอเชี​ียจุ​ุดตั​ัดกำำ�หนดค่​่าดั​ัชนี​ีมวลกาย ที่​่� 22.9 กิ​ิโลกรั​ัมต่​่อตารางเมตร ถ้​้ามากกว่​่านี้​้� หมายถึ​ึง อยู่​่�ในภาวะน้ำำ��หนั​ัก เกิ​ิน และค่​่าดั​ัชนี​ีมวลกายที่​่� 25 กิ​ิโลกรั​ัมต่​่อตารางเมตรหรื​ือมากกว่​่า แสดงว่​่าอ้​้วน การวั​ัดดั​ัชนี​ีมวลกายแล้​้วระบุ​ุว่​่าอ้​้วนนั้​้�นมี​ีข้​้อจำำ�กั​ัด เนื่​่�องจากน้ำำ��หนั​ัก รวมองค์​์ประกอบร่​่างกายทั้​้�งหมด หมายรวมถึ​ึง น้ำำ��หนั​ักกล้​้ามเนื้​้�อ ไขมั​ัน และกระดู​ู ก ถ้​้ า ผู้​้�ที่​่ � ออ กกำำ �ลั ั ง กายประจำำ � หรื​ือเป็​็ นนั ั ก กี​ีฬา น้ำำ � � หนั​ั ก องค์​์ประกอบร่​่างกายส่​่วนใหญ่​่จะเป็​็นน้ำำ�� หนั​ักกล้​้ามเนื้​้อ� กล้​้ามเนื้​้อ� และไขมั​ัน ที่​่�มี​ีน้ำำ��หนั​ักเท่​่ากั​ัน ขนาดจะต่​่างกั​ัน กล้​้ามเนื้​้�อมี​ีขนาดเล็​็กกว่​่าไขมั​ัน ดั​ังนั้​้�น คนที่​่�มี​ีค่​่า BMI สู​ูง เนื่​่�องจากน้ำำ��หนั​ักองค์​์ประกอบร่​่างกายส่​่วนใหญ่​่มาจาก กล้​้ามเนื้​้�อ จะมี​ีรู​ูปร่​่างที่​่�กระชั​ับและดู​ูแข็​็งแรงกว่​่าผู้​้�ที่​่�มี​ีค่​่า BMI เท่​่ากั​ัน แต่​่น้ำำ��หนั​ักองค์​์ประกอบร่​่างกายไปอยู่​่�ที่​่�น้ำำ��หนั​ักไขมั​ัน ดั​ังนั้​้�น จึ​ึงต้​้องมี​ีดั​ัชนี​ี อื่​่�นที่​่�ใช้​้วั​ัดภาวะอ้​้วนร่​่วมด้​้วย • เส้​้นรอบเอว (Waist circumference) เป็​็นค่​่าที่​่�ได้​้จากการวั​ัดรอบเอว ด้​้วยสายวั​ัดมาตรฐาน โดยวั​ัดรอบเอวในระดั​ับที่​่พ� าดผ่​่านสะดื​ือ ผู้​้�ชายจะต้​้อง มี​ีค่​่าไม่​่เกิ​ิน 90 เซนติ​ิเมตร และผู้​้�หญิ​ิงไม่​่เกิ​ิน 80 เซนติ​ิเมตร ถ้​้ามากกว่​่านี้​้�

JUN 2020 22/5/2563 BE 17:23


STRATEGIC R&D ถื​ือว่​่าอยู่​่ใ� นภาวะอ้​้วนลงพุ​ุง หรื​ือใช้​้ค่า่ เส้​้นรอบพุ​ุง ถ้​้ามากกว่​่าส่​่วนสู​ูงหารสอง แสดงว่​่าอ้​้วนลงพุ​ุงเช่​่นเดี​ียวกั​ัน มี​ีรายงานว่​่าขนาดของเส้​้นรอบเอวเพิ่​่�มขึ้​้�น ตามอายุ​ุที่เ�่ พิ่​่ม� ขึ้​้น� โดยเพิ่​่ม� ขึ้​้น� สู​ูงสุ​ุดในกลุ่​่�มอายุ​ุ 45-59 ปี​ี จากนั้​้�นเส้​้นรอบเอว จะมี​ีขนาดลดลงในวั​ัยผู้​้�สู​ูงอายุ​ุ • เส้​้นรอบเอวต่​่อเส้​้นรอบสะโพก โดยถ้​้ามี​ีค่​่ามากกว่​่า 0.9 ในผู้​้�ชาย และมากกว่​่า 0.8 ในผู้​้�หญิ​ิง ถื​ือว่​่ามี​ีความเสี่​่�ยงต่​่อภาวะโรคอ้​้วน นอกจากนี้​้�ยั​ังมี​ีอี​ีกวิ​ิธี​ีหนึ่​่�ง คื​ือ การวั​ัดองค์​์ประกอบของร่​่างกายด้​้วย เครื่​่�องชั่​่�งน้ำำ��หนั​ักแบบวิ​ิเคราะห์​์ด้​้วยการต้​้านไฟฟ้​้า ซึ่​่�งสามารถบอกปริ​ิมาณ กล้​้ามเนื้​้�อและไขมั​ันในร่​่างกาย ร้​้อยละของไขมั​ันสำำ�หรั​ับผู้​้�ที่​่�มี​ีร่​่างกายฟิ​ิต ควรมี​ีปริ​ิมาณเท่​่ากั​ับร้​้อยละ 21-24 สำำ�หรั​ับผู้​้�หญิ​ิง และร้​้อยละ 14-17 สำำ�หรั​ับผู้​้�ชาย ถ้​้าอยู่​่�ในภาวะอ้​้วน คื​ือ มี​ีปริ​ิมาณไขมั​ันร้​้อยละ 32 ขึ้​้�นไป สำำ�หรั​ับผู้ห้� ญิงิ และร้​้อยละ 25 ขึ้​้น� ไปสำำ�หรั​ับผู้​้�ชาย ภาวะอ้​้วนทำำ�ให้​้เกิ​ิดความผิ​ิดปกติ​ิของระบบเมทาบอลิ​ิซึ​ึม เพิ่​่�มความเสี่​่�ยงในการเป็​็นเบาหวานเพิ่​่�มขึ้​้�น ถึ​ึง 4 เท่​่า และความเสี่​่�ยงโรคหั​ัวใจและหลอดเลื​ือดเพิ่​่�มขึ้​้�นถึ​ึง 2 เท่​่า

ร่​่างกายสะสมไขมั​ันไว้​้ที่​่�ไหน?

ร่​่างกายจะเก็​็บสะสมไขมั​ันไว้​้ที่�่ใต้​้ผิ​ิวหนั​ัง ที่​่�ช่​่องท้​้อง และในกระแสเลื​ือด ไขมั​ันที่​่�ถู​ูกเก็​็บไว้​้ในช่​่องท้​้อง เรี​ียกว่​่า ไขมั​ันช่​่องท้​้อง หรื​ือ Visceral fat และ เนื่​่�องจากช่​่องท้​้องเป็​็นที่​่�อยู่​่�ของอวั​ัยวะภายในหลายๆ ชนิ​ิดที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับ กระบวนการเมทาบอลิ​ิซึ​ึม ดั​ังนั้​้�น การมี​ีไขมั​ันช่​่องท้​้องเป็​็นจำำ�นวนมากทำำ�ให้​้ ระบบเมทาบอลิ​ิซึ​ึมผิ​ิดปกติ​ิ ก่​่อให้​้เกิ​ิดโรค NCDs ต่​่างๆ เมื่​่�อวั​ัดองค์​์ประกอบร่​่างกาย องค์​์ประกอบร่​่างกาย แบ่​่งเป็​็น 2 ส่​่วนใหญ่​่ๆ คื​ือ มวลไขมั​ัน และมวลกายไร้​้ไขมั​ัน โดยมวลกายไร้​้ไขมั​ัน ประกอบด้​้วย ส่​่วนที่​่เ� ป็​็นน้ำำ�� กล้​้ามเนื้​้�อ และมวลแร่​่ธาตุ​ุ ส่​่วนมวลไขมั​ัน ประกอบด้​้วย ไขมั​ัน จำำ�เป็​็น และไขมั​ันสะสม ไขมั​ันจำำ�เป็​็น คื​ือ ไขมั​ันในกระดู​ูก สมอง ไขสั​ันหลั​ัง

และอวั​ัยวะภายใน ส่​่วนที่​่�เป็​็นไขมั​ันสะสม คื​ือ ไขมั​ันใต้​้ผิ​ิวหนั​ังและในช่​่องท้​้อง ไขมั​ันเป็​็นโครงสร้​้างที่สำ่� �คั ำ ญ ั ของร่​่างกาย เช่​่น เซลล์​์ เนื้​้�อเยื่​่อ� ต่​่างๆ เป็​็นแหล่​่งเก็​็บ สารอาหาร เช่​่น วิ​ิตามิ​ินที่​่�ละลายในไขมั​ัน ไขมั​ันยั​ังเป็​็นตั​ัวปกป้​้องอวั​ัยวะภายใน เป็​็นแหล่​่งพลั​ังงานให้​้กล้​้ามเนื้​้�อ และเป็​็นวั​ัตถุ​ุดิ​ิบในการสร้​้างฮอร์​์โมน ส่​่วน มวลกายไร้​้ไขมั​ัน เช่​่น กล้​้ามเนื้​้�อ มี​ีประโยชน์​์ช่​่วยรั​ักษาการเผาผลาญ ช่​่วยใน กระบวนการฟื้​้�นฟู​ู เพิ่​่�มความสามารถในการตอบสนองต่​่ออิ​ินซู​ูลิ​ิน และลด การเกิ​ิดกระดู​ูกพรุ​ุน

ลดน้ำำ��หนั​ักได้​้อย่​่างไร?

น้ำำ��หนั​ักมี​ีส่​่วนสั​ัมพั​ันธ์​์กั​ับสุ​ุขภาพ โดยที่​่�สั​ัดส่​่วนของมวลไขมั​ัน ถ้​้าไขมั​ันยิ่​่�งสู​ูง อั​ัตราการเจ็​็บป่​่วยและเสี​ียชี​ีวิ​ิตจะสู​ูงขึ้​้�น สั​ัดส่​่วนของมวลกล้​้ามเนื้​้�อก็​็เช่​่นเดี​ียว กั​ัน กล้​้ามเนื้​้�อยิ่​่�งต่ำำ��จะทำำ�ให้​้อั​ัตราการเจ็​็บป่​่วยและเสี​ียชี​ีวิ​ิตจะสู​ูงขึ้​้�น ดั​ังนั้​้�น การลดน้ำำ��หนั​ักโดยการลดไขมั​ันและสู​ูญเสี​ียมวลกล้​้ามเนื้​้�อไปด้​้วยอาจทำำ�ให้​้ การลดน้ำำ�� หนั​ักไม่​่มีปร ี ะโยชน์​์ต่อ่ สุ​ุขภาพ การลดน้ำำ�� หนั​ักเพื่​่�อสุ​ุขภาพจำำ�เป็​็นต้​้อง เพิ่​่�มมวลกล้​้ามเนื้​้�อด้​้วย ดั​ังนั้​้�น นอกจากการควบคุ​ุมอาหารแล้​้ว การออกกำำ�ลั​ัง ควบคู่​่�ไปด้​้วยจึ​ึงเป็​็นกุ​ุญแจสำำ�คั​ัญในการลดน้ำำ��หนั​ักได้​้อย่​่างยั่​่�งยื​ืน ความอ้​้วนหรื​ือภาวะน้ำำ��หนั​ักเกิ​ินเกิ​ิดจากการขาดสมดุ​ุลระหว่​่างพลั​ังงานที่​่� ได้​้รับั กั​ับพลั​ังงานที่​่ใ� ช้​้ไป พลั​ังงานที่​่ไ� ด้​้รับั ได้​้จากการกิ​ิน คื​ือ ปริ​ิมาณคาร์​์โบไฮเดรต โปรตี​ีน ไขมั​ันที่ไ่� ด้​้รับั จากอาหาร ส่​่วนพลั​ังงานที่ใ่� ช้​้ไปแบ่​่งออกเป็​็น 3 ส่​่วน ส่​่วนที่​่� 1 คื​ือ อั​ัตราการเผาผลาญพลั​ังงานพื้​้�นฐาน (Basal Metabolic Rate; BMR) ส่​่วนที่​่� 2 คื​ือ พลั​ังงานที่​่�ใช้​้ในการเคลื่​่�อนไหวและออกแรง (Physical activity) และส่​่วนที่​่� 3 คื​ือ พลั​ังงานที่​่�ใช้​้ในกระบวนการย่​่อยอาหาร พลั​ังงานที่​่�ใช้​้ไปทั้​้�ง 3 ส่​่วนนี้​้� แบ่​่งอั​ัตราส่​่วนได้​้ ดั​ังนี้​้� เป็​็นอั​ัตราการเผาผลาญพลั​ังงานพื้​้�นฐาน หรื​ือ BMR ร้​้อยละ 60-65 อั​ัตราการเผาผลาญจากการทำำ�กิ​ิจกรรม ร้​้อยละ 25-35 ส่​่วนที่​่�เหลื​ือเป็​็นอั​ัตราการเผาผลาญจากการย่​่อยอาหารเท่​่ากั​ับ ร้​้อยละ 5-10 ค่​่าอั​ัตราการเผาผลาญพลั​ังงานพื้​้�นฐานเป็​็นค่​่าเฉพาะบุ​ุคคลซึ่​่�งขึ้​้�นกั​ับอายุ​ุ พื้​้�นที่​่�ผิ​ิวของร่​่างกาย เพศ และสภาวะทางสุ​ุขภาพ เช่​่น เพศชายมี​ีค่​่า BMR มากกว่​่าผู้​้�หญิ​ิง อายุ​ุมากขึ้​้�นค่​่า BMR ลดลง ภาวะตั้​้�งครรภ์​์มี​ีค่​่า BMR เพิ่​่�มขึ้​้�น และการมี​ีมวลกล้​้ามเนื้​้�อค่​่า BMR จะเพิ่​่�มขึ้​้�น

การประเมิ​ินพลั​ังงานที่​่�ใช้​้ไปต่​่อวั​ัน

เราสามารถคำำ � นวณพลั​ั ง งานที่​่� ร่ ่ า งกายต้​้ อ งใช้​้ ใ นแต่​่ ล ะวั​ั น โดยคำำ � นวณ การเผาผลาญพื้​้�นฐาน ดั​ังนี้​้�

ผู้​้�ชาย ผู้​้�หญิ​ิง

BMR = 10 x น้ำำ��หนั​ัก (กก.) + 6.25 x ส่​่วนสู​ูง (ซม.) – 5 x อายุ​ุ (ปี​ี) + 5

BMR = 10 x น้ำำ�� หนั​ัก (กก.) + 6.25 x ส่​่วนสู​ูง (ซม.) – 5 x อายุ​ุ (ปี​ี) - 161 เราสามารถประเมิ​ินพลั​ั ง งานเฉลี่​่� ย ที่ �่ ใ ช้​้ ต่ ่ อ วั​ั น ได้​้ โดยคู​ูณค่​่ า BMR ด้​้วยปั​ัจจั​ัยหรื​ือแฟคเตอร์​์ ดั​ังต่​่อไปนี้​้� • คนที่​่�เคลื่​่�อนไหวร่​่างกายน้​้อย นั่​่�งเป็​็นส่​่วนใหญ่​่ คู​ูณด้​้วย factor 1.2 • คนที่​่�เคลื่​่�อนไหวร่​่างกายปานกลาง เช่​่น เดิ​ินเป็​็นส่​่วนใหญ่​่ระหว่​่างวั​ัน คู​ูณด้​้วย factor 1.4 JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND

52-57_Strategic R&D_tosporn.indd 53

53

22/5/2563 BE 17:12


STRATEGIC R&D • คนที่​่�เคลื่​่�อนไหวร่​่างกายบ่​่อย เช่​่น เดิ​ินเร็​็ว สลั​ับกั​ับกิ​ิจกรรมออกแรง คู​ูณด้​้วย factor 1.6-1.9 ผลลั​ัพธ์​์ที่​่ไ� ด้​้เป็​็นค่​่าประเมิ​ินพลั​ังงานพื้​้�นฐานต่​่อวั​ัน ถ้​้ามี​ีการออกกำำ�ลั​ังกายเพิ่​่�มขึ้น�้ ก็​็รวมพลั​ังงาน จากการออกกำำ�ลั​ังร่​่วมด้​้วยเป็​็นพลั​ังงานที่​่�ใช้​้ไปต่​่อวั​ัน พลั​ังงานขาเข้​้า คื​ือ พลั​ังงานที่​่ไ� ด้​้รับั ต่​่อวั​ัน ได้​้จากอาหารซึ่​่�งสารอาหารที่​่�ได้​้รับั จากอาหาร แบ่​่งเป็​็น แมคโครนิ​ิวเทรี​ียนท์​์ เช่​่น คาร์​์โบไฮเดรต ไขมั​ัน และโปรตี​ีน ส่​่วนไมโครนิ​ิวเทรี​ียนท์​์ คื​ือ วิ​ิตามิ​ิน และเกลื​ือแร่​่ คาร์​์โบไฮเดรต: มี​ีทั้​้ง� ประเภทเชิ​ิงเดี่​่ย� ว เช่​่น น้ำำ�ต � าลโมเลกุ​ุลเดี่​่ย� ว โมเลกุ​ุลคู่​่� และประเภทเชิ​ิงซ้​้อน เช่​่น แป้​้ง และใยอาหาร คาร์​์โบไฮเดรตเป็​็นสารอาหารที่​่�ให้​้พลั​ังงาน ร่​่างกายต้​้องการคาร์​์โบไฮเดรต อย่​่างน้​้อยวั​ันละ 130-150 กรั​ัม เพื่​่�อคงสภาพการทำำ�งานของอวั​ัยวะต่​่างๆ โดยเฉพาะเพื่​่�อการทำำ�งาน ของสมองที่​่�ไม่​่สามารถใช้​้พลั​ังงานจากสารอาหารอื่​่�นได้​้ในสภาวะปกติ​ิ ส่​่วนคาร์​์โบไฮเดรตที่​่�เหลื​ือใช้​้ ร่​่างกายจะเปลี่​่�ยนเป็​็นไขมั​ันสะสมไว้​้ ส่​่วนใยอาหารจั​ัดอยู่​่�ในประเภทคาร์​์โบไฮเดรต ช่​่วยทำำ�ให้​้ อิ่​่�มเร็​็วขึ้​้�น ชะลอการดู​ูดซึ​ึมน้ำำ��ตาลและคอเลสเทอรอล ลดความเสี่​่�ยงต่​่อภาวะไขมั​ันในเลื​ือดสู​ูง การเลื​ือกประเภทอาหารคาร์​์โบไฮเดรตเพื่​่�อสุ​ุขภาพควรพิ​ิจารณาที่​่�ค่​่า Glycemic index หรื​ือ GI ของอาหารนั้​้�นๆ อาหารที่​่�มี​ีค่​่า GI สู​ูง เช่​่น น้ำำ��ตาล น้ำำ��เชื่​่�อม จะเพิ่​่�มน้ำำ��ตาลในเลื​ือดได้​้เร็​็ว ฮอร์​์โมน อิ​ินซู​ูลินิ จะออกมาดึ​ึงน้ำำ�ต � าลในเลื​ือดเข้​้าสู่​่�เซลล์​์เพื่​่�อนำำ�ไปใช้​้เป็​็นพลั​ังงานได้​้เร็​็ว ทำำ�ให้​้น้ำ�ต �ำ าลในเลื​ือด หมดไปเร็​็ว เราจะเกิ​ิดภาวะโหยน้ำำ��ตาลอยากกิ​ินของหวานเรื่​่�อยๆ ซึ่​่�งเมื่​่�อบริ​ิโภคคาร์​์โบไฮเดรต มากเกิ​ินก็​็จะเกิ​ิดการสะสมเป็​็นไขมั​ันทำำ�ให้​้เกิ​ิดภาวะอ้​้วน ส่​่วนอาหารที่​่�มี​ีค่​่า GI ต่ำำ�� เช่​่น ข้​้าวกล้​้อง แป้​้งโฮลวี​ีท จะค่​่อยๆ ปลดปล่​่อยน้ำำ��ตาลในกระแสเลื​ือด ทำำ�ให้​้กระแสเลื​ือดมี​ีระดั​ับน้ำำ��ตาลที่​่�สม่ำำ��เสมอ เราจึ​ึงรู้​้�สึ​ึกมี​ีพลั​ังอยู่​่�ตลอดเวลา ไม่​่หิ​ิวง่​่าย หรื​ือโหยอยากกิ​ินของหวานบ่​่อยๆ เป็​็นการป้​้องกั​ันการกิ​ิน คาร์​์โบไฮเดรตเกิ​ินความต้​้องการของร่​่างกาย โปรตี​ีน: ร่​่างกายไม่​่สามารถเก็​็บสะสมโปรตี​ีนไว้​้ได้​้ เราจึ​ึงจำำ�เป็​็นต้​้องได้​้รั​ับอาหารโปรตี​ีนทุ​ุกวั​ัน ในผู้​้�ใหญ่​่ที่​่มี� สุี ขุ ภาพดี​ี ความต้​้องการโปรตี​ีนอยู่​่�ที่​่� ประมาณ 0.8-1 กรั​ัมต่​่อน้ำำ�� หนั​ักตัวั 1 กิ​ิโลกรั​ัมต่​่อวั​ัน คุ​ุณภาพของโปรตี​ีนขึ้​้�นกั​ับชนิ​ิดและปริ​ิมาณกรดอะมิ​ิโนจำำ�เป็​็น และความสามารถของร่​่างกายใน การย่​่อยโปรตี​ีนนั้​้�นๆ ยกตั​ัวอย่​่างโปรตี​ีนจากสั​ัตว์​์ เช่​่น ไข่​่ มี​ีกรดอะมิ​ิโนจำำ�เป็​็นครบ และมี​ีค่​่าความ สามารถในการย่​่อย (Protein Digestibility Corrected Amino Acid Score; PDCAAS) เท่​่ากั​ับ 1 คื​ือ ร่​่างกายนำำ�ไปใช้​้ได้​้หมด 100% ส่​่วนเนื้​้�อสั​ัตว์​์ เนื้​้�อปลามี​ีค่​่า PDCAAS ประมาณ 0.82-0.92 ไขมั​ัน: เป็​็นแหล่​่งพลั​ังงานที่​่�สำำ�คั​ัญที่​่�ได้​้จากอาหาร ไขมั​ันมี​ีความสำำ�คั​ัญต่​่อการดู​ูดซึ​ึมวิ​ิตามิ​ินที่​่� ละลายได้​้ในไขมั​ัน และร่​่างกายต้​้องการกรดไขมั​ันที่​่�จำำ�เป็​็นซึ่​่�งต้​้องได้​้จากอาหารเท่​่านั้​้�น ปริ​ิมาณที่​่� แนะนำำ�ไม่​่ควรเกิ​ินร้​้อยละ 30 ของพลั​ังงานทั้​้�งหมดที่​่�ร่​่างกายต้​้องการในแต่​่ละวั​ัน • พลั​ังงานที่​่ไ� ด้​้รับั มากกว่​่า พลั​ังงานที่​่ใ� ช้​้ พลั​ังงานเกิ​ินดุ​ุล น้ำำ�� หนั​ักตัวั เพิ่​่�มขึ้น�้ จากพลั​ังงานส่​่วนเกิ​ิน สะสมเป็​็นไขมั​ันใต้​้ผิ​ิวหนั​ัง • พลั​ังงานที่​่�ได้​้รั​ับ เท่​่ากั​ับ พลั​ังงานที่​่�ใช้​้ พลั​ังงานสมดุ​ุล น้ำำ��หนั​ักคงที่​่� • พลั​ังงานที่​่�ได้​้รั​ับ น้​้อยกว่​่า พลั​ังงานที่​่�ใช้​้ พลั​ังงานขาดดุ​ุล น้ำำ��หนั​ักตั​ัวลดลง ร่​่างกายนำำ�ไขมั​ัน ใต้​้ผิ​ิวหนั​ังออกมาใช้​้เป็​็นพลั​ังงานทดแทน

FOOD FOCUS THAILAND

52-57_Strategic R&D_tosporn.indd 54

ปั​ัจจั​ัยอื่​่�นๆ ที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับการควบคุ​ุมน้ำำ��หนั​ัก

ในการกิ​ิน: มี​ีรายงานการทดลองกั​ับหนู​ูทดลอง 2 กลุ่​่�ม ที่​่�ให้​้อาหารในปริ​ิมาณเท่​่ากั​ันต่​่อวั​ัน แต่​่กลุ่​่�มที่​่� 1 ปล่​่อยให้​้กิ​ินทั้​้�งวั​ัน ไม่​่ควบคุ​ุมเวลาในการกิ​ิน ส่​่วน อี​ีกกลุ่​่�มให้​้กินิ เฉพาะเวลากลางวั​ันเท่​่านั้​้�น ผลปรากฏว่​่า กลุ่​่�มที่​่�ควบคุ​ุมเวลา มี​ีน้ำำ��หนั​ักตั​ัวปกติ​ิ ปริ​ิมาณไขมั​ัน ลดลง จำำ�นวนชั่​่�วโมงในการนอน: คนที่​่�นอนน้​้อยกว่​่า 7-9 ชั่​่�วโมงต่​่อคื​ืน มี​ีความเสี่​่�ยงต่​่อโรคอ้​้วนเพิ่​่�มขึ้​้�น ความเครี​ียด: ทำำ�ให้​้เกิ​ิดการหลั่​่�งฮอร์​์โมนคอร์​์ติ​ิซอล ซึ่​่�งเพิ่​่�มความอยากอาหารหวานและไขมั​ันสู​ูง และ ทำำ�ให้​้เกิ​ิดการสะสมไขมั​ันใต้​้ผิ​ิวหนั​ังมากขึ้​้�น น้ำำ��หนั​ัก เพิ่​่�มขึ้​้�น

สรุ​ุป

เงื่​่อ� นไขในการลดน้ำำ�� หนั​ัก

54

พลั​ังงาน 7,000 กิ​ิโลแคลอรี​ี มี​ีค่​่าเท่​่ากั​ับน้ำำ��หนั​ัก 1 กิ​ิโลกรั​ัม นั่​่�นหมายความว่​่า ถ้​้าพลั​ังงานขาดดุ​ุล คื​ือ ได้​้รั​ับน้​้อยกว่​่าใช้​้ไป 700 กิ​ิโลแคลอรี​ีต่​่อวั​ัน เป็​็นเวลา 10 วั​ัน รวม 7,000 กิ​ิโลแคลอรี​ี น้ำำ��หนั​ักเราจะลดลง 1 กิ​ิโลกรั​ัมในเวลา 10 วั​ัน ในทางกลั​ับกั​ันถ้​้าพลั​ังงานเกิ​ินดุ​ุล ได้​้รั​ับพลั​ังงานมากกว่​่าใช้​้ไป 700 กิ​ิโลแคลอรี​ีต่​่อวั​ัน เป็​็นเวลา 10 วั​ัน รวม 7,000 กิ​ิโลแคลอรี​ี น้ำำ��หนั​ักจะ เพิ่​่�มขึ้​้�น 1 กิ​ิโลกรั​ัม ในเวลา 10 วั​ัน ยกตั​ัวอย่​่างอาหารประเภทไข่​่ เช่​่น ไข่​่ต้​้ม 1 ฟอง ให้​้พลั​ังงาน 75 กิ​ิโลแคลอรี​ี ขณะที่​่�ไข่​่ดาวและไข่​่เจี​ียว ให้​้พลั​ังงาน 150 และ 255 กิ​ิโลแคลอรี​ี ตามลำำ�ดั​ับ มี​ีรายงานว่​่าการเปลี่​่�ยนการบริ​ิโภคจากไข่​่เจี​ียวเป็​็น ไข่​่ต้​้ม 3 ครั้​้�งต่​่อสั​ัปดาห์​์ สามารถทำำ�ให้​้น้ำำ��หนั​ักลดลง 3-4 กิ​ิโลกรั​ัมต่​่อปี​ี หรื​ือการดื่​่�มน้ำ�อั �ำ ดั ลมวั​ันละ 1 กระป๋​๋อง เป็​็นเวลา 1 ปี​ี ทำำ�ให้​้น้ำำ��หนั​ักเพิ่​่�มขึ้​้�น 8-9 กิ​ิโลกรั​ัม

การจั​ั ด การกั​ั บ น้ำำ � � หนั​ั กส่ ่ ว นเกิ​ิ น ควรลดอาหาร ให้​้พลั​ังงาน แป้​้ง และไขมั​ัน กิ​ินอาหารครบทุ​ุกมื้​้�อ แต่​่จำำ�กั​ัดปริ​ิมาณลง ลดแป้​้งขั​ัดขาว น้ำำ��ตาล งดการกิ​ิน เวลากลางคื​ืน ก่​่อนนอน งดอาหารขยะและน้ำำ��อั​ัดลม นอนให้​้ เ พี​ี ย งพอ ไม่​่ เ ครี​ี ย ด เพิ่​่� ม กิ​ิ จ กรรมทางกาย ทำำ�ตั​ัวกระฉั​ับกระเฉง พึ​ึงระลึ​ึกว่​่า…สุ​ุขภาพดี​ีไม่​่มี​ีขาย อยากได้​้ต้​้องทำำ�เอง…

JUN 2020 21/5/2563 BE 19:41


STRATEGIC R&D

Weight Control

& Management Strategies The word “obese” has an offensive ring to it for some people. The 2013 data of the Ministry of Science and Technology (or the current Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation) revealed that one-fifth of the total Thai population suffered from obesity. According to the new statistic in 2019, one-third of Thai citizens is in overweight condition, meaning that there is one obese person for every three Thai nationals. This statistic landed Thailand on the second place in the ASEAN obesity ranking, right after Malaysia.

Overweight and obesity are a risk factor for non-communicable diseases (NCDs) such as, in especial, diabetes, hypertension, dyslipidemia, cardiovascular diseases, and cancer. Found to be correlated with insulin resistance and cardiovascular anomalies, visceral fat can undermine health through chronic illnesses that affect a person’s quality of life and the economy as a whole due to increased healthcare expenditure and disability-adjusted life year (DALY) emanating from premature disability or death.

How Much Is Obese?

According to the World Health Organization’s definition, overweight or obesity is a condition in which the body accumulates an excess amount of fat beyond the standard level and damages health. The following indices are methods to identify overweight conditions: • Body Mass Index (BMI) is a relationship index between the height and weight of a person. The body weight in kilograms is divided by the body height in m2. According to the WHO criteria, the BMI higher than or equal to 25 kg/m2 indicates overweight while the defining point for obesity is at 30 kg/m2 or higher. For Asian population, the baseline of overweight is from 22.9 kg/m2 while that of obesity is at 25 kg/m2 or higher. Identifying obesity through BMI has its own limitations as the total weight takes in every physical factor in a person’s body, including muscles, fats, and bones. In general, the body of a person who exercises regularly or an athlete mainly consists of muscle mass. At the same weight, the muscle size is smaller than that of fat. Therefore, a person with higher BMI due to higher muscle mass will have a

JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND 52-57_Strategic R&D_tosporn.indd 55

55

21/5/2563 BE 19:41


STRATEGIC R&D more toned and healthy-looking shape than his or her inactive counterpart whose main body composition is made up of fat mass. Hence, other indices must be applied in conjunction with the BMI to identify obesity. • Waist circumference can be measured by placing a standard measuring strap around the waist and across the navel. Men’s waist circumference must not exceed 90 cm. while women’s should be 80 cm. or lower. Anything higher than these values may indicate obesity. Alternatively, obesity can also be identified when the abdomen circumference exceeds the body height divided by two. Reportedly, waist circumference tends to increase as one ages, reaching its peak during the age of 45-59 years after which it will shrink in the elderly populace. • If the ratio of the circumference of the waist to that of the hips is higher than 0.9 in men or 0.8 in women, there is a risk for obesity. The measurement of the body composition can optionally be made via a bioelectrical impedance analysis scale, which can detect muscle and fat mass in the body. A fit female should have 21-24% body fat while a healthy male should have 14-17%. The body fat percentage indicating obesity starts at 32% for females and 25% or higher for males. Obesity causes metabolic syndrome, quadruples the risk of developing diabetes, and doubles the risk of cardiovascular diseases.

Where Does the Body Store Fat?

Fat is stored under the skin, in the abdomen, and in the bloodstream. The fat stored in the abdomen is called visceral fat. As the stomach houses many organs related to metabolism, an excess of visceral fat will obstruct such system, thus leading to NCDs. The body composition consists of 2 main parts: fat mass and lean body mass. The latter comprises water, muscles, and mineral mass while the former

includes essential fat and accumulated fat. The essential fat is stored in bones, brain, spinal cord, and internal organs. The accumulated fat is stored subcutaneously and in the abdomen. Fat is an important component for many parts of the body such as cells and tissues. It stores nutrients such as fat-soluble vitamins, protects internal organs, gives energy to muscles, and assists in hormone secretion. Lean body mass, such as muscles, helps maintain a proper level of metabolism, assists in the body’s recovery, stimulates insulin sensitivity, and reduces osteoporosis.

How to Lose Weight?

Weight is correlated with health: the higher proportion of fat mass, the higher chance of illness and death. The same applies to muscle mass: the less muscle mass a person has, the more likely it is for him or her to suffer from diseases or death. Trying to lose fat along with muscle mass can be detrimental to health. Healthy weight loss also needs to focus on muscle mass increment. Hence, along with adherence to healthy dietary regimens, exercising is another important key to sustainable weight management. Obesity or overweight stems from an imbalance between energy intake and expenditure. The energy consumed consists of carbohydrates, proteins, and food-derived fats. The total energy expenditure, on the other hand, encompasses basal metabolic rate (BMR), physical activity, and thermogenesis. BMR takes up around 60-65%, physical activity 25-35%, and thermogenesis 5-10% of the total metabolism. BMR varies per individual, depending on age, skin surface area, gender, and health conditions. A male, for example, has higher BMR than a female, but it will fall as age progresses, spike up during pregnancy, or increase in proportion to additional muscle mass.

Estimation of Total Daily Energy Expenditure

The total daily energy expenditure can be estimated by first figuring out the BMR as per the following formulas:

Male

Female

BMR = 10 x weight (kg.) + 6.25 x height (cm.) – 5 x age (year) + 5

BMR = 10 x weight (kg.) + 6.25 x height (cm.) – 5 x age (year) - 161

To calculate the total daily energy expenditure, multiply the individual’s BMR by an activity factor: 1.2 for a physically inactive person, 1.4 for a moderately active individual engaging in activities such as walking, and 1.6-1.9 for a physically active person doing exercise or brisk walking. The result is an estimated daily energy expenditure. If there are additional physical activities, the energy spent for such purposes should also be calculated. Energy intake is the total energy taken into the body via food consumption. The food-derived nutrients can be divided into macronutrients, such as carbohydrates, fats, and proteins, and micronutrients, such as vitamins and minerals. Carbohydrate: Simple carbohydrates include, for example, monosaccharide and disaccharide sugar while complex carbohydrates are starch and dietary fiber. Our body needs 130-150 grams of energygenerating carbohydrates a day to maintain the normal functions of organs, especially the brain, which cannot use energy from any other nutrient sources in a normal circumstance. Unused carbohydrates are stored in fat

56

FOOD FOCUS THAILAND

52-57_Strategic R&D_tosporn.indd 56

JUN 2020 22/5/2563 BE 17:12


STRATEGIC R&D cells. Fiber is a type of carbohydrate that makes you feel full faster, slows down sugar and cholesterol absorption, and reduces dyslipidemia. The consumption of healthy carbohydrates should be based on the glycemic index (GI) of each food. Foods with higher GI, such as those containing sugar and syrup, quickly elevate the blood sugar levels, and insulin extracts sugar from blood and transfers it to cells faster, thus leading to a sudden drop of blood sugar as well as a craving for more sugary treats. Overconsumption of carbohydrates leads to accumulated fat deposit in the body and obesity. Low GI foods, such as brown rice and whole-wheat flour, slowly release sugar into the bloodstream, thus maintaining a constantly balanced level of blood sugar and making us feel continuously energized. Low GI foods help reduce hunger or craving for sweets and prevent an unnecessary or excessive consumption of carbohydrates. Protein: Since proteins cannot be stored in the body, it is important to consume proteins every day. A healthy adult requires approximately 0.8-1 gram of proteins per 1 kilogram of body weight. The quality of proteins depends on the number and extent of essential amino acids as well as the body’s ability to digest proteins. For example, an egg contains all of the essential amino acids and its protein digestibility corrected amino acid score (PDCAAS) is equal to 1, meaning that, after digestion, it provides per unit of protein 100% of the indispensable amino acids required. The PDCAAS for meat and fish is 0.82-0.92. Fat: Fat is an important food-based source of energy. It is vital for the absorption of fat-soluble vitamins. Our body needs essential fatty acids that can only be acquired from food. The recommended amount of fat should not exceed 30% of the total daily energy intake.

Hours of Sleep: A person who has less than 7-9 hours of sleep a night runs a greater risk of obesity. Stress: Stress induces cortisol secretion, which boosts craving for sweets and highly fatty diet, thus contributing to an elevated level of subcutaneous fat and additional weight.

Summary

Weight management should encompass reduced consumption of energygenerating food, flour, and fat. Skip no meal. Instead, limit the amount of food in each meal. Refined carbohydrates and sugar should be consumed limitedly. Skip night-time or pre-bedtime diets. Avoid junk food or soft drinks. Sleep sufficiently, maintain a stress-free lifestyle, and engage in more physical activities. Bear in mind that good health cannot be bought as it can only be achieved through proper actions.

Conditions for Weight Management

• The energy intake exceeding the energy expenditure results in a positive energy balance, higher weight, and subcutaneous fat deposit. • The energy intake equal to the energy expenditure leads to an optimal energy balance and stable weight. • The energy intake that falls behind the energy expenditure contributes to a negative energy balance, weight loss, and reduction in subcutaneous fat deposit which is used as reserved energy. 7,000 kilocalories of energy are equal to 1 kilogram of weight. If a person maintains a daily energy deficit of 700 kilocalories for 10 days, he or she will lose 7,000 kilocalories in total, an equivalent to 1 kilogram of weight. On the contrary, in case of positive energy balance where a daily energy surplus of 700 kilocalories is achieved for 10 days, the person will gain additional 7,000 kilocalories or 1 kilogram of weight. When it comes to egg dishes, a boiled egg gives 75 kilocalories of energy while a fried egg and an omelette provides 150 and 255 kilocalories, respectively. Reportedly, if a boiled egg is consumed instead of an omelette 3 times a week, an annual weight loss of approximately 3-4 kilograms can be achieved. Additionally, a daily consumption of one canned soft drink for a year will increase the weight by 8-9 kilograms.

Other Factors Concerning Weight Management Consumption Time: In an experiment, two groups of lab rats were fed an equal amount of daily diet, but the first group’s diet hours were not restricted while the other could only eat during the day. The result revealed that the rats of the second group with time-restricted diet had normal weights and less fat.

JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND 52-57_Strategic R&D_tosporn.indd 57

57

21/5/2563 BE 19:41


STAND OUT TECHNOLOGY

Sormac B.V.

sales@sormac.nl

หนึ่​่�งทศวรรษกั​ับ เครื่​่�องหมุ​ุนเหวี่​่�ยงผั​ักสด โดยไม่​่ต้​้องเปลี่​่�ยนชุ​ุดลู​ูกปื​ืน บริ​ิษั​ัท Koninklijke Vezet BV ซึ่​่�งเป็​็นผู้​้�นำำด้​้านการแปรรู​ูปอาหารสดของยุ​ุโรปนิ​ิยมนำำนวั​ัตกรรมและเทคโนโลยี​ีมาใช้​้ เพื่​่อ� มอบการผลิ​ิตที่​่�ดีที่​่ ี สุ� ด ุ ให้​้แก่​่ลู​ูกค้​้า เพราะเทคโนโลยี​ีเหล่​่านั้​้�นเป็​็นมากกว่​่าเป้​้าหมายที่​่�บริ​ิษัท ั ต้​้องก้​้าวไปให้​้ถึงึ เห็​็นได้​้ชั​ัดว่า่ ที​ีมงาน ฝ่​่ายผลิ​ิตของบริ​ิษั​ัทมี​ีส่​่วนเกี่​่�ยวข้​้องกั​ับการนำำนวั​ัตกรรมมาประยุ​ุกต์​์ใช้​้เสมอ

บริ​ิษั​ัท Vezet แปรรู​ูปพื​ืชผลเกษตรหลายประเภท โดยอาศั​ัยสายการผลิ​ิต อั​ั ต โนมั​ั ติ ิ เ ป็​็ น ส่​่ ว นใหญ่​่ แ ละพึ่​่ � ง แรงงานคนให้​้ น้ ้ อ ยที่​่ � สุ ุ ด เครื่​่� อ งจั​ั ก ร 1 แบบใหม่​่ถู​ูกนำำ�เข้​้ามาเป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งของบรรดาสายการแปรรู​ูปเหล่​่านี้​้� และหนึ่​่�งในนั้​้�นก็​็คื​ือ เครื่​่�องหมุ​ุนเหวี่​่�ยงสะเด็​็ดแห้​้งผั​ักสดตั​ัดแต่​่ง2 ที่​่�ดี​ีที่​่�สุ​ุด เครื่​่�องหนึ่​่�งซึ่​่�งทางบริ​ิษั​ัทใช้​้มาเป็​็นเวลากว่​่าสิ​ิบปี​ี

เครื่​่�องหมุ​ุนเหวี่​่�ยงพร้​้อมแนวคิ​ิดอั​ันเป็​็นเอกลั​ักษณ์​์

เครื่​่� อ งหมุ​ุ น เหวี่​่ � ย ง 2 ที่​่ � ถู ู ก ออกแบบด้​้ ว ยแนวคิ​ิ ด แปลกใหม่​่ นี้​้ � ช่ ่ ว ยให้​้ สามารถควบคุ​ุมขั้​้น� ตอนการสะเด็​็ดน้ำำ�� ออกจากผั​ักสลั​ัดอั​ันบอบบางได้​้อย่​่าง มี​ีประสิ​ิ ท ธิ​ิ ภ าพ นอกจากนี้​้� ยั ั ง สามารถใช้​้ กั ั บ ผั​ั ก ตระกู​ู ล ผั​ั ก กาดหอม สมุ​ุนไพร และผั​ักอื่​่น� ๆ ที่​่อ� าจบอบช้ำำ�ง่ � า่ ยได้​้อี​ีกด้​้วย ตั​ัวถั​ังของเครื่​่อ� งหมุ​ุนเหวี่​่ย� ง มี​ีพื้​้�นผิ​ิวด้​้านในที่​่เ� รี​ียบสนิ​ิท ปราศจากแกนหมุ​ุนตรงกลางหรื​ือส่​่วนประกอบ อื่​่�นๆ ที่​่�อาจไปสั​ัมผั​ัสและทำำ�ให้​้ผั​ักได้​้รั​ับความเสี​ียหาย ระบบขั​ับเคลื่​่�อน การหมุ​ุนที่​่�ได้​้รั​ับการจดสิ​ิทธิ​ิบั​ัตรอาศั​ัยตลั​ับลู​ูกปื​ืนระบบแม่​่เหล็​็กเป็​็น 58

FOOD FOCUS THAILAND

58-60_Stand out_Sormac.indd 58

ตั​ัวรองลื่​่�นซึ่​่�งช่​่วยให้​้เครื่​่�องสามารถหมุ​ุนได้​้โดยแทบไม่​่ก่​่อให้​้เกิ​ิดเสี​ียงใดๆ ขณะใช้​้งาน ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์หรื​ือผั​ักที่​่�ต้​้องการสะเด็​็ดน้ำำ��จะถู​ูกส่​่งไปยั​ังตั​ัวถั​ังซึ่​่�งจะหมุ​ุน อย่​่างช้​้าๆ ระบบป้​้อนผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์นี้​้�เน้​้นให้​้ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์เคลื่​่�อนที่​่�น้​้อยที่​่�สุ​ุด โดยอาศั​ัยการจั​ัดเรี​ียงผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ซ้​้อนกั​ันเป็​็นชั้​้�นๆ กระจายเท่​่ากั​ันตลอด พื้​้�นที่​่�รอบวงของถั​ังหมุ​ุนเหวี่​่�ยง เมื่​่�อขั้​้�นตอนการเติ​ิมผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์เสร็​็จสิ้​้�น ตั​ัวถั​ังก็​็เริ่​่�มหมุ​ุนเร็​็วขึ้​้�นตามความเร็​็วที่​่�ถู​ูกตั้​้�งค่​่าไว้​้ก่​่อนหน้​้า ซึ่​่�งจะเป็​็น ความเร็​็วที่​่�เหมาะสมกั​ับประเภทของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์นั้​้�นๆ และจะหมุ​ุนตามเวลา ที่​่�ถู​ูกกำำ�หนดไว้​้ซึ่​่�งก็​็สามารถปรั​ับเปลี่​่�ยนได้​้เช่​่นเดี​ียวกั​ับความเร็​็วการหมุ​ุน เมื่​่�อเสร็​็จขั้​้�นตอนนี้​้�ตั​ัวถั​ังก็​็เริ่​่�มหมุ​ุนช้​้าลงและผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์จะค่​่อยๆ ถู​ูกส่​่ง ไปยั​ังสายพานส่​่งออกอย่​่างนุ่​่�มนวล ในขั้​้� น ตอนนี้​้� ตั​ั ว ถั​ั ง จะหมุ​ุ น ช้​้ า มากและเริ่​่� ม เปิ​ิ ด ใช้​้ ร ะบบมี​ีดลม ความดั​ั น สู​ู ง เพื่​่� อ ทำำ � ความสะอาด และกำำ � จั​ั ด เศษผั​ั ก ออกจากตั​ั ว ถั​ั ง ขณะเดี​ียวกั​ันกระบวนการผลิ​ิตก็​็ยั​ังคงดำำ�เนิ​ินต่​่อไปโดยไม่​่ถู​ูกรบกวน

JUN 2020 22/5/2563 BE 17:45


STAND OUT TECHNOLOGY

จากนั้​้�นสายพานป้​้อนผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ก็​็เริ่​่�มเติ​ิมผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ เข้​้าสู่​่�ตั​ัวถั​ังอี​ีกรอบ โครงสร้​้างที่​่�ไม่​่เหมื​ือนใครของเครื่​่�องหมุ​ุนเหวี่​่�ยง2 นี้​้� ช่​่วยลดความเสี​ียหายต่​่อผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ลง เนื่​่�องจากตั​ัวถั​ัง มี​ี มิ ิ ติ ิ ที่ ่ � ก ว้​้ า งและมี​ี ร ะบบควบคุ​ุ ม และกระจายชั้​้ � น ความหนาของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ ทำำ�ให้​้ใบผั​ักไม่​่กดทั​ับกั​ัน ในขั้​้�นตอนหมุ​ุนเหวี่​่�ยง

หนึ่​่�งทศวรรษแห่​่งการใช้​้งานที่​่�ยั​ังคงดำำ�เนิ​ินต่​่อไป

“แรงที่​่�ถู​ูกปล่​่อยออกมาจากกระบวนการหมุ​ุนเหวี่​่�ยงหนี​ีศู​ูนย์​์ทำำ�ให้​้ตั​ัวเครื่​่�องต้​้องรั​ับแรงกด อย่​่างมาก” Rinus Bakker วิ​ิศวกรโครงการของบริ​ิษั​ัท Vezet กล่​่าว “ดั​ังนั้​้�น มั​ันจึ​ึงเป็​็นเรื่​่�อง ที่​่�น่​่าทึ่​่�งที​ีเดี​ียวที่​่�เราไม่​่ต้​้องเปลี่​่�ยนลู​ูกปื​ืนรองลื่​่�นตลอดช่​่วง 10 ปี​ีแรกของการใช้​้งาน และเรา ยั​ังไม่​่ต้​้องใส่​่น้ำำ��มั​ันหล่​่อลื่​่�นอี​ีกด้​้วย!” การที่​่�เครื่​่�องเหล่​่านี้​้�สามารถหมุ​ุนได้​้โดยใช้​้รองลื่​่�นชุ​ุดเดิ​ิมตลอดระยะเวลานานขนาดนี้​้� แสดงให้​้เห็​็นว่​่าเครื่​่�องหมุ​ุนเหวี่​่�ยงชนิ​ิดนี้​้�1 เป็​็นนวั​ัตกรรมที่​่�น่​่าไว้​้วางใจ และนั่​่�นก็​็เป็​็นสิ่​่�งสำำ�คั​ัญ สำำ�หรั​ับบริ​ิษั​ัทอย่​่าง Vezet ที่​่�ต้​้องพึ่​่�งพาประสิ​ิทธิ​ิภาพของสายการผลิ​ิตที่​่�ประกอบด้​้วย เทคโนโลยี​ีล้ำำ��ยุ​ุคเพื่​่�อให้​้บริ​ิการที่​่�ดี​ีที่​่�สุ​ุดแก่​่ลู​ูกค้​้าของพวกเขา

ข้​้อมู​ูลเพิ่​่�มเติ​ิม/Additional Information 1 เครื่​่�องจั​ักรของ Sormac หลายเครื่​่�องถู​ูกนำำ�มาใช้​้กั​ับ ขั้​้�นตอนแปรรู​ูปผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ของบริ​ิษั​ัท Koninklijke Vezet BV Many of Sormac’s machines are integrated in Koninklijke Vezet BV’s processing lines 2 เครื่​่�องหมุ​ุนเหวี่​่�ยง Sormac SC-940 Sormac centrifuge SC-940 เอกสารอ้​้างอิ​ิง/References Sormac’s Update Newsletter; November 2019 https://www.sormac.eu/en/machines/centrifuge-sc/

JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND 58-60_Stand out_Sormac.indd 59

59

22/5/2563 BE 17:45


STAND OUT TECHNOLOGY

A Decade of Spinning on

The Same Bearings!

Koninklijke Vezet BV, the market leader in Europe in fresh food processing, is a fan of innovation and technology. Not in the sense of a goal to achieve, but as a means of providing their customers with the best possible service. Notably, the production team is expressly involved in any innovations.

Vezet processes a huge variety of produce. This is done on largely automated production lines, with a minimum of manual labour. Innovative machines1 have been integrated in many of these processing lines. Vezet has been using one of the best centrifuges2 for a decade.

One of a Kind Centrifuge with Unique Concept

This revolutionary new centrifuge2 design concept delivers the ultimate control for the drying of delicate salad leaves, standard lettuce varieties, prepared vegetables and delicate herbs. The drum has a completely smooth inner surface without a central axle or other contact parts which could directly damage the product. The patented drive with magnetic bearing support delivers an almost silent operational sequence cycle. The product to be dried is very gently delivered into the drum during its slow revolution sequence. This infeed system ensures the minimal movement of the product as it is layered equally over the whole circumference of the centrifuge drum. On completion of the filling cycle the drum accelerates to the pre-set optimal rotating speed to suit the specific product to be dried, when the timed spin cycle, which is also variable in conjunction with the rotational speed is completed the drum automatically slows down and the product very gently gravitates to the discharge conveyor. During this part of the production cycle the centrifuge drum turns very slowly and activates a

60

FOOD FOCUS THAILAND

58-60_Stand out_Sormac.indd 60

high pressure air knife which cleans all residual particles of leaf out of the drum. The continuous production cycle immediately continues without interruption and the infeed charge conveyor re-fills the drum. The unique construction of the centrifuge2 minimizes product damage because of the spacious drum dimension and the controlled layer thickness of the product which eliminates product pressure during the spin cycle.

A Decade and So On

“The forces released by the centrifuging process create a heavy load on the machine,” says Rinus Bakker, project engineer at Vezet. “So it’s quite remarkable that we didn’t have to replace the bearings for the first ten years. And what’s more, we haven’t even had to lubricate them either!” That these machines can spin using the same bearings for such a long time goes to show just how reliable the innovative centrifuge1 is! And that is vital for companies like Vezet who have to full rely on the performance of their innovative, technically advanced production lines to optimally serve their customers.

JUN 2020 22/5/2563 BE 17:19


59_ad_Food & Hotel.indd 60

22/4/2563 BE 10:01


SOURCE OF ENGINEER

8

กิ​ิตติ​ิคุ​ุณ คชเสนี​ี Kittikoon Gajaseni

Consultant/Author Committee - Thailand Facility Management Association kgajasen@gmail.com

หนทางเพิ่​่ม� ประสิ​ิทธิ​ิภาพ สำำ�หรั​ับธุ​ุรกิจิ อาหารและเครื่​่�องดื่​่�ม ที่​่�ไม่​่ควรมองข้​้าม

อุ​ุตสาหกรรมการผลิ​ิตอาหารและเครื่​่�องดื่​่�มเป็​็นอุ​ุตสาหกรรมที่​่�ต้​้อง พั​ัฒนาอย่​่างต่​่อเนื่​่อ� งเพื่​่อ� ให้​้ทัน ั ต่​่อความต้​้องการของลู​ูกค้​้าที่​่เ� ปลี่​่ย� นแปลง ไปตามกาลเวลา นอกจากนี้​้� การเพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพในกระบวนการผลิ​ิต ปั​ัจจุ​ุบั​ัน และการปรั​ับปรุ​ุงตั​ัวผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์เองก็​็มี​ีส่​่วนสำำคั​ัญไม่​่น้​้อยที่​่�มี​ีผลกระทบต่​่อภาวะการสู​ูญเสี​ียและค่​่าใช้​้จ่​่ายที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�น บทความนี้​้�ได้​้รวบรวมแสดงให้​้เห็​็นถึ​ึงแนวคิ​ิด 8 หนทางที่​่อ� าจเป็​็นโอกาสในการลดความสู​ูญเสี​ีย ลดค่​่าใช้​้จ่​่าย และเพิ่​่�มศั​ักยภาพ การใช้​้ทรั​ัพยากรให้​้กั​ับธุ​ุรกิ​ิจอาหารและเครื่​่�องดื่​่�มได้​้

1

การเพิม่ อายุการเก็บรักษาของสินค้า อายุการเก็บรักษาของสินค้า

เป็​็นหั​ัวใจอั​ันดั​ับหนึ่​่�งที่​่�อยู่​่�เบื้​้�องหลั​ังหนทางเพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพในมุ​ุมอื่​่�นๆ การใส่​่ใจในนวั​ัตกรรมเพื่​่�อเพิ่​่ม� อายุ​ุของสิ​ินค้​้าให้​้ยาวนานขึ้​้น� จะช่​่วยเรื่​่อ� ง ค่​่าใช้​้จ่​่ายที่​่�ตามมาได้​้หลายเรื่​่�อง ไม่​่ว่​่าจะเป็​็นเรื่​่�องการผลิ​ิต การจั​ัดเก็​็บ และ การขาย การเพิ่​่�มอายุ​ุสิ​ินค้​้าเป็​็น ROI ที่​่�ดี​ีเยี่​่�ยมที่​่�สุ​ุดที่​่�ต้​้องลงทุ​ุนก่​่อนอย่​่างอื่​่�น เมื่​่�อเม็​็ดเงิ​ินที่​่�ลงทุ​ุนสุ​ุดท้​้ายไปอยู่​่�กั​ับมื​ือผู้​้�บริ​ิโภคด้​้วยตั​ัวสิ​ินค้​้าเอง ไม่​่ใช่​่อยู่​่�กั​ับ เครื่​่�องจั​ักรที่​่�ตั้​้�งนิ่​่�งอยู่​่�กั​ับโรงงานผลิ​ิต การปรั​ับปรุ​ุงอายุ​ุของสิ​ินค้​้าให้​้ยาวนานขึ้​้น� อาจทำำ�ได้​้จากการเปลี่​่ย� นส่​่วนผสม ในสู​ูตร การเปลี่​่ย� นขนาดหรื​ือรู​ูปร่​่างสิ​ินค้​้าให้​้คงรู​ูปได้​้นานขึ้​้น� หรื​ือการเปลี่​่ย� นแปลง โครงสร้​้างภายในอาหารและเครื่​่อ� งดื่​่ม� จากกระบวนการผลิ​ิต เช่​่น การให้​้ความร้​้อน หรื​ือความเย็​็น หรื​ือการผ่​่านกระบวนการทางกล เช่​่น การใช้​้แรงเหวี่​่�ยงเพื่​่�อแยก สารแขวนลอย หรื​ือการใช้​้ ค วามดั​ั น ในการผลิ​ิ ต เครื่​่� อ งดื่​่� ม เพื่​่� อ เปลี่​่� ย นแปลง องค์​์ประกอบภายใน นอกจากนี้​้� การปรั​ับปรุ​ุงอายุ​ุของสิ​ินค้​้าอาจมาจากการเลื​ือก บรรจุ​ุ ภั​ั ณ ฑ์​์ ที่​่� ดี​ี เพื่​่� อ ป้​้ อ งกั​ั น การออกซิ​ิ ไ ดซ์​์ ร ะหว่​่างสิ​ิ น ค้​้ า และอากาศ เช่ ่ น การบรรจุ​ุสิ​ินค้​้าแบบสุ​ุญญากาศ หรื​ือการเติ​ิมก๊​๊าซคาร์​์บอนไดออกไซด์​์แทน อากาศปกติ​ิที่มี​ี่� ออกซิ​ิเจน หรื​ือการใช้​้บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ทึ​ึบแสงเพื่​่�อลดการเสื่​่�อมเสี​ียของ อาหารได้​้

2

การจัดการขนาดบรรจุภัณฑ์ สินค้าอาหารและเครื่องดื่มทั้งหลาย

สุ​ุดท้​้ายต้​้องขายในห้​้างหรื​ือร้​้านค้​้าซึ่​่�งเป็​็นคู่​่�ค้​้าที่​่�สำำ�คั​ัญ และข้​้อจำำ�กั​ัด ของร้​้านค้​้าไม่​่ว่​่าใหญ่​่หรื​ือเล็​็กจะเหมื​ือนกั​ัน คื​ือ ข้​้อจำำ�กัดั ในการวางสิ​ินค้​้า บนชั้​้�นวาง เมื่​่�อความกว้​้างของชั้​้�นสิ​ินค้​้าถู​ูกจั​ัดสรรปั​ันส่​่วนให้​้กั​ับสิ​ินค้​้าอื่​่�นๆ ที่​่�อยู่​่�ในชั้​้�นเดี​ียวกั​ัน ปั​ัจจั​ัยความกว้​้างของสิ​ินค้​้าจึ​ึงโดนจำำ�กั​ัด เราจึ​ึงควรให้​้ความสำำ�คั​ัญกั​ับอี​ีกสองมิ​ิติ​ิของสิ​ินค้​้า นั่​่�นคื​ือความสู​ูงและความหนาของบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ หากสิ​ินค้​้าสามารถเพิ่ม่� ความสู​ูงได้​้เท่​่ากั​ับความสู​ูงของชั้​้น� สิ​ินค้​้า ตั​ัวบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ก็จ็ ะ ลดความหนาลงในปริ​ิมาตรเท่​่าเดิ​ิม นั่​่�นแปลว่​่าจำำ�นวนสิ​ินค้​้าบนชั้​้�นจะวางซ้​้อนกั​ัน ได้​้ ม ากขึ้​้� น เมื่​่� อ สิ​ิ น ค้​้ า มี​ีมากขึ้​้� น ปั​ั ญ หารอบการเติ​ิ ม สิ​ิ น ค้​้ า บนชั้​้� น จะลดลง 62

FOOD FOCUS THAILAND

62-65_Source Engineer.indd 62

และนี่​่�คื​ือการลดค่​่าใช้​้จ่​่ายในการขาย หรื​ือลดการเสี​ียโอกาสในการขายเมื่​่�อ สิ​ินค้​้าหมดบนชั้​้�นก่​่อนการเติ​ิมใหม่​่ การออกแบบให้​้สิ​ินค้​้าสู​ูงเต็​็มพื้​้�นที่​่�ยั​ังก่​่อให้​้เกิ​ิดข้​้อดี​ีอี​ีกอย่​่าง คื​ือ การทำำ�ให้​้ สิ​ินค้​้าสะดุ​ุดตาเพิ่​่�มขึ้​้�น เพราะพื้​้�นที่​่�ผิ​ิวในการโชว์​์หน้​้าสิ​ินค้​้ามี​ีมากขึ้​้�น โอกาสที่​่� คนเห็​็นสิ​ินค้​้าและรายละเอี​ียดต่​่างๆ ก็​็จะง่​่ายขึ้​้�น นอกจากนี้​้� ความหนาของ บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ก็​็เป็​็นเรื่​่�องที่​่�ควรใส่​่ใจ เราจะพบว่​่าขนมขบเคี้​้�ยวที่​่�ใส่​่อากาศเข้​้าไป ในบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์จนเต็​็มและมี​ีความหนามากจะทำำ�ให้​้เกิ​ิดข้​้อจำำ�กั​ัดในการวาง สิ​ินค้​้าบนชั้​้�นได้​้น้​้อยลง ยิ่​่�งไปกว่​่านั้​้�น สิ​ินค้​้าที่​่�มี​ีความหนามากจะทำำ�ให้​้บรรจุ​ุ ลั​ังได้​้น้​้อยลงมาก ผู้​้�ผลิ​ิตสิ​ินค้​้าหลายรายเริ่​่�มใส่​่ใจในการเติ​ิมอากาศเพี​ียง เล็​็กน้​้อยเพื่​่�อทำำ�ให้​้สามารถบรรจุ​ุสินิ ค้​้ามากชิ้​้น� ขึ้​้น� ในลั​ังที่​่มี​ี� ขนาดเดิ​ิม ลองคิ​ิดดู​ูว่​่า ถ้​้าสิ​ินค้​้ามี​ีความหนาลดลงร้​้อยละ 25 ค่​่าใช้​้จ่​่ายในเรื่​่�องลั​ังบรรจุ​ุ ค่​่าขนส่​่ง และค่​่าสถานที่​่จั� ดั เก็​็บ ตลอดจนรอบการเติ​ิมสิ​ินค้​้าจะลดลงไปมากขนาดไหน?

3

การแชร์สายการผลิตของสินค้าต่างชนิดกัน จะดีไหมถ้า

สิ​ิ น ค้​้ า สองชนิ​ิ ด สามารถแชร์​์ ไ ลน์​์ ก ารผลิ​ิ ต กั​ั น ได้​้ โ ดยสมบู​ูรณ์​์ ? การสลั​ับสายการผลิ​ิตจะช่​่วยลดค่​่าใช้​้จ่​่ายและลดการลงทุ​ุนได้​้มากอย่​่าง ที่​่�คาดไม่​่ถึ​ึง ตั​ัวอย่​่างเช่​่น ผู้​้�ผลิ​ิตนมบางรายที่​่�มี​ีทั้​้�งการผลิ​ิตนมและนมเปรี้​้�ยว สามารถแชร์​์สายการผลิ​ิตเดี​ียวกั​ันได้​้โดยการสลั​ับช่ว่ งเวลากั​ัน โดยมี​ีการหยุ​ุดพักั เครื่​่�องจั​ักรเพื่​่�อการทำำ�ความสะอาดก็​็จะทำำ�ให้​้ประหยั​ัดการติ​ิดตั้​้�งสายการผลิ​ิต ได้​้หนึ่​่�งระบบ นอกจากการประหยั​ัดค่​่าเครื่​่�องจั​ักรที่​่�ควรจะเป็​็นสองเท่​่าแล้​้ว ยั​ังประหยั​ัดค่​่าจ้​้างพนั​ักงาน ค่​่าบำำ�รุงุ รั​ักษาเครื่​่อ� ง และค่​่าพลั​ังงาน ที่​่อ� าจมี​ีมู​ูลค่​่า ลดลงไปมาก นอกจากนี้​้�ยั​ังประหยั​ัดพื้�้นที่​่�ที่​่�อาจต้​้องสู​ูญเสี​ียไปในการวาง เครื่​่�องจั​ักรอี​ีกชุ​ุดหนึ่​่�งด้​้วย ซึ่​่�งพื้​้�นที่​่�ที่​่�ได้​้มานี้​้�อาจปรั​ับปรุ​ุงเป็​็นการผลิ​ิตสิ​ินค้​้าอื่​่�น ที่​่�ก่​่อให้​้เกิ​ิดรายได้​้เพิ่​่�มมากขึ้​้�น ทั้​้�งนี้​้� ต้​้องไม่​่ลื​ืมว่​่าเบื้​้�องหลั​ังความสำำ�เร็​็จของ การแชร์​์ไลน์​์การผลิ​ิตนั้​้�นอายุ​ุการเก็​็บรั​ักษาของสิ​ินค้​้าต้​้องยาวนานขึ้​้�น เมื่​่�อมี​ี การแชร์​์ไลน์​์การผลิ​ิต ระยะเวลาการผลิ​ิตเพื่​่�อส่​่งมอบสิ​ินค้​้ากั​ับวั​ันหมดอายุ​ุ ของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ต้​้องไม่​่ถู​ูกลดทอนลง

JUN 2020 21/5/2563 BE 19:52


4

การเพิ่มความเร็วในสายการผลิต

แนวคิ​ิดเรื่​่�องการจั​ัดการความเร็​็วในสายการผลิ​ิตนี้​้�คล้​้ายกั​ับการแชร์​์สายการผลิ​ิต กล่​่าวคื​ือ การใช้​้สายการผลิ​ิตที่​่�เร็​็วขึ้​้�นจะทำำ�ให้​้ลด จำำ�นวนสายการผลิ​ิตเดิ​ิมได้​้ ตั​ัวอย่​่างเช่​่น หากเราเจอ เครื่​่�องจั​ักรรุ่​่�นใหม่​่ที่​่�มี​ีความเร็​็วกว่​่าเครื่​่�องจั​ักรเดิ​ิมถึ​ึง สองเท่​่า นั่​่�นเท่​่ากั​ับว่​่าเราสามารถยุ​ุบสายการผลิ​ิต ไปได้​้หนึ่​่�งสายโดยที่​่�ยั​ังได้​้รั​ับผลผลิ​ิตเท่​่าเดิ​ิม การขจั​ัดสายการผลิ​ิตเก่​่าออกไปนอกจากจะเป็​็นการลงทุ​ุนเพื่​่อ� เพิ่​่�มความเร็​็วแล้​้ว ยั​ังเป็​็น ROI ที่คุ้​้�่� มค่​่าจาก การประหยั​ั ด ค่​่ า จ้​้ า งพนั​ั ก งานควบคุ​ุมเครื่​่� อ งจั​ั ก ร ค่​่าบำำ�รุ​ุงรั​ักษา และค่​่าพลั​ังงานลดลงเป็​็นอย่​่างมาก และแถมยั​ังได้​้พื้​้�นที่​่�ในโรงงานผลิ​ิตกลั​ับคื​ืนมาเพื่​่�อ เปิ​ิดสายการผลิ​ิตสิ​ินค้​้าใหม่​่ที่ก่​่� อ่ ให้​้เกิ​ิดรายได้​้เพิ่​่�มขึ้​้น� หรื​ือแม้​้ไม่​่ได้​้ติดิ ตั้​้ง� สายการผลิ​ิตอะไรเพิ่​่�ม การได้​้พื้​้น� ที่​่� คื​ืนมาสามารถผั​ันเป็​็นพื้​้�นที่​่�ในการจั​ัดเก็​็บสิ​ินค้​้าเพื่​่�อ ตั​ัดค่​่าใช้​้จ่​่ายในการจั​ัดเก็​็บสิ​ินค้​้านอกโรงงานได้​้

SOURCE OF ENGINEER ทุ​ุกๆ ด้​้าน ดั​ังนั้​้�น การเหวี่​่�ยงขึ้​้น� ลงของราคาสิ​ินค้​้าและบริ​ิการจะถู​ูกขจั​ัดออกไป การจั​ัดการคู่​่�ค้​้าในห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทานจึ​ึงเป็​็นหนึ่​่�งมาตรการที่​่�สำำ�คั​ัญในการควบคุ​ุมต้​้นทุ​ุนสิ​ินค้​้าและสามารถจั​ัดการการได้​้มาของ วั​ัตถุ​ุดิ​ิบให้​้เข้​้ามาอย่​่างต่​่อเนื่​่�องได้​้

7

การจัดการด้านโลจิสติกส์ โลจิสติกส์เป็นอีกหนึ่งปัจจยั ที่ส่งผลต่อต้นทุนของสินค้าอาหาร

และเครื่อ่� งดื่​่ม� อย่​่างหลี​ีกเลี่​่ย� งไม่​่ได้​้ ซึ่​่ง� จะรวมไปถึ​ึงการขนส่​่ง กล่​่อง และการจั​ัดเก็​็บในคลั​ังสิ​ินค้​้า ค่​่าใช้​้จ่า่ ยโดยรวมทั้​้�งหมดจะขึ้​้น� อยู่​่�กั​ับปริ​ิมาตรและน้ำำ�หนั � กั ของสิ​ินค้​้า หากพิ​ิจารณาสิ​ินค้​้าอาหาร จะพบว่​่าปั​ัจจั​ัยด้​้านปริ​ิมาตรหี​ีบห่​่อจะส่​่งผลมากกว่​่าน้ำำ��หนั​ัก ดั​ังนั้​้�น การลดความสู​ูญเสี​ียเชิ​ิงปริ​ิมาตรเพื่​่�อ การบรรจุ​ุสิ​ินค้​้าต่​่อการขนส่​่งจึ​ึงเป็​็นสิ่​่�งที่​่�ต้​้องทำำ� หากบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์เล็​็กลงในน้ำำ��หนั​ักที่​่�เท่​่าเดิ​ิม ค่​่าเฉลี่​่�ยของ การขนส่​่งและการจั​ัดเก็​็บก็​็จะลดลง

5

การวางแผนความต้องการสินค้า ตามฤดู​ูกาล การรู้​้�ความต้​้องการสิ​ินค้​้า

ที่​่�มั​ักจะมี​ีพฤติ​ิกรรมตามฤดู​ูกาลนั้​้�นเป็​็นสิ่​่�ง ที่​่�จำำ�เป็​็นเมื่​่�อยอดขายมี​ีพฤติ​ิกรรมซ้ำำ��ๆ ในแต่​่ละปี​ี ความน่​่ า จะเป็​็ น ในความต้​้ อ งการอาจเกิ​ิ ด ขึ้​้� น ใน รู​ูปแบบเดี​ียวกั​ันในปี​ีถัดั ไป เมื่​่อ� เรารู้�ค้ วามต้​้องการที่​่� เหวี่​่�ยงขึ้​้�นลงในช่​่วงเวลาหนึ่​่�งปี​ีจะทำำ�ให้​้เราสามารถ วางแผนการผลิ​ิตถอยหลั​ังกลั​ับมาได้​้อย่​่างแม่​่นยำำ� เพื่​่�อเก็​็บสต๊​๊อกเตรี​ียมไว้​้ขายต่​่อไปได้​้ ความสามารถ ในการวางแผนทำำ�ให้​้เรามี​ีออพชั​ันระหว่​่างการผลิ​ิต เพื่​่อ� เผื่​่อ� สต๊​๊อกไว้​้หรื​ือการลงทุ​ุนเพื่​่อ� ซื้​้อ� เครื่อ่� งจั​ักรใหม่​่ เราจะสามารถคำำ�นวณหาจุ​ุดคุ้​้�มทุ​ุนระหว่​่างสอง ทางเลื​ือกได้​้ ระหว่​่างการยอมจ่​่ายค่​่าโกดั​ังเก็​็บสิ​ินค้​้า และจ่​่ายค่​่าวั​ัตถุ​ุดิ​ิบเร็​็วขึ้​้�น หรื​ือการยอมจ่​่ายค่​่าติ​ิดตั้​้�ง สายการผลิ​ิตใหม่​่ที่​่�ต้​้องคำำ�นวณค่​่าจ้​้างพนั​ักงาน ค่​่าบำำ�รุ​ุงรั​ักษา ค่​่าเสื่​่�อมราคาเครื่​่�องจั​ักร ค่​่าดอกเบี้​้�ยเงิ​ินกู้​้� ค่​่าประกั​ันภั​ัย และอื่​่�นๆ ที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�นตามมาด้​้วย

6

การจัดการห่วงโซ่อุปทาน เมื่อมีการ-

จั​ั ด การข้​้ อ มู​ูลความต้​้ อ งการสิ​ิ น ค้​้ า ตาม ฤดู​ูกาล ตามด้​้วยการปรั​ับกำำ�ลั​ังการผลิ​ิตให้​้ เหมาะสมแล้​้ว ยั​ังต้​้องทำำ�ควบคู่​่�ไปกั​ับการควบคุ​ุม ปั​ัจจั​ัยการผลิ​ิตด้​้านอื่​่�นๆ เช่​่น การคุ​ุมปริ​ิมาณและ ราคาวั​ัตถุ​ุดิ​ิบในแต่​่ละช่​่วงฤดู​ูกาล รวมทั้​้�งการวางแผน พื้​้�นที่​่�โกดั​ังสิ​ินค้​้าที่​่�ต้​้องถู​ูกจั​ัดเก็​็บ การจั​ัดการห่​่วงโซ่​่อุ​ุปทาน คื​ือ การตกลงกั​ับคู่​่�ค้​้าไว้​้ล่​่วงหน้​้าเพื่​่�อเป็​็น การรั​ับประกั​ันทั้​้�งต่​่อผู้​้�ซื้​้อ� และผู้​้�ขาย (หรื​ือผู้​้ใ� ห้​้บริ​ิการ) ทำำ�ให้​้การกำำ�กั​ับควบคุ​ุมปั​ัจจั​ัยการผลิ​ิตครอบคลุ​ุม JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND 62-65_Source Engineer.indd 63

63

21/5/2563 BE 19:53


SOURCE OF ENGINEER การวางแผนในเรื่​่�องโลจิ​ิสติ​ิกส์​์ก็​็ส่​่งผล ต่​่อเรื่อ�่ งของค่​่าใช้​้จ่า่ ยได้​้ เราอาจจะประหลาดใจ ว่​่ า การขนส่​่ ง ในเวลากลางคื​ืนอาจได้​้ ประสิ​ิทธิ​ิผลมากกว่​่าในเวลากลางวั​ัน เพราะ ความสู​ูญเสี​ียในเรื่​่�องของเวลาและน้ำำ��มั​ัน ที่​่�เกิ​ิดจากปั​ัญหาจราจรมี​ีน้​้อยกว่​่า และอาจมี​ี ผู้​้�ให้​้บริ​ิการขนส่​่งบางรายต้​้องการเพิ่​่�มอั​ัตรา ผลผลิ​ิตของตนจากการวิ่​่ง� รถในรอบกลางคื​ืน นี่​่�จะเป็​็นผลดี​ีกั​ับทั้​้�งสองฝ่​่ายทั้​้�งผู้​้�รั​ับบริ​ิการ และผู้​้�ขนส่​่ง ดั​ังนั้​้�น การปรั​ับเปลี่​่�ยนวิ​ิธี​ีการ ในการขนถ่​่ายสิ​ินค้​้าเข้​้าและออกจากโรงงาน ด้​้วยการปรั​ับกำำ�ลั​ังคนและการเปลี่​่�ยนแปลง ระบบเพี​ี ย งเล็​็ ก น้​้ อ ยอาจจะทำำ � ให้​้ เ กิ​ิ ด ผลตอบแทนในการลดต้​้นทุ​ุนด้​้านโลจิ​ิสติ​ิกส์​์ ที่​่�เป็​็นชิ้​้�นเป็​็นอั​ันก็​็ได้​้

8

การบ�ำรุงรักษาเครื่องจักร เชิ​ิ ง ป้​้ อ งกั​ั น การดู​ู แ ลรั​ั ก ษา

เครื่​่อ� งจั​ักรในสายการผลิ​ิตให้​้ดีเี ป็​็น การป้​้ อ งกั​ั น การหยุ​ุ ดช ะงั​ั ก ของการผลิ​ิ ต การบำำ�รุ​ุงรั​ักษาที่​่�ดี​ีที่​่�เรี​ียกว่​่าการบำำ�รุ​ุงรั​ักษา เชิ​ิงป้​้องกั​ันเหมื​ือนกั​ับการเอารถยนต์​์เข้​้าศู​ูนย์​์ ที่​่�ดี​ีทำำ�การเปลี่​่�ยนอะไหล่​่ ทำำ�ความสะอาด และเติ​ิ ม น้ำำ � �มั ั น หล่​่ อ ลื่​่ � น อย่​่ า งต่​่ อ เนื่​่ � อ ง การสึ​ึกหรอของเครื่​่�องจั​ักรก็​็จะเกิ​ิดขึ้​้�นช้​้าลง เป็​็นการยื​ืดอายุ​ุการใช้​้งานของเครื่​่�องจั​ักรให้​้ ยาวนานขึ้​้�น ทำำ�ให้​้แผนงานในการเปลี่​่�ยน เครื่​่�องจั​ักรถู​ูกยื​ืดระยะออกไปอี​ีก เมื่​่�อแผนการ เปลี่​่ย� นเครื่​่อ� งจั​ักรช้​้าลงก็​็จะเป็​็นผลดี​ีทางด้​้าน การเงิ​ิ น ของบริ​ิ ษั ั ท เพราะค่​่ า การลงทุ​ุ น ค่​่าเสื่​่�อมค่​่าดอกเบี้​้�ย และค่​่าใช้​้จ่​่ายแฝงอื่​่�นๆ ก็​็จะถู​ูกขยั​ับให้​้ยื​ืดเวลาออกไปด้​้วย การปรั​ับกระบวนการผลิ​ิตและการปรั​ับปรุ​ุง ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ในธุ​ุรกิ​ิจอาหารและเครื่​่�องดื่​่�ม ย่​่อมส่​่งผลทางตรงต่​่อค่​่าใช้​้จ่​่าย และการลงทุ​ุนของการผลิ​ิต โดยการยื​ืดอายุ​ุของสิ​ินค้​้า ให้​้ยาวนานขึ้​้�น การออกแบบบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ให้​้ มี​ีขนาดบางลง การผลิ​ิตที่​่�เร็​็วขึ้​้�นหรื​ือแชร์​์ ไลน์​์การผลิ​ิตกั​ันได้​้มากขึ้​้�นนั้​้�นจะส่​่งผลให้​้ ต้​้นทุ​ุนการผลิ​ิตและโลจิ​ิสติ​ิกส์​์ลดลง และนั่​่น� เป็​็นวิ​ิธี​ีที่​่�ทำำ�ให้​้บริ​ิษั​ัทมี​ีกำำ�ไรเพิ่​่�มขึ้​้�นทั้​้�งๆ ที่​่� ยอดขายยั​ังเท่​่าเดิ​ิม การทบทวนประสิ​ิทธิ​ิภาพ ในการผลิ​ิ ต และการปรั​ั บ ปรุ​ุ ง ผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ ใน 8 แนวทางข้​้างต้​้นจึ​ึงเป็​็นเรื่​่�องที่​่�มิ​ิอาจ มองข้​้ามได้​้ 64

FOOD FOCUS THAILAND

62-65_Source Engineer.indd 64

JUN 2020

8

Optimized Applications Must Not be Overlooked in

Food & Beverage Business

Food & Beverage business by far is the industry which requires a continuous improvement to keep up with the change. The change is the customer’s taste unpredictably from yesterday to tomorrow. Besides, the process improvement and product development are keys to control waste and cost. This article shows 8 ideas to keep idle activity down, lower the cost, and maximize the resource for Food & Beverage business.

1

Prolonging a Shelf Life The product’s shelf life is the top essence behind other success of optimization efforts. The innovation to improve the life of product will later improve several costing aspects such as production, warehouse and logistics, and sales. The effort to increase the shelf life is the best ROI which we shall pay the first attention. As the result, the outcome of this investment will deliver as a better product to customers, rather than an elegant machine sitting in the production plant. The ways to improve a shelf life of product come from several ways. First, it can derive from the change of ingredients. Or, it can come from the idea how to reshape food for a last longer. In addition, the food’s and beverage’s internal structure can be advanced by the preparation process. Those processes can be such as a thermal technique to apply heat & cold, or a physical technique to apply a spiral force to liquid to separate some particle, or to apply a high pressure to change its internal component. Furthermore, the longer shelf life can be from the improvement of packaging to reduce an oxidation. For instance, the food can be packed in vacuum seal. Or it can be added with non-oxygen like carbon dioxide gas. In some case, the opaque or dark package can cut down the degradation of the food.

2

Managing a Package Dimension At last, F&B products will be sold at the retailers either small shop or big store. The same problem F&B products are running into is the limitation of display. When the shelf is also dedicated to other products, the width size is a fixed factor. Thus, we should pay more attention to other dimensions; height and depth. If we can increase the height dimension as of a shelf span, the depth dimension can be thinner to obtain a same volume. As the result, we can stack more products to the shelf at once. The more products on shelf, the less round to refill the product. This leads to a lower cost of sale, or a lower opportunity lost when the product is temporarily running out on shelf before refilling. Another great benefit for a packaging design to fill a shelf height is calling one’s attention. When the display surface is larger, the chance to catch eye attention is greater. A buyer quickly see detail or read label much easier. Besides, the thickness of package should be seriously validated. Many snack bags filled with full of air unfortunately can fill less products on a shelf. More importantly, thicker bags take more space in a carton, so only few numbers of products can fit in. Today, the smart food producers control less air in their products to optimize their logistics cost. Imagine if the product is 25% thinner, how much will carton, logistics, warehouse, and sale costs be saved?

3

Sharing a Production Line Would it be nice if two products can fully share a same

process line? The rotation technique can ultimately optimize the cost and investment of production. For example, some dairy producers can share their kefir and milk in the same packaging line by rotation with a break for sanitation. By doing so, they can save one whole packaging line investment. Additionally, the cost of workers, maintenance, and energy can be vastly saved. Besides, we can save a space in the plant when sharing the machine. This space can turn into something more profitable with other production which later gain more sale to the company. However, the success behind this sharing technique is to firstly apply a prolonging shelf life to product. We got to ensure that the length of days between a delivered and an expiry date are not compromised by time sharing.

4

Speeding a Line Process The concept of gaining a production speed is similar to a time sharing in production line. Saying that the faster process will decrease the number of machines. For instance, when we found a new model with twice faster than an old out-of-date

21/5/2563 BE 19:53


machine, we can cut down the machine by half to achieve the same result. When we get rid of the slow tools by half, we can cut worker cost, maintenance, and energy cost. Also, we will earn back a space in the plant which is up to our choice to reinvest to a new product line. Even we don’t invest to a new product, the extra space can be used as a stockpile area to reduce cost of external storage.

5

Managing a Seasonal Demand Curve Getting to know a

seasonal demand curve is very crucial. When the sale performs a repeat demand curve every year, we will be able to predict the similar pattern in the upcoming year. Thus, projection of market demand can be done precisely. Once we can project the demand, we can scale back to production planning. The visibility of seasonal demand helps us to create two options between investing new production line and running a stockpile to serve a seasonal sale. Thus, we can calculate a sweet spot between those options before making decision. If we choose to run a stockpile in surplus, there will be an extra expense of warehouse and early material costs. However, if we decide to go for a new investment, cost of additional workers, maintenance, depreciation, interest, and insurance costs shall be included in the consideration.

8

SOURCE OF ENGINEER Managing a Preventive Maintenance Program A good maintenance

program of machine in the production line prevents business disruption. A preventive maintenance is similar to taking a car to a service shop. Changing parts, filling with lubricant, and cleaning dirt will slow down a wear and tear cause. That extends machine’s end-of-life longer. Thus, the machine replacement plan can be pushed forwards. When we push back such a big investment, we also improve our financial performance because we are delaying all costs i.e. investment, depreciation, interest, principal, and so on. The optimization in process and a product improvement will help to reform a unit cost structure to F&B business. Prolonging shelf life, redesigning a thinner package, speeding and sharing the production line will all result to lower cost of production and logistics. These strategic applications can magnify the profit, even the sale is unchanged. Do pay attention in the process and product development. Those 8 optimized applications are the missions which must not be overlooked.

6

Managing Supply Chain When we understand our seasonal demand followed by adjusting our production plan, we need to control other production factors as well. Those factors are such an availability of raw material, their pricing, and an availability of storage space. Managing the supply chain is a pre-arrangement between a buyer and a seller (or a service provider) to freeze those variables. Managing supply chain is a control mechanism to deal with an availability and a cost issue in advance.

7

Managing Logistics Logistics is

another inevitable factor affecting F&B business costs. Logistics commonly includes transportation, cartons, and warehouse. The total cost relies on a package volume and weight of product. In food business, the volume of package normally contributes on pricing more than the weight. Thus, the volumetric lost reduction in packaging must be done. Saying that when the packaging is smaller, the unit cost of transportation and warehouse will be lesser. Logistics planning can affect in pricing. We may be surprised to know that the night shift transportation is more effective than the day shift. The reason is the waste of time in traffic and gas consumption during the day time are much higher. Some of logistics providers may offer a good deal on the night shift to optimize their asset use. This is a mutual benefit to us and a service provider. Thus, the alteration of product shipment schedule can play a big portion of saving with a little adjustment in manpower and process.

JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND 62-65_Source Engineer.indd 65

65

21/5/2563 BE 19:53


SURROUNDS Bangkok

Mettler-Toledo (Thailand) Enhances Cooperation in COVID-19 Crisis

เมทเล่​่อร์​์-โทเลโด (ประเทศไทย) ในฐานะผู้​้�ให้​้บริ​ิการด้​้าน เครื่อ�่ งมื​ือและโซลู​ูชั​ันชั้​้น� นำำ�ของวงการอุ​ุตสาหกรรมอาหารและ ห้​้องปฏิ​ิบั​ัติ​ิการ เดิ​ินหน้​้าศึ​ึกษาและปรั​ับเปลี่​่�ยนเพิ่​่�มเติ​ิมกลยุ​ุทธ์​์ การบริ​ิการในยุ​ุค COVID-19 พร้​้อมนำำ�เทคโนโลยี​ีมาใช้​้ช่​่วย อำำ�นวยความสะดวกแก่​่ลู​ูกค้​้า ซึ่​่�งในช่​่วงระยะเวลาหลายเดื​ือน ที่​่�ผ่​่านมา สถานการณ์​์การระบาดของเชื้​้�อ COVID-19 เสมื​ือน เป็​็นจุ​ุดเปลี่​่ย� นสำำ�คัญ ั ในการใช้​้ชี​ีวิ​ิต ดั​ังนั้​้น� การเว้​้นระยะห่​่างทาง สั​ังคม (Social distancing) หรื​ือการทำำ�งานจากที่​่�บ้​้าน (Work From Home) ได้​้ถู​ูกนำำ�มาใช้​้กั​ันอย่​่างแพร่​่หลายเพื่​่�อรณรงค์​์ ให้​้ผู้​้�คนลดการพู​ูดคุ​ุยกั​ันแบบเผชิ​ิญหน้​้า ซึ่​่�งแน่​่นอนว่​่าการเปลี่​่ � ย นแปลงครั้​้� ง นี้​้� ย่ ่ อ มส่​่ ง ผลกระทบในแทบทุ​ุ ก ธุ​ุ รกิ ิ จ ทั้​้�งในประเทศและต่​่างประเทศ เมทเล่​่อร์​์ฯ ได้​้เล็​็งเห็​็นความสำำ�คั​ัญของความปลอดภั​ัยของ ทั้​้�งคู่​่�ค้​้าและบุ​ุคลากรของบริ​ิษั​ัท จึ​ึงตั​ัดสิ​ินใจเดิ​ินหน้​้านำำ�นวั​ัตกรรม เข้​้ามาช่​่วยอำำ�นวยความสะดวกในการบริ​ิการ เพื่​่�อประสิ​ิทธิ​ิภาพ และความราบรื่น�่ ที่​่สู​ู� งสุ​ุด โซลู​ูชั​ันเด่​่นๆ อาทิ​ิ การบริ​ิการ e-Demo ที่​่เ� ป็​็นฟี​ีเจอร์​์ใหม่​่ ถู​ูกเพิ่ม�่ ขึ้​้น� มาบนหน้​้าเว็​็บไซต์​์ mt.com เพื่​่อ� ให้​้ ผู้​้ที่� ่�สนใจในเครื่​่�องมื​ือนั้​้�นๆ สามารถขอรั​ับชมการสาธิ​ิตอุ​ุปกรณ์​์ หรื​ือเครื่​่�องมื​ือที่​่�สนใจผ่​่านช่​่องทางออนไลน์​์ได้​้ฟรี​ี นอกจากนี้​้� ยั​ังมี​ีบริ​ิการ Co-Browse Meeting ที่​่�ช่​่วยให้​้ลู​ูกค้​้าสามารถ ประชุ​ุมกั​ับผู้​้เ� ชี่​่ย� วชาญและรั​ับชม Presentation รวมถึ​ึงคลิ​ิปวี​ีดี​ีโอ ได้​้ผ่​่านโปรแกรมบราวเซอร์​์พื้​้�นฐานที่​่�มี​ีบนเครื่​่�องคอมพิ​ิวเตอร์​์ หรื​ือมื​ือถื​ือได้​้ทั​ันที​ี บริ​ิการ Free Docs via Line Messenger ที่​่� ช่​่ ว ยให้​้ลู​ูกค้​้าสามารถเข้​้าถึ​ึ ง ข้​้อมู​ูลสิ​ิ น ค้​้าให้​้ง่​่ า ยขึ้​้� น ผ่​่ า น แอพพลิ​ิเคชั​ัน LINE ที่​่เ� มทเล่​่อร์​์ฯ ได้​้ทำำ�ระบบดาวน์​์โหลดเอกสาร อั​ัตโนมั​ัติ​ิไว้​้ด้​้วย ซึ่​่�งการรั​ับบริ​ิการนั้​้�นก็​็สามารถทำำ�ได้​้อย่​่าง ง่​่ายดายผ่​่านชุ​ุดคำำ�สั่​่�ง ทั้​้�งนี้​้� ท่​่านที่​่�สนใจสามารถแอดไลน์​์ @MTTH และพิ​ิมพ์​์คำำ�ว่​่า whitepaper เพื่​่�อสั​ัมผั​ัสอาณาจั​ักร คลั​ังความรู้​้�ของ เมทเล่​่อร์​์-โทเลโด ได้​้ทั​ันที​ี และบริ​ิการ More Call Support ที่​่ท� างเมทเล่​่อร์​์ฯ ได้​้เพิ่ม�่ จำำ�นวนคู่​่�สาย เพื่​่อ� รองรั​ับ การติ​ิดต่​่อที่​่�มี​ีจำำ�นวนมากขึ้​้�น เป็​็นต้​้น คุ​ุณอรวรรณ์​์ คงสมบู​ูรณ์​์ ผู้​้จั� ดั การทั่​่�วไป – ประเทศไทย และ เวี​ียดนาม บริ​ิษั​ัท เมทเล่​่อร์​์-โทเลโด (ประเทศไทย) จำำ�กั​ัด กล่​่าวย้ำำ�ว่ � า่ “ที่​่ก� ล่​่าวมาข้​้างต้​้นเป็​็นโซลู​ูชั​ันเพี​ียงส่​่วนหนึ่​่�งเท่​่านั้​้�น ที่​่�ทาง เมทเล่​่อร์​์-โทเลโด ได้​้นำำ�มาช่​่วยอำำ�นวยความสะดวก ให้แ้ ก่​่ลู​ูกค้​้า ซึ่​่ง� นอกจากจะเพิ่​่ม� ความสะดวกสบายแล้​้ว ยั​ังทำำ�ให้​้ คู่​่�ค้​้าและบุ​ุคลากรผู้​้�เกี่​่�ยวข้​้องมั่​่�นใจ พร้​้อมร่​่วมมื​ือกั​ันเดิ​ินหน้​้า มี​ีส่​่วนร่​่วม และเชื่​่�อมต่​่อกั​ันอยู่​่�เสมอได้​้อย่​่างปลอดภั​ัย ทั้​้�งนี้​้� ที​ีมงาน เมทเล่​่อร์​์-โทเลโด (ประเทศไทย) ขอส่​่งความปรารถนา ดี​ีและกำำ �ลั ั ง ใจให้​้ทุ​ุ ก ท่​่ า นและครอบครั​ั ว อั​ั น เป็​็ น ที่​่ � รั ั ก ให้​้ ปลอดภั​ัยจากไวรั​ัส COVID-19 และสามารถกลั​ับมาดำำ�เนิ​ิน กิ​ิจการได้​้ดี​ีดั​ังเดิ​ิม” 66

Mettler-Toledo (Thailand) Ltd., as a leading provider of laboratory solutions for the food and laboratory industry, carried out research and made additional adjustments on its service strategies during the COVID-19 pandemic while applying technologies to optimize customers’ experience. In the past several months, the spread of COVID-19 has become a vital turning point of our lifestyles in which social distancing and work from home policy have been widely adopted as a pandemic countermeasure to minimize physical contact. Inevitably, this change has affected almost all enterprises, either domestically or internationally. As the safety of our business partners and team members is one of our company’s top priorities, Mettler-Toledo (Thailand) has decided to adopt innovative features to optimize our uninterrupted services and ensure the utmost efficiency. Our notable solutions include, among many others, e-Demo service, which is a newly added function on mt.com where users can request an online display of tool demonstration for free, and Co-Browse Meeting, which allows our customers to instantly hold a digital meeting with our experts or view presentations and online clips through a basic PC or mobile browser. Another outstanding feature is Free Docs via Line Messenger, which provides an easy access to the products’ information via LINE application where an automatic document downloader has been readily integrated. The navigation experience feels effortless thanks to a fixed set of commands available for selection on the application. Interested parties can add our line account @MTTH and type in ‘whitepaper’ to instantly explore Mettler-Toledo’s knowledge vault. Additionally, our More Call Support service now has additional phone lines to better handle more incoming calls. Ms.Orawan Kongsomboon, General Manager – Thailand and Vietnam of Mettler-Toledo (Thailand) Ltd., emphasized “These are just some of the solutions that MettlerToledo has rolled out for the convenience of our customers. Along with increased ease, these solutions will also elevate the levels of confidence of our business partners and involved parties, thus reinforcing our continued journey of cooperation while making it possible for us to always stay safely connected. Our teams at Mettler-Toledo (Thailand) send our encouragement and best wishes to everyone and their families. We hope that everybody is staying safe from COVID-19 and can resume their successful ventures very soon.” www.mt.com

FOOD FOCUS THAILAND JUN 2020

66-67_Surround.indd 66

22/5/2563 BE 17:42


SURROUNDS 29 April 2020, Bangkok

Food Focus Virtual Connect and its Alliance Partners Donates to the “Siriraj Soo Pai COVID” Fund

Food Focus Virtual Connect ออนไลน์​์แพลตฟอร์​์มเพื่​่�อวงการ อุ​ุ ต สาหกรรมอาหารและเครื่​่� อ งดื่​่� ม ร่​่ ว มกั​ั บ กลุ่​่�มอุ​ุ ต สาหกรรมอาหาร สภาอุ​ุตสาหกรรมแห่​่งประเทศไทย และ บริ​ิษั​ัท เอ็​็มที​ี ฟู้​้�ดซิ​ิสเทมส์​์ จำำ�กั​ัด ร่​่วมมอบเงิ​ินสมทบทุ​ุน กองทุ​ุน “ศิ​ิริ​ิราชสู้​้�ภั​ัยโควิ​ิด” จำำ�นวน 100,000 บาท จากกิ​ิจกรรมกด Like & Share การถ่​่ายทอดสดสั​ัมภาษณ์​์พิ​ิเศษ “อุ​ุตสาหกรรม อาหารไทย ท่​่ามกลาง COVID-19: ชี้​้ช� ะตา รุ่​่�ง หรื​ือ ร่​่วง” โดยไม่​่หักั ค่​่าใช้​้จ่​่าย นำำ � โดย คุ​ุ ณวิ​ิ ศิ​ิ ษ ฐ์​์ ลิ้​้� ม ลื​ือชา ประธานกลุ่​่�มอุ​ุ ต สาหกรรมอาหาร สภาอุ​ุตสาหกรรมแห่​่งประเทศไทย (ที่​่� 2 จากขวา) คุ​ุณเชษฐ เมฆทวี​ีกู​ูล กรรมการผู้​้จั� ัดการ บริ​ิษั​ัท เอ็​็มที​ี ฟู้​้�ดซิ​ิสเทมส์​์ จำำ�กั​ัด (ที่​่� 2 จากซ้​้าย) และ ที​ีมงาน นิ​ิตยสาร ฟู้​้ด� โฟกั​ัส ไทยแลนด์​์ โดยได้​้รั​ับเกี​ียรติ​ิจาก รองศาสตราจารย์​์ พญ.วนั​ัทปรี​ียา พงษ์​์สามารถ ผู้​้�ช่​่วยคณบดี​ีฝ่​่ายสื่​่�อสารองค์​์กรและกิ​ิจกรรม เพื่​่�อสั​ังคม คณะแพทยศาสตร์​์ศิ​ิริ​ิราชพยาบาล มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล (กลาง) เป็​็นผู้​้รั� ับมอบ ณ ตึ​ึกอำำ�นวยการ โรงพยาบาลศิ​ิริ​ิราช เพื่​่�อการจั​ัดซื้​้�ออุ​ุปกรณ์​์ ทางการแพทย์​์รั​ักษาผู้​้�ป่​่วยโรคโควิ​ิด-19 ของกองทุ​ุน “ศิ​ิริ​ิราชสู้​้�ภั​ัยโควิ​ิด” ต่​่อไป Food Focus Thailand Virtual Connect, in cooperation with Food Processing Industry Club, The Federation of Thai Industries and MT Food Systems Co., Ltd., organized the special interview on “Thailand’s Food Industry VS COVID-19: MAKE or BREAK” via Facebook LIVE platform. The number of like & share on the interview, without deductions, will be donated to the “Siriraj Soo Pai COVID” fund.

Food Processing Industry Club’s Chairman, The Federation of Thai Industries, Mr.Visit Limlurcha (2nd from right), MT Food Systems’s Managing Director, Mr.Chej Mektaveekul (2nd from left), along with the Food Focus Thailand Team presented a 100,000 baht donation to Associate Professor Wanatpreeya Phongsamart, Assistant Dean of Corporate Communication and Social Responsibility, Faculty of Medicine Siriraj Hospital (middle) to support the “Siriraj Soo Pai COVID” fund for purchasing of necessary medical equipment and devices to treat COVID-19 patients. www.foodfocusthailand.com

JUN 2020 FOOD FOCUS THAILAND 66-67_Surround.indd 67

67

22/5/2563 BE 17:41


U SHARE. V CARE.

June Let us know which Service info you interested in, Should you have any enquiries, please inform us the service info code (s) Advertisement B

B

B

B

C

C

C

C

P

P

P

P

Article

Product

Please share us your comment

Please fill in the form in ENGLISH Name-Surname: Position: Company Name: Company Address:

Tel: Fax: E-mail: Website:

We look forward to your feedback and suggestions. editor@foodfocusthailand.com, contact@foodfocusthailand.com +66 2116 5732

Hand Sanitizer Gel 70% Alc. (470 ML) (5 Lucky Winners Only)

and share with us!

The winner of U Share. V Care. in April 2020 Waranya Wongwanich QA

Tana Group International Co., Ltd.

PTT Privilege Card worth THB 500 The gift will be delivered to you by post. Thank you. 68_Usahre_final.indd 68

22/5/2563 BE 17:13


Understanding >> Accessing >> Developing

“From conception to implementation” ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

Powder Materials Handling, Batching and Mixing Process Process and Utility Piping Work Robotic Palletizing Tank and Silo Fabricating Machines and Equipment Installation

Storage

batching

Mixing

conveying

Dhawath Technology Systems Co., Ltd.

2 Moo. 3 Lumlukka, Lumlukka, Pathumthani 12150 Tel: +662 5495508 Fax: +662 5495500 E-mail: Sales@dhawathsystems.co.th www.dhawathsystems.co.th www.facebook.com/dhawathsystems


ad_Senta Pack_June.pdf

1

20/5/2563 BE

14:05

THE BETTER SOLUTION FOR YOUR SUCCESS

SXM3671MW Bone Inspection

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

SX-4074W X-Ray

SD3-30,45,60 Metal Detector

K

AVP-6510W Semi-Automatic Vacuum Packaging Machine

TT-10CWS Automatic Filling & Packaging Machine

YS-6500W Universal Food Slicer

CONTACT US!

19/99 หมู 4 ต.บางแกว อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540 19/99 Moo 4, Bangkaew, Bangplee, Samutprakarn 10540 สำนักงานสาขา: 2/36 หมู 2 ถ.กาญจนวนิช ต.พะวง อ.เมือง จ.สงขลา 90000 Branch Office: 2/36 Moo 2, Tumbol Pavong, Amphur Muang Songkhla, Songkhla 90000


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.