Supp#Seafood_p1_Pro3.ai
1
4/19/14
9:31 PM
R1_Supp#Seafood_p2_Pro3.indd 2
4/21/14 8:37 PM
R1_Supp#Seafood_p3_Pro3.ai
1
4/21/14
8:56 PM
No. 29 MAY 2014
08
Market Overview °“√∫√‘‚¿§ ‘π§â“ —µ«åπÈ”·≈–º≈‘µ¿—≥±å¢Õß‚≈° The World Consumption of Fishery Products By: Dr. Pornsri Laurujisawat Vice President CPF (Thailand) Public Company Limited
16
Fisheries Demand °“√∫√‘‚¿§ª≈“¢Õߪ√–‡∑»„π¿“§æ◊Èπ‡Õ‡™’¬ Asia to Consume over Two-Thirds of the Worldûs Fish by 2030 By: Richard Whitehead Editor William Reed Business Media
20
Fisheries Update ∂“π°“√≥å¢à“« “√¢Õß∏ÿ√°‘®ª√–¡ß¿“¬„πª√–‡∑» Updated Situations of Domestic Fisheries Industry By: Department of Fisheries Ministry of Agriculture and Cooperatives
24
Safety Concern ∂“π°“√≥å°“√‡√’¬°§◊π ‘π§â“ Food Recall Update By: Food Safety News
28
Supplier Listing Suppliers List which Provides Products and Services for Seafood Industry √“¬™◊ËÕ∫√‘…—∑ºŸâº≈‘µ·≈–„Àâ∫√‘°“√ ‘π§â“„π·«¥«ßÕÿµ “À°√√¡Õ“À“√∑–‡≈
30
Publisher Be Media Focus (Thailand) Co., Ltd. 384/38 Ngamwongwan Road Soi 25, Bangkhen, Muang Nonthaburi, Nonthaburi 11000 Thailand T +66 2192 9598 F +66 2116 5732 E contact@foodfocusthailand.com W www.foodfocusthailand.com
Love Your Request Questionnaire and Information Service ·∫∫ Õ∫∂“¡§«“¡§‘¥‡ÀÁπ·≈–∫√‘°“√¥â“π¢âÕ¡Ÿ≈
Circulation Officer
Managing Editor
Business Director
editor@foodfocusthailand.com
p.phenkhae@foodfocusthailand.com
Assistant Editor
Sales Manager
a.arkkrapol@foodfocusthailand.com
kh.siriwan@foodfocusthailand.com
Sureerat Lukbud
Senior Journalist
Advertising Sales Executive
Graphic Designer
ka.pimchanok@foodfocusthailand.com
la.nipaporn@foodfocusthailand.com
graphic@foodfocusthailand.com
Sirintra Boonsumrej
Arkkrapol Anantachote
Pimchanok Kanoklawan
Phenkhae Prawatphatthanakoon Siriwan Khaosaard
Nipaporn Lakornanan
Jitsuda Thongparn Chalinee Chanthanon
Accounting & Finance Manager
Nataya Pongsatayapipat
p.nataya@foodfocusthailand.com
contact@foodfocusthailand.com
Graphic Director graphic@foodfocusthailand.com
Npaphong Kornprasert
ขอเขียนและรูปภาพประกอบทั้งหมดใน Seafood Edition Supplement ตลอดจนมุมมองของผูรวมเสนอบทความซึ่งเปนความคิดเห็นสวนบุคคล สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย หามนำไปเผยแพรซ้ำไมวาบางสวนหรือทั้งหมด เวนแตไดรับความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจาก บริษัท บี มีเดีย โฟกัส (ประเทศไทย) จำกัด เทานั้น The texts and photos in Seafood Edition Supplement as well as personal comments of contributors are all rights reserved. Reproduction of the magazine, in whole or in part, is prohibited without the prior written consent of the publisher. R1_Supp#Seafood_p4_Pro3.indd 4
4/21/14 9:05:13 PM
Supp#Seafood_p5_Pro3.indd 5
4/19/14 1:13:28 AM
May 30, 2014 @ Jupiter Room, Challenger Hall, IMPACT
Seminar Topics 08.00 - 08.45 08.45 - 10.00
ลงทะเบียน / Registration สถานการณ์และทิศทางตลาดของผลิตภัณฑ์กุ้งและทูน่าแปรรูป • ประเด็นและปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมกุ้งและทูน่าไทย • สถานการณ์การผลิตและการค้ากุ้งและทูน่าไทย
Market Overview of Processed Shrimp and Tuna Products • The factors affecting Thai shrimp and tuna industry • Production and trade perspective of Thai shrimp and tuna industry
โดย: ดร. ชนินทร์ ชลิศราพงศ์ อุปนายกและประธานกลุ่มผู้ผลิตปลาทูน่า สมาคมผู้ผลิตอาหารสำเร็จรูป
By: Dr. Chanintr Chalisarapong Chairman, Thai Tuna Processors’ Group Thai Food Processors’ Association (TFPA)
10.00-10.30 Industry Sharing Session By: Chokchai Phongthipphitak โดย: คุณโชคชัย พงษ์ทิพย์พิทักษ์ Field Sales Manager Food & Beverage Division Field Sales Manager Food & Beverage Division Ecolab Ltd. บริษัท เอ็กโคแล็บ จำกัด 10.30-11.15 พักรับประทานอาหารว่าง พร้อมเยี่ยมชมนวัตกรรมสำหรับอุตสาหกรรมอาหารทะเล /
Networking Refreshments
11.15-12.00 แนวปฏิบัติที่ดีด้านการป้องกันและลดมลพิษอุตสาหกรรมอาหารทะเลแปรรูป • มลพิษที่เกิดขึ้นจากโรงงานแปรรูปอาหารทะเล • การวิเคราะห์ปัญหามลพิษ และตัวอย่างการแก้ไข
Best Practices: Pollution Control in Seafood Processing Industry • Pollution in seafood processing factory • Guideline and case study of pollution reduction
อยู่ในระหว่างการเรียนเชิญ (To be Confirmed) 12.00-13.30 พักรับประทานอาหารกลางวัน พร้อมเยี่ยมชมนวัตกรรมสำหรับอุตสาหกรรมอาหารทะเล /
Luncheon
13.30-14.15 การวิเคราะห์สารตกค้างในผลิตภัณฑ์อาหารทะเลและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง • ตัวอย่างปัญหาการปนเปื้อนของสารตกค้างในผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำในตลาดคู่ค้าที่สำคัญ • เทคนิคการวิเคราะห์สารตกค้างปนเปื้อน Residues Analysis in Seafood Products and Related Standards & Regulations
• The residue contamination in seafood products of major trade partner countries • High performance residue analysis
โดย: คุณสุภาน้อย ทรัพย์สินเสริม นักวิชาการผลิตภัณฑ์อาหารชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบตรวจสอบคุณภาพทางเคมี กองตรวจสอบรับรองมาตรฐานคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
R1_Supp#Seafood_p6-7_Pro3.indd 6
By: Supanoi Subsinserm Food Technologist, Senior Professional Level Head of Chemical Laboratory System Development Fish Inspection and Quality Control Division Department of Fisheries, Ministry of Agriculture and Cooperatives
4/21/14 9:08:52 PM
25
SEAFOOD
Edition
R2_Supp#Seafood_p7_Pro3.indd 7
4/23/14 9:47:25 AM
MARKET OVERVIEW โดย: ดร. พรศรี เหลารุจิสวัสดิ์ รองกรรมการผูจัดการ บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) pornsril@yahoo.com
By: Dr. Pornsri Laurujisawat Vice President CPF (Thailand) Public Company Limited pornsril@yahoo.com
The World Consumption of การบริโภคสินคาสัตวน้ำและผลิตภัณฑของโลก ‘π§â“ —μ«åπÈ”·≈–º≈‘μ¿—≥±å„π∑’Ëπ’È À¡“¬∂÷ß —μ«åπÈ”®◊¥·≈–πÈ”‡§Á¡∑—ÈßÀ¡¥ √«¡∂÷ß°“√‡æ“–‡≈’Ȭ߇™‘ßæ“≥‘™¬å·≈–°“√ª√–¡ß∏√√¡™“μ‘ ‘π§â“ —μ«åπÈ”·≈–º≈‘μ¿—≥±å∑—Èߪ√–‡¿∑ ¥·≈–·ª√√Ÿª Fishery products here mean all saltwater and freshwater animals, including fish farming and wildlife fishing, fresh and processed fishery products.
ตารางที่ 1 Table 1
เปรียบเทียบปริมาณการสงออก นำเขา และการบริโภคผลิตภัณฑอาหารประมงของประเทศที่มีบทบาท ในเอเชีย ชวง 20 ปที่ผานมา Compare Quantity of Export, Import, and Consumption of Fishery Product in the Country that Plays a Role in Asia in the Past 20 Years.
ผลิต (พันตัน)/ Production (Thousand Tonnes)
จีน China
เกาหลี South Korea
ญี่ปุน Japan
ไทย Thailand
โลก Worldwide
8
สงออก (พันตัน)/ Export (Thousand Tonnes)
2533/ 1990
2543/ 2000
2552/ 2009
2533/ 1990
2543/ 2000
สินคาสัตวน้ำ และผลิตภัณฑทั้งหมด/ Total Fishery Products กุง/Shrimp ปลา/Fish
1,841
5,223
13,325
370
1,515
120 1,556
90 4,157
230 11,182
117 135
94 1,028
สินคาสัตวน้ำ และผลิตภัณฑทั้งหมด/ Total Fishery Products กุง/Shrimp ปลา/Fish
1,742
971
1,387
456
533
19 1,585
15 866
28 1,312
5 322
1 288
สินคาสัตวน้ำ และผลิตภัณฑทั้งหมด/ Total Fishery Products กุง/Shrimp ปลา/Fish
7,653
5,348
4,059
698
222
2 5,687
0 4,143
n/a 3,485
1 313
1 172
สินคาสัตวน้ำ และผลิตภัณฑทั้งหมด/ Total Fishery Products กุง/Shrimp ปลา/Fish
1,260
2,243
2,635
765
1,162
170 666
281 1,405
420 1,644
116 521
250 753
สินคาสัตวน้ำ และผลิตภัณฑทั้งหมด/ Total Fishery Products กุง/Shrimp ปลา/Fish
30,742 40,927 51,720
15,776 26,338
1,136 1,435 2,132 20,809 28,113 39,339
985 7,316
1,497 15,845
SEAFOOD SUPPLEMENT
R1_Supp#Seafood_p8-15_Pro3.indd 8
4/21/14 9:13:33 PM
Fishery Products การผลิตและการนำเขาสินคาสัตวน้ำและผลิตภัณฑ
Production and Import of Fishery Products
• ญี่ปุน จากตารางที่ 1 พบวาในป 2533 ทั่วโลกมีปริมาณการผลิตสินคาสัตวน้ำ และผลิตภัณฑทั้งหมดประมาณ 30 กวาลานตัน คิดเปนผลิตภัณฑปลามากกว า ร อ ยละ 60 โดยญี่ ปุ น เป น ผู ผ ลิ ต สิ น ค า สั ต ว น้ ำ และ ผลิตภัณฑมากที่สุดของโลก (มีผลผลิตประมาณ 7 ลานกวาตัน) และ ชาวญี่ปุนก็นิยมบริโภคสินคาดังกลาวมากที่สุดในโลกเชนกัน ในป 2533 ชาวญี่ปุนบริโภคสินคาสัตวน้ำและผลิตภัณฑโดยเฉลี่ย 76.3 กิโลกรัม/ คน/ป โดยสินคาในกลุมนี้ไดรับความนิยมมากกวากลุมสินคาเนื้อสัตว ใหญ แตในชวงหลายปที่ผานมาญี่ปุนมีแนวโนมบริโภคสินคาสัตวน้ำ และผลิ ต ภั ณ ฑ ใ นสั ด ส ว นที่ ล ดลง เนื่ อ งจากมี ก ารรั บ วั ฒ นธรรม
นำเขา (พันตัน)/ Import (Thousand Tonnes)
) 2552/ 2009
2533/ 1990
2543/ 2000
2552/ 2009
2,936
365
2,514
3,727
246 2,042
1 129
57 922
43 1,841
619
294
763
1,179
10 410
3 182
31 545
64 781
497
2,460
3,540
2,590
1 420
292 1,425
283 2,125
266 1,509
1,733
514
814
1,586
390 1,172
7 436
22 602
19 1,449
32,540
16,859 26,513 33,686
2,349 21,360
1,091 9,712
1,580 2,239 15,456 22,124
จำนวนประชากร (ลานคน) Population (Million people) 2533/ 1990
1,143
43
123
56
5,321
2543/ 2000
1,267
47
127
62
6,128
2552/ 2009
1,335
49
128
67
6,835
• Japan In 1990, there were more than 30 million tonnes of fishery products globally (Table 1), 60 percent of which were fish products. Japan was the largest fishery products producer in the world with more than 7 million tonnes. Japanese also consumed the largest quantity of fishery products in the world. In 1990, they consumed fishery products as much as 76.3 kilograms/person/year. In the past, it was found that Japanese consumers preferred fishery products to meat products. However, they tend to consume less fishery products as there were a diversity of choices such as curry rice, Tonkatsu fried pork, fried chicken, hamburger, omelet rice, etc. As a result, Japanese fishery products consumption is decreased from 76.3 kg/ person/year to 48.0 kg/person/year in the past 20 years. According to Fisheries and Aquaculture Information and Statistics Service (2014), there were approximately 52 million tonnes of fishery products worldwide in 2009. From this figure, growth rate of fish products is 89 percent (almost approximately
GDP per capita ($/คน/ป)/ ($/person/year) 2533 เทียบกับ 2552 1990 compared to 2009
460 / 2,605
8,769 / 19,489
31,195 / 34,688
1,579 / 2,914
5,739 / 7,283
อัตราบริโภคสินคาสัตวน้ำ และผลิตภัณฑ (ก.ก./คน/ป)/ Consumption of Fishery Products (kilograms/person/year) 2533/ 1990
2543/ 2000
2552/ 2009
1.6
4.9
10.6
0.0 1.4
0.0 3.2
0.0 8.2
36.9
25.5
39.6
0.4 33.7
1.0 23.9
1.7 34.2
76.3
68.3
48.0
2.4 55.1
2.2 48.1
2.1 35.7
17.9
30.6
37.2
1.1 10.3
0.9 20.3
0.7 28.7
6.0
6.7
7.7
0.2 4.4
0.2 4.5
0.3 5.9
ที่มา/Source: Fisheries and Aquaculture Information and Statistics Service, 2014 & Population Division, United Nations, 2013 & DataMarket, Inc, 2014 หมายเหตุ: GDP per capita, PPP (constant 2005), สินคาสัตวน้ำและผลิตภัณฑทั้งน้ำจืดและทะเล รวมการเพาะเลี้ยงเชิงพาณิชยและการประมง Remark: GDP per capita, PPP (constant 2005), fishery products include freshwater and saltwater fishery product, as well as commercial culture and fishing SEAFOOD SUPPLEMENT
R1_Supp#Seafood_p8-15_Pro3.indd 9
9
4/21/14 9:21:56 PM
MARKET OVERVIEW
ตารางที่ 2 Table 2
เปรียบเทียบปริมาณการสงออก นำเขา และการบริโภคผลิตภัณฑอาหารประมงของประเทศที่สำคัญอื่นๆ ชวง 20 ปที่ผานมา Compare Quantity of Export, Import, and Consumption of Fishery Products in other Major Countries in the Past 20 Years
ผลิต (พันตัน)/ Production (Thousand Tonnes)
สงออก (พันตัน)/ Export (Thousand Tonnes)
นำเขา (พันตัน)/ Import (Thousand Tonnes)
2533/ 1990
2543/ 2000
2552/ 2009
2533/ 1990
2543/ 2000
2552/ 2009
2533/ 1990
2543/ 2000
2552/ 2009
สินคาสัตวน้ำ และผลิตภัณฑทั้งหมด/ รัสเซีย Total Fishery Products Russia กุง/Shrimp ปลา/Fish
n/a
3,276
3,983
n/a
1,215
1,426
n/a
554
1,030
n/a n/a
31 3,025
8 3,763
n/a n/a
25 1,122
8 1,342
n/a n/a
8 460
55 879
สินคาสัตวน้ำ และผลิตภัณฑทั้งหมด/ Total Fishery Products กุง/Shrimp ปลา/Fish
812
1,339
2,440
305
490
841
72
171
253
118 677
116 1,187
121 2,161
89 182
105 312
143 512
0 6
2 27
4 159
สหรัฐ สินคาสัตวน้ำ และผลิตภัณฑทั้งหมด/ อเมริกา Total Fishery Products USA กุง/Shrimp ปลา/Fish
2,264
2,174
2,152
1,456
1,182
1,316
1,446
1,826
2,360
174 1,312
172 1,404
151 1,402
20 1,122
17 784
12 963
228 912
346 1,074
553 1,355
นคาสัตวน้ำ และผลิตภัณฑทั้งหมด/ สเปน สิTotal Fishery Products Spain กุง /Shrimp ปลา/Fish
776
1,250
1,188
342
802
1,053
842
1,373
1,576
19 508
19 797
19 785
2 224
12 591
30 772
72 528
115 744
163 933
อินโดนีเซีย Indonesia
จำนวนประชากร (ลานคน)/ Population (Million people) 2533/ 1990
2543/ 2000
2552/ 2009
148
147
144
179
209
237
255
285
310
39
40
46
ที่มา/Source: Fisheries and Aquaculture Information and Statistics Service, 2014 & Population Division, United Nations, 2013 & DataMarket, Inc, 2014 หมายเหตุ: GDP per capita, PPP (constant 2005), สินคาสัตวน้ำและผลิตภัณฑทั้งน้ำจืดและทะเล รวมการเพาะเลี้ยงเชิงพาณิชยและการประมง Remark: GDP per capita, PPP (constant 2005), Fishery products include freshwater and saltwater fishery product, as well as commercial culture and fishing.
การรับประทานเนื้อสัตวอื่นๆ เชน ขาวแกงกะหรี่ หมูทอดทงคัตสึ ไกทอด แฮมเบอรเกอร ขาวผัดหอไข เปนตน ซึ่งไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จึ ง ทำให 20 ป ใ ห ห ลั ง มานี้ ปริ ม าณการบริ โ ภคสิ น ค า สั ต ว น้ ำ และ ผลิตภัณฑตอคนตอปของญี่ปุนลดลงเหลือเพียง 48.0 กิโลกรัม/คน/ป ในป 2552 มีผลผลิตสินคาสัตวน้ำและผลิตภัณฑจากทั่วโลกทั้งหมด ประมาณ 52 ลานตัน โดยผลผลิตปลามีอัตราการเติบโตรอยละ 89 หรือ ประมาณเกือบ 40 ลานตัน และผลผลิตกุงมีอัตราการเติบโตรอยละ 88 หรือประมาณ 2 ลานตัน โดยผูผลิตรายใหญของโลกไดเปลี่ยนมือจาก ญี่ปุนเปนจีน (Fisheries and Aquaculture Information and Statistics Service, 2014) • จีน ในป 2552 จีนเปนประเทศที่เปนทั้งผูผลิต สงออก และนำเขาสินคา สัตวน้ำและผลิตภัณฑมากเปนอันดับ 1 ของโลก โดยมีการผลิตคิดเปน รอยละ 26 การสงออกคิดเปนรอยละ 9 และการนำเขาคิดเปนรอยละ 11 สินคาเดน คือ ปลาและผลิตภัณฑจากปลา สำหรับการผลิตมีอัตราการขยายตัวสูงมาก ยกตัวอยางเชน การผลิตเมื่อป 2533 มีผลผลิตยังไมถึง 2 ลานตัน 10 ปตอมาไดมีผลผลิตเพิ่มขึ้นเปน 5 ลานตัน และในป 2552 10
40 million tonnes in quantity) and growth rate of shrimp products is 88 percent (approximately 2 million tonnes in quantity). However, China has taken over Japan as the world’s largest producer. • China In 2009, China was ranked as the number one producer, exporter, and importer of fishery products in the world with 26 percent of the world production, 9 percent of the exports and 11 percent of the imports. Feature products were fish and fish products. China has expanded its production capacity, for instances, the production was less than 2 million tonnes per year in 1990. Ten years later, the production was increased to 5 million tonnes and was more than 13 million tonnes in 2009 (or increased more than 600 percent in less than 20 years). The steady growth was found due to the high technology of aquatic animal culture and better fishing tools, for instances, high performance fishing boat with onboard fishing equipment, seaweed farming on rafts and allowing mussels to grow on that, bacteria reduction, standard pH, oxygen value, ammonium value and water temperature in shrimp pond, etc. These factors have triggered the dramatic growth of aquatic animal culture and improved the efficiency fishery (FAO Fisheries and Aquaculture Department, 2014). China obviously imported more fishery products. In 1990, China imported approximately 300,000 tonnes of fishery products, and increased to almost 3 million tonnes in 2009. It was found that China imported the fishery products as raw material for export products, i.e. importing fishery products and delivered to food processing
SEAFOOD SUPPLEMENT
R1_Supp#Seafood_p8-15_Pro3.indd 10
4/21/14 9:38:45 PM
GDP per capita ($/คน/ป)/ ($/person/year) 2533 เทียบกับ 2552 1990 compared to 2009
5,692 / 6,055
840 / 1,498
32,334 / 42,853
18,788 / 25,799
อัตราบริโภคสินคาสัตวน้ำ และผลิตภัณฑ (ก.ก./คน/ป)/ Consumption of Fishery Products (kilograms/person/year) 2533/ 1990
2543/ 2000
2552/ 2009
n/a
18
25
n/a n/a
0 16
0 23
3
5
8
0 3
0 4
0 8
9
10
10
2 4
2 6
2 6
33
45
37
2 21
3 24
3 21
manufacturers and export finished products overseas (Manager Online, 2004). This caused China to be an important fishery products exporter in the world. Currently, China exports fishery products approximately 9 percent of global export. • South Korea South Korea also plays a leading role as fishery products importer. In 2009, although South Korea exported approximately 600,000 tonnes of fishery products to global market, it still had to import the fishery products more than 1 million tonnes. Due to higher income and better quality of life, the imports were forecasted to steady increase. However, there was limitation of fishery products production which is restricted resource for fish farming and fisheries. South Korea then had to import the fishery products to meet domestic consumption. Interestingly, South Koreans demand the fishery products based on quality and freshness, and they are willing to pay more for better quality products (Business Research Section 1, Business Research, 2009).
มีผลผลิตเพิ่มขึ้นมากกวา 13 ลานตัน (หรือเพิ่มขึ้นกวารอยละ 600 ใน เวลาไมถึง 20 ป) อยางไรก็ตาม การขยายตัวยังคงเกิดขึ้นตอเนื่องจาก การใชเทคโนโลยีในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำและมีเครื่องมือการทำประมง ที่ ดี ขึ้ น เช น เรื อ ประมงที่ มี ก ำลั ง และความจุ สู ง พร อ มด ว ยอุ ป กรณ จับสัตวน้ำในเรือ การเพาะเลี้ยงสาหรายบนแพ และการเลี้ยงหอยแมลงภู ใหเติบโตบนแพสาหราย การลดแบคทีเรียในน้ำ มาตรฐานคาความเปน กรด-ดาง คาออกซิเจน คาแอมโมเนีย อุณหภูมิน้ำในบอเลี้ยงกุง เปนตน ปจจัยเหลานี้สงผลใหเกิดการขยายตัวของการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำและ การประมงที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นอยางชัดเจน (FAO Fisheries and Aquaculture Department, 2014) อยางไรก็ตาม จีนยังคงนำเขาสินคาสัตวน้ำและผลิตภัณฑเพิ่มมากขึ้น อยางเห็นไดชัด โดยในป 2533 จีนนำเขาสินคาสัตวน้ำและผลิตภัณฑ ประมาณ 3 แสนตัน และเพิ่มขึ้นเปนเกือบ 3 ลานตันในป 2552 การนำเขา ดั ง กล า วมี วั ต ถุ ป ระสงค ห นึ่ ง คื อ เพื่ อ เป น วั ต ถุ ดิ บ ผลิ ต เป น สิ น ค า ส ง ออก กล า วคื อ นำเข า สิ น ค า สั ต ว น้ ำ เพื่ อ ป อ นโรงงานแปรรู ป เป น ผลิตภัณฑสัตวน้ำและสงออกไปขายในตางประเทศ (ผูจัดการออนไลน, 2547) จึงทำใหประเทศจีนมีบทบาทในการสงออกผลิตภัณฑสัตวน้ำ SEAFOOD SUPPLEMENT
R1_Supp#Seafood_p8-15_Pro3.indd 11
11
4/21/14 9:40:13 PM
MARKET OVERVIEW
ที่สำคัญของโลกในปจจุบัน ทั้งนี้ จีนสงออกผลิตภัณฑสัตวน้ำประมาณ รอยละ 9 ของการสงออกโลก • เกาหลีใต สำหรั บ ประเทศที่ แ สดงบทบาทเป น ผู น ำเข า สิ น ค า สั ต ว น้ ำ และ ผลิตภัณฑที่นาสนใจอีกประเทศหนึ่ง คือ เกาหลีใต ถึงแมวาในป 2552 เกาหลีใตจะสงออกสินคาสัตวน้ำและผลิตภัณฑสวนหนึ่งไปยังตลาดโลก ประมาณ 6 แสนตัน แตเกาหลีใตยังคงตองนำเขาสินคาสัตวน้ำและ ผลิตภัณฑจำนวนมากเชนกัน (มากกวา 1 ลานตัน) และคาดวาปริมาณ การนำเขาจะยังเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง สาเหตุหนึ่งมาจากระดับรายได และคุณภาพชีวิตของชาวเกาหลีใตที่เพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม การผลิต สิ น ค า สั ต ว น้ ำ และผลิ ต ภั ณ ฑ ข องเกาหลี ใ ต มี ข อ จำกั ด เนื่ อ งจาก มีทรัพยากรจำกัดตอการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำและการทำการประมง จึงตอง นำเข า สิ น ค า สั ต ว น้ ำ และผลิ ต ภั ณ ฑ เ พื่ อ ให เ พี ย งพอต อ ความต อ งการ บริโภคในประเทศ โดยผูบริโภคเกาหลีใตมีพฤติกรรมการบริโภคสินคา สัตวน้ำและผลิตภัณฑตามคุณภาพและความสดใหมของสินคา และ ยิ น ดี จ า ยในราคาที่ สู ง ขึ้ น หากสิ น ค า นั้ น มี คุ ณ ภาพสู ง (ส ว นวิ จั ย ธุ ร กิ จ 1 ฝายวิจัยธุรกิจ, 2552)
ตารางที่ 3 Table 3
Fishery Products Consumption
In 2009, Japanese was ranked as the most fishery products consumer in the world with 48 kg/person/year, followed by South Koreans who consumed almost 40 kg/person/year, and Thai and Spanish consumed 37 kg/person/year. In China, thanks to the development of transportation and fresh produces storage system which increases the consumption from 1.6 kg/person/year in the past 20 years to approximately 10.6 kg/person/year or 10 times increase. The case study of Chinese showed that most of Chinese preferred to consume fish and fishery products (saltwater and freshwater fish). According to Manager Online (2004), however, it was found that population in the Eastern and coastline cities such as Beijing, Shanghai, Guangzhou, Fujian, Dalian, and Hainan had more consumption demand than inland cities since such group of population had higher average income, and the areas were adjacent to water source, it was then more convenient for transportation. Nevertheless, the transportation and fresh produces storage developments lead the improved quality of aquatic animal products which triggers more fishery products consumption. The quantity of fishery products export, import, and consumption in other major countries in the past 20 years has shown in table 2.
ปริมาณการจับสัตวน้ำตามทวีป (Inland Capture Fisheries) และผูผลิตหลักของโลก Inland capture fisheries production by continent and major producers.
Continent/Country Asia • China • India • Bangladesh • Myanmar Africa Americas Europe Oceania World Total
Variation 2004-2010
2004 (Tonnes)
2010 (Tonnes)
(Tonnes)
(Percentage)
5,376,670 2,097,167 527,290 732,067 454,260 2,332,948 600,942 314,034 17,668 8,642,262
7,696,520 2,289,343 1,468,757 1,119,094 1,002,430 2,567,427 543,428 386,850 16,975 11,211,200
2,319,850 192,176 941,467 387,027 548,170 234,479 -57,514 72,816 -693 2,568,938
43.1 9.2 178.5 52.9 120.7 10.1 -9.6 23.2 -3.9 29.7
ที่มา: The State of World Fisheries and Aquaculture 2012 องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ Source: The State of World Fisheries and Aquaculture 2012, Food and Agriculture Organization of the United Nations.
12
SEAFOOD SUPPLEMENT
Supp#Seafood_p8-15_Pro3.indd 12
4/19/14 10:53:42 AM
การบริโภคสินคาสัตวน้ำและผลิตภัณฑ ในป 2552 ประเทศญี่ปุนบริโภคสินคาสัตวน้ำและ ผลิ ต ภั ณ ฑ ม ากที่ สุ ด โดยชาวญี่ ปุ น บริ โ ภคสิ น ค า สัตวน้ำและผลิตภัณฑในปริมาณ 48 กิโลกรัม/คน/ป รองลงมาคื อ ชาวเกาหลี ใ ต ที่ บ ริ โ ภคเกื อ บ 40 กิโลกรัม/คน/ป ไทยและสเปนคิดเปน 37 กิโลกรัม/ คน/ป สวนชาวจีนบริโภคประมาณ 10.6 กิโลกรัม/ คน/ป เพิ่ ม ขึ้ น จากเมื่ อ ประมาณ 20 ป ก อ น ซึ่ ง บริ โ ภคเพี ย ง 1.6 กิ โ ลกรั ม /คน/ป หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ประมาณ 10 เทาตัว โดยสาเหตุหนึ่งที่ทำใหชาวจีน บริ โ ภคสิ น ค า สั ต ว น้ ำ และผลิ ต ภั ณ ฑ ม ากขึ้ น คื อ การพัฒนาระบบการขนสงและการเก็บรักษาความสดใหม ตลอดจนคุณภาพของสินคาดังกลาวที่ดีขึ้น จากกรณีศึกษาของชาวจีนพบวาในอดีตแมวา ชาวจีนสวนใหญจะนิยมบริโภคปลาและผลิตภัณฑ (ปลาทะเลและปลาน้ำจืด) แตพบวากลุมประชาชน ในเมืองทางตะวันออกและเมืองแถบชายฝงทะเล เชน ปกกิ่ง เซี่ยงไฮ กวางโจว ฝูเจี้ยน ดาเหลียน และไหหนาน มีปริมาณการบริโภคสินคาสัตวน้ำ และผลิตภัณฑสูงกวาเมืองทางตอนในของประเทศ (ผู จั ด การออนไลน , 2547) เนื่ อ งจากประชากร
ตารางที่ 4 Table 4
ผูผลิตสัตวน้ำรายใหญของโลกจากการเพาะเลี้ยง (Aquaculture Producers) ในป 2553 Top Ten World Aquaculture Producers in 2010
World
Tonnes
Percentage (%)
1. China 2. India 3. Vietnam 4. Indonesia 5. Bangladesh 6. Thailand 7. Norway 8. Egypt 9. Myanmar 10. The Philippines Others World Total
36,734,215 4,648,851 2,671,800 2,304,828 1,308,515 1,286,122 1,008,010 919,585 850,697 744,695 7,395,281 59,872,600
61.35 7.76 4.46 3.85 2.19 2.15 1.68 1.54 1.42 1.24 12.35 100
ที่มา: The State of World Fisheries and Aquaculture 2012 องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ Source: The State of World Fisheries and Aquaculture 2012, Food and Agriculture Organization of the United Nations.
D +?L5 59 2@ : :0 E-8D +?L5 >M!+A#
D +?L5 -5 3!9 #-:
Visit us at: Booth No. 3P11
D +?L5 -Ċ: 5@# + č#+8D( ĉ: J D ĉ! Pallet : 9 D =* )= @ )?5
D +?L5 -Ċ: ºÃÔÉÑ· ¿ÍÃq¿ÃŒÍ¹·q ¿Ù‡´à·¤ ¨Ó¡Ñ´ Tel: 0 2758 8445-6 E-mail: somsuda@forefrontfoodtech.com
www.forefrontfoodtech.com SEAFOOD SUPPLEMENT
Supp#_ad Forefront_Pro3.indd 3
R1_Supp#Seafood_p8-15_Pro3.indd 13
13
4/21/14 9:31:56 PM
4/21/14 9:34:06 PM
MARKET OVERVIEW ตารางที่ 5 Table 5
ปริมาณการสงออกสินคาประมงของไทยรายเดือน ป 2553 และ 2554 Quantities of Fishery Products Monthly Export in Thailand in 2010 and 2011
ปริมาณ (ตัน)/ Quantity (Tonnes)
2010 2011 ที่มา: กรมประมง, 2556 Source: Department of Fisheries, 2013 ตารางที่ 6 Table 6
มูลคาการสงออกสินคาประมงของไทยไปประเทศนำเขาหลัก ป 2539-2554 Value of Fishery Products Export from Thailand to Main Importing Countries in 1996-2011
มูลคา (ลานบาท)/ Value (Million Baht)
ที่มา: กรมประมง, 2556 Source: Department of Fisheries, 2013
กลุมดังกลาวมีรายไดเฉลี่ยสูงกวา และพื้นที่แถบ ดังกลาวอยูติดแหลงน้ำจึงทำใหสะดวกตอการขนสง สินคามากกวา อยางไรก็ตาม ปจจุบันมีการพัฒนา ระบบการขนสง การเก็บรักษาความสดใหม และ คุ ณ ภาพของสิ น ค า สั ต ว น้ ำ และผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ดี ขึ้ น ทำใหชาวจีนสวนใหญบริโภคสินคาดังกลาวมากขึ้น อยางเห็นไดชัด นอกจากนี้ ปริ ม าณการผลิ ต ส ง ออก นำเข า และการบริ โ ภคผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหารประมงของ ประเทศที่สำคัญอื่นๆ ทั่วโลก ในชวง 20 ปที่ผานมา ไดแสดงไวดังตารางที่ 2 ปจจุบันมีการผลิตสัตวน้ำทั้งแบบการทำประมง เชิงพาณิชยและการประมงธรรมชาติ โดยป 2553 มี ปริมาณการจับสัตวน้ำตามทวีปตางๆ ดังตารางที่ 3 สำหรั บ ตารางที่ 4 แสดงรายละเอี ย ดการทำ ประมงเชิ ง พาณิ ช ย ใ นภู มิ ภ าคเอเชี ย ของผู ผ ลิ ต 10 อันดับแรก ในป 2553 14
ตารางที่ 7 Table 7
At the present, there are fishery products, from both fish farming and wildlife fishing. The 2010 statistics of fish farming and wildlife fishing in different continents was shown in table 3. Table 4 shows the fish farming statistics with the top 10 producing countries in 2010. Table 5 shows the figure of fishery products production in Thailand, one of the leaders in the global fisheries industry. It was found that, in 2010, approximately 1.3 million tonnes of fishery products were produced, 90 percent of which were from fish farming and approximately 10 percent were from local fishing (Department of Fisheries, 2013). Table 6 shows the trade of fishery products in Thailand in 2011. USA and Japan dominate the main export markets which are 27 percent and 25 percent, respectively. These two countries import all kinds of fishery products, followed by EU (14 percent) and ASEAN and African countries (5 percent). Main export fishery products were shrimp and shrimp products (40 percent), processed tuna (25 percent), and chilled/frozen squid (5 percent). Table 7 shows key export markets of Thai fishery and processed seafood products classified by product items (calculated from the average trade data during 2007-2011. In order to position fishery products as economic goods of Thailand, we should promote production technology, develop food quality and food safety, add value for export, as well as develop efficiency transportation. However, there might be some obstacles affecting the commerce such as trade policy of partner and competitive countries, limited and expensive resources, labor shortage, global economic uncertainty and global warming, etc.
ตลาดสงออกสำคัญของประมงและอาหารทะเลแปรรูปของไทยจำแนกเปนรายสินคา Main Exporting Markets of Fishery Products and Processed Seafood of Thailand Classified into Product Items
Category Fishery and Processed Seafood Products HS0303 Fresh and Frozen Fish HS0304 Fillet Fish and Others HS0306 Shrimp, Crab, and Lobster HS1604 Seasoned Fish HS1605 Seasoned Crab, Shrimp, Shell and Squid
Major Export Markets of Thailand USA (33.23%), Japan (19.75%), Canada (4.92%), Australia (4.49%), UK (3.45%) Japan, China, Spain, Vietnam, Italy Japan, USA, Sweden, France, Norway USA, Japan, Canada, South Korea, UK USA, Japan, Australia, Canada, Egypt USA, Japan, Canada, UK, Germany
ที่มา: ไบรอันเคฟ (ประเทศไทย) ประมวลจาก International Trade Centre ใน กรมประมง, 2556 Source: Bryan Cave (Thailand), gathered from International Trade Centre in Department of Fisheries, 2013 หมายเหตุ: ขอมูลที่ใชในการคำนวณคือ ขอมูลการคาเฉลี่ยในป 2550-2554 Remark: Information used in the calculation is the average trade during 2007-2011.
SEAFOOD SUPPLEMENT
R1_Supp#Seafood_p8-15_Pro3.indd 14
4/21/14 9:50:51 PM
ตารางที่ 5 แสดงขอมูลประเทศไทยซึ่งถือวาเปนหนึ่งในผูนำการผลิต สิ น ค า ประมงของโลก พบว า ป 2553 มี ก ารผลิ ต สิ น ค า สั ต ว น้ ำ และ ผลิตภัณฑประมาณ 1.3 ลานตัน โดยรอยละ 90 เปนผลผลิตจากการทำ ประมงเชิ ง พาณิ ช ย และอี ก ประมาณร อ ยละ 10 เป น การทำประมง พื้นบาน (กรมประมง, 2556) ตารางที่ 6 แสดงขอมูลสำหรับการคาสินคาประมงของไทยป 2554 โดยพบวาตลาดสงออกหลัก คือ สหรัฐอเมริกา คิดเปนสัดสวนรอยละ 27 ญี่ปุน รอยละ 25 ในขณะที่สหรัฐอเมริกาและญี่ปุนเปนผูนำเขาสินคา สัตวน้ำและผลิตภัณฑทุกประเภท รองลงมาคือ สหภาพยุโรป รอยละ 14 กลุมอาเซียนและกลุมแอฟริกา รอยละ 5 โดยสินคาประมงสงออกหลัก ไดแก กุงและผลิตภัณฑ คิดเปนสัดสวนรอยละ 40 ทูนาแปรรูปคิดเปน สัดสวนรอยละ 25 หมึกสดแชเย็นแชแข็งรอยละ 5 และตารางที่ 7 แสดงข อ มู ล ตลาดส ง ออกสำคั ญ ของประมงและ อาหารทะเลแปรรูปของไทยจำแนกเปนรายสินคา คำนวณจากขอมูล การคาเฉลี่ยในป 2550-2554 ในการสงเสริมสินคาสัตวน้ำและผลิตภัณฑใหเปนอีกหนึ่งสินคาเศรษฐกิ จ ของไทย สามารถทำได โ ดยส ง เสริ ม เทคโนโลยี ก ารผลิ ต การพั ฒ นาคุ ณ ภาพและความปลอดภั ย ของสิ น ค า การเพิ่ ม มู ล ค า การสงออก รวมทั้งการพัฒนาระบบการขนสงที่มีคุณภาพ อยางไรก็ตาม อาจพบวามีอุปสรรคบางประการที่กระทบตอการคาสินคาสัตวน้ำและ ผลิตภัณฑ เชน นโยบายและมาตรการทางการคาของประเทศคูคาและ คูแขง ทรัพยากรและวัตถุดิบที่ใชในการผลิตมีจำกัดและมีราคาสูงขึ้น การขาดแคลนแรงงาน ความไมแนนอนของภาวะเศรษฐกิจโลก และ ผลกระทบจากภาวะโลกรอน เปนตน ขอมูลเพิ่มเติม ข อ มู ล จากเอกสารนี้ ไ ด จ ากการศึ ก ษาค น คว า เพื่ อ จั ด เตรี ย มข อ มู ล ในนามของ อาจารยพิเศษ สาขาวิชาเกษตรศาสตรและสหกรณ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในการเดินทางดูงานที่ซีพีเอฟ เวียดนาม เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2557 (นำคณะโดย รองศาสตราจารย ดร. กฤษณา รุงโรจนวณิชย) Additional Information Information in this article derived from literatures review in the occasion of being guest lecturer at School of Agricultural Extension and Cooperatives, Sukhothai Thammathirat Open University during site visiting at CPF Vietnam on January 15, 2014. (Led by Associate Prof. Dr. Kritsana Rungrojvanich)
SEAFOOD SUPPLEMENT
R1_Supp#Seafood_p8-15_Pro3.indd 15
15
4/21/14 9:54:59 PM
FISHERIES DEMAND
โดย/By: Richard Whitehead
Asia to Consume over Two-Thirds of the World’s Fish by 2030
Editor William Reed Business Media richard.whitehead@wrbm.com
®“°°“√√“¬ß“π≈à“ ÿ¥„π çFish to 2030: Prospects For Fisheries And Aquacultureé ‚¥¬§«“¡√à«¡¡◊Õ¢Õß∏𓧓√‚≈° Õߧ尓√Õ“À“√·≈–‡°…μ√·Ààß Àª√–™“™“μ‘ (FAO) ·≈– ∂“∫—π«‘®—¬π‚¬∫“¬Õ“À“√π“π“™“μ‘ (IFPRI) ‰¥â√–∫ÿ∂÷ߢâÕ¡Ÿ≈´÷Ëߧ“¥°“√≥å ‚¥¬∏𓧓√‚≈°«à“ ¿“¬„πªï 2573 °“√∫√‘‚¿§ª≈“¢Õߪ√–‡∑»„π¿“§æ◊Èπ‡Õ‡™’¬®–§‘¥‡ªìπª√–¡“≥√âÕ¬≈– 70 ¢Õß°“√∫√‘‚¿§ª≈“ ∑—Ë«‚≈° ‚¥¬ Õß„π “¡¢Õߪ√‘¡“≥ª≈“∑—ÈßÀ¡¥„π∑—Ë«‚≈°π—Èπ®–‰¥â¡“®“°ø“√塇≈’È¬ß ‡π◊ËÕß®“°°“√ª√–¡ß·∫∫∏√√¡™“μ‘®–‡√‘Ë¡‡¢â“ Ÿà ™à«ß¢“≈ß Õ’°∑—È߬—ß¡’§«“¡μâÕß°“√®“°°≈ÿࡺŸâ∫√‘‚¿§™π™—Èπ°≈“ß∑’ˇ°‘¥„À¡à∑—Ë«‚≈°¡“°¢÷Èπ ‚¥¬‡©æ“–Õ¬à“߬‘Ëß„πª√–‡∑»®’π By 2030, Asian countries will account for 70 percent of global fish consumption, according to a new forecast by the World Bank, which also predicts that fish farms will provide nearly two-thirds of the world’s fish supply. This will be happen as catches from wild-capture fisheries level off and demand from an emerging global middleclass, especially in China, substantially increases, says Fish to 2030: Prospects For Fisheries And Aquaculture, a collaboration between the World Bank, Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO) and the International Food Policy Research Institute (IFPRI).
16
SEAFOOD SUPPLEMENT
Supp#Seafood_p16-18_Pro3.indd 16
4/19/14 1:44:09 AM
อมู ล จากองค์ ก ารอาหารและเกษตรแห่ ง สหประชาชาติ ได้ ร ะบุ ว่ า ปั จ จุ บั น ร้ อ ยละ 38 ของปลาทั้ ง หมดทั่ ว โลกนั้ น เป็ น สิ น ค้ า ส่ ง ออก โดยปลาปริ ม าณกว่ า สองในสามมาจาก ประเทศกำลังพัฒนาในทวีปเอเชียและประเทศอื่นๆ เพื่อนำไปจำหน่าย ในประเทศที่พัฒนาแล้ว
ทันต่อความต้องการในการบริโภค
รายงานดั ง กล่ า วยั ง ได้ ค าดการณ์ ว่ า ภายในปี 2573 ประเทศจี น จะพัฒนาเศรษฐกิจไปได้อย่างรวดเร็ว โดยจีนจะเป็นผู้ป้อนสินค้าปลา ให้ ต ลาดอาหารทะเลของโลกได้ ถึ ง ร้ อ ยละ 38 เลยที เ ดี ย ว ซึ่ ง ขณะนี้ ทั้งประเทศจีนและประเทศอื่นๆ ต่างก็มีนโนบายเพิ่มการลงทุนในการเพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น้ ำ เพื่ อ ตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการของตลาดที่ ก ำลั ง เติบโตอย่างรวดเร็ว จากการศึ ก ษาวิ จั ยพบว่ า ปริ ม าณปลาที่ ไ ด้ จ ากการเพาะเลี้ ย งนั้ น จะคิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 62 ของปริ ม าณปลาทั้ ง หมดทั่ ว โลก โดยปลานิ ล ปลาคาร์ พ และปลาหนั ง จะมี อั ต ราการเติ บ โตเร็ ว ที่ สุ ด ทั้ ง นี้ คาดว่ า ปริมาณการผลิตปลานิลทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นถึงเกือบ 2 เท่า จาก 4.3 ล้านตัน/ปี เป็น 7.3 ล้านตัน/ปี ภายในช่วงระยะเวลาของการศึกษาวิจัยนี้ “การพั ฒ นาอย่ า งรวดเร็ ว ของการเพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น้ ำ นั บ เป็ น ความท้าทาย โดยมีความน่าสนใจในประเด็นต่างๆ เช่น การเปลี่ยนแปลง ทางเทคโนโลยี ” Siwa Msangi จาก สถาบั น วิ จั ย นโยบายอาหาร นานาชาติ กล่าวพร้อมเสริมว่า “หากเปรียบเทียบผลการศึกษาในปีนี้ กับปี 2546 จะพบว่าการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำนั้นมีการเติบโตอย่างแข็งแกร่ง และที่สำคัญเติบโตขึ้นมากกว่าที่เราได้คาดการณ์ไว้เสียอีก”
A
ccording to FAO, at present 38 percent of all the world’s fish is exported, with over two-thirds of these exports coming from developing countries in Asia and elsewhere directed to developed countries.
Keeping Up with Demand
The report predicts that by 2030, China fast developing fish economy will provide 38 percent of the world’s seafood. China and many other nations are increasing their investments in aquaculture to help meet this growing demand. Aquaculture will provide 62 percent of the world’s fish, with the fastest growth in supply likely to come from tilapia, carp, and catfish. Global tilapia production is expected to almost double from 4.3m tonnes to 7.3m tonnes a year over the period of the study. “The fast-moving nature of aquaculture is what made this a particularly challenging sector to model - and at the same time, embodies the most exciting aspect of it in terms of future prospects for transformation and technological change,” said one of the report’s authors, Siwa Msangi, of the International Food Policy Research Institute. “Comparing this study to a similar study we did in 2003, we can see that growth in aquaculture production has been stronger than what we thought.”
ประเด็นเรื่องความยั่งยืน
Juergen Voegele ผู้ อ ำนวยการฝ่ า ยการเกษตรและการบริ ก าร ด้านสิ่งแวดล้อม ธนาคารโลก ได้ออกมาเตือนถึงการวางนโยบายต่างๆ ที่ต้องทำอย่างรอบคอบเป็นพิเศษ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าการบริหารจัดการ ทรัพยากรนั้นเป็นไปอย่างยั่งยืน “การผลิ ต ปลาอย่ า งยั่ ง ยื น เป็ น เรื่ อ งที่ ท้ า ทายเป็ น อย่ า งมาก โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ผลิ ต อย่ า งไรที่ จ ะไม่ ก่ อ กวนและทำลาย ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอย่างอุดมสมบูรณ์ และไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อสิ่งแวดล้อมทางน้ำ” Voegele กล่าวเพิ่มเติม
SEAFOOD SUPPLEMENT
R1_Supp#Seafood_p16-18_Pro3.indd 17
17
4/21/14 9:29:34 PM
FISHERIES DEMAND
“อย า งไรก็ ต าม เรายั ง คงเห็ น การทำประมงที่ ไ ม เ หมาะสม ทั้ ง ใน การประมงแบบธรรมชาติที่จับสัตวน้ำอยางขาดความรับผิดชอบ และ แบบเพาะเลี้ยงที่มีปญหาของโรคระบาดตางๆ สิ่งเหลานี้ลวนแลวแต ก อ ให เกิ ด ผลกระทบอยางมากในการผลิต ดังนั้น หากประเทศต า งๆ มี ก ารบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรที่ ถู ก ต อ งเหมาะสมแล ว ประเทศนั้ น ๆ ก็จะไดรับประโยชนจากสภาพแวดลอมทางการคาที่เปลี่ยนแปลงไป” การประมงและการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำนับเปนสิ่งที่สำคัญ ไมวาจะเปน แหล ง สร า งอาชี พ ให กั บ มนุ ษ ย เป น แหล ง ของอาหารที่ มี คุ ณ ค า ทาง โภชนาการ และเปนโอกาสสำคัญทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่ง สำหรับธุรกิจประมงขนาดเล็กในระดับชุมชน การระบาดของโรคตางๆ ในการเพาะเลี้ ย งสั ต ว น้ ำ ตลอดจนผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลง ของสภาพภู มิ อ ากาศจึ ง เป น ป จ จั ย สำคั ญ ที่ ส ง ผลต อ ธุ ร กิ จ ประมง ขนาดเล็กไดอยางมาก Árni M. Mathiesen ผูชวยเลขาธิการ แผนกประมงและเพาะเลี้ยง สั ต ว น้ ำ องค ก ารอาหารและเกษตรแห ง สหประชาชาติ ย้ ำ ว า การ ปลดล็อกศักยภาพทางดานการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำตางๆ อาจจะทำใหเกิด ผลประโยชนที่ดีในระยะยาวได Mathiesen ยังไดกลาวเพิ่มเติมวา “จากจำนวนประชากรโลกที่มี แนวโนมจะแตะตัวเลข 9 พันลานคนภายในป 2593 โดยเฉพาะในพื้นที่ ที่มีอัตราความไมมั่นคงทางอาหารอยูสูง การเพาะเลี้ยงสัตวน้ำที่มีการ พัฒนาและปฏิบัติอยางถูกตองจะสามารถเอื้อประโยชนตอความมั่นคง ทางอาหารทั่ ว โลก รวมไปถึ ง การเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ได อ ย า ง มีนัยสำคัญ”
ขอมูลเพิ่มเติม บทความนี้เผยแพรใน www.foodnavigator-asia.com/content/view/print/877566 และได รั บ การอนุ ญ าตจากผู เ ขี ย นให เ ผยแพร ซ้ ำ ในสิ่ ง พิ ม พ ฉ บั บ พิ เ ศษ Seafood Supplement ฉบับพฤษภาคม 2557 18
การผลิตปลาอยางยั่งยืนเปนเรื่องที่ ทาทายเปนอยางมาก โดยเฉพาะ อยางยิ่งผลิตอยางไรที่จะไมกอกวน และทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีอยางอุดมสมบูรณ และไมกอใหเกิด ความเสียหายตอสิ่งแวดลอมทางน้ำ Supplying fish sustainably producing it without depleting productive natural resources and without damaging the precious aquatic environment is a huge challenge Juergen Voegele
World Bank’s Director of Agriculture and Environmental Services
Concerns over Sustainability
The World Bank’s Director of Agriculture and Environmental Services, Juergen Voegele, warned that carefully thought-out policies are needed to ensure the resource is sustainably managed. “Supplying fish sustainably - producing it without depleting productive natural resources and without damaging the precious aquatic environment - is a huge challenge,” Voegele said. We continue to see excessive and irresponsible harvesting in capture fisheries and in aquaculture, disease outbreaks among other things, have heavily impacted production. If countries can get their resource management right, they will be well placed to benefit from the changing trade environment.” Fisheries and aquaculture are a vital source of jobs, nutritious food and economic opportunities, especially for small-scale fishing communities. Yet threats from large-scale disease outbreaks in aquaculture and climate change-related impacts could dramatically alter this. Árni M. Mathiesen, Assistant Director-General of FAO’s Fisheries and Aquaculture Department, emphasised that unlocking the potential of aquaculture could have long-lasting and positive benefits. ”With the world’s population predicted to increase to 9 billion people by 2050 - particularly in areas that have high rates of food insecurity - aquaculture, if responsibly developed and practiced, can make a significant contribution to global food security and economic growth,” Mathiesen said.
Additional Information This article has been published in www.foodnavigator-asia.com/content/view/print/ 877566 and is allowed to republish in the Seafood Supplement, issue May 2014.
SEAFOOD SUPPLEMENT
R1_Supp#Seafood_p16-18_Pro3.indd 18
4/21/14 9:58:53 PM
26
July 18, 2014 @ Jupiter Room, Challenger Hall, IMPAC CT
§Ò¹ÊÑ Á Á¹Ò·Õ่ ¢ Ò¹ÃÑ º ¤ÇÒÁμŒ Í §¡ÒÃáÅФÇÒÁμÃÐË¹Ñ ¡ ã¹´Œ Ò ¹ÊØ ¢ ÀÒ¾áÅÐ ÊØ¢ÀÒÇзÕ่´Õ àμ็ÁÍÔ่Á¡Ñº¡ÒÃÍѾഷ¡®ËÁÒÂáÅС®ÃÐàºÕºμ‹Ò§æ á¹Ç·Ò§ ¡ÒÃ¾Ñ ² ¹Ò¼ÅÔ μ ÀÑ ³ ± μÅÍ´¨¹à·Ã¹´ á ÅФÇÒÁ·Œ Ò ·Ò·Õ่ ¨ Ðμͺ⨷ ¼ÙŒºÃÔâÀ¤Í‹ҧμç¨Ø´ Respond to the Health & Wellness demand, the Seminar will be delving into updated regulations, NPD concepts, trends & challenges and so on.
Highlight Topics: • วิเคราะหตลาดผลิตภัณฑอาหารฟงกชันนอล ป 2557 และคาดการณ ป 2558 • อาหารที่มีการเสริมสารอาหาร และสารสำคัญที่นาสนใจ ในปจจุบัน • กฎหมายผลิตภัณฑเสริมอาหารในภาคพื้นอาเซีียน
เสวนายามบาย
ผลิตภัณฑอาหารฟงกชันนอล: ตอบโจทยเทรนดเพื่อสุขภาพ • มุมมองทางการแพทยตอการใชประโยชนจาก ผลิตภัณฑอาหารฟงกชันนอล • มุมมองจากผูประกอบการ • มุมมองดานการสรางมูลคาเพิ่มและนวัตกรรม
Main Sponsor:
T. 0 2192 9598 seminar@foodfocusthailand.com Supp#Seafood_p19_Pro3.indd 19
Co-sponsor:
Highlight Topics:
• Functional F&B Markets 2014 Analysis and 2015 Forecast • Fortified Food Products and Notable Active Food Ingredients • ASEAN Harmonization for Dietary Supplement Regulation Panel Discussion: Functional F & B: Getting Ahead of the Health Trends • Medical View on Functional F & B • Entrepreneur Perspective • Value Added and Innovation Perspective Display:
For more information, please
Organized by:
Official Publications:
contact Ms. Chalinee (Ext. 104) 4/19/14 11:21:16 AM
F I S H E R I E S U P DAT E
เอื้อเฟอขอมูลโดย: กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ Information Courtesy By: Department of Fisheries Ministry of Agriculture and Cooperatives
Updated Situations of Domestic
Fisheries Industry
สถานการณขาวสารของธุรกิจประมงภายในประเทศ ปองกันควบคุมโรคระบาดจากสัตว… ผูนำเขา สงออก สัตวน้ำ/ซากสัตวน้ำ ตองมีสถานกักกันที่ผานการรับรองจากกรมประมง Prevention and Supervision of Aquatic Animal Disease Outbreak… Importers and exporters of aquatic animals and its carcasses require the quarantine stations certified by the Department of Fisheries. ตามที่ ก รมประมงได อ อกประกาศกรมประมงว า ด ว ยเรื่ อ งการกำหนดมาตรฐาน สถานกักกันสัตวน้ำและที่พักซากสัตวน้ำ ลงวันที่ 11 เมษายน 2556 เพื่อใหการควบคุม โรคระบาดจากสัตวน้ำหรือซากสัตวน้ำที่มีการนำเขา สงออก หรือนำผานราชอาณาจักร เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อสรางมาตรฐานใหแกสถานกักกันสัตวน้ำมีชีวิตและที่พัก ซากสัตวน้ำ โดยเนนการจัดการดานสุขอนามัยและความปลอดภัยทางชีวภาพเปนหลัก กอใหเกิดประโยชนตอการควบคุมการแพรระบาดของเชื้อโรคชนิดที่ตองควบคุม ไดแก โรค IMN โรคตัวแดงดวงขาว โรคหัวเหลือง โรคทีเอส หรือทอรา โรค IHHN ที่จะเกิดใน กุงทะเล และโรค KHV ในปลาคารพหรือปลาไน ประกาศฯ ดังกลาวมีขอกำหนดใหผูที่จะยื่นคำขอนำเขา สงออก หรือนำมาพักไวใน ประเทศไทย จะตองผานการรับรองตามมาตรฐานสถานกักกันจากกรมประมง โดยตองมี ระบบการจัดการและสุขลักษณะที่ดี ทั้งสถานที่ เจาหนาที่ อุปกรณ และการปฏิบัติงาน ตั้งแตการสัมผัส การทำความสะอาด การเก็บรักษา การกำจัดของเสียที่ตองสะอาด เรียบรอย เหมาะสม เปนสัดสวน เพื่อปองกันการปนเปอนและไมกอใหเกิดสิ่งปฏิกูล ในสิ่งแวดลอม หากผูประกอบการทานใดยังไมไดรับการรับรองสถานกักกันสัตวน้ำ ตามประกาศใหมจะไมสามารถนำเขา สงออก หรือนำมาพักได ดังนั้น ผูที่จะนำเขา สงออก หรือนำสัตวน้ำมาพักไวในประเทศไทย จะตองดำเนินการ จัดทำสถานกักกันสัตวน้ำหรือที่พักซากสัตวน้ำใหเปนไปตามประกาศฯ โดยสามารถ ขอรั บ คำแนะนำและยื่ น คำร อ งขอการรั บ รองได ที่ ห น ว ยงานในสั ง กั ด กรมประมง (สวนกลาง) สวนควบคุมการคาสัตวน้ำและปจจัยการผลิต โทรศัพท 0 2561 4690 สถาบันวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงกุงทะเล โทรศัพท 0 2562 0552 (สวนภูมิภาค) ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงที่ตั้งอยูในจังหวัดตางๆ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป
In order to efficiently control disease outbreaks of aquatic animals and its carcasses which are imported, exported or preserved through the Kingdom of Thailand, the notification of the Department of Fisheries Re: Standardization of quarantine stations for aquatic animals and its carcasses dated 11 April B.E. 2556 (2013) has been announced. The notification focuses on health and biosecurity management benefiting outbreak control of restricted types pathogens such as IMN disease, White Spot Disease (WSD), Yellow Head Disease (YHD), TS disease or Taura syndrome, IHHN disease in marine shrimp and KHV disease in carp or Cyprinus carpio. The notification requires the applicants for import, export or preservation of the products in Thailand shall be certified by the Department of Fisheries for standard quarantine stations. The quarantine stations have to comply with Good Manufacturing Practices in terms of location, employees, equipments and operation – from exposure, cleaning, storage and waste disposal which must be completely clean, tiny, appropriate and well-organized to prevent contamination and prohibit garbage in the environment. If an entrepreneur has not been certified for the quarantine stations, he or she will not be able to import, export or preserve of such products. Therefore, the importers, exporters or entrepreneurs of aquatic animals need to manage the quarantine stations of aquatic animals and its carcasses to comply with the notification. The instructions and application form can be requested at the Department of Fisheries (Center), Fishes Quarantine, Tel. +66 2561 4690; Marine Shrimp Culture Research and Development Institute Tel. +66 2562 0552; (Provincial) and Coastal Fisheries Research and Development Centers located in various provinces. Filings can be made from now on.
กรมประมงเตือนภัยเกษตรกรเฝาระวังโรคระบาดปลาในชวงเปลี่ยนฤดู....จากฝนสูหนาว Department of Fisheries warns aquaculture farmers against outbreak during the season change.... from rainy to winter. ในชวงทีี่สภาพอากาศเปลี่ียนแปลงจากฤดู นแปลงจากฤดฝนเข ฝนเขาสูสฤดูดหนาวนั หนาวนั้น สงผลใหอากาศและ อุณหภูมิของน้ำลดต่ำลง และอาจสงผลกระทบตอสัตวน้ำของเกษตรกรที่เพาะเลี้ยงไวได โดยอาจเกิดอาการเครียดและกินอาหารนอยลง ความแข็งแรงและความทนทานตอโรค ลดต่ำลง ทั้งนี้ โรคปลาที่มักเกิดในชวงหนาหนาวซึ่งมีความรุนแรงและสงผลกระทบตอ เกษตรกรที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ำ ไดแก โรคอียูเอส โรคไวรัสเคเอชวี และโรคตัวดาง 20
During the season change from rainy to winter season, air and water temperature become lower and may affect aquatic farming. There is potential that aquatic animals may get stress and eat less food while strength and diseases resistance become weaker. Serious fish diseases usually occurred in winter are EUS disease, KHV disease, and Columnalis disease.
SEAFOOD SUPPLEMENT
Supp#Seafood_p20-23_Pro3.indd 20
4/19/14 1:55:28 AM
โรคอียูเอส (Epizootic Ulcerative Syndrome; EUS) หรือที่มักจะรูจักกัน ในชื่ อ ของ “โรคระบาดปลา” หรื อ “โรคเน า เป อ ย” จะทำให ป ลาที่ ป ว ย เปนโรคนี้มีแผลลึกตามตัวและสวนหัว โดยเกิดจากการติดเชื้อของสปอรเชื้อรา ในน้ำ แผลจะมีลักษณะของเสนใยเชื้อราฝงอยู สามารถพบไดในปลาหลาย ชนิดทั้งที่อาศัยอยูในธรรมชาติและที่เลี้ยงในบอ เชน ปลาชอน ปลาตะเพียน ปลาสรอย ปลากระสูบ ปลาแรด และปลาสลิด เปนตน โดยปจจุบันยังไมมี ยาและสารเคมีที่จะใชฆาเชื้อราที่ฝงอยูภายในเนื้อเยื่อของปลาได แตหากน้ำ มี อุ ณ หภู มิ สู ง ขึ้ น เชื้ อ ราต า งๆ จะเจริ ญ เติ บ โตได ช า ลง ในขณะเดี ย วกั น ภูมิตานทานโรคของปลาจะเพิ่มขึ้นและจะหายปวยไดเองในระยะตอมา โรคตัวดาง (Flavobacterium columnalis) เปนอีกโรคหนึ่งที่เกษตรกร ควรเฝ า ระวั ง เช น กั น เนื่ อ งจากโรคนี้ มั ก เกิ ด กั บ ปลาหลั ง จากการย า ยบ อ การลำเลี ย ง หรื อ การขนส ง เพื่ อ การนำไปเลี้ ย ง หรื อ โดยเฉพาะในช ว งที่ อุณหภูมิของอากาศมีการเปลี่ยนแปลงในรอบวันมาก ปลาที่ปวยเปนโรคนี้ จะมีแผลติดเชื้อตามลำตัวซึ่งมีลักษณะเปนดางขาว บริเวณขอบแผลมีสีแดง เมื่อติดโรคแลวจะตายเปนจำนวนมากและรวดเร็วภายใน 24-48 ชั่วโมง สำหรับปลาที่พบวาปวยเปนโรคนี้เสมอ คือ ปลากะพงขาว ปลาดุก ปลาชอน ปลาบู และกลุมปลาสวยงาม การรักษาโรคนี้ทำไดโดยใชดางทับทิมจำนวน 1-3 กรัมตอน้ำ 1,000 ลิตร แชปลานาน 24 ชั่วโมง อยางไรก็ตาม เพื่อเปนการปองกันความเสียหายที่เกิดขึ้น กรมประมง จึงแนะนำแนวทางการควบคุมโรคระบาดในบอเลี้ยงสัตวน้ำแกเกษตรกร ดังนี้ 1. เกษตรกรควรวางแผนระยะเวลาการเลี้ยงปลาใหอยูในชวงที่เหมาะสม และควรมีบอพักน้ำใชเพื่อใชในฟารมใหเพียงพอตลอดการเลี้ยง 2. เลือกชนิดปลาที่จะเลี้ยงใหเหมาะสมกับฤดูกาล และหากจะเลี้ยงปลา ในชวงฤดูหนาว ควรเลือกชนิดปลาที่มีความเสี่ยงตอการเกิดโรคระบาดนอย เชน ปลานิล ปลาจีน และปลาไมมีเกล็ด 3. หากพบปลาปวยเปนโรคในแหลงน้ำธรรมชาติ ใหรีบปดทางน้ำเขา และหยุดการเติมน้ำจากธรรมชาติเขามาในบอโดยทันที 4. ในระหว า งที่ ไมสามารถเปลี่ยนถายน้ำได ใหควบคุ ม ปริ ม าณการใหอาหาร อาจจะใหลดลงรอยละ 10-15 และเสริมวิตามินซีผสมอาหาร รอยละ 1-2 ของน้ำหนักอาหารที่ให 5. ควบคุมคุณภาพน้ำในบอ โดยใชปูนขาวในอัตรา 60-100 กิโลกรัม ตอบอขนาด 1 ไร 6. หากพบว า น้ ำ ในบ อ เริ่ ม เน า เสี ย โดยสั ง เกตว า มี ก า ซผุ ด ขึ้ น มาจาก พื้นบอใหใชเกลือสาดบริเวณดังกลาว ประมาณ 200-300 กิโลกรัมตอบอ ขนาด 1 ไร น้ำลึก 1 เมตร 7. หากพบปลาตายในบอเลี้ยงใหกำจัดโดยการฝงหรือเผา 8. เมื่ออากาศเริ่มเขาสูสภาวะที่เหมาะสม (อุณหภูมิของน้ำสูงขึ้น) และ พบวาปลาในธรรมชาติหายปวยควรเปลี่ยนถายน้ำตามความเหมาะสม และ ใหอาหารปลาไดตามปกติ
EUS disease (Epizootic Ulcerative Syndrome), often known as “Colloquially” or “Red-spot”, is an ulcerative syndrome of fish. Infection is occurred by motile spores in water. The spores penetrate the skin and germinate, forming fungal. The EUS disease can be found in various fishes both in nature and farming e.g. Snakehead, Carp, Siamese mud carp (Henicorhynchus siamensis), Hampala barb or Tranverse-bar barb (Hampala macrolepidota), Giant gourami (Osphronemus goramy) and Snakeskin gourami (Trichogaster pectoralis), etc. Currently, there is no drug and fungicide to treat embedded germs. However, if the water has higher temperature, forming fungal will grow more slowly. Meanwhile, fish immune system will be improved and the illness heals itself in a later phase. Columnalis disease (Flavobacterium columnalis) is another disease that farmers should also surveillance. The disease is brought after moving fishes between ponds, conveying or transportation, in particular, as a sudden rise in temperature during the day. When fish are infected with this pathogen, there will be necrotic lesions on the skin, which often are white/gray colored with an edging of red. Once infected, a lot of them will die within 24-48 hours. Barramundi (Lates calcarifer), Catfish, Snakehead, Goby and ornamental fishes are often infected with the disease. This disease is treated by soaking fish in potassium permanganate solution (1-3 g in 1,000 liters of water) for 24 hours. Nevertheless, in order to prevent damage, the Department of Fisheries has recommended an approach to control the diseases as follows; 1. Farmers should plan the appropriate period of fish breeding and should have sufficient clarifiers to be used in the farm all over the breeding period. 2. Select the types of fishes to be raised and suit the season. For winter, the fishes should have low risk of disease outbreaks, for instance, Tilapia, Asian carp and scaleless fish. 3. If a fish is found with disease in natural water sources, immediately block the water inflow and water feeding from natural source into the pond. 4. During the periods of inapplicable, control the feeding by reducing the quantity 10-15 percent and supply vitamin C (1-2 percent of weight of feed).
SEAFOOD SUPPLEMENT
Supp#_Ad Patkol_Pro3.indd 1 R1_Supp#Seafood_p20-23_Pro3.indd 21
21 4/21/14 9:25 PM
4/21/14 9:27:04 PM
F I S H E R I E S U P DAT E
ทั้งนี้ หากเกษตรกรพบปลาปวยที่มีลักษณะอาการของโรคระบาดปลา ดังกลาวสามารถแจงหรือขอรับคำปรึกษาไดที่สำนักงานประมงจังหวัด ศูนยวิจัยฯ หรือสถานีประมงฯ ที่อยูในพื้นที่นั้นๆ หรือสถาบันวิจัยสุขภาพสัตวน้ำจืด กรุงเทพฯ โทรศัพท 0 2579 4122 และสถาบันวิจัยสุขภาพ สัตวน้ำชายฝงสงขลา โทรศัพท 0 7433 5243
5. Control of water quality in ponds by adding lime at the ratio of 60100 kg per pond area of 1 Rai or 1600 sq.m. 6. If water in the pond is getting bad; seen the gas rising from the pond, splash salts to the suspected zone (200-300 kg of salt per pond area of 1600 sq.m. (based on 1 m depth). 7. If the dead fish is found in the pond, get rid of by burying or burning. 8. Once the weather is in optimum condition (higher water temperature) and fishes in natural water are recovered, discharge water should be made as appropriate and feed the fishes normally. If farmers find fishes that resemble the symptoms of such epidemics, they can directly contact the fisheries provincial offices, the Coastal Fisheries Research and Development Center or the Inland Fisheries Research and Development Institute located in the area or the Aquatic Animal Health Research Institute, Bangkok, Tel. +66 2579 4122 and the Coastal Aquatic Animal Health Research Institute, Tel. +66 7433 5243.
หัวเชื้อจุลินทรีย ปม.1 สูตรน้ำ อีกหนึ่งทางเลือกสำหรับเกษตรกรผูเลี้ยงกุงในการปองกันและยับยั้ง EMS Pro Bac 1 An interesting choice for shrimp farmers in defense and protecting against EMS. การขยายตัวอยางรวดเร็วตอเนื่องของผลผลิตกุงทะเลของประเทศไทย เริ่มตนจากความสำเร็จ ในการเพาะเลี้ ย งกุ ง กุ ล าดำ มี ผู ค นจากหลายสาขาอาชี พ เข า มาลงทุ น เปรี ย บเที ย บได กั บ ยุคตื่นทอง ตอมาในระหวางป 2538-2540 เกิดปญหาโรคระบาด สงผลใหผลผลิตลดลง จากนั้น ในป 2545 เกิดโรคระบาดซ้ำอีก ทำใหกุงกุลาดำโตชา ในปเดียวกันนี้เองพื้นที่บางสวนเปลี่ยนไป เลี้ยงกุงขาว ผลผลิตกุงทะเลของไทยจึงฟนตัวขึ้นอีกครั้งหนึ่ง จนในปจจุบันเกษตรกรเปลี่ยนไป เลี้ยงกุงขาวเกือบทั้งหมด การเลี้ยงกุงทะเลแบบพัฒนาโดยคาดหวังผลผลิตตอหนวยพื้นที่สูง ยอมเสี่ยงตอการเกิด โรคระบาดจากปรสิต การติดเชื้อแบคทีเรียในกลุมวิบริโอและไวรัส ไดแก โรคตัวแดงดวงขาว โรคหัวเหลือง และโรคแคระแกร็น รวมทั้งมีการระบาดของโรคจากตางประเทศ เชน โรคทอรา โรคกลามเนื้อตาย เกษตรกรพยายามหาวิธีการปองกันแกปญหาหลากหลายวิถีทาง เชน ใชยา ปฏิชีวนะ Oxytetracycline, Oxolinic acid, Nitrofurans, Chloramphinical และใชสารเคมี Malachite green และ Trichlophon แตยาและสารเคมีนั้นมาตรฐานสากลไมยอมรับ ธุรกิจ การเพาะเลี้ยงสัตวน้ำจึงไดมีการคนหาแนวทางเลือกอื่นๆ เพิ่มเติม เชน การฟนฟูสิ่งแวดลอม สรางสมดุลภายในฟารม การใชพันธุกุงปลอดเชื้อ และการใชจุลินทรีย เปนตน ในชวงที่ผานมา ผลผลิตกุงทะเลภายในประเทศลดลงเปนอยางมากจากการระบาดของโรคกุงตายดวน หรือ EMS ซึ่งสงผลใหเกษตรกรผูเลี้ยงกุงทะเล ผูประกอบการสงออก รวมไปถึง อุตสาหกรรมตอเนื่องทั้งระบบเกิดความเสียหาย เกษตรกรผูเพาะเลี้ยงกุงทะเลชะลอการลง ลูกกุง หรือลงลูกกุงในจำนวนนอยกวาปกติ เพราะเกรงจะเกิดความเสียหายจากโรคดังกลาว โพรไบโอติกเปนจุลินทรียธรรมชาติที่เปนประโยชน พบไดในลำไสของสัตวทั่วไป สามารถ นำมาเพาะเลี้ยงขยายพันธุ เพื่อผลิตเปนสินคาเสริมสุขภาพได เชน Lactobacillus ที่ใชใน การผลิตนมเปรี้ยวและโยเกิรต เปนตน ในลำไสของสัตวน้ำก็มีแบคทีเรียที่เปนประโยชนหลาย ชนิดเชนกัน ปจจุบันเปนที่ยอมรับและนำมาใชกันอยางกวางขวาง ทั้งในน้ำจืดและน้ำกรอย โดยเฉพาะในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำแบบความหนาแนนสูง
หัวเชื้อจุลินทรีย (ปม.1)
ตั้งแตป 2551 ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงสมุทรสาครไดผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย (ปม.1) เพื่อแจกจายใหกับเกษตรกรผูเพาะเลี้ยงสัตวน้ำทั่วประเทศไทย โดยไดคัดเลือกจุลินทรียในกลุม Bacillus 3 ชนิด คือ B. subtilis, B. megaterium และ B. licheniformis ซึ่งเปนจุลินทรียที่มี ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง ในการย อ ยสลายสารอิ น ทรี ย ใช ส ำหรั บ บำบั ด สารอิ น ทรี ย ที่ ต กค า งสะสม 22
At the beginning, shrimp farmer in Thailand was successfully culture Black Tiger Shrimp. The expansion of shrimp farm was uncontrollable and the production was grown up over 100,000 tons within a few years. In 1995-1997, there were shrimp diseases outbroken all over the country, the production dropped down, and happened again in 2002. Thai farmer changed to culture Pacific White Shrimp, the production then grew up again. The farmer always cultures shrimp in an unbelievable high density which were very sensitive to infection of parasite, bacteria and virus such as White Spot Disease (WSD), Yellow Head Disease (YHD) and stunting disease. Also, there were TS disease or Taura syndrome and Myocardial infarction. Antibiotics (Oxytetracycline, Oxolinic acid, Nitrofurans and Chloramphinical) and chemical substances (Malachite green and Trichlophon) were introduced to protect their production. The international standard was set up to control those contaminated product. In order to meet the international standard level, plenty of alternative methods to control diseases were invented such as farming by ecological balancing technique, specific pathogen free brood stock, probiotics and so on. During the past years, domestic shrimp production decreased significantly from the outbreak of shrimp diseases or EMS. This affects marine shrimp farmers, shrimp exporters including downstream industries. Shrimp farmers then slow down baby shrimp dump or feed less quantity of baby shrimp. Probiotics were natural bacteria in animal digestive tract. Lactobacillus was a good example that had been used worldwide in drinking yoghurt and yoghurt production. Probiotics bacteria were also found in aquatic animal both in brackish and fresh water, especially in high-density fish farming.
Pro Bac 1
In 2008, Samut Sakhon Coastal Fisheries Research and Development Center was assigned to develop probiotics for Thai farmer. Pro Bac 1 is the combination of Bacillus subtilis, B. megaterium and B. licheniformis. The production procedure is inspected carefully, so Pro Bac 1 contain Bacillus spp. more than 106 cfu/g. Pro Bac 1 digests excess organic waste in fish and shrimp pond effectively.
SEAFOOD SUPPLEMENT
R2_Supp#Seafood_p20-23_Pro3.indd 22
4/22/14 8:30:08 PM
ในบอเลีย้ งสัตวนำ้ บรรจุซองละ 100 กรัม โดยมีปริมาณ Bacillus spp.ไมตำ่ กวา 106 cfu/กรัม มี ก ารควบคุ ม คุ ณ ภาพโดยการสุ ม ตั ว อย า งเพื่ อ นำมาเพาะเชื้ อ และนั บ จำนวนโคโลนี ตลอดจนตรวจสอบการปนเปอนของเชื้อชนิดอื่นๆ ในทุกรุนการผลิต หัวเชื้อจุลินทรีย (ปม.1) สามารถนำไปใชในการบำบัด ปรับปรุงคุณภาพน้ำและดิน โดยการละลายน้ ำ สาดลงไปในบ อ ในขั้ น ตอนของการเตรี ย มบ อ นอกจากนี้ ยั ง ใช เ ป น โพรไบโอติกในการผสมลงไปในอาหารกุง เพื่อกระตุนใหเกิดภูมิคุมกันและตานทานโรค ที่เกิดจากแบคทีเรียกอโรคในกุงขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei) โดยเฉพาะ เพื่อชวยลดความเสี่ยงจากการเกิดโรค EMS กรมประมงไดเรงประชาสัมพันธใหเกษตรกร ผู เ ลี้ ย งกุ ง ได เ ข า ใจถึ ง หลั ก การและวิ ธี ก ารใช เ พื่ อ ให เ กิ ด ประโยชน สู ง สุ ด ซึ่ ง ปรากฏว า เปนผลสำเร็จและเกษตรกรกลับมามีความตื่นตัวที่จะใชจุลินทรียในการบำบัดสิ่งแวดลอม ภายในบอกุงตามแนวทาง Green Aquaculture เปนอยางมาก ปจจุบัน กรมประมงไดนำรองผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย ปม.1 สูตรน้ำ ไปแลวใน 2 พื้นที่ ไดแก พื้นที่ภาคตะวันออกที่ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงจันทบุรี และศูนยศึกษา การพัฒนาประมงอาวคุงกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และพื้นที่ภาคใตตอนบน ที่ ศู น ย วิ จั ย และพั ฒ นาประมงชายฝ ง สุ ร าษฎร ธ านี และจะขยายไปยั ง พื้ น ที่ ต า งๆ ใหครอบคลุมพื้นที่การเพาะเลี้ยงกุงทะเลทั่วประเทศ ซึ่งกรมประมงมุงหวังวาจุลินทรีย ปม.1 ทั้ง 2 รูปแบบจะทำใหเกษตรกรผูเพาะเลี้ยงกุงทะเลผานพนวิกฤติ EMS สำหรับการเลี้ยง ในรอบป 2557 และผลผลิตโดยรวมทั้งปจะเปนไปตามเปาที่กรมประมงไดประมาณการ ไปแลวเมื่อตนปที่ผานมา คือ 320,000 ตันเปนอยางต่ำ
Supp#_Ad IMCD_Pro3.ai
1
4/21/14
Pro Bac 1 can be used for treatment and improving the water and soil quality by mean of aqueous solution splashed into the pond in the process of pond preparing. In addition, it can be mixed in shrimp feed to stimulate immune system and disease resistance caused by pathogenic bacteria in White shrimp (Litopenaeus vannamei), in particular, to help reduce the risk of EMS disease. In order to achieve maximum benefits, the Department of Fisheries has educated farmers to understand the principle and instruction of Pro Bac 1. Nowadays, the farmers comprehend that probiotic is good for environment within the ponds according to Green Aquaculture guidelines. Currently, the Department of Fisheries has performed pilot production of Pro Bac 1 (solution formula), in two areas, that are the eastern area; Chanthaburi Coastal Fisheries Research and Development Center as well as Kung Krabaen Bay Royal Development Study Center, and the Southern area; Surat Thani Coastal Fisheries Research and Development Center. Moreover, the development will be expanded to cover shrimp cultivation areas nationwide. The Department of Fisheries intends that the Pro Bac 1 will help shrimp farmers break through the EMS crisis in 2014 and the total production for this year shall achieve the forecast minimum target at 320,000 tonnes.
9:46 PM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
SEAFOOD SUPPLEMENT
R2_Supp#Seafood_p20-23_Pro3.indd 23
23
4/22/14 8:29:32 PM
SAFETY CONCERN
Seafood Products
Recall
เอื้อเฟอขอมูลโดย/Information Courtesy By: Food Safety News
เรียกคืนเนื้อปลาแฮริ่งรัสเซียอันเนื่องจากการปนเปอนของเชื้อ Listeria 27 พฤศจิกายน 2556
Zip International Group, LLC ในเมืองเอดิสัน รัฐนิวเจอรซีย ได เ รี ย กคื น เนื้ อ ปลาแฮริ่ ง อันเนื่องจากการปนเปอนของเชื้อ Listeria เนื้อปลาแฮริ่งในน้ำมันผลิตที่รัสเซียและ ไดสงขายไปยังรานคาปลีกในรัฐนิวยอรก ในช ว งระหว า งวั น ที่ 1-14 พฤศจิ ก ายน โดยมี ข นาดบรรจุ 400 กรั ม ในกล อ ง พลาสติ ก ระบุ วั น หมดอายุ วั น ที่ 18 มกราคม 2557 และมีเลขรหัสสินคาสากล คือ 4607095500208 ทั้ ง นี้ สิ น ค า ดั ง กล า วได ถู ก เรี ย กคื น ภายหลั ง จากการสุ ม ตรวจตั ว อย า ง
Russian Herring Fillets Recalled for Listeria Contamination November 27, 2013
โดยสำนักผูตรวจสอบตลาดอาหารและ สินคาเกษตรแหงรัฐนิวยอรก (New York State Department of Agriculture & Markets Food Inspectors) และผล การตรวจวิเคราะหก็ไดแสดงใหเห็นวามีการปนเปอนของเชื้อ Listeria monocytogenes ในผลิตภัณฑดังกลาวจริง โดยในขณะนี้ยังไมไดรับการรายงาน ว า มี ผู ป ว ยอั น เนื่ อ งจากการได รั บ เชื้ อ ดังกลาว ทั้งนี้ ผูบริโภคที่ไดซื้อเนื้อปลา แฮริ่งในน้ำมันไปแลวไมควรรับประทาน ผลิตภัณฑดังกลาว แตควรนำกลับไปคืน ยังสถานที่ที่ซื้อมา
Zip International Group, LLC, of Edison, NJ, is recalling herring fillets due to Listeria contamination. The recalled herring fillet in oil is a product of Russia and was sold to retail grocery stores in New York State between Nov. 1 and Nov. 14. The 400-gram plastic package has a best-by date of 18/01/2014 and UPC code of 4607095500208. ed The recall was initiated after routine sampling by ent New York State Department
of Agriculture & Markets Food Inspectors, and subsequent analysis of the product found the product to be positive for Listeria monocytogenes. No illnesses have been reported to date in connection with this problem. Consumers who have purchased herring fillet in oil should not consume it, but should return it to the place of purchase.
มารคแอนดสเปนเซอรสั่งเรียกคืนหอยแมลงภูหลังพบวามีผูปวยในสหราชอาณาจักร 2 ธันวาคม 2556
Marks & Spencer รานคาปลีกของอังกฤษ ไดเรียกคืนอาหารที่ปรุงโดยใชหอยแมลงภู ภายหลังจากที่มีรายงานพบผูปวยจากการ บริโภคหอยแมลงภูในสหราชอาณาจักร โดยอาหารที่เสี่ยงตอการปนเปอนดังตอไปนี้ยังไมได ถู ก นำออกจากรายการขายและกำลั ง อยู ใ นระหว า ง การเรียกคืนจากลูกคา ไดแก: • M&S Mussels in Garlic รหัสสินคา: 00604819 และ 00929189 ทุกวันที่ที่ระบุวันหมดอายุุ 24
• M&S Mussels in White Wine รหัสสินคา: 00720618 ทุกวันที่ที่ระบุวันหมดอายุ • M&S Mussels and Clams รหั ส สิ น ค า : 00667104 ทุกวันที่ที่ระบุวันหมดอายุ สำหรั บ ผู ที่ ไ ด สั่ ง ซื้ อ อาหารเหล า นี้ ไ ปแล ว หามรับประทานโดยเด็ดขาด ใหนำกลับมาคืน ที่ ร า นเพื่ อ ขอคื น เงิ น อย า งไรก็ ต าม ไม มี ก าร รายงานความเสี่ยงจากรายการอาหารอื่นๆ ของ มารคแอนดสเปนเซอร
ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ได เ รี ย กคื น สิ น ค า ดั ง กล า วนี้ เพื่อเปนการปฏิบัติตามมาตรการการปองกันไว ลวงหนาเทานั้น ในขณะที่บริษัทกำลังดำเนินการ ตรวจสอบหาสาเหตุ โดยยังไมทราบชื่อบริษัท ผูจัดจำหนายหอยแมลงภูใหกับทางราน และ ในขณะเดียวกันก็ยังไมมีการรายงานลักษณะ อาการเจ็บปวย ที่แนชัด
SEAFOOD SUPPLEMENT
Supp#Seafood_p24-26_Pro3.indd 24
4/19/14 2:02:59 AM
ไอรแลนดสั่งเรียกคืนแซลมอนรมควันเนื่องจากพบการปนเปอนของเชื้อ Listeria 20 ธันวาคม 2556
ไอรแลนดสั่งเรียกคืนผลิตภัณฑอาหารทะเล หลังมีรายงานพบผูปวยจากการบริโภคหอย 14 มีนาคม 2557
อ ง ค ก ร ด า น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย อาหารของประเทศไอรแลนด (The Food Safety Authority of Ireland; FSAI) ได ป ระกาศสั่ ง เรี ย กคื น ปลาแซลมอน รมควันสงออกของบริษัท Clarke’s Fish Exports ตาม “มาตรการการปองกันลวงหนา” หลังจาก ที่ไดตรวจพบเชื้อ Listeria ในบางชุดการผลิต แซลมอนรมควั น ที่ ต รวจพบการปนเป อ นนี้ ไดรับการจัดสงมาเพื่อจัดจำหนายใหกับผูบริโภค ทั้ ง ประเภทลู ก ค า ออนไลน ร า นค า ปลี ก โดยมี วันหมดอายุอยูระหวางวันที่ 19 ธันวาคม 2556 ถึง 8 มกราคม 2557
ทั้ ง นี้ ไ ม ร ว ม ถึ ง สิ น ค า ก ลุ ม ร หั ส ชุ ด การผลิ ต ที่ FN47700 / FN47800 / FN47900 วั น หมดอายุ วั น ที่ 11 มกราคม 2557 สำหรับสินคากลุมแซลมอนรมควันที่ ผลิตจากฟารมออรแกนิกนั้นไมไดเกี่ยวของ แตอยางไรในการเรียกคืนครั้งนี้ ผู ป ระกอบการธุ ร กิ จ อาหารที่ ซื้ อ ปลา แซลมอนรมควันซึ่งถูกติดประกาศเรียกคืนนี้ ต อ งนำสิ น ค า ดั ง กล า วออกจากชั้ น วาง จำหน า ยสิ น ค า และควรแจ ง ให ผู บ ริ โ ภค ไมซื้อสินคาดังกลาวไปรับประทาน
Ireland Recalls Smoked Salmon for Listeria Contamination December 20, 2013 The Food Safety Authority of Ireland (FSAI) has issued a recall of Clarke’s Fish Exports farmed oak smoked salmon with Clarke’s Fish Exports label as “a precautionary measure” after Listeria was detected in some batches. The affected smoked salmon was supplied to distributors, on-line customers and retail shops and has use-by dates between 19/12/2013 and 08/01/2014. Batch codes FN47700 / FN47800 / FN47900 with a use by date of 11/01/14 are
not implicated, and Clarke’s Organic Farmed Smoked Salmon is not affected by the recall. Food business operators who bought the affected smoked salmon have been asked to remove it from sale, and consumers have been advised not to eat the product.
บริษัท Seafood De La Mer ผูผลิตอาหารทะเลสัญชาติไอริช ไดเรียกคืนสินคาอาหาร ทะเลที่ มี ห อยเป น ส ว นประกอบเนื่ อ งจาก พบวาหอยอาจเปนสาเหตุของโรคทองรวงจากอาหารทะเลเปนพิษ อาการของโรคทองรวงที่มีสาเหตุจากอาหารทะเล เปนพิษนั้น ผูปวยจะมีอาการทองรวง คลื่นไส อาเจียน และปวดทอง ซึ่งจะมีอาการภายหลังจากรับประทาน อาหารทะเลที่ เ ป น พิ ษ เข า ไปประมาณ 30 นาที หรื อ 1-2 ชั่วโมง โดยอาจแสดงอาการเหลานี้นาน 1-2 วัน ตามการแถลงการณโดยองคกรดานความปลอดภัย อาหารของประเทศไอร แ ลนด (The Food Safety Authority of Ireland; FSAI) กล า วว า สิ น ค า หลาย ประเภทที่ผลิตโดยบริษัท Seafood De La Mer กำลัง อยู ใ นระหว า งการดำเนิ น การเรี ย กคื น โดยประกอบ ไปดวย สินคาประเภทซุปทะเล อาหารทะเลมิกซ และ เนื้อหอยแมลงภู ซึ่งไดถูกจัดสงไปยังสถานประกอบการ อาหารใหญๆ ทั้งจากการรับซื้อโดยตรงและขายสง นอกจากนี้ FSAI ยังไดสั่งใหผูประกอบการธุรกิจ อาหารนำสิ น ค า ที่ มี ก ารปนเป อ นนี้ อ อกจากรายการ จำหนายทั้งหมด และเตือนไปยังผูซื้อวาหามนำสินคา อาหารที่ มี ก ารตรวจพบการปนเป อ นดั ง กล า วนี้ ไปรับประทานดวย
Shellfish Products Recalled in Ireland After Illnesses Reported March 14, 2014
Marks & Spencer Recalls Mussels after UK Illnesses December 2, 2013 British retailer Marks & Spencer is recalling three mussel-based food products after illnesses were reported in the U.K. All packs of the following products have not been removed from sale and are being recalled from customers: • M&S Mussels in Garlic Unique code: 00604819 & 00929189 “Use by” date: all dates • M&S Mussels in White Wine Unique code: 00720618 “Use by” date: all dates
• M&S Mussels and Clams Unique code: 00667104 “Use by” date: all dates Customers who have purchased these products are directed not to eat them and to return them to the store for a refund. No other Marks & Spencer products are known to be affected. The company is recalling the products as a precautionary measure while investigations are taking place. The supplier of the mussels is unnamed, and the exact nature of the illnesses has not been reported.
Seafood De La Mer, an Irish seafoodproduct manufacturer, is recalling products containing mussels due to a risk that mussels used in the products can cause diarrhetic shellfish poisoning. Symptoms of diarrhetic shellfish poisoning are diarrhoea, nausea, vomiting and abdominal pain which can start between 30 minutes to a few hours after ingestion and last for several days. According to a press release from the Food Safety Authority of Ireland (FSAI), multiple products manufactured by Seafood De La Mer are being recalled. The products, which include chowder mixes, seafood mix and mussel meat, were supplied mainly to caterers either directly or via wholesalers. FSAI asks food businesses to remove the affected batches from sale and to notify any retail customers not to eat the implicated products. SEAFOOD SUPPLEMENT
Supp#Seafood_p24-26_Pro3.indd 25
25
4/19/14 2:03:01 AM
SAFETY CONCERN
เรียกคืนหอยนางรมสดหลังพบการปนเปอนของเชื้อ Campylobacter ในกลุมผูปวยในรัฐออริกอน 1 กุมภาพันธ 2557
องค ก ารด า นสุ ข ภาพแห ง รั ฐ ออริ ก อนได อ อกประกาศเรื่ อ ง การตรวจพบผู ป ว ยสามราย ซึ่ ง เป น ประชาชนในรั ฐ ออริ ก อนป ว ยจาก สาเหตุ ก ารได รั บ เชื้ อ Campylobacter หลังบริโภคหอยนางรมที่ซื้อมาจากตลาดสด สองแห ง ในเขต Lane และ Coos โดยมี บริ ษั ท Coos Bay Oyster ในเมื อ ง ชารลสตัน รัฐออริกอนเปนผูผลิต Campylobacter เป น เชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย ที่เปนสาเหตุของการเจ็บปวยที่รุนแรง และ บางครั้ ง อาจเป น สาเหตุ ข องการเสี ย ชี วิ ต ในเด็กเล็กที่มีรางกายออนแอ ผูสูงวัย และ แม ก ระทั้ ง ผู ที่ มี ร ะบบภู มิ คุ ม กั น ร า งกาย ออนแอ โดยผู ป ว ยจากรั ฐ ออริ ก อนทั้ ง สามราย ไดรับการรายงานวามีอาการเจ็บปวยจาก การไดรับเชื้อ Campylobacter coli (ชนิด สายพันธุที่ไมคอยพบโดยทั่วไป) ภายหลัง จากที่ไดรับประทานหอยนางรมสดในชวง ระหวางวันที่ 15-20 มกราคม 2557 ที่ผานมา โ ด ย ผู ป ว ย ทั้ ง ส า ม ร า ย เ ป น เ พ ศ ช า ย
อายุระหวาง 50-75 ป และในจำนวนนี้ไดรับแจง วามีอาการดีขึ้นแลว 2 ราย เมื่อวันที่ 30 มกราคม ที่ผานมา บริษัท Coos Bay Oyster ซึ่ ง เป น ผู เ พาะเลี้ ย ง หอยนางรมสดและหอยนางรมสดแกะเปลือก ได เ รี ย กคื น ถั ง พลาสติ ก (ขนาด ½ แกลอน 1 ควอรต ½ ควอรต และ ¼ ควอรต) ซึ่งเปน ถั ง ที่ ใ ช ใ ส ห อยนางรมสดเพื่ อ ส ง จำหน า ย ระหวางวันที่ 15 มกราคม ถึง 17 กุมภาพันธ เนื่องจากมีการตรวจพบการปนเปอนของเชื้อ Campylobacter ที่ติดมาจากถังดังกลาว ตอมา เมื่อวันที่ 31 มกราคม การเรียกคืน ไดขยายวงกวางไปถึงภาชนะอื่นๆ ที่ใชในการ เก็บผลผลิตหอยนางรมสด ทั้งถุงตาขายสีแดง ที่ใชใสหอยนางรม ซึ่งถุงหนึ่งจะใสหอยนางรม ไดประมาณ 60 ตัว คละขนาด และติดปาย บริ ษั ท ผู เ พาะเลี้ ย ง พร อ มด ว ยแท็ ก ข อ มู ล หอยนางรมในช ว งวั น ที่ เ ก็ บ (ระหว า งเดื อ น ธันวาคม 2556 ถึงเดือนมกราคม 2557) ทั้ ง นี้ การเรี ย กคื น สิ น ค า ทั้ ง หมดเป น ผล เนื่องมาจากการตรวจพบการแพรระบาดของ เชื้อ Campylobacter ในรัฐออริกอน ซึ่งไดมี
การรายงานจำนวนผูปวยแลว 3 ราย โดยจากสถานการณ ดั ง ก ล า ว มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต อ การบริ โ ภคหอยนางรมสด ภายในรัฐมาจนถึงปจจุบันดวย ห อ ย น า ง ร ม ส ด ไ ด จั ด จำหน า ยไปทั่ ว รั ฐ ออริ ก อน และแคลิฟอรเนีย โดยผานผูแทนจัดจำหนายทั้งในรูปแบบคาสง และรานคาปลีก ทั้งนี้ บริษัท Coos Bay Oyster ไดหยุดการเพาะเลี้ยงและ จัดจำหนายหอยนางรมดังกลาวทั้งหมดแลว และกำลังอยูใน ระหว า งการตรวจหาสาเหตุ ข องป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยได รั บ ความร ว มมื อ จากกรมส ง เสริ ม การเกษตรแห ง รั ฐ ออริ ก อน (Oregon Department of Agriculture; ODA) สำหรับผูที่มีสุขภาพแข็งแรงหากไดรับเชื้อ Campylobacter จะมีอาการทองรวง ปวดศีรษะและปวดตามลำตัว ปวดชองทอง เจ็ บ บริ เ วณท อ ง และมี ไ ข ภ ายใน 2-5 วั น หลั ง จากได รั บ เชื้ อ ดั ง กล า ว อาการท อ งร ว งอาจมี เ ลื อ ดปนออกมา ตามด ว ย อาการคลื่นไสและอาเจียน โดยจะแสดงอาการดังกลาวประมาณ หนึ่ ง สั ป ดาห แต ใ นบางรายอาจไม แ สดงอาการเหล า นั้ น เลย สำหรับผูที่มีระบบภูมิกันออนแอ เชื้อ Campylobacter สามารถ แพรกระจายไปตามกระแสเลือดกอใหเกิดการเจ็บปวยที่รุนแรงมากขึ้น
Oregon Campylobacter Cluster Prompts Raw Oyster Recall February 1, 2014 The Oregon Health Authority has announced the investigation of a cluster of three Campylobacter cases among Oregon residents who consumed raw oysters. The oysters came from two different markets in Lane and Coos counties and were harvested from Coos Bay Oyster Company of Charleston, OR. Campylobacter is an organism that can cause serious and sometimes fatal infections in young children, frail or elderly people, and others with weakened immune systems. The three Oregon patients who became ill with Campylobacter coli (a less-common species of Campylobacter) reported illness after eating raw oysters between Jan. 15-20, 2014. All patients were males between 50-75 years of age. Of the three patients, two were hospitalized and are reportedly recovering well. On Jan. 30, Coos Bay Oyster Company recalled Plastic Tubs (half-gallon, quart, pint, half-pint), Coos Bay Oyster Co., Raw/Ready-
26 26
to-eat Shucked Oysters, with sell-by dates from Jan. 15 to Feb. 17, 2014, because they have the potential to be contaminated with Campylobacter. On Jan. 31, the recall was expanded to include all of its shellstock oysters in red onion sacks containing five dozen shellstock oysters (various sizes) with a Coos Bay Oyster Co. label and shellstock tags with various harvest dates (Dec. 2013-Jan. 2014). The recall is the result of an epidemiologic investigation of a Campylobacter outbreak in Oregon. There have been three (3) confirmed reported cases of Campylobacter illness related with the consumption of raw shucked oysters to date. The oysters were distributed through wholesale dealers and retail stores in Oregon and California. Coos Bay Oyster Company has ceased production and distribution of the product as
the Oregon Department of Agriculture (ODA) and the company continues investigating the cause of the problem. Healthy persons infected with Campylobacter often experience diarrhea, headache and body ache, cramping, abdominal pain, and fever within two to five days after exposure to the organism. The diarrhea may be bloody and can be accompanied by nausea and vomiting. The illness typically lasts one week, and some infected persons do not have any symptoms. In persons with compromised immune systems, Campylobacter occasionally spreads to the bloodstream and causes a serious life-threatening infection.
SE S SEA SEAFOOD EAF EA FO FOO OO O OD SUPPLEMENT SUPPL SUP PLE PL LEM LE ME MEN EN NT NT
Supp#Seafood_p24-26_Pro3.indd 26
4/19/14 2:03:03 AM
R1_Supp#Seafood_p27_Pro3.indd 27
4/21/14 9:10:58 PM
SUPPLIER LISTING
Advance Pharma Co., Ltd. 83 Soi Chatsan, Sutthisantonply Road, Samsennork, Huaykwang, Bangkok 10310 Thailand +66 2693 4520 +66 2693 4532 Sales@advancepharma.co.th www.advancepharma.co.th Advance Pharma is a leading food ingredient supplier to food processing companies with selected good quality products from recognized world class manufacturers. We offer a wide range of products, for example, antioxidant, preservative, stabilizer, amino acid, soy protein, enzyme, oleoresin of spices, flavor, flavor enhancer and seasoning. As far as health awareness is more and more concern in this decade, we are proud to introduce a range of health ingredients namely, sweetener, dietary fiber and natural extract. Our product variety is ready as your selection for creation an innovative health product. We are constantly improving our product and service to meet the highest customer satisfaction.
Ecolab Ltd. 15th Floor, President Tower, 971, 973 Ploenchit Road, Lumpini, Pathumwan, Bangkok 10330 Thailand +66 2126 9499 sea.marketing@ecolab.com www.ecolab.com We make the world cleaner, safer and healthier by providing cleaning and sanitation solutions for food safety, infection prevention and public health. We serve restaurants, supermarkets, food and beverage manufacturers, hospitals, hotels and many other businesses that enhance quality of life for people around the world. For more information, visit www.ecolab.com
IMCD (Thailand) Co., Ltd. 120 Ample Tower, Room No.15/2, Moo 11 Khwaeng Bangna, Khet Bangna, Bangkok 10260 Thailand +66 2744 0917-9 +66 2744 0920 info@imcd.co.th www.imcdgroup.com IMCD Group is a global leader in sales, marketing and distribution of speciality chemicals and food ingredients. IMCD Thailand’s Food & Nutrition Business Unit is offering value added ingredients, solutions and services to the industry through local technical experts supported by international expertise.
CHILLMATCH Co., Ltd. 19/20-22 RCA Block A, Rama IX Road, Soi 8, Bangkapi, Huaykwang, Bangkok 10310 Thailand +66 2203 0357-60 +66 2203 0798 marketing@chillmatch.co.th www.chillmatch.co.th To be leader of cooling equipment distributor and leader of high advanced technology, skillful design and cooling system consultancy service.
Forefront Foodtech Co., Ltd. 4/46 Moo 10, Bangna, Bangna, Bangkok 10260 Thailand +66 2758 8445-6 +66 2758 8447 somsuda@forefrontfoodtech.com www.forefrontfoodtech.com Forefront Foodtech Co., Ltd. is a solution provider in applying the European technology and machinery to Thai production in order to optimize the material, labor, productivity and efficiency. Some demonstration machines are available for tests.
Interroll (Thailand) Co., Ltd. Amata Nakorn Industrial Estate 700/685 Moo 1, Panthong, Chonburi 20160 Thailand +66 3844 7448 +66 3844 7453 th.sales@interroll.com www.interroll.co.th Interroll Group is a worldwide leading producer of high-quality key products and services for internal logistics. The company offers a broad product range in the four product groups “rollers”, “drives”, “conveyors & sorters” and “pallet & carton flow” to around 23,000 customers around the world. Core industries are courier, parcel and postal services, airports, food processing industry as well as distribution centres.
IMCD: Value through expertise 28
SEAFOOD SUPPLEMENT
R1_Supp#Seafood_p28-29_Pro3.indd 28
4/21/14 9:01:59 PM
KIMBERLY-CLARK THAILAND LIMITED 32nd-33rd Floor, United Center Building, 323 Silom Road, Bangrak, Bangkok 10500 Thailand +66 2230 3000 +66 2267 6122 kcpthailand@kcc.com www.th.kcprofessional.com Kimberly-Clark Professional, is the indispensable business partner, delivering leading-edge health, hygiene and productivity solutions to the institutional markets. Our workplace products, comprising wiping and safety solutions, are available in a wide range of designs to serve all industries under the WYPALL*, KIMTECH*, KLEENGUARD* and JACKSON SAFETY* brands. Hand hygiene & tissue products are also available in different types designed to suit the needs of diverse customers under the KLEENEX® and SCOTT® brands.
PATKOL Public Company Limited 348 Chalerm Prakiat Rama 9 Road, Nongbon, Pravate, Bangkok 10250 Thailand +66 2328 1035-49 +66 2328 1245 sureerats@patkol.com www.patkol.com Patkol is well known in Thailand as the leader in all of the business their operated (Ice machine, Refrigeration, Food Processing machine & Plant and Dairy & Beverage) and operated on the principle of “We Offer Quality Product & Services with Integrity and Reliability”.
Polytype Asia Pacific Co., Ltd. Wellgrow Industrial Estate 77 Moo 9 Bangna-Trad Road (km 36) T. Bangwua, A. Bangpakong, Chachoengsao 24180 Thailand +66 3898 9045-53 +66 3898 9055 kwanruetai.boonkaew@polytype-th.com www.polytype-th.com PAP Lubricants “Lubricate your business”. Lubricants from the Wifac Performance Supplies collection are specially selected and tuned for food, packaging and industry. We provide our valued customers with outstanding lubrication quality and service. To support you in compliance with all regulations in the manufacturing of the packaging for food industry, our specially developed lubricants are Ins H registered for European and International standards. Our technical support is at your disposal and we will even do full factory surveys to select the perfect lubricant for your machines.
Thai Sek Son Co., Ltd. 939 M. 6 Teparak Road, Bangpleeyai, Bangplee, Samutprakarn 10540 Thailand +66 2757 5232-4 +66 2757 5235 savpak@thaisekson.co.th www.thaisekson.co.th Thai Sek Son is the Leader in Flexible Packaging Machinery for over 30 years. We are the manufacturer of Automatic Packing Machine, Form-Fill-Seal type, in flexible packing material as well as Semi-Auto Filling unit. Our machine can perform on Dry, Granulate, Chips, Powder, Liquid, Paste, Free Flow product and Semi-Free Flow product. Custom design for packaging system, we can find suitable solution to your packaging line.
1
August 15, 2014 @ Jupiter Room, Challenger Hall, IMPACT
27
MEAT
POULTRY Edition Fresh from Farm
SEAFOOD SUPPLEMENT
R1_Supp#Seafood_p28-29_Pro3.indd 29
29
4/21/14 9:02:15 PM
LO V E YO U R R E Q U E S T
What’s in your mind? ขอมูลของผูตอบแบบสอบถาม / Your Information
กรุณาแนบนามบัตร หรือกรอกขอความตัวบรรจงเปนภาษาอังกฤษ Please complete the form in ENGLISH and/or attach your business card.
ชื่อ/Name:
1. Seafood Edition ในสายตาคุณ How do you see Seafood Edition? พอใจมากที่สุด/Very Impressive
พอใจมาก/Great
พอใจปานกลาง/Cool
ไมพอใจ/Dislike
2. สวนไหนไดใจคุณ? What is your favorite?
ตำแหนงงาน/Position:
พอใจมากที่สุด พอใจมาก พอใจปานกลาง ไมพอใจ Dislike Cool Very Impressive Great
บริษัท/Company Name: รูปเลม/Magazine Layout รูปเลมโดยรวม/Overall layout รูปแบบหนาปก/Cover โทนสีที่ใช/Hue & Color ภาพประกอบ/Photos
โทรศัพท/Tel:
เนื้อหา/Content
โทรสาร/Fax:
ความเขมขน/Concentration ความหลากหลาย/Variety of Coverage
อีเมล/E-mail:
ความถูกตองชัดเจน/Correctness
เว็บไซต/Website:
ความรูและขอมูลที่ไดรับ/Knowledge & Information ความนาสนใจและทันสมัย/Attractiveness & Modernity การนำไปประยุกตใชงาน/Applicability
3. คอลัมนที่โดนใจคุณ…เพราะ? What is your favorite column? And how? Service Info Code
สอบถามขอมูลเพิ่มเติม 4. อยากรูเรื่องไหน? What do you want to know?
subsidiary of Please feedback to: Be Media Focus (Thailand) Co., Ltd. 384/38 Ngamwongwan Road Soi 25, Bangkhen, Muang Nonthaburi, Nonthaburi 11000 Thailand
T 0 2192 9598 F 0 2116 5732 E editor@foodfocusthailand.com, contact@foodfocusthailand.com W www.foodfocusthailand.com Now you can follow us on www.facebook.com/foodfocusthailand Supp#Seafood_p30_Pro3.indd 30
4/19/14 10:24:14 AM
R1_Supp#Seafood_p31_Pro3.indd 31
4/21/14 8:41:37 PM
R1_Supp#Seafood_p32_Pro3.indd 32
4/21/14 8:44:21 PM