YUNHEE NEWS
วารสาร ยันฮีนิวส มีนาคม 2558 ฉบับที่ 2 ปที่ 3
เขื่อนภูมิพล ทําพิธีเปด
“ โครงการ 960 ฝาย ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ”
YUNHEE NEWS March 2015 www.bhumiboldam.egat.com
02
03
04
06
07
สถานการณอางเก็บนํ้า คุณภาพนํ้าระบาย จากเขื่อนภูมิพล
ทําความเขาใจ พลังงานหมุนเวียน
โครงการ 960 ฝาย ถวายพระเทพฯ
ลดนํ้าหนัก ดวยอาหารอิ่มนาน
ปาคือช�ว�ต เซลลแสงอาทิตย
2
วารสาร ยันฮีนิวส
บทบรรณาธิการ
ฉบับเดือนมีนาคม 2558
บทบรรณาธิการ EDITOR’S NOTE
ส� า ห รั บ เ ดื อ น กุ ม ภ า พั น ธ์ ที่ ผ่ า นมามี อี ก หนึ่ ง โครงการที่ ยิ่ ง ใหญ่ ใ นปี นี้ คื อ โครงการ 960 ฝาย ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราช สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งได้ จัดพิธีเปิดโครงการไปแล้วบริเวณ ล� า ห้ ว ยวั ง กระเจา ก็ ไ ด้ รั บ ความ ร่วมมือจากทุกฝ่ายเป็นอย่างดี ไม่ ว่ า จะเป็ น ผู้ บ ริ ห าร-ผู้ ป ฏิ บั ติ ง าน เขื่อนภูมิพล, ส่วนราชการ, ก�านัน - ผู้ใหญ่บ้าน, นักเรียน - นักศึกษา โดยเฉพาะชุมชนรอบเขื่อนภูมิพล ชาวเขื่ อ นภู มิ พ ลขอขอบคุ ณ ทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ ม าร่ ว มกิ จ กรรมในครั้ ง
เทศกาลแหงความรักและตรุษจีนที่พึ่งผานไป คงทําใหหลายๆ ท า นมี ค วามสุ ข สํ า หรั บ งานเทศกาลแห ง ความรั ก “วิ ถี วัฒนธรรมแหงความรักเหนือลุมนํ้าปง” ที่จัดขึ้น ณ เกาะ วาเลนไทน อางเก็บนํ้าเขื่อนภูมิพล หากใครพลาดไมไดมา งานปนี้ ก็ไมตองเสียใจ ปหนาฟาใหมก็ยังคงมารวมกันไดคะ นี้ เพราะนอกจากจะเป็นการร่วม เฉลิมพระเกียรติเนือ่ งในโอกาสมหา มงคลนีแ้ ล้ว ยังได้มาร่วมมือกันสร้าง ความอุดมสมบูรณ์ให้กับผืนป่า ที่ เปรี ย บเสมื อ นแหล่ ง อาหารของ ชุมชนและสัตว์ป่าที่ได้ใช้ประโยชน์ ร่วมกัน นอกจากนีแ้ ล้วยังท�าให้เห็น ภาพความประทับใจในความร่วม
แรงร่วมใจของทุกภาคส่วน พวกเรา ขอสัญญาว่าจะดูแลรักษาผืนป่าแห่ง นี้อย่างเต็มก�าลังแทนค�าขอบคุณที่ ทุกท่านได้มาร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ ช่ ว งเดื อ นมี น าคม อากาศ เริ่มเปลี่ยนจากหนาวเย็นเป็นร้อน อบอ้าว หลายๆ คนปรับตัวไม่ทัน อาจไม่สบายได้ ต้องดูแลตัวเอง
ด้วยนะคะ สุขภาพดีมีเงินก็ซื้อไม่ ได้ อยากได้ต้องท�าเองค่ะ ยิ่งท�า มากก็ได้มาก สะสมไว้เพื่อสุขภาพ ที่ดีอย่างยั่งยืนในอนาคต ท้ายนี้ ทางทีมงาน “วารสาร ยันฮี นิวส์” ทุกคนตัง้ ใจและทุม่ เทใน การท�าวารสารด้วยหวังให้เป็นช่อง ทางที่จะท�าให้เราได้ใกล้ชิด และ รู้จักกันมากยิ่งขึ้น หากท่านผู้อ่าน ต้องการติ - ชม ใดๆ พวกเรายินดี น้อมรับเพื่อน�าไปปรับปรุงให้ดีขึ้น ต่อไปค่ะ ขอบคุณทีย่ งั รักและติดตามกัน พบกันใหม่ในฉบับหน้าค่ะ...
ผลการตรวจวัดปริมาณออกซิเจนละลายนํ้า (DO) ประจําเดือนกุมภาพันธ 2558
260.00 ม.รทก.(M.MSL.) ระดับนํ้ากักเก็บสูงสุด
% ปริมาณนํ้ากักเก็บปจจุบัน
07
ลา นล บ.ม
5,839.07
ลาน ลบ.ม.(MCM.)
.(MC M
.)
762
ลา นล บ.ม
.(MC M
, 2039
.)
ระดับนํ้ากักเก็บปจจุบัน
2.93
13,462.00 ลาน ลบ.ม.(MCM.)
56.63
% ปริมาณนํ้าที่สามารถรับไดอีก
21.10
% ปริมาณนํ้าที่สามารถใชงานได
จุดตรวจวัด
43.37
260.00 ม.รทก.(M.MSL.)
1 2
สะพานจามเทวี เขื่อนแมปงตอนลาง
8.35 8.07
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1112 มาตรฐานคุณภาพ คือ
ไมตํ่ากวา 4.00
ปริมาณนํ้ากักเก็บสูงสุด
ติดตอเขื่อนภูมิพล
ที่ปรึกษา นายณัฐวุฒิ แจ่มแจ้ง นายวีระศักดิ์ ศรีกาวี นายณรงค์ ไตรกิจวัฒนกุล นายกมล ศรีสุข
บรรณาธิการ
ผู้อ�านวยการเขื่อนภูมิพล ผู้ช่วยผู้อ�านวยการเขื่อนภูมิพล – ปฏิบัติการ ผู้ช่วยผู้อ�านวยการเขื่อนภูมิพล – บริหาร พยาบาลปริญญา ระดับ 11
หัวหน้าแผนกประชาสัมพันธ์และชุมชนสัมพันธ์ เขื่อนภูมิพล
180/2 หมู่ 6 ต.สามเงา อ.สามเงา จ.ตาก 63130 เขื่อนภูมิพล โทร 0-5588-1211-5 ห้องควบคุมโรงไฟฟา โทร 0-5554-9511 แผนกประชาสัมพันธ์และชุมชนสัมพันธ์ โทร 0-5554-9510 เขื่อนเจ้าพระยา โทร 0-5647-6319
http://www.bhumiboldam.egat.com
ช่องทางรับเรื่องร้องเรียน กฟผ. www.egat.co.th
วารสาร ยันฮีนิวส
ขาวเดน
ฉบับเดือนมีนาคม 2558
3
เราขอทําความเขาใจกับตนเองนิดนึง เราไมเอาคาไฟแพง
เราไมเอาโรงไฟฟา
เราใชไฟฟาแคนี้พอแลว
เราอยากใหความเจริญ มาถึงบาน
แตเราก็ใชไฟฟากันแบบวา
แตเราอยากให ลม แดด
เราอาจไมรู
และบางทีเราก็อาจลืม
อี ก 15 ป ข า งหน า ความ ตองการไฟฟาของคนไทย จะ เพิ่มเปน 2 เทา
แนนอน… โลกเรารอนขึ้นทุกวัน ประเทศไทยมี แ ผนใช พ ลั ง งาน จากแสงอาทิตย ลม และชีวมวล ใหมากถึงรอยละ 25 ในอีก 10 ปขางหนา
ประเทศไทยใช ก า ซธรรมชาติ ผลิตไฟฟารอยละ 67 และแหลง ในประเทศกําลังจะหมดลงใน 8 ป ตอนนั้ น เราต อ งนํ า เช า ก า ซ ธรรมชาติเ หลว ที่มีราคาแพง กวา 2 เทาตัว
เราต อ งการพลั ง งานที่ มั่ น คง เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นเศรษธกิ จ และ คุณภาพชีวิตลูกหลานของเรา ในวันหนา
x2
4
กฟผ.เขื่อนภูมิพล
“โครงการ 960 ฝาย ถวาย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุด
โครงการ 960 ฝาย เขื่ อ นภู มิ พ ลยั ง คงเดิ น หน้ า สื บ สานการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากร ธรรมชาติตามแนวพระราชด�ำริของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดย มุ่งเน้นเรื่องของดูแลรักษาพื้นที่ป่า ไม้เป็นส�ำคัญ ส�ำหรับปี 2558 นี้ ซึ่งถือเป็นอีกหนึ่งวาระมหามงคล ของพสกนิ ก รชาวไทย ที่ ส มเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ ครบ 60 พรรษา ในวันที่ 2 เมษายน 2558 เขื่อนภูมิพลจึงร่วมมือกับ หน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน ตลอด
จนเครือข่ายพันธมิตรต่างๆ จัดท�ำ โครงการ 960 ฝาย ถวายสมเด็จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยาม บรมราชกุ ม ารี ซึ่ ง มี นายมนตรี ชนะชัยวิบูลวัฒน์ รองผู้ว่าราชการ จังหวัดตาก เป็นประธานในพิธเี ปิด “โครงการ 960 ฝาย ถวายสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี เฉลิมพระเกียรติเนื่อง ในโอกาสมหามงคล ทรงเจริญพระ ชนมายุครบ 60 พรรษา” ณ ล�ำห้วย วังกระเจา เขือ่ นภูมพิ ล โดยก่อนท�ำ พิธีเปิดได้มีการถวายราชสดุดี และ ถวายพระพรชัยมงคล แด่สมเด็จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยาม
บรมราชกุมารี โดยมีผู้บริหารและ ผู้ปฏิบัติงานเขื่อนภูมิพล หัวหน้า ส่วนราชการ ผู้บริหารและคณะ แพทย์ พยาบาล โรงพยาบาล สามเงา นักเรียนโรงเรียนสามเงา วิทยาคม คณะอาจารย์ นักเรียน นั ก ศึ ก ษา วิ ท ยาลั ย เกษตรและ เทคโนโลยีตากและจังหวัดต่างๆ เข้าร่วมด้วยกว่า 1,000 คน นายเฉลิ ม ศั ก ดิ์ แหงมงาม นายอ�ำเภอสามเงา กล่าวว่า อ�ำเภอ สามเงาได้ ส นองนโยบายของ จังหวัดตากในการด�ำเนินกิจกรรม เพื่ อ เฉลิ มพระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระ เทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรม
ราชกุมารี โดยอ�ำเภอสามเงาได้ รับมอบหมายให้สร้างฝายจ�ำนวน 10 ฝาย ในการนี้อ�ำเภอสามเงาได้ ร่วมกับหน่วยงานราชการ องค์กร ปกครองส่วนท้องที่ ท้องถิ่น ผู้น�ำ ท้องถิ่น ท้องที่ ชุมชน เครือข่าย และพันธมิตร เพื่อด�ำเนินการ โดย มีเขื่อนภูมิพลเป็นพันธมิตรในการ ด�ำเนินกิจกรรม นับเป็นโอกาสอัน ดีที่เขื่อนภูมิพลจัดพิธีเปิดโครงการ 960 ฝาย ถวายสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อเป็นการสร้างความชุ่มชื้นให้ กับผืนป่า ป่าเปรียบเหมือนห้าง สรรพสินค้าที่มีทุกสิ่งทุกอย่างอยู่
5
9 ขอนารูกอนลงมือสรางฝาย
ดาฯ สยามบรมราชกุมารี”
1. เตรียมรางกายใหพรอมกอนวันสราง ฝาย อยางนอย 2 – 3 สัปดาห 2. ควรใสเสือ้ แขนยาวและกางเกงขายาว และ เปนผายืด เพื่อปกปองแสงแดดและกิ่งไม หรือกอนหินขีดขวนระหวางเดินทางเขาไป ทําฝาย ผายืดเพื่อความสะดวกในการยก และลําเลียงหินหรือเครื่องมือตางๆ 3. สวมใส ถุ ง เท า และรองเท า ผ า ใบ เพื่ อ ปองกันสัตวเลื้อยคลาน
4. สวมถุงมือและหมวกกันแดด ถุงมือจะ ชวยปองกันอุบัติเหตุระหวางการลําเลียง หินได 5. เตรียมเปสะพายหลังหรือยาม เพื่อใส สิ่งของจําเปน อาทิ ขาวหอ นํ้าดื่ม และยา ประจําตัว กระดาษทิชชูเปยก 6. ควรนอนหลับพักผอนใหเพียงพอกอน วันสรางฝาย และไมควรดื่มสุราหรือของ มึนเมา ครบครั น พื ช พั น ธุ ์ ไ ม้ สั ต ว์ ป ่ า สามารถด�ารงชีวิตอยู่ได้ในป่า โดย ไม่ต้องพึ่งพาสิ่งที่อยู่นอกป่าเลย นายณั ฐ วุ ฒิ แจ่ ม แจ้ ง ผู ้ อ� า นวยการเขื่ อ นภู มิ พ ลได้ ก ล่ า ว ว่ า โครงการนี้ เ ป็ น การด� า เนิ น งานร่วมกับส่วนราชการ องค์กร ปกครองส่วนท้องที่ ท้องถิ่น และ ประชาชนชาวจั ง หวั ด ตาก โดย เฉพาะชุมชนรอบอ่างเก็บน�้าเขื่อน ภูมิพล และเครือข่ายคนรักษ์ป่า โดยมีเปาหมายทีจ่ ะสร้างฝายชะลอ น�้า ภายในปี 2558 นี้ ให้ครบ 960 ฝาย เพือ่ เป็นการฟน ฟูปา่ ต้นน�า้ ป่า ชุมชน คืนความอุดมสมบูรณ์ให้กับ
แหล่งต้นน�า้ ล�าธาร ทรัพยากรป่าไม้ และแหล่งน�้าตามธรรมชาติ และ เป็ น การเฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี เนือ่ งในโอกาสมหามงคล ทรงเจริ ญ พระชนมายุ ค รบ 60 พรรษา (ในวันที่ 2 เมษายน 2558) ส�าหรับเขื่อนภูมิพลได้ด�าเนินการ สร้ า งฝายชะลอน�้ า ร่ ว มกั บ ส่ ว น ราชการ ชุมชน พันธมิตรและเครือ ข่ายต่างๆ มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ ปี 2539 จนถึงปจจุบันได้สร้างฝาย ชะลอน�้ า ในพื้ น ที่ ป ่ า ต้ น น�้ า เขื่ อ น ภูมพิ ล และป่าชุมชนอ�าเภอสามเงา เป็นจ�านวนกว่า 12,000 ฝาย...
7. รับประทานอาหารเชากอนเขาปา
8. ตรงตอเวลานัดหมาย และไมเดินแตกกลุม เวลาเขาปา
9. เก็บขยะทุกชิ้นติดตัวกลับมาทิ้งนอกปา
YUNHEE NEWS
วารสาร ยันฮีนิวส
สุขภาพ
HEALTHY
6
ฉบับเดือนมีนาคม 2558
รักษสุขภาพ
โดย แผนกสุขภาพอนามัย เขื่อนภูมิพล
ลดนํ้าหนักดวยอาหารอิ่มนาน ผู้อ่านสังเกตไหมคะว่า อาหารบางประเภท รับ ประทานแล้วจะรู้สึกอิ่มอุ่นท้องไปหลายชั่วโมง ในขณะที่ อาหารบางประเภท รับประทานแล้วอิ่มมาก แต่พอเวลา ผ่านไปไม่นานเท่าไรนัก ก็รู้สึกหิวใหม่อีกครั้ง ความแตก ต่างนี้อธิบายได้จากทฤษฏีการให้คะแนนความอิ่มของ อาหาร ซึง่ พัฒนาขึน้ มาโดยคณะนักวิจยั จากมหาวิทยาลัย ซิดนีย่ ์ ประเทศออสเตรเลีย ซึง่ ได้ทา� การวิจยั โดยน�าอาหาร ทีค่ นรับประทานกันบ่อยๆ เกือบ 40 ชนิด เช่น ข้าว ขนมปง ข้าวโอต ชีส ไข่ ถัว่ ผลไม้ตา่ งๆ ไอศกรีม มาให้กลุม่ ตัวอย่าง รับประทานทีละชนิด โดยให้รับประทานในปริมาณที่ให้ พลังงาน 240 กิโลแคลอรี่เท่ากัน หลังจากนั้นจึงให้กลุ่ม ตัวอย่างนั่งรอเวลาไป 2 ชั่วโมง แล้วจึงเอาอาหารอร่อยๆ มายั่วยวน เพื่อดูว่าจะ รั บ ประทานมากน้ อ ย แค่ไหน ถ้ากลุม่ ตัวอย่าง รับประทานมาก แสดง ว่าอาหารที่รับประทาน ไปในตอนแรก ไม่ อ ยู ่ ท้อง ในทางตรงข้าม ถ้า รับประทานอาหารในปริมาณน้อย แสดงว่า อาหารที่รับ ประทานในตอนแรกอยู่ท้อง แล้วจึงน�าผลที่วัดได้ค�านวณ ออกมาเป็นคะแนนที่เรียกว่า Satiety Index ผลการวิจัย พบว่าอาหารที่ท�าให้เราอิ่มได้นาน คือ อาหารในกลุ่มโปรตีน เช่น ไข่ ถั่ว หรือเนื้อสัตว์ต่างๆ โดย เนือ้ ปลาท�าคะแนนได้สงู สุดในกลุม่ นี ้ ตามมาด้วยอาหารใน กลุ่มแปงไม่ขัดขาว ซึ่งยังมีเส้นใยอาหารอยู่มาก เช่น พาส
คานิยมองคการ กฟผ. F
airness ตั้งมั่นในความเปนธรรม
กฟผ. กําหนดคานิยมองคการ คือ FIRM-C ให ผู ป ฏิ บั ติ ง านยึ ด ถื อ ปฏิบัติใหเกิดวิถีการทํางานรวมกัน คําอธิบาย ดําเนินธุรกิจกับผูเกี่ยวของ เ พื่ อ พั ฒ น า ไ ป สู วั ฒ น ธ ร ร ม ดวยการประพฤติปฏิบัติที่เทา องคการ และเปนเอกลักษณเฉพาะ เทียมและเปนธรรมไมเลือกถือ คน กฟผ. ในการนําไปสูอ งคการชัน้ ปฏิบัติและไมเอาเปรียบ นําในกิจการไฟฟาในระดับสากล โดย มีคําอธิบายและพฤติกรรมที่มุงเนน พฤติกรรมที่มุงเนน ในแตละตัว ดังนี้ - มุงเนนการทํางานที่ โปรงใสตรวจ สอบได - ไมเอาเปรียบผูอื่น ไมเลือกปฏิบัติ
I
ntegrity ยึดมั่นในคุณธรรม
ต้าโฮลวีท ข้าวโอต ขนมปงโฮลวีท ส่วนอาหารที่ได้แชมปความอิ่มนานสุดด้วยคะแนน น�าลิ่วคือ มันฝรั่งต้ม (ส�าหรับคนที่อยากลดน�้าหนัก อาจ รับประทานมันฝรั่งต้มแทนข้าวได้ แต่ไม่ควรปรุงรสด้วย เนย ครีม ชีส) ส�าหรับอาหารที่รับประทานไปได้ไม่เท่าไรก็หิวอีก ท�าคะแนนความอิ่มได้ต�่า คืออาหารในกลุ่มแปงขัดขาว เช่น ครัวซองท์ เค้ก โดนัท ไอศครีม มูสลี ขนมปงขาว เฟ รนช์ฟรายส์ คุ้กกี้ ส�าหรับคนที่อยากลดน�้าหนัก จึงควร เลี่ยงอาหารในกลุ่มนี้ การลดน�้าหนักคือการเลิกคิดว่าจะลดน�้าหนัก เลิก ตะบีต้ ะบันอดอาหาร แต่เป็นการเลือกรับประทานอาหาร อย่างคนผอม เน้นรับประทานอาหารที่อยู่ท้อง แคลอรี่ต�่า วิตามินและสารอาหารสูง รับประทานอย่างมีสติ ร่วมกับ ออกก�าลังกายอย่างสม�า่ เสมอให้ตดิ เป็นวิถกี ารใช้ชวี ติ แล้ว คุณจะผอมได้โดยไม่ต้องอดอาหาร ที่มา : http://med.mahidol.ac.th/ramachannel/
R esponsibility & Accountability
Mutual Respect Commitment to เคารพในคุณคาของคน
Continuous Improvement And Teamwork มุงมั่นในการพัฒนาอยาง ตอเนื่องและทํางานเปนทีม
สํานึกในความ รับผิดชอบและหนาที่ ทําในสิ่งที่เปนความดี ความ ถูกตอง ดวยความซื่อสัตย สุจริต บริสุทธิ์ใจโปรงใสเปด เผย และรักษาคําพูด
คํ า นึ ง ถึ ง ผลประโยชน ข อง ประเทศชาติ ใสใจสังคมชุมชน และการรั ก ษาสิ่ ง แวดล อ ม ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ด ว ยความ เสียสละ อุทิศตนอยางเต็ม กําลังความสามารถ
ปฏิบัติตนตอผูอื่นดวยการ ยกยองใหเกียรติ เคารพใน คุณคาของบุคคลและความคิด เห็น เรียนรูการอยูรวมกับ ชุมชนอยางยั่งยืน
ปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพการ ดํ า เนิ น งานดี ยิ่ ง ขึ้ น อย า ง ตอเนื่อง มุงสูองคการแหง นวัตกรรม และพัฒนาตนให เขากับความเปลี่ยนแปลง
- ซื่อสัตย สุจริตในหนาที่การงาน - ใหความสําคัญกับผลประโยชนของ - รับฟงและเขาใจความรูส กึ ของผูอ นื่ - ใฝรู พัฒนาตนเองใหเขากับความ - รักษาชื่อเสียงขององคการในการ ประเทศชาติ ใสใจสังคม ชุมชน และ - ใหเกียรติและมีนํ้าใจไมตรีตอผูมา เปลี่ยนแปลง ประพฤติปฏิบัติตกใหเปนที่ไววางใจ การรักษาสิง่ แวดลอม ติดตอ - คิดอยางเปนระบบ และบูรณาการ - ประพฤติตนอยูในระเบียบวินัย - ตั้งใจ มุงมั่น ขยันหมั่นเพียร เพื่อสรางสรรคสิ่งใหมๆ - ตรงตอเวลา - มุงผลสําเร็จขององคการและการ - มองการณไกล มองหาโอกาสใหม อยูรวมกับชุมชน อยูเสมอ
วารสาร ยันฮีนิวส
ฉบับเดือนมีนาคม 2558
ปาคือชีวิต
ในอดีต มนุษยมีว�ถีช�ว�ตผูกพันอยูกับปา ใชช�ว�ตรวมกับปาดวย ความเคารพ ดั ง จะเห็ น ได จ ากพิ ธ� ก รรมและความเช�่ อ ต า งๆ ที่ สอดคลองกลมกลืนไปกับธรรมชาติอยางสมดุล ปาเปร�ยบเสมือน เปนแหลงวัตถุดิบตั้งตนของปจจัย 4 อันจําเปนตอการดํารงช�ว�ต ของมนุษย แตถึงกระนั้นเอง มนุษยก็ใชประประโยชนจากปาอยาง ถอยทีถอยอาศัย มีการเร�ยนรูที่จะอยูรวมกันโดยไมเบียดเบียน ซ�่งกันและกัน ว�ถีวัฒนธรรมโดยสวนใหญลวนผูกโยงเกี่ยวกับปา
สิิ่งแวดลอมและพลังงาน
พลังงาน หลักการทํางานของระบบไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย พลังงานแสงอาทิตย์ จัดเป็นอีกหนึง่ พลังงานทางเลือกทีเ่ หมาะสมในการน�า มาปรับใช้กับประเทศไทยของเรา เนื่องจากประเทศไทยตั้งอยู่ในเขต เส้นศูนย์สตู ร ท�าให้มแี สงแดดจ้าเกือบตลอดทัง้ ปี และใน 1 วันก็มแี สงแดด ที่เข้มข้นเพียงพอเพื่อผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ได้ประมาณ 5 ชั่วโมง ในปจจุบนั พลังงานแสงอาทิตย์ได้รบั ความนิยมจากทัง้ ผูป้ ระกอบการและ ประชาชนทั่วไป ในการติดตั้งโซลาเซล หรือเรียกกันอีกชื่อว่า เซลล์แสง อาทิตย์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟา ซึ่งเซลล์แสงอาทิตย์จะผลิตไฟฟากระแส ตรงออกมาเท่านั้น จึงไม่สามารถน�าไปใช้กับอุปกรณ์ไฟฟากระแสสลับ ตามบ้านเรือนได้โดยตรง วิธกี ารน�าไปใช้กบั อุปกรณ์ไฟฟากระแสสลับตาม บ้านเรือนและเก็บสะสมพลังงานไว้ใช้ต่อไปนั้น จะต้องใช้ร่วมกับอุปกรณ์ อื่นๆ โดยต่อรวมเข้าเป็นระบบผลิตกระแสไฟฟาจากเซลล์แสงอาทิตย์ ซึ่ง อุปกรณ์ที่ส�าคัญมีดังนี้
ต่อมาเมือ่ จ�านวนประชากรโลกเพิม่ สูงขึน้ แบบทวีคณ ู ความต้องการปจจัย 4 ซึง่ เป็นปจจัยพืน้ ฐานในการด�ารงชีวติ มีมากขึน้ กอปรกับความเจริญทาง ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท�าให้มาตรฐานในการด�ารงชีวิตของ มนุษย์สูงขึ้น ผู้คนใช้ทรัพยากรมากขึ้นจนเกินความจ�าเป็น จึงท�าให้รูป แบบการอยู่ร่วมกันระหว่างคนและป่าเปลี่ยนไป จากเดิมที่ใช้ประโยชน์ จากป่าเพือ่ ยังชีพ แปรเปลีย่ นมาเป็นการใช้ประโยชน์เพือ่ ตอบสนองความ เจริญทางเศรษฐกิจ ท�าให้เกิดการบุกรุกพืน้ ทีป่ า่ อย่างรวดเร็วและก่อให้เกิด ผลกระทบในหลายๆ ด้านตามมา มีค�ากล่าวที่ว่าป่าคือชีวิต ซึ่งเมื่อวิเคราะห์ให้ดีแล้วก็ถือเป็นค�ากล่าวที่ไม่ เกินจริงเลย เพราะป่าเป็นแหล่งก�าเนิดต้นน้�า ท�าให้มีน้�าไหลลงล�าธาร น้อยใหญ่กลายเป็นแม่น้�าสายส�าคัญๆ ที่หล่อเลี้ยงชีวิตคนนับแสน นับ ล้าน ไอน้�าซึ่งเกิดจากการหายใจของพืช ท�าให้อากาศเหนือป่ามีความชื้น สูงเมื่ออุณหภูมิลดต่�าลงไอน้�าเหล่านั้นก็จะกลั่นตัวเป็นเมฆแล้วกลาย เป็นฝนตกลงมา ท�าให้บริเวณป่ามีความชุ่มชื้นอยู่เสมอ ท�าให้ฝนตกตาม ฤดูกาล นอกจากนี้แล้วป่ายังถือเป็นปอด ท�าหน้าที่ฟอกอากาศและผลิต ออกซิเจนไปพร้อมๆ กัน ป่าเปรียบเสมือนห้องครัวของโลกใบนี้ เพราะมี พืชพันธุม์ ากไม้ทเี่ ราสามารถน�ามาใช้เป็นอาหาร และยังเป็นแหล่งยารักษา โรคเนือ่ งจากพืชสมุนไพรในป่า ไม่เพียงเท่านี ้ ป่ายังเอือ้ ประโยชน์ในการน�า ไม้มาสร้างเป็นที่อยู่อาศัย อย่างไรก็ตามศัตรูส�าคัญที่เป็นตัวการท�าลายล้างความอุดมสมบูรณ์ของ ผืนป่า คือ ไฟป่า ซึ่งส่วนใหญ่มักเกิดจากน้�ามือมนุษย์ ไฟป่ามักเกิดขึ้น ในช่วงฤดูแล้งที่อากาศแห้งและร้อนจัด ส่งผลกระทบต่อมนุษย์เป็นวง กว้าง ทั้งต่อสภาพภูมิอากาศ ที่เปลี่ยนแปลงระบบการไหลเข้าออกของ พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ในชั้นบรรยากาศ จากการปล่อยกาซ เรือนกระจกอย่างไม่มีการควบคุม ท�าให้มีการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลของ โลก และความผันแปรของภูมอิ ากาศตามธรรมชาติ ซึง่ สิง่ เหล่สนีล้ ว้ นเป็น ผลกระทบกลับมาสูม่ นุษย์ ดังนัน้ เราทุกคนต้องช่วยกันเฝาระวังไฟป่า หาก พบเห็นไฟป่าขอความร่วมมือแจ้งเจ้าทีผ่ เู้ กีย่ วข้องหรือโทรสายด่วน 1362 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง
แผงเซลลแสงอาทิตย (Solar Cell) ท�าหน้าที่เปลี่ยนพลังงานแสง อาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟาซึง่ เป็นไฟฟากระแสตรง โดยก�าลังไฟฟาทีผ่ ลิต ได้จากแต่ละเซลล์จะมีขนาดน้อยมาก ดังนัน้ เพือ่ ให้ได้กา� ลังไฟฟาตามความ ต้องการเราจึงต้องน�าแผงเซลล์แสงอาทิตย์หลายๆเซลล์มาต่อกัน หากเรา ต้องการเพิ่มแรงดันไฟฟา ต้องน�าแผง Solar Cell มาต่อกันแบบอนุกรม หรือหากเราต้องการเพิม่ กระแสไฟฟาก็ตอ้ งต่อแผง Solar Cell แบบขนาน เคร�อ่ งควบคุมการประจ� (Charger Controller) ท�าหน้าทีน่ า� ประจุกระ แสไฟฟากระแสตรงทีผ่ ลิตได้จากแผง Solar Cell เข้าไปเก็บไว้ในแบตเตอรี ่ เครื่องแปลงกระแสไฟฟา (Inverter) ท�าหน้าที่แปลงพลังงานไฟฟา กระแสตรง ที่ผลิตจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์หรือที่เก็บไว้ในแบตเตอรีเป็น พลังงานไฟฟากระแสสลับ เพื่อให้สามารถใช้ได้กับอุปกรณ์ไฟฟากระแส สลับตามบ้านเรือนได้ แบตเตอร�่ (Battery) ใช้ส�าหรับเก็บพลังงานไฟฟากระแสตรงที่ผลิต ออกมาจากเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ ใ นขณะที่ มี แ สงแดด และจ่ า ยพลั ง งาน ไฟฟากระแสตรงให้กบั Inverter เพือ่ แปลงเป็นไฟฟากระแสสลับในช่วงที่ ไม่มแี สงแดดไม่ยากเลยนะครับส�าหรับหลักการท�างานของการผลิตไฟฟา จากเซลล์แสงอาทิตย์ แล้วพบกันใหม่ครับ ขอบคุณรูปภาพจาก http://www.scgexperience.co.th/
7
รอยเรียงเรื่องขาวชาวเขื่อนภูมิพล
เขื่อนภูมิพลสนับสนุนโครงการติว O-NET โรงเรียนสามเงาวิทยาคม นายณรงค์ ไตรกิจวัฒนกุล ผู้ช่วยผู้อ�านวยการเขื่อนภูมิพล – บริหาร พร้อมผู้ปฏิบัติงานเขื่อนภูมิพลมอบเงินให้แก่โรงเรียนสามเงาวิทยาคม เพื่อสนับสนุนโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามวิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียน เพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) ของนักเรียน เป็นจ�านวนเงิน 10,000 บาท โดยมีนายวินัย ค�าประดิษฐ์ รองผู้อ�านวยการโรงเรียนสามเงา วิทยาคม และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เป็นผู้รับมอบ
เขื่อนภูมิพลสนับสนุนแผงกั้นจราจร นายณั ฐ วุ ฒิ แจ่ ม แจ้ ง ผู้ อ� า นวยการเขื่ อ นภู มิ พ ล พร้ อ มด้ ว ย นายวีระศักดิ ์ ศรีกาวี ผูช้ ว่ ยผูอ้ า� นวยการเขือ่ นภูมพิ ล – ปฏิบตั กิ าร คณะ ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานเขื่อนภูมิพลร่วมมอบแผงกั้นจราจรให้กับ สถานีต�ารวจภูธรสามเงาจ�านวน 20 แผง โดยมีพันต�ารวจเอก สุทัศน์ ตุ่นทิม และเจ้าหน้าที่ต�ารวจสถานีต�ารวจภูธรสามเงาเป็นผู้รับมอบ เพื่อน�าไปใช้ปฏิบัติภารกิจต่างๆ ของสถานีต�ารวจภูธรสามเงาตลอด จนปิดกั้นเส้นทางต่างๆ เพื่อปราบปรามและเฝาระวังเหตุร้ายต่างๆ
กระดาน ซื้อ-ขาย แลกเปลี่ยน สนใจขอมูล ติดตอ แผนกประชาสัมพันธและชุมชนสัมพันธ เขื่อนภูมิพล โทร. 055 549 510