มคอ.2 M.Arch (Trop Arch) ลง web

Page 1

หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมเขตร้อน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา คณะ สาขาวิชา

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมและการวางแผน

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสูตร ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย :

หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมเขตร้อน ภาษาอังกฤษ: Master of Architecture Program in Tropical Architecture

2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) :

สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สถาปัตยกรรมเขตร้อน) Master of Architecture (Tropical Architecture) สถ.ม. (สถาปัตยกรรมเขตร้อน) M.Arch. (Trop. Arch.)

3. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร (ถ้ามี) หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมเขตร้อน มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถ ในด้ า นการออกแบบสถาปั ต ยกรรม ที่ ต อบสนองกับ สภาพภู มิ อ ากาศ เพื่ อความยั่ ง ยื น ทาง สถาปั ต ยกรรม โดยมีการศึกษาค้น คว้ า ให้เชี่ ย วชาญ น าไปปฏิบัติ ไ ด้ ผ ลจริง ตามปรัชญาของหลักสู ต ร เพื่ อ ตอบสนองความต้องการของหน่วยงาน 4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ  หลักสูตรปริญญาโท 5.2 ภาษาที่ใช้  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย สถ.ม. (สถาปัตยกรรมเขตร้อน) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


5.3 การรับเข้าศึกษา  รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่ใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี 5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น  เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ 5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา  ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร  หลักสูตรปรับปรุง กาหนดเปิดสอนเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2555 ได้พิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ครั้งที่ .....8..../....2554...... เมื่อวันที่......30....... เดือน.......สิงหาคม.......... พ.ศ. ...2554.................. ได้รับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภาสถาบัน ในการประชุมครั้งที่ ...9.../....2554.... เมื่อวันที่.......28...... เดือน.......กันยายน.......... พ.ศ. ...2554.................. 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ในปีการศึกษา 2556 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา (1) สถาปนิกในสาขาสถาปัตยกรรมหลักเชี่ยวชาญพิเศษด้านการออกแบบที่ตอบสนองต่อสภาพ ภูมิอากาศ (2) อาจารย์ในระดับอุดมศึกษา (3) นักวิจัยอิสระ (4) นักวิชาการที่ปรึกษาด้านการประหยัดพลังงานในอาคารทั้งในภาครัฐและเอกชน (5) ผู้ประเมินการใช้พลังงานในอาคาร (6) ผู้ตรวจสอบพลังงานในอาคาร (7) ที่ปรึกษาด้านการออกแบบเพื่อการประหยัดพลังงาน (8) ผู้วิจารณ์บทความด้านการประหยัดพลังงาน

สถ.ม. (สถาปัตยกรรมเขตร้อน) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


9. ชื่อ เลขประจาตัวประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ชื่อ-สกุล คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด (สาขาวิชา) เลขประจาตัวบัตร (ระบุตาแหน่งทางวิชาการ) ปีที่สาเร็จการศึกษา ประชาชน 1. รศ.ดร.ปรีชญา รังสิรักษ์ Ph.D. (Architecture), Australia, 2547 x-xxxx-xxxxx-xx-x 2. รศ.ชนินทร์ ทิพโยภาส สถ.ม. (สถาปัตยกรรมเขตร้อน), 2537 x-xxxx-xxxxx-xx-x 3. รศ.ศุทธา ศรีเผด็จ วท.ม. (เทคโนโลยีการจัดการพลังงาน), x-xxxx-xxxxx-xx-x 2533 4. อ.ดร.รวิช ควรประเสริฐ สถ.ด. (สถาปัตยกรรม), 2550 x-xxxx-xxxxx-xx-x

หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญา การศึกษาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในภูมิอากาศเขตร้อนเพื่อความยั่งยืนทาง สถาปัตยกรรม มีการศึกษาและค้นคว้าวิจยั ให้รอบรู้ทั้งภาคทฤษฏีและปฏิบัติสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้สู่ สากลได้อย่างถูกต้อง ร่วมสมัยสอดคล้องกับความต้องการของสังคม การพัฒนาประเทศ ปลูกจิตสานึกให้เป็นผู้ มีคุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพ และเปิดโอกาสด้านการศึกษาค้นคว้าวิจัยทางสถาปัตยกรรมในระดับสูง 1.2 ความสาคัญ การออกแบบสถาปัตยกรรมเขตร้อน เป็นการนาหลักการออกแบบทางสถาปัตยกรรม และเทคโนโลยี เข้ามาใช้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศในเขตร้อน แก้ไขปัญหาการใช้พลังงานในอาคารที่มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยไม่ทาลายทรัพยากร สอดคล้องกับเศรษฐกิจ และกฎหมายอาคาร สภาพแวดล้อม และ ข้อกาหนด ส่งเสริมพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาและผู้ปฎิบัติงานให้มีศักยภาพและทักษะที่ก้าวทันกับการ เจริญเติบโตทางเทคโนโลยีในปัจจุบัน และเป็นผู้นาทางวิชาการด้านนี้ต่อไป 1.3 วัตถุประสงค์ 1.3.1 ผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถ โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางสถาปัตยกรรมที่เหมาะสม กับสภาพแวดล้อมในภูมิอากาศเขตร้อน ได้แก่ ด้านโครงสร้าง ด้านวัสดุ ด้านควบคุมสภาวะ แวดล้อม ด้านการใช้พลังงานในอาคารอย่างมีประสิทธิภาพ และเปิดโอกาสด้านการศึกษา ค้นคว้าวิจัยทางสถาปัตยกรรมในระดับสูงขึ้น 1.3.2 เพื่อส่งเสริมให้มีการค้นคว้า วิจัยในสาขาวิชาสถาปัตยกรรมเขตร้อน อันจะเป็นประโยชน์ต่อ การพัฒนาการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของประเทศ 1.3.3 เพื่อเผยแพร่และให้บริการความก้าวหน้าทางวิชาการ ในด้านเทคโนโลยีทางสถาปัตยกรรม เขตร้อน แก่สังคมภายนอก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในภาคเอกชน รัฐบาล และนานาประเทศ

สถ.ม. (สถาปัตยกรรมเขตร้อน) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดยใน 1 ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ ซึ่ง 1 ภาค การศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ และภาคฤดูร้อน ให้กาหนดระยะเวลาโดย สัดส่วนเทียบเคียงได้กบั ภาคการศึกษาปกติ ข้อกาหนดต่าง ๆ ไปเป็นตามข้อบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 (ภาคผนวก ก.) 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน  มี 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค  ไม่มี 2. การดาเนินการหลักสูตร 2.1 วัน – เวลาในดาเนินการเรียนการสอน  วัน – เวลาราชการ  นอกวัน – เวลาราชการ (ระบุ) วันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันจันทร์ – วันศุกร์ นอกเวลาราชการ ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์ ภาคฤดูร้อน เดือนเมษายน – เดือนพฤษภาคม 2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา 2.2.1 เป็นผู้สาเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า หรือกาลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษาสุดท้ายของ หลักสูตรระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ข้อกาหนดต่าง ๆ เป็นไปตามข้อบังคับสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ.2553 (ภาคผนวก ก.) 2.2.2 สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาปีการศึกษาสุดท้ายของหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ที่สภาสถาปนิกรับรอง 2.2.3 สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาปีการศึกษาสุดท้ายของหลักสูตรระดับปริญญาตรี หรือ เทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษา สาขาวิชาต่าง ๆ ได้แก่ สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต หลักสูตร 4 ปี ครุศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต หรือ สาขาวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องที่ ก.พ.รับรอง และอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรพิจารณา โดยผ่านการเห็นชอบแล้วเห็นสมควรรับเข้าศึกษา

สถ.ม. (สถาปัตยกรรมเขตร้อน) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 3.1 หลักสูตร 3.1.1 จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร แผน ก แบบ ก 1 36 แผน ก แบบ ก 2 36

หน่วยกิต หน่วยกิต

3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร แผน ก แบบ ก 1 ก. หมวดวิชาวิทยานิพนธ์ ข. หมวดวิชาบังคับ 2 วิชา (เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต ค่าระดับคะแนน เป็น S/U) ค. หมวดวิชาเลือก 1 วิชา (เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต ค่าระดับคะแนน เป็น S/U) แผน ก แบบ ก 2 ก. หมวดวิชาวิทยานิพนธ์ ข. หมวดวิชาบังคับ ค. หมวดวิชาเลือก ง. หมวดวิชาปรับพื้นฐาน (เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต ค่าระดับคะแนน เป็น S/U)

36 36 6

หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต

3

หน่วยกิต

36 12 15 9 6

หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต

3.1.3 รายวิชา แผน ก แบบ ก1 ทาวิทยานิพนธ์ตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต อาจมีการกาหนดให้เรียนรายวิชาหรือกาหนด กิจกรรมวิชาการเพิ่มเติมตามความเห็นของอาจารย์ที่ปรึกษา โดยไม่นบั หน่วยกิต แต่ได้คะแนนมีผลสัมฤทธิ์ตามที่ สถาบันกาหนด หมวดวิชาวิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต หน่วยกิต (บรรยาย–ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 02227401 วิทยานิพนธ์ 1 แผน ก1 12 (0-24-0) THESIS 1 PLAN A1 02227402 วิทยานิพนธ์ 2 แผน ก1 12 (0-24-0) THESIS 2 PLAN A1 02227403 วิทยานิพนธ์ 3 แผน ก1 12 (0-24-0) THESIS 3 PLAN A1

สถ.ม. (สถาปัตยกรรมเขตร้อน) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


หมวดวิชาบังคับ 6 หน่วยกิต (เรียนโดยไม่นบั หน่วยกิต) 02227101 ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY 02227103 การวิเคราะห์ภูมิอากาศในงานออกแบบสถาปัตยกรรม CLIMATE ANALYSIS IN ARCHITECTURAL DESIGN

3 (3-0-6) 3 (2-2-5)

หมวดวิชาเลือก 3 หน่วยกิต (เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต) เลือกจากหมวดวิชาเลือกในแผน ก 2 แผน ก แบบ ก2 ทาวิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต และเรียนรายวิชาจานวน 24 หน่วยกิต หมวดวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 02227101 ระเบียบวิธีวิจัย 3 (3-0-6) RESEARCH METHODOLOGY 02227102 การควบคุมอุณหภาพในอาคาร 3 (2-2- 5) THERMAL CONTROL IN BUILDINGS 02227103 การวิเคราะห์ภูมิอากาศในงานออกแบบสถาปัตยกรรม 3 (2-2- 5) CLIMATE ANALYSIS IN ARCHITECTURAL DESIGN 02227104 ออกแบบสถาปัตยกรรมเขตร้อน 3 (1-6-5) TROPICAL ARCHITECTURAL DESIGN 02227105 สถาปัตยกรรมแบบยั่งยืนและการออกแบบอาคาร เพื่อการประหยัดพลังงาน 3 (2-2- 5) SUSTAINABLE ARCHITECTURE AND ENERGY CONSERVATION BUILDING DESIGN หมวดวิชาเลือก 9 หน่วยกิต ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนในรายวิชาต่อไปนี้ หรือสามารถเลือกเรียนรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนใน ระดับบัณฑิตศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 02227201 แนวความคิดทางโครงสร้างสถาปัตยกรรม 3 (3- 0- 6) STRUCTURAL CONCEPT IN ARCHITECTURE 02227202 แนวความคิดทางสถาปัตยกรรมร่วมสมัย 3 (2 -2- 5) CONCEPT ON CONTEMPORARY ARCHITECTURE 02227203 สัมมนาทางสถาปัตยกรรม 3 (2-2- 5) SEMINAR IN ARCHITECTURE สถ.ม. (สถาปัตยกรรมเขตร้อน) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


02227204

เครี่องมือในการออกแบบอาคารเพื่อการประหยัดพลังงาน 3 (2-2 -5) TOOLS AND APPLICATIONS IN BUILDING ENERGY CONSERVATION DESIGN 02227205 สถาปัตยกรรมไทยและมรดกทางวัฒนธรรม 3 (3- 0- 6) THAI ARCHITECTURE AND CULTURAL HERITAGE 02227206 เทคโนโลยีเหมาะสมสาหรับอาคาร 3 (3-0-6) APPROPRIATE TECHNOLOGY FOR BUILDING 02227207 นโยบายและวางแผนพัฒนาชุมชน 3 (3-0- 6) COMMUNITY DEVELOPMENT PLANNING AND POLICY 02227208 เศรษฐศาสตร์การก่อสร้างและการควบคุมงบประมาณ 3 (3-0- 6) BUILDING ECONOMICS AND COST CONTROL 02227209 บริหารการก่อสร้าง 3 (3-0- 6) CONSTRUCTION MANAGEMENT 02227210 กฎหมายอาคาร สภาพแวดล้อม และข้อกาหนด 3 (3-0- 6) BUILDING, ENVIRONMENT LAWS AND REGULATIONS 02227211 การตรวจสอบ การบริหารการใช้พลังงานและประเมินสภาพแวดล้อมอาคาร 3 (3-0- 6) AUDITS, MANAGEMENT OF ENERGY UTILIZATION AND EVALUATION OF BUILDING ENVIRONMENT 02227212 แสงและเสียงในงานออกแบบสถาปัตยกรรม 3 (2-2-5) LIGHT AND SOUND IN ARCHITECTURAL DESIGN แผน ก แบบ ก2 หมวดวิชาวิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต 02027404 วิทยานิพนธ์ 1 แผน ก2 3 (0-6-0) THESIS 1 PLAN A2 02027405 วิทยานิพนธ์ 2 แผน ก2 9 (0-18-0) THESIS 2 PLAN A2 หมวดวิชาปรับพื้นฐาน 6 หน่วยกิต สาหรับนักศึกษา ที่มีคุณสมบัติเข้าศึกษาหัวข้อ 2.2.3 จะต้องเรียนผ่านวิชาปรับพื้นฐาน 6 หน่วยกิต ในภาคการศึกษาแรกของปีการศึกษาที่เข้าศึกษา โดยกาหนดระดับคะแนน ผ่าน เป็น “S” หรือ ไม่ผ่าน เป็น “U” วิชาปรับพืน้ ฐานที่ทางหลักสูตรกาหนด คือ รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วย ตนเอง) 02227501 ปรับพื้นฐาน 6 (1-10- 7) MASTER QUALIFY

สถ.ม. (สถาปัตยกรรมเขตร้อน) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.