หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา คณะ สาขาวิชา
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศิลปกรรม
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสูตร ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย :
หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ ภาษาอังกฤษ: Master of Fine Arts Program in Visual Arts
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) :
ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ทัศนศิลป์) Master of Fine Arts (Visual Arts) ศป.ม. (ทัศนศิลป์) M.F.A. (Visual Arts)
3. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร (ถ้ามี) หลักสูตรหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ แบ่งออกเป็น 8 วิชาเอก คือ 1) จิตรกรรม 2) ประติมากรรม 3) ภาพพิมพ์ 4) ภาพถ่าย 5) สื่อผสม 6) ศิลปะคอมพิวเตอร์ 7) ศิลปะวิดที ัศน์ 8) ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา 4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรปริญญาโท 5.2 ภาษาที่ใช้ หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย ศป.ม. (ทัศนศิลป์) สาขาวิชาศิลปกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.
5.3 การรับเข้าศึกษา รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่ใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี 5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ 5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร หลักสูตรปรับปรุง กาหนดเปิดสอนเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2555 ได้พิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ครั้งที่ ...8...../...2554..... เมื่อวันที่.....30....... เดือน......สิงหาคม......... พ.ศ. ...2554........ ได้รับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภาสถาบัน ในการประชุมครั้งที่ ....9..../...2554...... เมื่อวันที่......28...... เดือน......กันยายน......... พ.ศ. ...2554........ 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ในปีการศึกษา 2556 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา (1) อาจารย์ นักวิชาการ และนักจัดการทางด้านศิลปกรรม (2) ศิลปินอิสระที่เชี่ยวชาญในวิชาเอกของตนเอง (3) ฝ่ายศิลปกรรมในทุกองค์กรทั้งบริษัทเอกชนหรือหน่วยงานของรัฐบาล (4) รับจ้างอิสระในการผลิตผลงานศิลปกรรมให้สอดคล้องกับสถานที่หรืองานตกแต่ง หรือบูรณาการงานศิลปกรรมให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของผู้วา่ จ้าง 9. ชื่อ เลขประจาตัวประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ชื่อ-สกุล คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด (สาขาวิชา) เลขประจาตัวบัตร (ระบุตาแหน่งทางวิชาการ) ปีที่สาเร็จการศึกษา ประชาชน 1. รศ.อลิตา จั่นฝังเพ็ชร ศ.ม.(จิตรกรรม), 2539 x-xxxx-xxxxx-xx-x 2. รศ.อริยะ กิตติเจริญวิวัฒน์ ศ.ม.(ประติมากรรม), 2536 x-xxxx-xxxxx-xx-x 3. รศ.กันจณา ดาโสภี ศ.ม.(ภาพพิมพ์), 2537 x-xxxx-xxxxx-xx-x 4. รศ.สุรพงษ์ สมสุข ศ.ม.(ภาพพิมพ์), 2540 x-xxxx-xxxxx-xx-x
ศป.ม. (ทัศนศิลป์) สาขาวิชาศิลปกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.
หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญา ปัจจุบันรูปแบบของงานศิลปะมิได้จากัดอยู่เพียงแค่งานจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์เท่านั้น หากแต่เป็นงานศิลปะที่มีลักษณะผสมผสานทั้งรูปแบบแนวความคิดตลอดจนเทคนิควิธีการนาเสนอที่กว้างขวาง อย่างไม่มีขอบเขตจากัด สาขาวิชาศิลปกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ได้จัดทาหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหา บัณฑิต สาขาทัศนศิลป์ (Visual Arts) ขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการของนักศึกษาที่ สาเร็จการศึกษาในระดับ ปริญญาตรีจากทุกสาขาวิชา ที่จะศึกษาต่อในระดับปริญญาโททางด้านศิลปกรรมได้อย่างกว้างขวาง อิสระ โดย ไม่จากัดรูปแบบของการสร้างสรรค์ สามารถครอบคลุมได้ทุกสาขาวิชาทั้งในลักษณะงานศิลปะแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ สื่อผสม ศิลปะภาพถ่าย ศิลปะคอมพิวเตอร์ ศิลปะวิดีทัศน์ และ ศิ ลปะเครื่องปั้ นดิ นเผา ฯลฯ เพื่อ มุ่ง สู่ ความเป็ นเลิศในการสร้างสรรค์ง านศิล ปะผสมผสานกับ ความ เจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี อันสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และปรัชญาของสถาบัน 1.2 ความสาคัญ งานศิลปกรรมในปัจจุบันได้พัฒนาก้าวไกลไปมาก ในทุกๆ สื่อจะมีพัฒนาการอยู่เสมอและในหลายครั้ง ก็ได้มีการผสมผสานสื่อ หรือการบูรณาการสื่อทางศิลปกรรมให้เกิดความหลากหลายกระทั่งเชือ่ มโยงไปสู่ศาสตร์ อื่น ๆ ผลจากการเปลี่ยนแปลงทาให้งานศิลปกรรมร่วมสมัยในยุคนี้ได้เกิดรูปแบบใหม่ ความคิดใหม่อยู่ตลอดเวลา ซึ่งส่งผลมายังผู้ชมงานศิลปกรรมที่แวดล้อมไปด้วยข้อมูลข่าวสาร เทคโนโลยีหรือแม้แต่ความก้าวหน้าทาง วิทยาศาสตร์ให้ได้เกิดตามมาและตีความด้วยความคิดใหม่อยู่เสมอ หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาทัศนศิลป์ เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองความเป็นไปในโลก ศิลปกรรมร่วมสมัยดังกล่าว ในฐานะที่งานศิลปกรรม คือ ส่วนหนึ่งที่จะทาให้วัฒนธรรมของชาติขับเคลื่อนด้วย ผลงานทีส่ ะท้อนแง่คิด จินตนาการ ความรู้สึกและความงาม ให้สังคมได้รับรู้และแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ซึ่งจะ นาไปสูส่ ังคมที่มีฐานรากทางด้านจิตใจที่แข็งแรงและยัง่ ยืน 1.3 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อผลิตบุคลากรทางด้านศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาทัศนศิลป์ แขนงวิชาต่างๆ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ฯลฯ 2) เพื่อยกระดับการศึกษาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ และพัฒนารูปแบบการเรียนศิลปร่วมสมัยของ ไทยให้อยู่ในระดับมาตรฐานสากล 3) เพื่อให้การศึกษาทางทัศนศิลป์ระดับปริญญาโท ที่มุ่งเน้นทางด้านการสร้างสรรค์ควบคู่กับการ บริบททางงานวิชาการ 4) เพื่อเปิดกว้างให้นักศึกษาสร้างสรรค์ผลงานศิลปะได้โดยไม่จากัดรูปแบบ สามารถผสมผสานกับ เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้อย่างอิสระ
ศป.ม. (ทัศนศิลป์) สาขาวิชาศิลปกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.
หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดยใน 1 ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ ซึ่ง 1 ภาค การศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ และภาคฤดูร้อน ให้กาหนดระยะเวลาโดย สัดส่วนเทียบเคียงได้กบั ภาคการศึกษาปกติ ข้อกาหนดต่าง ๆ ไปเป็นตามข้อบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 (ภาคผนวก ก.) 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ไม่มี 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค ไม่มี 2. การดาเนินการหลักสูตร 2.1 วัน – เวลาในดาเนินการเรียนการสอน วัน – เวลาราชการ ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์ 2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผู้สาเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า หรือกาลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษาสุดท้ายของหลักสูตร ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ข้อกาหนดต่าง ๆ เป็นไปตามข้อบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ.2553 และคณะกรรมการสอบคัดเลือกพิจารณาแล้วเห็นสมควรรับเข้า ศึกษา 3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 3.1 หลักสูตร 3.1.1 จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร แผน ก แบบ ก2
48
หน่วยกิต
3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร แผน ก แบบ ก2 ก. หมวดวิชาวิทยานิพนธ์ ข. หมวดวิชาบังคับ ค. หมวดวิชาบังคับเลือก ค. หมวดวิชาเลือก
36 12 21 6 9
หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต
ศป.ม. (ทัศนศิลป์) สาขาวิชาศิลปกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.
3.1.3 รายวิชา หมวดวิชาบังคับ 21
หน่วยกิต หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 4 (1-6-5)
02347101
โครงการทัศนศิลป์ 1 VISUAL ARTS PROJECT 1 02347102 โครงการทัศนศิลป์ 2 VISUAL ARTS PROJECT 2 02347103 แนวคิดในงานทัศนศิลป์ 1 CONCEPT IN VISUAL ARTS 1 02347104 แนวคิดในงานทัศนศิลป์ 2 CONCEPT IN VISUAL ARTS 2 02347105 วิธีการวิจัยทางทัศนศิลป์ RESEARCH METHODOLOGY in Visual Arts 02347106 ศิลปวิจารณ์ ART CRITICISM 02347107 การบริหารจัดการทางทัศนศิลป์ MANAGEMENT OF VISUAL ARTS 02347108 สัมมนาทัศนศิลป์ SEMINAR IN VISUAL ARTS
4 (1-6-5) 2 (2-0-4) 2 (2-0-4) 2 (2-0-4) 2 (2-0-4) 2 (2-0-4) 3 (3-0-6)
หมวดวิชาบังคับเลือก 6 หน่วยกิต โดยแบ่งเป็น 8 วิชาเอก ดังนี้ 1. วิชาเอกจิตรกรรม (MAJOR IN PAINTING) หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 02347401 โครงการจิตรกรรม 6 (2-8-8) PAINTING PROJECT 2. วิชาเอกประติมากรรม (MAJOR IN SCULPTURE) 02347402
โครงการประติมากรรม SCULPTURE PROJECT
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 6 (2-8-8)
3. วิชาเอกภาพพิมพ์ (MAJOR IN PRINTMAKING) 02347403
โครงการภาพพิมพ์ PRINTMAKING PROJECT
ศป.ม. (ทัศนศิลป์) สาขาวิชาศิลปกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 6 (2-8-8)
4. วิชาเอกภาพถ่าย (MAJOR IN PHOTOGRAPHY ART) 02347404
โครงการภาพถ่าย PHOTOGRAPY PROJECT
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 6 (2-8-8)
5. วิชาเอกสื่อผสม (MAJOR IN MIXED MEDIA ART) 02347405
โครงการสื่อผสม MIXED MEDIA PROJECT
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 6 (2-8-8)
6. วิชาเอกศิลปะคอมพิวเตอร์ (MAJOR IN COMPUTER ART) หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 02347406 โครงการศิลปะคอมพิวเตอร์ 6 (2-8-8) COMPUTER ART PROJECT 7. วิชาเอกศิลปะวิดีทัศน์ (MAJOR IN VIDEO ART) 02347407
โครงการศิลปะวิดีทัศน์ VIDEO ART PROJECT
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 6 (2-8-8)
8. วิชาเอกศิลปะเครื่องปั้นดินเผา (MAJOR IN CERAMIC ART) หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 02347408 โครงการศิลปะเครื่องปั้นดินเผา 6 (2-8-6) CERAMIC ART PROJECT หมวดวิชาเลือก 9 หน่วยกิต 02347201 02347202 02347203
ศิลปะวิเคราะห์ ART ANALYSIS ศิลปะผสานสิ่งแวดล้อม ENVIRONMENTAL ART ศิลปะ 3 มิติ 3 - DIMENSIONAL ART
ศป.ม. (ทัศนศิลป์) สาขาวิชาศิลปกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 3 (1-4-4) 3 (1-4-4) 3 (1-4-4)
02347204 02347205 02347206 02347207 02347208 02347209 02347210 02347211 02347212 02347213 02347214
ศิลปะติดตัง้ INSTALLATION ART ชนบทศึกษา RURAL STUDY ภาพถ่าย 1 PHOTOGRAPHY 1 ภาพถ่าย 2 PHOTOGRAPHY 2 ศิลปะคอมพิวเตอร์ 1 COMPUTER ART 1 ศิลปะคอมพิวเตอร์ 2 COMPUTER ART 2 ศิลปะวิดที ัศน์ 1 VIDEO ART 1 ศิลปะวิดที ัศน์ 2 VIDEO ART 2 ไฟฟ้า แสง และเสียง ELECTRICS LIGHT AND SOUND โครงการศึกษาอิสระ 1 INDEPENDENT STUDY PROJECT 1 โครงการศึกษาอิสระ 2 INDEPENDENT STUDY PROJECT 2
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 3 (1-4-4) 3 (1-4-4) 3 (1-4-4) 3 (1-4-4) 3 (1-4-4) 3 (1-4-4) 3 (1-4-4) 3 (1-4-4) 3 (1-4-4) 3 (1-4-4) 3 (1-4-4)
หมวดวิชาวิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต 02347301
วิทยานิพนธ์ THESIS
ศป.ม. (ทัศนศิลป์) สาขาวิชาศิลปกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 12 (0-24-0)