มคอ.2 สถ.ด.สหวิทยาการ ลง web

Page 1

1

มคอ.2

หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา คณะ สาขาวิชา

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมและการวางแผน

หมวดที่ 1. ข้อมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสูตร ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) : สถาปัตยกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการการวิจยั เพื่อการออกแบบ (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Architecture Program in Multidisciplinary Design Research 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) (ภาษาอังกฤษ) ชื่อย่อ (ภาษาไทย) (ภาษาอังกฤษ)

: สถาปัตยกรรมศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต (สหวิทยาการการวิจัยเพือ่ การออกแบบ) : Doctor of Architecture (Multidisciplinary Design Research) : สถ.ด. (สหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ) : Arch D. (Multidisciplinary Design Research)

3. วิชาเอก (ถ้ามี) ระเบียบวิธีวิจัยเชิงพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถิติขั้นสูงเพื่อการวิจัยการออกแบบ เทคนิคการวิจัยเพื่อการออกแบบ กระบวนทัศน์การวิจัยเพื่อการออกแบบ 4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร  แบบ 2.1 สาหรับผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จปริญญาโท 60 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ  หลักสูตรระดับปริญญาเอก 5.2 ภาษาที่ใช้  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย 5.3 การรับเข้าศึกษา  รับทั้งนักศึกษาไทย และนักศึกษาต่างชาติ ที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี สถ.ด.(สหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


2

มคอ.2

5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น  เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ 5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา  ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554 กาหนดเปิดสอนเดือน มิถนุ ายน พ.ศ. 2554 ได้พิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ครั้งที่ ...3....../...2554...... เมื่อวันที่...29......... เดือน ....มีนาคม.............. พ.ศ. ....2554............... ได้รับอนุมัติ / เห็นชอบหลักสูตรจากสภาสถาบันฯ ในการประชุม ครั้งที่..4.../..2554... วันที่....27........เดือน.....เมษายน........พ.ศ...2554........... 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ในปีการศึกษา 2556 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา 8.1 อาจารย์ในระดับอุดมศึกษาทั้งในภาครัฐและเอกชน 8.2 นักวิจัยในระดับอุตสาหกรรมและองค์กรเพื่อพัฒนาการออกแบบ 8.3 นักวิจัยอิสระ 8.4 นักวิชาการในบริษทั ที่ปรึกษา 8.5 นักวิชาการในหน่วยงานภาครัฐ 9. ชื่อ เลขประจาบัตรตัวประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ชื่อ-สกุล (ระบุตาแหน่งทางวิชาการ) 1. รศ.ดร.นพดล สหชัยเสรี 2. รศ.ดร.ปรีชญา รังสิรักษ์ 3. อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด (สาขาวิชา) ปีที่สาเร็จการศึกษา Ph.D.(Urban Geography), 2538 Ph.D. (Architecture), 2547 Ph.D. (Educational and Communication Technology), 2547

เลขประจาตัวประชาชน x-xxxx-xxxxx-xx-x x-xxxx-xxxxx-xx-x x-xxxx-xxxxx-xx-x

สถ.ด.(สหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


3

มคอ.2

หมวดที่ 2. ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญา ศึกษาการบูรณาการความเข้าใจในหลักการวิจัยเชิงประจักษ์ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อนา ผลลัพธ์มาใช้สาหรับการออกแบบทางกายภาพ และเทคนิควิธีการออกแบบ รวมทั้งการเรียนการสอน การออกแบบ สมัยใหม่ ทฤษฎีสมัยใหม่ในการออกแบบ ปรัชญาการพัฒนา ระเบียบวิธีการวิจัย เทคนิคการวิจัย และปรัชญาการ ออกแบบศึกษา เพื่อนาไปใช้ในการสอนการออกแบบสาหรับระดับอุดมศึกษา โดยเน้นการตอบสนองต่อการรับรู้ ของผู้ใช้ด้านจิตวิทยาสภาพแวดล้อม การมีส่วนร่วมของผู้ใช้ และความยั่งยืนทางระบบนิเวศที่สัมพันธ์กับความมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) อันจะนาให้เกิดการ พัฒนาด้านการออกแบบในระดับชาติอย่างยั่งยืน 1.2 ความสาคัญ เนื่ องจากองค์ความรู้ด้ านการออกแบบ มักเกิดจากผลของการวิจั ย เช่ นเดีย วกับศาสตร์ ในสาขา สังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ดังนั้นกระบวนการและระเบียบวิธีการวิจัย จึงนับว่ามีความสาคัญต่อการสร้างองค์ ความรู้ใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาหรับบุคลากรด้านการศึกษาตลอดจนนักวิชาชีพที่ทาหน้าที่อธิบายงานออกแบบ ดังนั้นหลักสูตรนี้ จึงมุ่งเน้นการเรียนการสอนสาหรับการสร้างองค์ความรู้ใหม่เชิงประจักษ์เพื่อต่อยอดความรู้เดิม 1.3 วัตถุประสงค์ 1.3.1 เพื่อผลิตบัณฑิตด้านการวิจัยออกแบบเชิงประจักษ์ (Empirical Research) ที่มีขีดความรู้ ความสามารถและความเชี่ยวชาญตามปรัชญาของหลักสูตร มีทกั ษะในการทาวิจัย ด้านการเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถสร้างองค์ความรู้ในศาสตร์และทฤษฎีด้านการวิจัยเพื่อการออกแบบ เพื่อตอบสนองความต้องการของ หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง 1.3.2 เพื่อสนับสนุนให้มีการวิจัยในสาขาวิชาการออกแบบศึกษาและการวิจัยเพื่อการออกแบบเพื่อ ตอบสนองต่อทฤษฎีสมัยใหม่ ในสาระอันจะเป็นประโยชน์แก่การศึกษาและสังคมโดยทั่วไป 1.3.3 เพื่อเผยแพร่ผลงานการวิจัยและให้บริการด้านสาขาวิชาการออกแบบศึกษาและการวิจัยเพื่อการ ออกแบบต่อสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐและ ภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง

สถ.ด.(สหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


4

มคอ.2

หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดยใน 1 ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ ซึ่ง 1 ภาค การศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ และภาคฤดูร้อน ให้กาหนดระยะเวลาโดยสัดส่วน เทียบเคียงได้กับภาคการศึกษาปกติ ข้อกาหนดต่าง ๆ ไปเป็นตามข้อบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 (ภาคผนวก ก.) 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน  ไม่มีภาคฤดูร้อน 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค ไม่มี 2. การดาเนินการหลักสูตร 2.1 วัน - เวลาในดาเนินการเรียนการสอน  วัน – เวลาราชการปกติ ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์ 2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา  เป็นผู้สาเร็จการศึกษาปริญญาโทหรือเทียบเท่า โดยข้อกาหนดต่างๆ เป็นไปตามข้อบังคับของ สถาบันว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 (ภาคผนวก ก.)  มีคุณสมบัติเพิ่มเติม ดังต่อไปนี้คือ ผู้สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนสุดท้ายของหลักสูตรปริญญาโทจาก สถาบันอุดมศึกษาที่หน่วยงานราชการรับรองทางด้านต่าง ๆ ดังนี้ - ปริญญาโททางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาสถาปัตยกรรมหลัก สถาปัตยกรรมเขตร้อน สถาปัตยกรรม ภายใน เทคนิคสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม การออกแบบ ศิลปอุตสาหกรรม - ปริญญาโททางการวางผังเมืองและภาค - ปริญญาโททางศิลปะ - ปริญญาโททางวิทยาศาสตร์ หรือครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาสถาปัตยกรรม เทคนิคสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม สาขาการออกแบบตกแต่งภายใน การวางผังเมืองและภาค การออกแบบศิลปอุตสาหกรรม การ ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ทั้งนี้จะต้องสาเร็จการศึกษาปริญญาโทในแผน ก และผ่านการเรียนวิชาด้านการออกแบบทางวิชาชีพเช่น สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมภายใน ภูมิสถาปัตยกรรม การออกแบบศิลปอุตสาหกรรม ศิลปกรรม และการวาง สถ.ด.(สหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


5

มคอ.2

ผังกายภาพด้านเมืองในระดับปริญญาโท รวมกันไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต และวิทยานิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษา จะต้องเน้นเชิงวิจัย และผ่านการเรียนวิชาการวิจัยทางสังคมศาสตร์ หรือการวิจัยเพื่อการออกแบบ และวิชาสถิติ ในระดับปริญญาบัณฑิตศึกษาโดยได้รับเกรดในวิชาดังกล่าวไม่ต่ากว่า B+ และมีเกรดเฉลี่ยในระดับปริญญาโทไม่ต่า กว่า 3.50 ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินจิ ของคณะกรรมการประจาหลักสูตร 3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 3.1 หลักสูตร 3.1.1 จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร  แบบ 2.1 (ผู้เข้าศึกษาสาเร็จปริญญาโท) 3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร ก. หมวดวิชาบังคับ (Core Courses) ข. หมวดวิชาทฤษฎีร่วมการออกแบบ ค. วิชาเฉพาะทางที่อาจารย์ที่ปรึกษากาหนดให้ (ไม่นบั หน่วยกิต ให้ค่าระดับคะแนนเป็น S/U) ง. หมวดวิทยานิพนธ์

60 หน่วยกิต 12 หน่วยกิต 12 หน่วยกิต - หน่วยกิต 36 หน่วยกิต

คาอธิบายและเหตุผลที่จะต้องศึกษาวิชาต่างๆ มีดังนี้ (1) วิชาที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์กาหนดให้ (Assigned Courses) วิชากลุ่มนี้ประกอบด้วยวิชาในระดับปริญญาเอก และวิชาระดับปริญญาโท ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต ตามที่อาจารย์ผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์กาหนดให้ศึกษา โดยเลือกจากรายวิชาที่เปิดสอนทั้งในหมวดวิชาเฉพาะของตน และจากหมวดอื่น ๆ เพื่อความรอบรู้ของผู้เรียน ซึ่งจะสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการวิจัยและการทาวิทยานิพนธ์ ได้โดยตรง ควรจะเลือกศึกษาต่อเนื่องกันตามลาดับความยากและสิ่งที่ต้องรู้เป็นพืน้ ฐาน และให้สัมพันธ์กับ งานวิจยั (2) หมวดวิชาวิทยานิพนธ์ (Doctoral Dissertation) หมวดวิชานีป้ ระกอบด้วยกลุ่มวิชาวิจัยอันเป็นส่วนหนึ่งของการทาวิทยานิพนธ์ และวิทยานิพนธ์เป็นวิชา บังคับซึ่งเน้นถึงการทาวิจัยเชิงความคิดริเริ่ม และค้นพบวิชาการหรือทฤษฎีใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ทางด้านวิชาการในศาสตร์ดา้ นสถาปัตยกรรมและการออกแบบ และมีมาตรฐานทางวิชาการระดับสากล โดย นักศึกษาจะต้องพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์เมื่อเริ่มลงทะเบียนวิชาวิจัยอันเป็นส่วนหนึ่งของการทาวิทยานิพนธ์ จากนั้นเขียนหัวข้อและเค้าโครงวิทยานิพนธ์ตามแบบฟอร์มที่บณ ั ฑิตศึกษากาหนด แล้วเสนอให้คณะกรรมการสอบ หัวข้อและเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ซึ่งบัณฑิตศึกษาแต่งตั้งเป็นผูส้ อบและพิจารณาอนุมัติ เพื่อให้มาตรฐานของ วิทยานิพนธ์อยู่ในระดับสูง นักศึกษาที่จะทาการสอบวิทยานิพนธ์จะต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) ก่อนไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา และได้นาเสนอการเสวนาในที่ประชุมทางวิชาการที่คณะฯ จัด ขึ้นไม่ต่ากว่า 2 ครั้ง

สถ.ด.(สหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


6

มคอ.2

(3) การสอบวิทยานิพนธ์ (Final Defense of Dissertation) วิทยานิพนธ์ที่เขียนขึน้ จะต้องผ่านการตรวจรับทางวิชาการจากอาจารย์ทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ์ ก่อนที่จะ จัดพิมพ์เป็นรูปเล่มตามแบบฟอร์มที่บัณฑิตศึกษากาหนดขึ้น บัณฑิตศึกษาจะแต่งตั้งคณะกรรมการสอบ วิทยานิพนธ์ อย่างน้อย 5 ท่าน ซึ่งประกอบด้วยอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ผู้ทรงคุณวุฒิทงั้ ภายในและภายนอก สถาบันที่มีคุณวุฒิเป็นไปตามข้อบังคับสถาบัน (อาจเป็นกรรมการชุดเดียวกันกับกรรมการสอบวัดคุณสมบัติ) (4) หมวดวิชาการเสวนา (Colloquium) หมวดวิชานี้เป็นวิชาบังคับสาหรับหลักสูตรซึ่งเป็นการฝึกทักษะความสามารถในการอ่าน การเข้าใจ การ ค้นคว้าทดลอง การถ่ายทอดความคิด และการบรรยายผลงานวิจัย ในห้องเสวนาตามหัวข้อที่ได้กาหนดขึ้น การ เสวนานี้รวมถึงการเข้าฟังคาบรรยายทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิและเสนอบทความที่ได้เรียบเรียงขึ้นด้วยตนเอง ซึ่งอาจเป็นส่วนหนึ่งของหัวข้อวิทยานิพนธ์ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักฟังความคิดเห็นและผลงานของผู้อื่น ได้ รู้จักช่วยตัวเองในการค้นคว้าและทดลองที่ถูกต้องทางเทคนิค และช่วยให้นักศึกษามีความเชื่อมั่นในตนเองในการ เสนอผลงานต่อผู้อื่น วิชานี้จะเป็นรากฐานให้นักศึกษารู้จักการทางานวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์ต่อไป นักศึกษาจะต้อง เข้าร่วมฟังการเสวนาในลักษณะการเสวนาเป็นรายสัปดาห์ทุกสัปดาห์ตลอดเวลาที่มีสภาพเป็นนักศึกษาและ ลงทะเบียนเรียนภายในประเทศ โดยใช้หลักเกณฑ์การนับเวลาเรียนเช่นเดียวกันกับวิชาที่มีการเรียนการสอนปกติ นักศึกษาจะต้องนาเสนอในการเสวนา อย่างน้อยสองครั้งก่อนที่จะสามารถเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์เป็นครั้งสุดท้าย (5) การศึกษาในมหาวิทยาลัยต่างประเทศ นักศึกษาจะต้องใช้เวลาในมหาวิทยาลัยต่างประเทศ โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจา ส่วนงานวิชาการของคณะ เพื่อทาการทบทวนวรรณกรรมสาหรับวิทยานิพนธ์และเรียนรายวิชาโดยมีอาจารย์เป็นผู้ ชี้นา (Directed Study) กับอาจารย์ที่จะทาการตรวจพิจารณาวิทยานิพนธ์ควบคู่กัน หลังจากได้รับเข้าศึกษาสาหรับ กิจกรรมดังกล่าว 3.1.3 รายวิชา (1) หมวดวิชาบังคับ (Core courses) 12 หน่วยกิต 02278101 02278102 02278103 02278104

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) ระเบียบวิธีวิจัยเชิงพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ 3(3-0-6) SOCIAL AND BEHAVIORAL RESEARCH METHODOLOGY สถิติขั้นสูงเพื่อการวิจัยการออกแบบ 3(2-2-5) ADVANCED STATISTICS FOR DESIGN RESEARCH เทคนิคการวิจัยเพื่อการออกแบบ 3(2-2-5) DESIGN RESEARCH TECHNIQUES กระบวนทัศน์การวิจัยเพื่อการออกแบบ 3(2-2-5) PARADIGMS IN DESIGN RESEARCH

สถ.ด.(สหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


7

มคอ.2

(2) หมวดวิชาร่วมทฤษฏีการออกแบบ 12 หน่วยกิต หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 3(2-2-5)

02278201 พฤติกรรมมนุษย์กับสภาพแวดล้อม HUMAN BEHAVIOR AND ENVIRONMENT 02278202 การวิเคราะห์วิจารณ์การออกแบบ DESIGN CRITICISM 02278203 การออกแบบเพื่อสาธารณะชนถ้วนหน้า UNIVERSAL DESIGN 02278204 การออกแบบโดยผู้ใช้มีสว่ นร่วม PARTICIPATORY DESIGN 02278205 ระบบนิเวศและการออกแบบเพื่อความยั่งยืน ECOSYSTEM AND SUSTAINABLE DESIGN 02278206 วิธีการสอนการออกแบบ METHODS OF TEACHING DESIGN 02278207 ปรัชญาและจิตวิทยาการศึกษาสาหรับการสอนการออกแบบ PHILOSOPHY AND PSYCHOLOGY IN DESIGN EDUCATION 02278208 ปัจจัยด้านมนุษย์และการออกแบบสภาพแวดล้อม HUMAN FACTORS AND ENVIRONMENTAL DESIGN 02278209 ทฤษฏีการออกแบบสมัยใหม่ MODERN DESIGN THEORY 02278210 ทฤษฏีด้านวิธีการออกแบบ DESIGN METHODOLOGY

3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5)

(3) หมวดวิชาเฉพาะทางที่อาจารย์ที่ปรึกษากาหนดให้ หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 3 (1- 4 - 4)

02278901 การวางแผนเมืองเบื้องต้น FUNDAMENTAL URBAN PLANNING 02278902 เศรษฐศาสตร์สังคมเมือง URBAN SOCIO-ECONOMICS 02278903 การวางแผนโครงสร้างพื้นฐานและการขนส่งชุมชนเมือง URBAN INFRASTRUCTURE AND TRANSPORTATION PLANNING 02278904 นโยบายและการบริหารสภาพแวดล้อมชุมชนเมือง URBAN ENVIRONMENTAL POLICY AND MANAGEMENT

3 (2 - 2 - 5) 3 (2 - 2 - 5) 3 (2 - 2 - 5)

สถ.ด.(สหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


8

02278905 02278906 02278907 02278908 02278909 02278910 02278911 02278912 02278913 02278914 02278915 02278916 02278917 02278918 02278919 02278920 02278301

มคอ.2

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) วิธีการวิจัยและสถิติเพื่อการวางแผน 3 (2 - 2 - 5) RESEARCH METHODOLOGY AND STATISTICAL ANALYSIS FOR PLANNING ทฤษฎีการวางแผนและพัฒนา 3 (2 - 2 - 5) PLANNING AND DEVELOPMENT THEORY การวางแผนเมืองขั้นสูง 3 (1- 4 - 4) ADVANCED URBAN PLANNING การวางแผนการขนส่งและการใช้ทดี่ ินขั้นสูง 3 (2 - 2 - 5) ADVANCED TRANSPORTATION AND LAND USE PLANNING ระบบนิเวศเมืองกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน 3 (2 - 2 - 5) URBAN ECOLOGY AND SUSTAINABLE DEVELOPMENT หลักการวางแผนสิ่งแวดล้อม 3 (2- 2 - 5) PRINCIPLES OF ENVIRONMENTAL PLANNING นโยบายที่ดนิ และเคหะการอย่างยั่งยืน 3(2 - 2 - 5) SUSTAINABLE LAND AND HOUSING POLICY การวางแผนการพัฒนาพืน้ ที่อยู่อาศัยในเมือง 3(2 - 2 - 5) URBAN RESIDENTIAL DEVELOPMENT PLANNING ความรู้เบื้องต้นในการออกแบบชุมชนเมืองสาหรับนักวางแผน 3(2 - 2 - 5) INTRODUCTION TO URBAN DESIGN FOR PLANNERS การวิจัยพฤติกรรมกับสภาพแวดล้อมเมือง 3(2- 2- 5) URBAN ENVIRONMENT AND BEHAVIOR RESEARCH การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม 3(2 - 2 - 5) CULTURAL HERITAGE MANAGEMENT การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยว 3(2 - 2 - 5) TOURISM DEVELOPMENT PLANNING การวางแผนเพื่อพัฒนาเมือง 3(2 - 2 - 5) URBAN DEVELOPMENT PLANNING การสารวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สาหรับการวางแผน 3(1 - 4 - 4) REMOTE SENSING AND GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEM FOR PLANNING เทคนิควิธีการวิเคราะห์การวางแผนเชิงปริมาณ 3(2 - 2 - 5) QUANTITATIVE PLANNING ANALYSIS METHODS การศึกษาพิเศษ 3 (0 - 6 - 3) SPECIAL STUDIES วิจัยสถาปัตยกรรมภายในขั้นสูง 3(3-0-6) ADVANCED INTERIOR ARCHITECTURAL RESEARCH

สถ.ด.(สหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


9

มคอ.2 หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 3(3-0-6)

02278302 โครงการด้านสถาปัตยกรรมภายใน PROJECTS IN INTERIOR ARCHITECTURE 02278303 การศึกษาเฉพาะบุคคล INDEPENDENT RESEARCH STUDY 02278304 การออกแบบเพื่อความยั่งยืนสาหรับสถาปัตยกรรมภายใน SUSTAINABLE DESIGN FOR INTERIOR ARCHITECTURE 02278305 การออกแบบเพื่อสุขภาพ HEALTHY DESIGN 02278306 การออกแบบเพื่อผู้สูงอายุ DESIGN FOR THE AGING POPULATION 02278307 การมีส่วนร่วมในการออกแบบ PARTICIPATORY DESIGN PROCESS 02278308 สถาปัตยกรรมภายในและวัฒนธรรมไทย INTERIOR ARCHITECTURE IN THAI CULTURAL PERSPECTIVE 02278309 สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของไทย THAI VERNACULAR DESIGN 02278310 สัญญศาสตร์ในงานสถาปัตยกรรม SEMIOTICS OF THE IMAGE 02278311 อัตตวิสัยในงานสถาปัตยกรรม MODERN ARCHITECTURE AND SUBJECTIVITY 02278312 เทคโนโลยีการออกแบบระบบภายในอาคารเชิงบูรณาการ INTEGRATED BUILDING SYSTEM AND TECHNOLOGY 02278313 การออกแบบสถาปัตยกรรมภายในเพื่อตอบสนองความต้องการพิเศษของผู้ใช้ UNIVERSAL DESIGN FOR INTERIOR ARCHITECTURE 02278314 การวางแผนและการประเมินงานออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน INTERIOR ARCHITECTURE PROGRAMMING AND EVALUATION 02278400 ปรัชญาของการออกแบบที่สง่ ผลต่อมนุษย์ PHILOSOPHY OF DESIGN AND HUMAN INTERACTION 02278402 ทฤษฎีในการออกแบบ THEORETICAL ORIENTATIONS IN DESIGN 02278403 ระเบียบวิธีวิจัยขัน้ สูงสาหรับการออกแบบ ADVANCED RESEARCH METHODOLOGY IN DESIGN 02278404 การศึกษาและการเรียนการสอนด้านการออกแบบ DESIGN EDUCATION

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

สถ.ด.(สหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


10

02278405 02278406 02278407 02278408 02278409 02278410 02278411 02278412 02278413 02278414 02278415 02278501 02278502 02278503 02278504

02278505

มคอ.2

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) ทฤษฎีที่สอดคล้องกับนวัตกรรมและการวิเคราะห์ 3(3-0-6) INNOVATION THEORY AND ANALYSIS สุนทรียศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ 3(3-0-6) AESTHETIC CONCEPTS RELATED TO DESIGN กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 3(2-2-5) PRODUCT DEVELOPMENT PROCESS การออกแบบผลิตภัณฑ์กับสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) PRODUCT DESIGN AND ENVIRONMENT การออกแบบในมุมมองโลกาภิวตั น์ 3(3-0-6) DESIGN IN GLOBAL PERSPECTIVES การออกแบบและพฤติกรรมผู้บริโภค 3(3-0-6) DESIGN AND HUMAN BEHAVIORS ปัจเจกศึกษา 3(3-0-6) DIRECTED STUDY IN DESIGN กราฟิกเชิงสร้างสรรค์เพื่อสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) CREATIVE GRAPHICS FOR ENVIRONMENT การออกแบบโดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน 3(3-0-6) TECHNOLOGY BASED DESIGN ความคิดสร้างสรรค์ในงานศิลปะและการออกแบบ 3(3-0-6) CREATIVE THINKING IN ART AND DESIGN การแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ 3(3-0-6) CREATIVE PROBLEM SOLVING FOR DESIGN การควบคุมอุณหภาพในอาคาร 3(2-2-5) BUILDING THERMAL CONTROL แสงและเสียงในงานออกแบบสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) LIGHT AND SOUND IN ARCHITECTURAL DESIGN การวิเคราะห์ภูมิอากาศในงานออกแบบสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) CLIMATE ANALYSIS IN ARCHITECTURAL DESIGN สถาปัตยกรรมแบบยั่งยืนและการออกแบบอาคารเพื่อการประหยัดพลังงาน 3(2-2-5) SUSTAINABLE ARCHITECTURE AND ENERGY CONSERVATION BUILDING DESIGN การใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบอาคารเพื่อการประหยัดพลังงาน 3(2-2-5) COMPUTER APPLICATION IN BUILDING ENERGY CONSERVATION DESIGN

สถ.ด.(สหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


11 02278506 การตรวจสอบการบริหารการใช้พลังงานและประเมินสภาพแวดล้อมอาคาร AUDITS, MANAGEMENT OF ENERGY UTILIZATION AND EVALUATION OF BUILDING ENVIRONMENT 02278507 ประสิทธิภาพในการออกแบบสถาปัตยกรรม EFFICIENCY IN ARCHITECTURAL DESIGN 02278508 ทฤษฎีที่ว่างทางสถาปัตยกรรม THEORY OF SPACE IN ARCHITECTURE 02278509 อุปกรณ์ประกอบอาคารขั้นสูง ADVANCE BUILDING EQUIPMENT 02278510 วัสดุก่อสร้างและการบารุงรักษา BUILDING MATERIALS AND MAINTENANCE 02278511 เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับอาคาร APPROPRIATE TECHNOLOGY FOR BUILDING 02278512 โครงสร้างขั้นสูงและยุทธวิธีในการก่อสร้าง ADVANCED STRUCTURES AND CONSTRUCTION METHODS 02278513 แนวคิดทางโครงสร้างสถาปัตยกรรม STRUCTURAL CONCEPTS IN ARCHITECTURE 02278514 การก่อสร้างในระบบอุตสาหกรรม INDUSTRIALIZED BUILDING CONSTRUCTION 02278601 การศึกษาพิเศษทัศนศิลป์ SPECIAL STUDY IN VISUAL ART 02278602 การวิจัยขั้นสูงเพื่อศิลปกรรม ADVANCED RESEARCHES IN ARTS 02278603 การศึกษาวัฒนธรรม CULTURAL STUDIES 02278604 การจัดการศิลปกรรมและงานมรดกทางวัฒนธรรม ART AND CULTURAL HERITAGE MANAGEMENT 02278605 สัญวิทยากับภาษาทางวัฒนธรรม SEMIOTICS AND LAGUAGE OF CULTURE 02278606 สุนทรียศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับศิลปกรรม AESTHETICS AND VISUAL ART 02278607 ศิลปวิจารณ์ ART CRITICISM 02278608 ปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับศิลปกรรม PHILOSOPHY OF ART

มคอ.2 3(2-2-5)

3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5)

สถ.ด.(สหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


12 (4) หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

36

02278001 วิทยานิพนธ์ 1 DISSERTATION 1 02278002 วิทยานิพนธ์ 2 DISSERTATION 2 02278003 วิทยานิพนธ์ 3 DISSERTATION 3 02278004 วิทยานิพนธ์ 4 DISSERTATION 4 02278005 วิทยานิพนธ์ 5 DISSERTATION 5 (5) หมวดวิชาทดสอบความรอบรู้ 02278801 การเสวนา 1 COLLOQUIUM 1 02278802 การเสวนา 2 COLLOQUIUM 2 02278803 การเสวนา 3 COLLOQUIUM 3 99022782 การสอบวัดคุณสมบัติ QUALIFYING EXAMINATION

มคอ.2

หน่วยกิต หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 6(0-12-0) 6(0-12-0) 6(0-12-0) 6(0-12-0) 12(0-24-0)

-

สถ.ด.(สหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.