ลักษณะร่วมสมัยในงานศิลปะแขนงต่างๆ : ทัศนะของศิลปิน

Page 1

ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

1


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

2


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

โครงก�รวิจัย “ก�รวิจ�รณในฐ�นะปร�กฏก�รณรวมสมัย เพื่อพัฒน�คว�มรูด�นสังคมศ�สตรก�รวิจ�รณ”

ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ:​ ทัศนะของศิลปน

ä´ÃѺ¡ÒÃʹѺʹع¨Ò¡ Êӹѡ§Ò¹¡Í§·Ø¹Ê¹ÑºÊ¹Ø¹¡ÒÃÇԨѠ(Ê¡Ç.)

3


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน ISBN : พิมพครั้งที่ 1  พ.ศ. 2553 จำ�นวน  1,000  เลม สงวนลิขสิทธิ์ ราคา บาท ที่​ปรึกษา​กอง​บรรณาธิการ​  เจตนา นาค​วัชระ และ สุวรรณา เกรียงไกร​เพ็ชร  กอง​บรรณาธิการ  อรพิน​ ท​คำ�สอน​  จักร​นาท นาค​ทอง  และ ทิฆัมพร ขุน​เณร รูป​เลม จักร​นาท นาค​ทอง​  พิสูจนอักษร  อรพินท คำ�สอน​  ออกแบบ​ปก จักร​นาท นาค​ทอง จัดพิมพ โดย : สำ�นักพิมพ

ตู ป.ณ. 9 ปท. ออนนุช กทม. 10250 โดยไดรับทุนอุดหนุนจากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พิมพที่ : บริษัท กิจไพศาลการพิมพ และซัพพลายส  จำ�กัด โทรศัพท  0 2331 8958 โทรสาร 0 2332 6742 จัดจำ�หนายโดย : สายสงศึกษิต บริษัทเคล็ดไทย 117-119 ถนนเฟองนคร เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท  0 2225 9539 ถึง 8 โทรสาร 0 2222 5188

4


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

สารบัญ หนา คำ�นำ�​ผูอำ�นวย​การ สกว. คำ�นำ�สำ�นักพิมพ รายงานความ​กาวหนา​ในการ​วิจัย ธีระ นุช​เปยม ลักษณะ​รวม​สมัยใน​งาน​วรรณศิลป อัศศิริ ธรรม​โชติ ลักษณะ​รวม​สมัยใน​งาน​ทัศนศิลป อรรฆ​ย ฟอง​สมุทร ลักษณะ​รวม​สมัยใน​งาน​ศิลปะ​การละคร ประดิษฐ ปราสาท​ทอง ลักษณะรวมสมัย​ใน​งาน​สังคีต​ศิลป อมานัต จันทรวิโรจน สรุ​ป ธีระ นุช​เปยม

7 9 11 17 29 43 57 64

5


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

6


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

คำ�นำ�ของผูอำ�นวยการ สกว. สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ยึดถือเปนนโยบายมา ตัง้ แตเริม่ กอตัง้ วา จะใหการสนับสนุนการวิจยั ในทุกสาขา และในทุกรูปแบบ ถาการ วิจัยนั้นสามารถตอบโจทยที่มีความสำ�คัญตอประเทศชาติและตอความกาวหนา ทางวิชาการ การดำ�เนินการวิจยั เปนหมูค ณะในดานมนุษยศาสตรจดั ไดวา เปนทิศ ทางใหมส�ำ หรับวงการวิจยั ไทย ทัง้ นักวิจยั และทัง้ สกว. เองในฐานะผูใ หการสนับสนุน ตระหนักดีวา กำ�ลังรวมทางกันในการแสวงหาประสบการณใหมทนี่ า จะเปนตัวจักร สำ�คัญในการปรับระบบการวิจัยของไทย โครงการวิจยั “การวิจารณในฐานะปรากฏการณรว มสมัยเพือ่ พัฒนาความ รูดานสังคมศาสตรการวิจารณ” ในชวงแรก (1 เมษายน 2549-31 ธันวาคม 2550) ซึ่งมี ผศ. ดร. ธีระ นุชเปยม เปนหัวหนาโครงการ นับเปนโครงการสืบเนื่องจาก โครงการวิจัยเรื่อง “การวิจารณในฐานะพลังทางปญญาของสังคมรวมสมัย” ซึ่ง มีขอบงชี้สำ�คัญประการหนึ่ง คือ การจะเขาใจวาการวิจารณเปนพลังทางปญญา ที่เอื้อใหเกิดความเขาใจมนุษยและสังคมไดอยางไรนั้น ตองอาศัยความเขาใจ สภาพทางสังคมรวมสมัยที่เกี่ยวกับการวิจารณดวย และเพื่อชวยใหเกิดความ เขาใจสภาพสังคมที่เกี่ยวของกับการวิจารณ และการสรางงานศิลปะสาขาตางๆ ในฐานะที่เปนปรากฏการณรวมสมัย โครงการวิจัยสืบเนื่องที่กลาวถึงขางตน จะ อาศัยแนวทางทีเ่ รียกวา “สังคมศาสตรการวิจารณ” (a social science of criticism) ซึ่งใชแนวคิดและวิธีการของสังคมศาสตร ที่จะชวยใหสามารถเชื่อมโยงความเปน เหตุและผลของปจจัยตางๆ เชน สถานะและระดับการศึกษาของผูรับงานศิลปะ ความใกลชิดกับงานศิลปะ การลมสลายของชุมชนที่ในปจจุบันขาดความเชื่อม โยงระหวางผูส รางกับผูร บั และการครอบงำ�ของบริโภคนิยมทีส่ ง ผลกระทบตอรูป แบบและแนวทางของทัง้ การสรางและการรับงานศิลปะ ทัง้ นีเ้ พือ่ นำ�ไปสูเ ปาหมาย ของการวิจยั ทีม่ งุ หาขอสรุปและขอคนพบเกีย่ วกับความสัมพันธระหวางบริบททาง สังคมที่กำ�ลังเปลี่ยนแปลง การสรางสรรคงานศิลปะ การรับงานศิลปะ และการ 7


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

วิจารณ ในฐานะที่เปนปรากฏการณรวมสมัย สกว. พิจารณาแลวเห็นวา มีความจำ�เปนที่จะตองสนับสนุนใหเกิดการ ปรับองคความรูใ นดานการวิจารณใหเปนประโยชนตอ การศึกษาสำ�หรับประชาชน จึงไดใหทุนสนับสนุนโครงการวิจัยนี้ที่มีลักษณะเปนการวิจัยและพัฒนา โดยมี การศึกษาการสราง การรับ และการวิจารณงานศิลปะไปพรอมๆกับการสราง ประสบการณในการวิจารณใหแกกลุมบุคคลตางๆ และในรูปแบบตางๆ จะเห็น ไดวาผลงานที่นำ�เสนอมา ณ ที่นี้ เปนการนำ�ประสบการณการรับและวิจารณงาน ศิลปะที่นำ�มาวิเคราะหเพื่อหาขอสรุปรวมในเชิงวิชาการที่จะนำ�ไปประยุกตใชใน วาระอื่นและโอกาสอื่นไดดวย อาจจะเปนไปไดวา การสัง่ สมประสบการณในการรับและการวิจารณศลิ ปะ เปนทางที่จะนำ�ไปสูการสรางประสบการณในการวิจารณชีวิตและสังคม ซึ่งนา จะเปนเครื่องยืนยันไดวา ทั้งผูวิจัยและ สกว. ไดรวมกันเดินมาถูกทางแลว

ศ.ดร. ปยะวัติ บุญ-หลง ผูอำ�นวยการสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

8


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

คำ�นำ�ของ​สำ�นัก​พิมพ นั ก ​ศิ ล ปะ​แ ละ​นั ก ​วิ จ ารณ ​ก ลุ  ม หนึ่ ง   อาจจะ​ยั ง ​ถ กเถี ย ง​กั น ​ว  า คำ � ​ว  า  “ศิลปะรวมสมัย” นั้น​จะ​หมาย​ถึงอยางไร จะ​นิยาม​คำ�​วา​รวมสมัย​อยางไร จะ​กิน​ ขอบเขต​และ​งานศิลปะ​ไดม​ าก​นอย​แคไหน แต​การ​นิยาม​ความ​หมาย  ยัง​ไม​สำ�คัญ​เทากับ​การ  “ทำ�ความเขาใจ” กับ​ปรากฏการณ​ของ​ความ​เปน​ศิลปะ​รวมสมัย  ตั้งแต​ความ​สัมพันธ​ของ​ตัว​ศิลปน​ กับ​การ​สรางสรรค​ผล​งานศิลปะ  กระบวนการ​สรางสรรค​งานศิลปะ​ใน​บริบท​ทาง สังคม​ที่​แตกตางกัน  การ​ผสม​ผสาน​งานศิลปะ​ออกมา​เปนงาน​รวมสมัย  รวม ทั้ง​การ​วิจารณ​งานศิลปะ​รวมสมัย​โดย​ใช​เครื่องมือ​ทาง​การ​วิจารณ​ที่​แตกตางกัน และ​ตาง​ยุคสมัยก​ ัน ลักษณะ​รวมสมัย​ใน​งานศิลปะ​แขนง​ตางๆ  :  ทัศนะ​ของ​ศิลปน เปนการ​รวบรวม​ขอมูล​จาก​การ​สัมมนา​ใน​โครงการ “การ​วิจัย​การ​วิจารณ​ใน​ฐานะ​ ปรากฏการณ​รวมสมัย​เพื่อ​พัฒนา​ความรู​ดาน​สังคมศาสตร​การ​วิจารณ”  โดย​ มี ผศ. ดร. ธีระ นุช​เปยม เปนห​ ัวหนา​โครงการ โดย​โครงการ​ได​จัดส​ ัมมนา​กลุม เฉพาะ​เกี่ยวกับ​ศิลปะ​ทั้ง 4 สาขา คือ วรรณศิลป ทัศนศิลป ศิลปะ​การ​แสดง และ​ สังคีต​ศิลป โดย​เชิญ​ศิลปน​เปน​ตนแบบ​มา​แสดง​ความ​คิดเห็น​เกี่ยวกับ​ความ​รวม สมัยข​ อง​ศิลปะ​สาขา​ของ​ตน ใน​ฐานะ​ศิลปน​ผูผลิต​งาน​รวมสมัย ขอมูล​จาก​ศิลปน​จะ​ทำ�ให​มอง​เห็นภาพ​ของ​การ​สราง​งานศิลปะ​ใน​สังคม ​รวมสมัย  โดย​นอกจาก​บริบท​ทาง​สังคม​จะ​มีผลตอ​การ​สรางสรรค​งาน  และ ทัศนคติ​ของ​ศิลปน​เอง​ก็​เปน​สิ่ง​สำ�คัญยิ่งที่จะ​สรางงาน​ออกมา​ได​อยาง​ลึกซึ้ง และ​ มีค​ วาม​เปน​เอกลักษณ​ของ​ศิลปน สิ่ง​สำ�คัญ​อีกอ​ ยาง​คือ การ​ที่​มี “ผูวิจารณ” งาน ศิลปะ ก็​สงผลตอ​การ​สราง​งานศิลปะ​เชน​เดียวกัน ลักษณะ​รวมสมัย​ใน​งานศิลปะ​แขนง​ตางๆ  :  ทัศนะ​ของ​ศิลปน เปน​ขอมูล​สำ�คัญ  ที่​สามารถ​นำ�ไปใช​ใน​การ​อางอิง​ทาง​วิชาการที่​เกี่ยวกับ​ศิลปะ 9


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

รวมสมัยได​อยาง​ดี และ​เปน​หนังสือ​ที่​สถาบัน​การ​ศึกษา และ​องคกร​ที่​เกี่ยวของ​กับ​ ศิลปะ​ทั้ง 4 สาขา จำ�เปนอ​ ยางยิ่ง​ที่จะ​ตอง​มี​ไว​เพื่อ​ความ​กาวหนา​ทาง​วิชาการดาน ​ศิลปะ สำ � นั ก พิ ม พ ​ช มนาด  ขอ​ข อบคุ ณ ​โ ครงการ  “การ​วิ จ ารณ ​ใ น​ฐ านะ​ ปรากฏการณ​รวมสมัย​เพื่อ​พัฒนา​ความรู​ดาน​สังคมศาสตร​การ​วิจารณ”  ที่​ให​ ความ​ไวใจ​ใน​การ​จัดพิมพผ​ ล​งาน​มี​คุณคา​ทาง​วิชาการ​เลม​นี้ และ​หวัง​อยางยิ่ง​วา​ สังคม​การ​ศึกษา​ของ​ไทย​จะ​ได​รับประโยชน​จาก​การนำ�​ขอมูล​ไป​ใช​เพื่อ​ประโยชน​ ทาง​วิชาการ​สืบไป สำ � หรั บ ​ผู  ​ส นใจ​สั่ ง ซื้ อ ​ห นั ง สื อ ​ใ น​โ ครงการ  “การ​วิ จ ารณ ​ใ น​ฐ านะ ​ปรากฏการณ​รวมสมัย​เพื่อ​พัฒนา​ความรู​ดาน​สังคมศาสตร​การ​วิจารณ”  สามารถ สั่งซื้อ​ไดที่  ผู​จัดจำ�หนาย​  เคล็ด​ไทย  02-2259536-40   หรือ​ติดตอ สำ�นักพิมพ​ ชมนาด 02-3682182 และ​อีเมล combangweb@yahoo.com สำ�นักพิมพ​ชมนาด

10


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

รายงานความกาวหนาในการวิจัย* ธีระ นุชเปยม

ผศ. ดร. ธีระ นุชเปย ม หัวหนาโครงการกลาววาสาระสำ�คัญของการเสนอ รายงานความกาวหนาของโครการวิจัยฯในครั้งนี้สะทอนอยูในผลงานที่นักวิจัย คณะกรรมการที่ปรึกษา และคณะกรรมการกำ�กับทิศทางรวมกันคิดและพิจารณา ดังนั้น สิ่งที่จะนำ�เสนอในครั้งนี้จึงนับวาเปนผลที่ไดจากการวิเคราะห สังเคราะห และรวมกันถกเถียงในประเด็นตางๆ จนกอใหเกิดผลงานจากการคนควาของ โครงการฯ หัวหนาโครงการแบงการนำ�เสนอรายงานความกาวหนาออกเปน 3 สวนคือ 1. เนื้อหา หั ว หน า โครงการกล า วว า ในส ว นเนื้ อ หาของโครงการฯที่ เ น น ก็ คื อ ปรากฏการณทางศิลปะรวมสมัย นับเปนสวนสำ�คัญในการคนควา นัน่ คือ โครงการฯ ไดคดั สรรศิลปนและปรากฏการณทางศิลปนรวมสมัยบางอยางเพือ่ เปนกรณีศกึ ษา และคาดวาปรากฏการณที่ตัดสรรมาเหลานี้จะสามารถสะทอนปรากฏการณทาง ศิลปะรวมสมัยทั้งหมดได โดยโครงการฯคาดวาขอสรุปและขอคนพบบางอยาง เหลานี้จะนำ�ไปเปนขอบงชี้ในการศึกษาตอไป นอกจากนี้ หัวหนาโครงการได *

หนังสือ “ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน”  เรียบเรียงจากการ ถอดเทปบันทึกการประชุมประจำ�ป  ในวันที่ 19 ก.ย. 2549  ของโครงการวิจัย “การวิจารณใน ฐานะปรากฏการณรวมสมัย เพื่อพัฒนาความรูดานสังคมศาสตรการวิจารณ” ซึ่งมี ผศ. ดร. ธีระ นุชเปยม เปนหัวหนาโครงการ  ไดรับการสนับสนุนจากสำ�นักงานสนับสนุนการวิจัย (สกว.)  โดยมี อรพินท คำ�สอน และ จักรนาท นาคทอง  เปนผูบันทึกการประชุม 11


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

อธิบายคำ�วา “ศิลปะรวมสมัย” ที่ ศ.ดร. เจตนา นาควัชระ ไดใหนิยามไววา งาน สรางสรรคทผี่ สู รางประสานสัมพันธความรูส กึ นึกคิดตลอดจนสุนทรียอารมณสว น ตนใหเขากับความสำ�นึกในความเปนสวนหนึง่ ของสังคมของตน โดยมุง สรางงาน อันกอปรดวยความหมาย คุณคา และพลังทางปญญา ทีส่ อื่ สารไดกบั มหาชนในยุค ของตน และแฝงไวซึ่งความคาดหวังที่จะสงสารขามยุคขามสมัยไปสูอนาคตใหได หัวหนาโครงการนำ�เสนอตัวอยางกิจกรรมของโครงการโดยสังเขป ซึ่งแบงเปน สาขาตางๆ ดังนี้ - สาขาวรรณศิลป จัดการสัมมนา 2 เรื่อง คือ “25 ปการวิจารณ ‘คำ�พิพากษา’” เมื่อวันเสารที่ 5 สิงหาคม 2549 และ “80 ป อังคาร กัลยาณพงศ” วันพุธที่ 8 สิงหาคม 2550 - สาขาทัศนศิลป จัดการสัมมนาในหัวขอ “ปญญา วิจนิ ธนสาร: ปรากฏการณศลิ ปะ ไทยรวมสมัย” เมื่อวันเสารที่ 23 ธันวาคม 2549 - สาขาศิลปะการละคร จัดการสัมมนาในหัวขอ “มองการอภิวัฒนนาฏศิลปไทย ผานผลงานของ พิเชษฐ กลั่นชื่น” เมื่อวันเสารที่ 18 พฤศจิกายน 2549 - สาขาสังคีตศิลป มีก�ำ หนดการจัดสัมมนาในหัวขอ “รวงทองสองทางศิลป” ในวัน เสารที่ 3 และวันอาทิตยที่ 4 พฤศจิกายน 2550 กิจกรรมที่ดำ�เนินการไปแลวใน 3 สาขานั้น นับเปนเนื้อหาหลักของ โครงการ นอกจากนีย้ งั ไดอธิบายถึงปรากฏการณการวิจารณ วาการวิจารณไมมี สูตรสำ�เร็จตายตัว และไมมีทฤษฎีทางศิลปะทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใชไดโดยตรง แตการวิจารณนับเปนปรากฏการณรวมสมัยดวยตัวเอง และหนาที่หลักของการ วิจารณกค็ อื การชวยชีป้ ระเด็นไมวา จะเปนประเด็นดานสุนทรียศาสตร ดานสังคม และดานจริยธรรม อันจะกอใหเกิดการครุน คิดและถกเถียง ซึง่ ลักษณะการวิจารณ และประเด็นตางๆเหลานั้นจะเปลี่ยนแปลงไปตามสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป  ความ คิดในประเด็นนีเ้ สนอไวอยางชัดเจนในบทวิเคราะหการสัมมนา “25 ป การวิจารณ ‘คำ�พิพากษา’ “ ของ รศ.ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ ในประเด็น “ดูบทวิจารณจาก 12


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

สังคมและดูสังคมจากบทวิจารณ” และในการสัมมนาครั้งนี้แสดงใหเห็นถึงพัฒนา ในตัวบทวิจารณวรรณกรรมเรือ่ งนีท้ สี่ ามารถแบงไดเปน 3 ชวง แตละชวงหางกัน ประมาณ 10 ป และแตละชวงตางก็มปี ระเด็นและสารในการตีความตางกันไป ทัง้ นี้ และจะนำ�บทวิเคราะห พรอมรายงานการสัมมนาฯดังกลาวมาตีพมิ พเผยแพรตอ ไป นอกจากนี้ หัวหนาโครงการยังนำ�เสนอในประเด็น “สังคมศาสตรแหงการ วิจารณ” โดยชี้ใหเห็นวาปรากฏการณทางศิลปะ และปรากฏการณในการวิจารณ นับเปนปรากฏการณทางสังคมก็วา ได เนือ่ งจากปรากฏการณทางศิลปะ นอกจาก ผลงานทางศิลปะและสะทอนสำ�นึกรวมสมัยของสังคมและศิลปนแลว ยังทำ�หนาที่ เปนตัวกลางทางศิลปะดวย ในทีน่ หี้ วั หนาโครงการขอใชค�ำ วา infrastructure เชน สำ�นักพิมพ การตลาด หอศิลป ภัณฑารักษ สื่อ และการประชาสัมพันธตางๆดวย เชน การที่ผูคนไปชมคอนเสิรตบางครั้งก็เปนเรื่องของการตลาดมากกวาที่จะเปน ตัวคอนเสิรตเพียงอยางเดียว จึงเห็นไดวาการวิจารณก็พัฒนาไปตามสังคมดวย เนือ่ งจากทัง้ ปรากฏการณในทางศิลปะและการวิจารณเปนสวนหนึง่ ของสังคมและ วัฒนธรรมดวย ซึ่งก็มีประเด็นเฉพาะออกไปที่เกี่ยวของกับสังคม เชน การวิจัย การรับการวิจารณ ซึ่งเปนโครงการยอยที่ดำ�เนินการวิจัยไปแลวในโครงการวิจัย “การวิจารณในฐานะพลังทางปญญาของสังคมรวมสมัย” สิง่ ทีโ่ ครงการฯคนพบ ไมวา จะในประเด็นเกีย่ วกับปรากฏการณทางศิลปะ รวมสมัย และการวิจารณนั้นบงบอกอะไร และจะนำ�สิ่งที่ไดรับมานั้นพัฒนาเปน สังคมศาสตรแหงการวิจารณตอ ไป ในทีน่ ี้ คำ�วา “สังคมศาสตรแหงการวิจารณ” นัน้ อาจารยเจตนาใหนิยามไววา  องคความรูและหลักวิชาอันเปนผลจากการสกัด ประสบการณการวิจารณศลิ ปะในฐานะกิจสาธารณะ ในลักษณะทีช่ ใี้ หเห็นถึงความ สัมพันธระหวางการสรางสรรคและการรับงานศิลปะกับบริบทและเงือ่ นไขทางสังคม ทั้งในอดีตและปจจุบัน อันอาจนำ�ไปสูการชี้ทางไปสูอนาคตได  นิยามตางๆที่ โครงการกำ�หนดไวนนั้ นับเปนแนวทางอันเปนเครือ่ งชีท้ างเบือ้ งตนใหกบั โครงการฯ

13


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

2. วิธีการศึกษา หัวหนาโครงการกลาววาการศึกษาวิจยั ของโครงการฯนับเปนงานบุกเบิก ที่จำ�เปนตองสรางวิธีการศึกษาขึ้นมาเอง เมื่อศึกษามาถึงขณะนี้ก็สามารถเห็น ทิศทางบางอยางแลว และหลักการอันสำ�คัญทีโ่ ครงการยึดเปนแนวทาง ซึง่ สะทอน อยูใ นการทำ�งานของเราคือ การไดสมั ผัสและไดมที วิวจั น (dialogue) กับศิลปนหรือ ผูสรางสรรค เนื่องจากการไดสนทนาแลกเปลี่ยนกับผูสรางสรรคจะชวยทำ�ใหเขา ใจทั้งปรากฏการณศิลปะรวมสมัยและเขาใจถึงสังคมศาสตรแหงการวิจารณดวย ดังนัน้ การศึกษาตางๆ ของโครงการจึงไดเชิญผูส รางสรรคมารวมสัมมนาดวยเสมอ นอกจากนี้ ในบทวิเคราะหการสัมมนา “25 ป การวิจารณ ‘คำ�พิพากษา’” ของอาจารย รื่นฤทัยก็ไดแสดงใหเห็นอยางชัดเจนวา หลังจากไดมีโอกาสไดแลกเปลี่ยนความ คิดกับคุณชาติ กอบจิตติ ในการสัมมนาฯ อาจารยเจตนา นาควัชระ ก็ไดผอน คลายความคิดเรือ่ งวรรณกรรมเปนสมบัตขิ องนักอาน และนักวิจารณไมจ�ำ เปนตอง นำ�ขอมูลจากปากคำ�ของผูแ ตงมาใชประกอบการตีความวรรณกรรม เนือ่ งจากเห็น วาแมไมจ�ำ เปนตองเชือ่ ตามเสมอไป แตขอ มูลบางอยางก็มปี ระโยชนทชี่ ว ยยืนยัน การตีความของนักวิจารณ เหตุการณนี้นับวาเปนตัวอยางที่แสดงใหเห็นปจจัย ยอนกลับวาทวิวัจนมีประโยชนอยางไรไดอยางชันเจนและเปนรูปธรรม หั ว หน า โครงการชี้ ใ ห เ ห็ น แนวทางหรื อ เค า ร า งการดำ � เนิ น การของ โครงการฯวา โครงการฯใหความสนใจในการศึกษาใน 3 สวน คือ ศิลปน ผลงาน สรางสรรค และ ผลงานวิจารณ และในทั้ง 3 สวนตางก็จะพัฒนาและเปลี่ยนแปลง ไปตามบริบทของสังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป และสิง่ สำ�คัญทีไ่ มสามารถจะละเลยไดใน ขณะที่ศึกษาและวิจารณงานศิลปะก็คือ แนวคิดเรื่องสุนทรียศาสตร เนื่องจาก สุนทรียศาสตรจะกอใหเกิดหลักคิดบางประการ ขณะเดียวกันแนวทางสำ�คัญที่ โครงการศึกษานั้นก็คือการศึกษาสภาพสังคมไปพรอมกันดวย โดยเฉพาะอยาง ยิง่ ในประเด็นทีว่ า เราจะหาพืน้ ทีข่ องปรากฏการณรว มสมัยในทางศิลปะไดอยางไร

14


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

3. ขอคนพบ (finding) หัวหนาโครงการกลาววาขอคนพบที่โครงการฯมีในขณะนี้นั้นยังไมอาจ ถือไดวา เปนขอสรุปรวมทัว่ ไป แตกเ็ ปนแนวทางบางอยางทีไ่ ดน�ำ เสนอไวบา งแลว ในบทวิเคราะหของอาจารยรนื่ ฤทัยดังทีก่ ลาวถึงไปแลวขางตน และบทวิเคราะหการ สั ม มนา “มองการอภิ วั ฒ น น าฏศิ ล ป ไ ทยผ า ยผลงานของพิ เ ชษฐ กลั่ น ชื่ น ” ของอาจารยปาริชาติ จึงวิวัฒนาภรณ นั้น ขอไมกลาวถึงในรายละเอียดในที่นี้ หากมีผูใดสนใจก็ขอใหตามอานไดเมื่อโครงการฯจัดพิมพออกมาเปนหนังสือแลว สวนขอคนพบอื่นๆที่หัวหนาโครงการกลาวถึงสามารถแบงออกไปเปนประเด็น ตางๆดังนี้ 3.1 การเสพ การรับ การบริโภคงานศิลปะ หัวหนาโครงการกลาววาไดขอสรุปบางอยาง โดยเฉพาะอยางยิ่งเรื่อง ของ “ตัวกลาง” 3.2 สุนทรียศาสตรในบริบทของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป หัวหนาโครงการยกตัวอยางประเด็นเรือ่ งการเปลีย่ นพืน้ ทีข่ องบริบททาง ศิลปะ โดยยกกรณีของปญญา วิจินธนสารวา จิตรกรรมไทยแตเดิมอยูในวัด ใน โบสถ หรือในศาสนสถาน แตงานของปญญาไดเปลี่ยนพื้นที่การแสดงงานศิลปะ ไปยังโรงแรม สนามบิน และพืน้ ทีส่ าธารณะอืน่ ๆ หัวหนาโครงการชีใ้ หเห็นวาการ เปลี่ยนสถานที่แสดงงานเชนนี้ชวยทำ�ใหงานศิลปะใกลชิดกับผูรับมากขึ้น และ สามารถผสานกับวิถชี วี ติ รวมสมัยไดมากขึน้ และอาจจะชวยใหผรู บั เขาถึงจิตรกรรม ไทยรวมสมัยไดงายกวาจิตรกรรมแบบไทยประเพณีมากขึ้นดวย 3.3 ศิลปะกับการอภิวัฒนในศิลปะรวมสมัย คำ�วา “อภิวัฒน” มีความหมายมากกวาการประยุกต เชน การตัดตอน นาฏศิลปไทยเพื่อรองรับนักทองเที่ยว ซึ่งนำ�เปนการเปลี่ยนแปลงเพื่อใหศิลปะ ประเพณีด�ำ รงอยูไ ดในระดับหนึง่ แตในงานของพิเชษฐ กลัน่ ชืน่ มิไดท�ำ เพียงเชน 15


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

นัน้ แตเปนการคิดตอ และเปนการกาวตอไปจากขนบดัง้ เดิม ผูส นใจสามารถอาน แนวคิดในประเด็นนีเ้ พิม่ เติมจากบทวิเคราะหของอาจารยปาริชาติ จึงวิวฒ ั นาภรณ และในกรณีของพิเชษฐนั้น หัวหนาโครงการกลาววาอาจารยเจตนาก็เคยไดให ความเห็นไววาเปนตัวอยางที่แสดงใหเห็นวาศิลปนไดสืบทอดขนบดั้งเดิมของ งานมาในระดับที่สามารถที่จะหลอมรวมในระดับของจิตวิญญาณ หรืออาจเรียก อีกอยางหนึ่งวามีรากหรือมีครู ขณะเดียวกันก็แสวงและสรางทางเดินของตนเอง ได เชน การแสดงโขนของพิเชษฐก็มิใชโขนที่แตงองคทรงเครื่องโขนแบบเต็ม รูป แตเขาก็สามารถแสดงใหเห็นความงดงามและความมีพลังของโขนไดแมวา จะไมแตงเครือ่ งโขนเลยก็ตาม อีกทัง้ อาจารยเจตนาก็ยงั ยืนยันในประเด็นนีว้ า เมือ่ ศิลปนสามารถยืนยันตัวตนและบทบาทของตนไปจนสุดทาง ก็จะสามารถสื่อสาร กับประชาคมโลกได ซึ่งก็เหมือนกับการกาวไปสูโครงสรางลึก (deep structure) เมื่อนั้นศิลปนก็จะกาวพนขอบเขตทางวัฒนธรรมของตน 3.4 ความรวมสมัยของผลงานกับความรวมสมัยของบทวิจารณ ในประเด็นนี้ อาจารยรื่นฤทัยไดแสดงความคิดไวในบทวิเคราะห การ สัมมนา “25 ป การวิจารณ ‘คำ�พิพากษา’” วาการดำ�รงอยูของตัวงานบางครั้งมิ ไดผกู ติดอยูก บั ตัวบทวิจารณโดยตรง แตทงั้ สองคือความรวมสมัยของผลงาน กับ ความรวมสมัยของบทวิจารณ สอดคลองกันและไปดวยกัน จนสงผลใหนวนิยาย เรื่ อ งคำ�พิพากษา ยั ง คงมี ผู  อ  า นและผู  วิ จ ารณ ม านานถึ ง 25 ป   นอกจากนี้ อาจารยรื่นฤทัยยังชี้ใหเห็นวาชี้ใหเห็นวา ความอยูยงคงกระพันของตัวงานมี ปฏิสัมพันธกับความอยูรอดของการวิจารณ นวนิยายเรื่องนี้เดินเคียงขางไปกับ บทวิจารณบนถนนวรรณกรรมอยางเคารพในบทบาทของกันและกัน การประกอบ สรางตัวบทอาจจะสมบูรณหรือไมสมบูรณขึ้นกับทัศนะของนักวิจารณแตละคน แตไมอาจปฏิเสธไดเลยวา ความเขมขนของตัวบทชวนใหนักวิจารณตางยุคตาง สมัยพลิกเหลีย่ มมุมของตัวบทมาพิจารณาอยางพินจิ พิเคราะห หากมีตวั บทใหมๆ ทีม่ พี ลังทาทายความสามารถในการตีความไดไมสนิ้ สุดปรากฏตอเนือ่ งไมขาดระยะ 16


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ลักษณะรวมสมัยในงานวรรณศิลป อัศศิริ ธรรมโชติ

คุณอัศศิริ ธรรมโชติ จบการศึกษาจากคณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย เปนศิลปนแหงชาติสาขาวรรณศิลป และไดรับรางวัลซีไรตจาก ขุนทองเจาจะกลับเมื่อฟาสาง คุณอัศศิริ กลาววาโดยสวนตัวเห็นวางานวรรณศิลป งานวรรณกรรม ตลอดจนงานศิลปะทั้งหลายตางเปนสวนหนึ่งของสังคม เปนองคาพยพสวนหนึ่ง ดังนัน้ เมือ่ สังคมมีสภาพอยางไร งานวรรณกรรรมก็จะเปนอยางนัน้ นีค่ อื ลักษณะ รวมสมัยทางศิลปะ เหมือนกระจกเงาทีส่ ะทอนและเปนกระจกเงาทางจิตวิญญาณ ของสังคมที่แสดงทุกขสุขที่สังคมเปนอยู คุณอัศศิริยกตัวอยางที่แสดงใหเห็น ลักษณะรวมสมัยของสังคมในงานวรรรศิลป โดยยกตอนหนึ่งจากเพียงความ เคลื่อนไหว ของคุณเนาวรัตน พงษไพบูลยที่วา

โซประตูตรึงผูกถูกกระชาก

เสียงแหงความทุกขยากก็ยงิ่ ใหญ

งานชิ้นนี้สะทอนใหเห็นวา เมื่อสังคมเจ็บปวด งานวรรณกรรมหรือ งานศิลปะทัง้ หลายก็แสดงความรูส กึ ทีค่ ร่�ำ ครวญ อันเปนภาพสะทอนในตัวตนอีก ลักษณะหนึ่ง   งานวรรณกรรมก็คืองานบันทึกประวัติศาสตรสวนหนึ่งของสังคม ในยุคที่วรรณกรรมถือกำ�เนิดขึ้น  แมวานักเขียนจะกลาวถึงสังคมในอดีต เชน สี่แผนดิน ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช จะเขียนถึงสังคมในสมัยรัชกาลที่ 5 แตเมื่ออานดูแลวก็จะมีอุทาหรณสอนสังคมที่ทานมีชีวิตอยู คือวรรณกรรมเรื่อง นี้แสดงใหเห็นวาสังคมที่เกิดการแตกแยก การเมืองคือของใหม และอะไรคือสิ่งที่ สังคมยึดเหนี่ยว นั่นคือ สถาบัน และพอแม เชน แมพลอย คุณอัศศิริกลาววาสิ่ง 17


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

เหลาคืออุทาหรณที่ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์มุงจะใหแกสังคมของทานในยุคปจจุบัน และ ตัวอยางที่ิเห็นวาชัดมากอีกตัวอยางคือ กาพยพระไชยสุริยา ของสุนทรภู วามี ลักษณะรวมสมัย ถึงแมวา สุนทรภูจ ะกลาวถึงสังคมโบราณคือพาราสาวัตถี แตเมือ่ อานแลวก็ยงั รูส กึ วาทานกลาวถึงสังคมรวมสมัยทีม่ สี ภาพไมดไี ปกวาในยุคสมัยของ ทานนัก ดังที่สุนทรภูเขียนไววา พาราสาวัตถี ดุดื้อถือแตใจ

ใครไมมีปราณีใคร ทีใครไดใสเอาพอ

คุณอัศศิริอธิบายประโยคที่วา “ทีใครไดใสเอาพอ” ก็เทียบไดกับคำ�ใน ปจจุบันก็คือ ไดเปนเอา ฉลาดแกมโกง อยางที่เราเห็นกันอยู ซึ่งจะใหไดวาใน สังคมปจจุบันก็ยังเปนเชนนี้อยู หรือยกอีกตัวอยางหนึ่งวา ภิกษุสามเณร เหลาก็ละพระสจธรรม คาถาวาลำ�นำ� ไปเรร่ำ�ทำ�เฉโก ในปจจุบนั เราก็เห็นพระทีร่ �ำ ดาบเสกจตุคามรามเทพดวย ซึง่ จะเห็นไดวา สิง่ ทีส่ นุ ทรภูค ร่�ำ ครวญหรือรำ�พันไว ปจจุบนั ก็ยงั คงอยู นีค่ อื คำ�วา “กวีไมมวี นั ตาย” เพราะวางานหรือบทกวีสะทอนสังคมที่เปนจริงอยูตลอด คุ ณ อั ศ ศิ ริ ก ล า วว า จากประสบการณ ส  ว นตนที่ เ ริ่ ม เป น นั ก เขี ย นมา ประมาณ 30 กวาปกอ น เปนยุคกอน 14 ตุลาคม 2516 และอยางทีท่ ราบกันวาเปน ยุครัฐบาลทหารทีเ่ ปนเผด็จการทีค่ รองอำ�นาจมายาวนาน จึงทำ�ใหสงั คมเบือ่ หนาย และอึดอัด และทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ คือ ขอมูลขาวสารในขณะนัน้ ถูกปกปด ซอนเรน ไมมี การนำ�มาเปดเผยเทาทีค่ วร เชน ปญหาสงครามเวียดนาม ฐานทัพอเมริกนั ปญหา ผูกอการราย (ผกค.) คอมมิวนิสต และปญหาความไมเปนธรรมตางๆ ก็ไมไดรับ การเปดเผย แตถกู ปกปดไว  งานวรรณกรรมในชวงนีไ้ี่ มใชเฉพาะสำ�หรับอานเลน เทานัน้ แตเปนเสมือนการสงขอมูลขาวสารทีถ่ กู ปกปดดวย ในขณะทีว่ ทิ ยุ โทรทัศน 18


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ในขณะนั้นยังเปนเพียง “สิ่งบันเทิงเครื่องเลน” ที่ยังไมไดเปนสิ่งที่สงขาวสาร และ ยังถูกรัฐบาลควบคุมอยู จะมีก็แตสิ่งพิมพ เชน หนังสือพิมพ และนิตยสารตางๆ ที่มีบทบาทสูงมาก ดังนั้น นักเขียนในยุคนี้จึงมีบทบาทสูง เพราะวามีปญญาชน ชนชั้นกลางนิยมอานนิตยสารบางเลม เชน ชัยพฤกษ และ สังคมศาสตรปริทัศน ก็นบั วาไดสรางนักเขียนและกวีทมี่ ชี อื่ เสียงขึน้ มามาก นักเขียนแทบจะเปนหัวหอก ของสังคมวัฒนธรรมในครัง้ นัน้ เพราะรัฐบาลเผด็จการไมคอ ยเขมงวดนัก จึงเปน โอกาสที่ศิลปนจะไดแสดงอารมณและความคิดของสังคมออกมา นอกจากนี้  คุณอัศศิริยังเห็นวาสิ่งสำ�คัญในยุคเขาคือ มหาวิทยาลัย ซึ่งกลายเปนแหลงขุมทรัพยทางปญญา เชน ชมรมวรรณศิลปตา งๆ ในแทบทุก มหาวิทยาลัย  นิสิต/นักศึกษามีบทบาทมาก  โดยเฉพาะอยางยิ่งในการเขียน บทกวีและเรื่องสั้น  ผลงาน​ตางๆจึงออกมาจากที่นี่มาก คุณอัศศิริก็ยอมรับ วาตนเองก็เริ่มเขียนหนังสือในยุคนี้เชนกัน และที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรก็มี กลุม สภาหนาโดม กลุม พระจันทรเสีย้ ว สิง่ เหลานัน้ นับเปนปรากฏการณของงาน วรรณกรรมในชวง 30 ปกอน คุณอัศศิรเิ ลาวาขณะทีเ่ รียนอยูท คี่ ณะนิเทศศาสตร จุฬาฯนัน้ คุณประยูร จรรยาวงศ ซึ่งเปนการตูนนิสมที่ยิ่งใหญผูหนึ่งของหนังสือพิมพไทยรัฐ ไดมา บรรยายที่คณะวา “ปญหาของชาวบานมีมากในยุคนี้ (ชวงนั้นเปนยุครัฐบาล ทหารของจอมพลถนอม กิตติขจร) จดหมายตางๆที่มีคนสงมานั้นลวนแตเต็ม ไปดวยเลือดและน้ำ�ตา อานแลวไดยินเสียงร่ำ�ไห แสดงวาประชาชนเผชิญความ ทุกข โดยทีส่ งั คมไมไดรบั รู” คุณอัศศิรเิ ห็นวาเรือ่ งทีค่ ณ ุ ประยูรเลานีส้ อดคลองกับ ประสบการณทคี่ ณ ุ อัศศิรไิ ดเคยเปนลูกจางของสำ�นักงานสถิตแิ หงชาติอยู 1 ปกอ น ที่จะเขาเรียนในมหาวิทยาลัย จึงไดมีโอกาสไปอยูที่ภาคอีสานอยู 1 ป คุณอัศศิริ เลาวาตนเองเปนคนหัวหิน ซึ่งคอนขางอุดมสมบูรณ แตภาคอีสานในสมัยเมื่อ 40 ปกอนนั้นยากลำ�บากมาก ทางก็ทุรกันดาร ประชาชนไมมีเงิน ไมมีหมอ มีแตหมอผี และสิ่งสำ�คัญที่สุดนอกจากจะมีชีวิตตามยถากรรมแลวก็คือ มีความ ขัดแยงทางการเมืองที่นั่นสูงมาก โดยเฉพาะในจังหวัดสกลนครในสมัยป 2511 ที่นั่นเหมือนเปนชุมนุมของพวกสิบแปดมงกุฎ ที่มีทั้งทหารอเมริกัน ทหาร อส. 19


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ตำ�รวจ และนักเลงอยูเต็มจังหวัด ถึงเวลาสิ้นเดือน คนปกติก็หามออกไปตลาด เพราะจะมีเรื่องยิงกันเสมอ ในขณะที่บา นนอกออกไป ปญหาอีกอยางหนึ่งคือ ปญหาทางดานการเมือง เชน ทหารปา ซึง่ เปนลูกหลานชาวบาน แตในขณะเดียว กันชาวบานก็ตอ งเอาใจตำ�รวจและทหารทีม่ าขอความรวมมือ ชีวติ ของพวกเขาจึง เหมือนอยูบนเขาควาย 2 ขาง เสี่ยงตอการถูกตำ�รวจและทหารจับ ขณะเดียวกัน ก็ถกู ทหารปาหาวาเปนสายใหต�ำ รวจ คุณอัศศิรจิ งึ นำ�ประสบการณทไี่ ดรบั ในครัง้ นี้ เขียนเรือ่ งสัน้ “สำ�นึกของผูเ ฒา” นับวาเรือ่ งสัน้ เรือ่ งแรกทีแ่ สดงใหเห็นถึงความยาก ลำ�บากทีช่ าวบานตองแบกรับอยู เรือ่ งสัน้ เรือ่ งนีต้ พี มิ พครัง้ แรกในมหาวิทยาลัยใน นามของชมรมวรรณศิลป จุฬาฯ และก็ไดรบั รางวัล “พลับพลามาลี” ซึง่ เปนรางวัล ของคุณรัตนะ เยาวประภาส ในขณะนี้ทานเสียชีวติ ไปแลว แตวาทานเปนบุคคล ที่มีสวนอยางมากในการจุดประกายวรรณกรรมใหแกคนหนุมสาวในยุคนั้น ปญหา 3 จังหวัดชายแดนภาคใตในปจจุบันมีภาพคลายกับตอนนั้น มาก และเห็นวาหากงานวรรณกรรมเปนกระจกสะทอนสังคม ก็แสดงวาสังคม ยังไมเปลี่ยนแปลง เพียงแตเปลี่ยนรูปแบบใหมตามกาลเวลาเทานั้น แตปญหา ที่แทจริงก็ยังคงอยู นอกจากนี้ คุณอัศศิริยังแสดงความคิดวา วรรณกรรมใน ยุคนี้เหมือนกับ “ฎีการองทุกข” เปนใบบอกทุกขที่นักเขียน/กวีสงขอมูลขาวสาร และเรือ่ งราวทีถ่ กู ปกปดเกีย่ วกับความทุกขยากของทีถ่ กู ปกปดมาสูส งั คมภายนอก และผูม อี �ำ นาจในสังคมนัน้ วรรณกรรมยุคนีจ้ งึ เปน “ใบบอกทุกข” เหมือนฎีกาถวาย ทุกขในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราช  งานวรรณกรรมที่นำ�เสนอเรื่องนี้ชัดเจนที่สุด คือ ฟาบกั้น ของ ลาว คำ�หอม ที่เขียนขึ้นในป 2500 งานทั้งเลมนับเปนการ บอกทุกขของคนภาคอีสาน อานแลวก็ไดยินแตเสียงที่เจ็บปวดของคนที่อยูไกล ศูนยกลางของบานเมือง กอนหนานั้นก็มีงานของ ศรีบูรพา จิตร ภูมิศักดิ์ ก็พูด ถึงเรือ่ งราวเหลานีม้ ากพอสมควร ดวยเหตุนี้ จึงเห็นวางานวรรณกรรมยุคกอน 14 ตุลาคม นาจะเปนจุดเริ่มของ “ศิลปะเพื่อชีวิต” เพื่อใหสังคมไปสูชีวิตที่นาจะดีกวา เพื่อใหคนเห็นภาพของความทุกข ความเจ็บปวด และคุณอัศศิริไดยกตัวอยาง บทกวีของคุณอังคารตอนหนึ่งที่วา 20


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ฟาแหงกระหายเมฆ น้ำ�ตาที่ตกเนือง

วิเวกลาปาตายเหลือง ลวนเรื่องเลือดเดือดน้ำ�ตา

คุณอัศศิริชี้ใหเห็นวาบทกวีตอนนี้ก็เหมือนกับปญหาภาคใตในขณะ นี้ เพราะทุกเรื่องตางก็ถึงดวยเลือดและน้ำ�ตา  นอกจากนี้ งานของคุณสุจิตต วงษเทศ คือ ขุนทอง ทีน่ �ำ เสนอออกมาในชวงนัน้ พอดีหากมีการศึกษาประวัตศิ าสตร จะพบวางานที่นำ�เสนอในวันที่ 13 ตุลาคม 2516 ในหนังสือพิมพไทยรัฐ และลง ซ้ำ�ในวันที่ 14 ตุลาคมอีกครั้ง โดยครั้งนี้มีการติดเหมือนเปนภาพพวงหรีด คุณ สุจิตตนำ�ความคิดนี้มาจากเพลงกลอมเด็กชื่อเพลง “วัดโบสถ” ที่บอกวา วัดเอยวัดโบสถ เจาขุนทองไปปลน

มีตานโตนดอยูเจ็ดตน ปานฉะนี้ไมเห็นมา

“ขุนทอง” ในที่นี้คงหมายความถึงวีรชนคนหนุมสาว ที่ใน​บทกวีแสดง ความเห็นใจวาตายไปอยางไมยุติธรรมนัก เนื่องจาก “ขุนทอง” เปนวีรชนใน ตำ�นานทีไ่ ปปลนคายพมาแลวตาย จึงกลายเปนสัญลักษณของหนุม สาวนักตอสูใ น ยุคตอมา นอกจากนี้ ในบทกวีของคุณสุจิตตยังบอกตอไปวา ขุนทองเจารองไห อยูในเรือนจนดึกดื่น วาเจาจำ�ปถูกปน ตกอยูเกลื่อนเจาพระยา คุณอัศศิรชิ ใี้ หเห็นวาคุณสุจติ ต ยังคงลักษณะกลอนทีพ่ ยายามรักษาทวง ทำ�นองของเพลงกลอมเด็กไว ซึ่งเนื้อเรื่องคือการที่พอแมพายเรือไปตามลูกชาย ชื่อขุนทอง ที่เขาลือกันวาตายแลว และงานชิ้นนี้ก็ไดรับการตอยอดมาสูงานของ คุณอัศศิริ คือ ขุนทองเจาจะกลับเมื่อฟาสาง 21


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

คุณอัศศิริกลาวตอไปถึงงานวรรณกรรมในยุคหลัง 6 ตุลาคม 2519 วาเปนทีท่ ราบกันดีวา เปนยุคขุนทองเขาปามาก ในสมัยนายกธานินทร กรัยวิเชียร ออกโครงการ “คืนสูเ หยา” เพือ่ อภัยโทษใหเด็กหนุม สาวทีอ่ ยูใ นปาใหกลับมาสูเ มือง จึงมีการออกกฎหมายอภัยโทษ แตไมมผี ใู ดกลับมา เพราะไมไวใจรัฐบาล โครงการนี้ จึงลมเหลวไป ในชวงนี้ คุณเนาวรัตนกเ็ ขียนงานในลักษณะทีค่ ลายๆกับคุณสุจติ ต ดังความตอนหนึ่งวา

คดขาวใสหอไปรอรับ ขุนทองเจากลับเมื่อฟาสาง เพลงขลุยแผวคลื้นสะอื้นคราง ไมมีรางไมมีเงาเจาขุนทอง

งาน 2 ชิ้นนี้มีลักษณะคลายกัน และตอมาคุณอัศศิรินำ�มาทำ�เปนลำ�นำ� เรื่องสั้น ชื่อ ขุนทองเจาจะกลับเมื่อฟาสาง ดวย คุณอัศศิรกิ ลาววายุค 14 ตุลาคม 2514 วรรณกรรมมีหลายรูปแบบ ไมวา จะเปนกวีนพิ นธ เรือ่ งสัน้ หรือนวนิยาย นับเปนยุคเสรีภาพทีก่ �ำ ลังเปด เปนยุคของ ประชาธิปไตยผลิบาน งานในยุคนีม้ ไิ ดเปนแคกระจกสะทอนสังคม แตเปนกระจก สองทางของสังคมดวย ที่ชักชวนผูอานไปสูสังคมที่นาใฝฝน จึงมีคำ�พูดอลังการ หลายคำ� เชน “ชัยชนะตองเปนของประชาชน” “ประชาชนยอมเปนใหญในแผนดิน” หรือ “ฟาสีทองผองอำ�ไพ” ของคุณวิสา คัญทัพ เปนตน วรรณกรรมในยุคนี้ ไมเพียงแคเปน “ใบบอกทุกข”  แตไดกลายเปนการแกปญหาและชี้ทางใหสังคม ดวย เปนกระจกสองทางไปสูสังคมที่ศิลปนสวนหนึ่งคิดวานาใฝฝนถึง จนเกิด เหตุการณ 6 ตุลาคม 2519 โดยสวนตัว  หลังจากที่รวมเดินขบวนในสมัย 14 ตุลาคม 2516 แลว ก็เรียนจบและออกมาเปนนักขาว นักหนังสือพิมพที่สยามรัฐ ประมาณป 2517-2518 ในขณะที่บานเมืองเกิดเหตุการณ 6 ตุลาคม 2519 ที่มี การสังหารหมูแ ละเกิดโศกนาฏกรรมครัง้ ใหญ คุณอัศศิรกิ ไ็ ดรบั แรงบันดาลใจกอน ที่จะเปนนักหนังสือพิมพมาจาก ม.จ. อากาศดำ�เกิง รพีพัฒน ที่เขียนเรื่อง ละคร 22


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

แหงชีวิต ที่เคยกลาวไววา “นักขาว นักหนังสือพิมพ เปนผูที่นั่งอยูแถวหนาของ โรงละครใหญ ที่เต็มไปดวย พระ มหาโจร” และสิ่งที่คุณอัศศิริเรียนรูจากการเปน นักขาวคือ นักขาวเปนผูสังเกตการณที่เหมือนเปนโรงละครใหญ แตละครที่เห็น นั้นเปนฉากโศกนาฏกรรม ในเหตุการณครั้งนั้น  ไดตามกลุมลูกเสือชาวบาน ไปดูหลังเกิดเหตุการณ  แลวก็ไดเห็นเลือดและคนตายมากที่สนามฟุตบอล คือ ประมาณ 30-40 คน และก็มคี นทีถ่ กู ฆาและถูกนำ�ไปเผาดวย  นับเปนความบาคลัง่ และความสับสนของสังคมไทยยุคนั้น ตอมาก็ไดเขียนเรื่องอีกหลายเรื่องถึง เหตุการณทมี่ ลี กั ษณะคร่�ำ ครวญ และงานจำ�นวนมากก็เกีย่ วกับเหตุการณในครัง้ นี้ วรรณกรรมหลัง 6 ตุลาคม 2519 กลายมาเปน “คำ�รองทุกข” อีกเหมือน ยุคกอน และยังเลาวาไดเขียนถึงเหตุการณที่เกี่ยวเนื่องกับ 6 ตุลาคม 2519 เนื่องจากคุณอัศศิริคิดวาอาชีพนักหนังสือพิมพมีจุดออนประการหนึ่ง คือ ในการ รายงานขาวหามใสความคิด ความรูสึก และอารมณลงไป หนังสือพิมพสนใจ แตตวั เลขของคนตาย ถาเปนขาวไฟไหมกจ็ ะสนใจวามีคนตายกีค่ น และคาเสียหาย เปนเทาใด ดังนั้น จุดออนของหนังสือพิมพคือการมุงใหเฉพาะตัวเลขและขอมูล โดยไมใหความสนใจในเรื่องอารมณความรูสึก และชีวิตเบื้องหลังของผูที่เกิด โศกนาฏกรรมทัง้ หลาย เชน เหตุการณโปะลม ก็จะรายงานแตจ�ำ นวนศพ  แตจะ ไมตามไปดูชีวิตที่เหลือของผูที่สูญเสียวาจะเปนอยางไร นี่คืองานที่นักเขียนงาน วรรณกรรมเขามามีบทบาทแทนที่ เพราะงานนี้เปนเสียงคร่ำ�ครวญของความ เจ็บปวดของสังคมที่พิการ การเขียนเกี่ยวกับเรื่อง 6 ตุลาคม 2519 นั้นก็ไมไดรับรองวาเหตุการณ เชนนี้จะไมเกิดขึ้นอีก แตตองการแสดงใหเห็นวาเมื่อเปนเชนนี้ ความสูญเสีย จะเปนอยางไร เพราะชีวติ เหลานัน้ มีเจาของ คือ พอ แม ญาติพนี่ อ งทีอ่ ยูเ บือ้ งหลัง โดยชีใ้ หเห็นวาไมไดสญ ู เสียเฉพาะทรัพยสนิ เงินทอง แตเปนการสูญเสียจิตวิญญาณ ของสังคม ซึ่งเปนกลียุค นอกจากนี้ คุณอัศศิรยิ งั กลาวถึงหลักการเขียนงานของตนเองวา เนือ่ งจาก เติบโตในยุคภาพยนตร จึงชอบดูภาพยนตรมาก เมือ่ เขียนหนังสือก็จะเปนเหมือน สรางภาพยนตรเรื่องหนึ่ง เปนการสรางภาพยนตรดวยตัวหนังสือ คุณอัศศิริ 23


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ก็ไดพยายามใชการตัดตอใหเหมือนกับภาพยนตรในประโยคตางๆ ใหเหมือนกับ การตัดตอฟลม ทัง้ นีเ้ พือ่ ใหผอู า นไดเห็นภาพ ไดยนิ เสียง และอานงาย เขาใจงาย ดังทีก่ ลาวไปแลววา วรรณกรรมหลัง 6 ตุลาคม 2519 หลังจากทีส่ งั คมเกิดการฆา กันและเกิดความขัดแยงกันอยางรุนแรง วรรณศิลปก็กลับมาเปน “ฎีการองทุกข” แบบเดิม แตอยางไรก็ตาม คนชั้นลาง คนหาเชากินค่ำ�ก็ไมเหมือนเดิมอีกแลว เพราะเนื้อที่ที่ไดรับการกลาวถึงมากขึ้น แมแตในละครก็เปลี่ยนไป โดยคนใชและ ตลกก็มีบทบาทมากขึ้น วรรณกรรมยุคนี้ก็เหมือนกัน เรื่องของชาวไร ชาวนา กรรมกร คนหาเชากินค่ำ� หรือแมแตโสเภณีก็ไดรับการกลาวถึงมากขึ้น จนมา ถึงยุคปจจุบัน คือตั้งแต “พฤษภาทมิฬ” 2538 เปนตนมา สังคมไทยเปนสังคม เทคโนโลยีอยางจริงจัง วิทยุ โทรทัศนเริม่ มาแทนทีส่ อื่ ทีเ่ ปนสิง่ พิมพ บทบาทของ สื่อสิ่งพิมพออนตัวลง ในขณะที่บทบาทของภาพโทรทัศนเริ่มมีสูงมากขึ้น นับ เปนการเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรมและศิลปะมากขึน้ โดยเฉพาะในยุคดาวเทียม ขามโลก คุณอัศศิริเห็นวาบทบาทของสังคมโลกาภิวัตน อยางดาวเทียม มือถือ และอินเตอรเน็ต และผูคนก็หลงใหลกับสิ่งสะดวกสบายเหลานี้ ซึ่งนับเปนความ จำ�เปน สังคมไทยในปจจุบนั จึงเปนสังคมบริโภค และลัทธิบริโภคอยางเต็มตัว งาน วรรณกรรมและงานศิลปะอื่นๆ ก็เปลี่ยนไปตามกระแสสังคม จนนาคิดวาสังคม ที่เรียกวา “ยุคสายลมแสงแดด” ซึ่งเกิดกอนยุค 14 ต.ค. 2516 นาจะหวนกลับมา อีก เพราะในยุคนีเ้ กิดงานเขียนทีห่ ลากหลาย แตเพียงเปลีย่ นรูปแบบใหมเทานัน้ งานวรรณกรรมปจจุบนั ไมมผี ใู ดกลาวถึงคำ�ทีม่ คี วามอลังการเชนเดิมอีกตอไปแลว เชน “ชัยชนะตองเปนของประชาชน” “ฟาสีทองผองอำ�ไพ” หรือคำ�วา “ภารดรภาพ” หรือ “เสมอภาค” ก็ไมเปนที่นิยมอีกแลว ผูใดกลาวถึงก็นับวาเปนเรื่องที่เฉยมาก ทัง้ ๆทีค่ �ำ เหลานัน้ เคยใชมานานหลายทศวรรษ เหลานีค้ อื สิง่ ทีเ่ิ ห็นวาเปลีย่ นแปลง ไป และทีส่ �ำ คัญคุณอัศศิรเิ ห็นวา “ขุนทอง” ไมวา จะเปนของตนเอง ของคุณเนาวรัตน หรือของคุณสุจติ ต จะเปลีย่ นไป เพราะ “ขุนทอง” ไมใชนกเล็กๆอีกตอไป ขุนทอง ในตอนนีแ้ ทบจะเปนองคจตุคามรามเทพ ทีเ่ ปลีย่ นไปตามกาลเวลา คุณอัศศิรเิ ห็น วาหากเขียนเรื่องเหลานี้ใหมก็อาจจะใหชื่อวา “เมื่อขุนทองนั่งเมือง” 24


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

การอภิปราย/ซักถาม หัวหนาโครงการเห็นวางานวรรณกรรมในปจจุบันมีเพิ่มมากขึ้น จนดู เหมือนวาผูใ ดจะเขียนอะไรออกมาก็ได จึงเกิดคำ�ถามวาผูเ ขียนเหลานัน้ เขียนงาน เองหรือมีผูอื่นเขียนให เชน การเขียนอัตชีวประวัติของตนเเอง โดยเฉพาะชีวิต ของคนดัง สิ่งนี้อาจนับเปนปรากฏการณรวมสมัยก็ได แตสิ่งที่ยังของใจอยูก็คือ การทีใ่ ครๆก็เขียนอะไรออกมาก็ได และก็มผี อู า นดวย หากมีการทำ�ประชาสัมพันธ ดีๆ เชนมาการเปดตัวหนังสือ คุณอัศศิริกลาววาสิ่งเหลานี้เปนลักษณะของสิ่งพิมพในยุคใหม คำ�วา “หนังสือ” กลายเปน “ศิลปะสื่อผสม” ที่มีดานการตลาดเขามาเกี่ยวของ  จึง จำ�เปนตองใชบคุ คลทีม่ ชี อื่ เสียงในทางอืน่ เชน ดารา นักรอง หรือผูท ตี่ กเปนขาว ดังนัน้ การเขียนหนังสือจึงเปน sideline ทางธุรกิจ และบังเอิญวามีตลาดรองรับ เดิมเรียก วานักเขียนแทนเหลานีว้ า “ghost writer” หรือทีใ่ นปจจุบนั อาจเรียกวา “nominee” แตสิ่งเหลานี้เปนเรื่องที่ไดยินมา โดยไมมีหลักฐานยืนยัน และงานประเภท นี้ไมไดขายที่ตัวงานวรรณกรรม และขายที่ตัวบุคคลมากกวา อาจนับไดวายุคนี้ ไมใชยุคของมืออาชีพ  ซึ่งอาจเปรียบเทียบไดกับคาราโอเกะ  ที่แตเดิมการจะ ฟงเพลงตองไปหานักรองจริงๆที่เปนมืออาชีพมารอง แตในปจจุบันใครๆก็รอง เพลงได เหมือนกับวาเปนคาราโอเกะ จนนักรองอาชีพแทบจะถอยออกไป เพราะ ทุกคนคิดวาตนเองเปนนักรองได อาจารยรนื่ ฤทัยใหขอ มูลในเรือ่ งนีเ้ พิม่ เติมวา ระยะแรกๆ ไมมกี ารปรากฏ ชื่อของ ghost writer หรือ nominee  แตปจจุบันเริ่มมีบางแลวโดยพิมพเปนตัว เอนเล็กๆอยูป กหลัง ซึง่ ตองอาศัยความพยายามในการมองหาจึงจะเห็น หรืออาจ จะเปน nominee ก็จะเปนการเขียนแบบหนังสือ ตาดูดาว เทาติดดิน ของ ทักษิณ ชินวัตร ที่ผูเขียนเปนผูหญิง แตเวลาเขียนใชสรรพนามแทนตัวเองวาผม ดังนั้น จึงมีหลายลักษณะในการเขียนแทน ผูเขารวมประชุมผูหนึ่งเห็นวาปรากฏการณที่วาปจจุบันมีความหลาก หลายรูปแบบของงานที่ผานมา แตในแงของการวิจารณจะมีเกณฑในการ วิเคราะหวิจารณตัวงานอยางไร จะพิจารณาตามกระแสสังคม หรือพิจารณาตาม 25


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ปรากฏการณของสังคม หรือยังยึดติดกับความรูด งั้ เดิมของศิลปน หรือนักวิจารณ ที่ยึดตามหลักวิชาการ และกระแสที่เปดกวางออกไป ที่คนรุนเกามีนอยลง ขณะ เดียวกันคนรุนใหมที่มาสืบทอดนั้นสืบทอดหรือเปลี่ยนแปลงการวิจารณออก ไปอยางไรบาง คุณอัศศิริเห็นวาคำ�ถามนี้ตอบยาก เพราะเห็นวาทุกอยางเปลี่ยนแปลง อยางมาก นับเปนยุคที่ผูคนกำ�ลังเผชิญอยูนั้นมีเทคโนโลยีที่สรางวัฒนธรรมใหม เชน กลองมีฟลมถึงจุดจบ และในทางวรรณกรรมนั้น คุณอัศศิริเห็นวายังคงมอง ไมออกวาตอไปงานวรรณกรรมจะเปนอยางไร เพราะมีวรรณกรรมในอินเทอรเน็ต มากขึน้ แตอยางหนึง่ ทีค่ ณ ุ อัศศิรเิ ชือ่ ก็คอื งานวรรณกรรมจะตองใชตวั อักษรและ ยังคงเปนการเขียนอยู ไมวา เทคโนโลยีจะเปลีย่ นไปอยางไร ตรงนีน้ บั เปนประเด็น สำ�คัญทีจ่ ะชีค้ ณ ุ สมบัตขิ องงานวรรณกรรมของประเทศนีก้ ค็ อื การเขียนทีย่ งั ตองมี สายธารของอดีตทีต่ อ งเรียนรูต อ ๆกันมา เพราะงานวรรณกรรมไมไดเกิดเพียงชัว่ วันขามคืน สิ่งที่จะชี้คุณคาของงานคือภาษา เนื้อหา และรูปแบบ ไมใชเรื่องของ เทคโนโลยี สิง่ เหลานีค้ อื คุณคาทีย่ งั คงเหลืออยูใ นงานประเภททีใ่ ชภาษา คุณอัศศิริ ยกตัวอยางวาเมือ่ เกิดโทรศัพทมอื ถือ สิง่ ทีต่ ายไปคือโทรเลข ยุคกอนโทรเลขคือ สัญญาณมรณะ แตปจ จุบนั โทรเลขปดตัวลงทัว่ โลก แตจกั รยานยังคงอยู ถึงแมวา จะมีมอเตอรไซคแลวก็ตาม ดังนัน้ ไมวา เทคโนโลยีจะเปนอยางไร แตงานวรรณกรรม ที่เปนภาษาวรรณศิลปก็ยังคงอยู ในแบบที่คนรุนครูบาอาจารยดำ�เนินมา อาจารยรื่นฤทัย สัจจพันธุ ถามวาความรวมสมัยที่คุณอัศศิริกลาวถึงคือ การเนนสำ�นึกทางสังคม แตปจจุบันมีเหตุการณหลายอยาง เชน เหตุการณภาค ใต แตเพราะเหตุใดสำ�นึกทางสังคมในงานวรรณกรรมลดลงไป ทั้งในนักเขียน เกาและนักเขียนใหมก็ไมคอยสรางสิ่งเหลานี้ขึ้นมา และจะนับวาขาดความรวม สมัยในตรงนี้หรือไม คุณอัศศิรกิ ลาววายุคนีเ้ ปนยุคทีน่ กั เขียนสวนหนึง่ ตกอยูใ นภาวะทีส่ บั สน ไปดวย ไมใชวานักเขียนเหลานั้นจะไมมีสำ�นึกวาสังคมกำ�ลังมีปญหา ก็เหมือน กับทีค่ ณ ุ เนาวรัตนเรียกสภาวการณในขณะนีว้ า ในประชาธิปไตยมีเผด็จการ และ ในเผด็จการมีประชาธิปไตย นับเปนความปนปวน  ปญหา 3 จังหวัดชายแดน 26


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ภาคใตเปนปญหาพิเศษ จึงทำ�ใหนักเขียนสวนหนึ่งกลาๆกลัวๆ  และนักเขียน ที่ไมเปนมุสลิมก็ไมกลาเขียนถึง อีกทั้งสังคมในยุคนี้ก็ไมไดเปนขาวหรือดำ�ตาม แบบเดิม และในปจจุบันยังมีลักษณะที่ดูตลกอีกก็คือ ทหารประชาธิปไตย และ ประชาธิปไตยเผด็จการ ซึ่งนับวาเปนสิ่งที่ไมนาจะมาอยูรวมกันได  สวนอีก คำ�ถามก็คือ กลวิธีการเขียนตองเปลี่ยนไปอยางแนนอนตามเทคโนโลยีที่เปลี่ยน ไป แตคณ ุ อัศศิรเิ ชือ่ วาสิง่ ใดก็ตามทีเ่ ปนลักษณะเดนทางวรรณศิลปยงั คงอยู เชน การที่มีผูวิตกภาษาวัยรุนในปจจุบันนั้น ก็ยังเชื่อวาอะไรที่เปนสิ่งที่เปนจริงจะยัง คงอยู อะไรที่เกิดขึ้นชั่ววันขามคืนก็จะหายไป เหมือนกับนักรองที่ออกเทปออก มามากในปจจุบัน เนื่องจากเทคโนโลยีใหโอกาสคนมากขึ้น แตในขณะเดียวกัน ก็จะเลือกสรรผูค นไปดวยในตัวเชนกัน ดังนัน้ อะไรทีร่ ว มสมัยก็ยงั คงอยู ดังเชนที่ ไดยกตัวอยางสุนทรภูไวแลวขางตน อาจารยจกั รพันธ วิลาสินกี ลุ กลาววายังติดใจคำ�ถามของอาจารยรนื่ ฤทัย ในประเด็นกลวิธอี ยู และจากทีค่ ณ ุ อัศศิรกิ ลาวถึงหลักการเขียนงานของตนเองนัน้ สะกิดใจที่วาใชภาพยนตรเปนแรงบันดาลใจในการเขียนงาน โดยเฉพาะอยาง ยิ่งการใชกลวิธีในเรื่องการลำ�ดับภาพวาเปนกลวิธีหนึ่งของคุณอัศศิริ นอกจาก นี้ยังมีประเด็นเรื่องแรงบันดาลใจจากเพลงกลอมเด็กนั้น นับเปนเรื่องที่ไกลมาก และเปนมรดกทางวรรณศิลป ในขณะที่มีลักษณะการบรรยายเรื่องที่เปนผลผลิต ของเทคโนโลยีในสมัยนั้นดวย เชน ภาพยนตร จึงติดใจวาการใชเทคโนโลยีดวย การลำ�ดับภาพ ในขณะเดียวกันวิทยุและโทรทัศนก็นับวามีอิทธิพลตอนักเขียน ใหมๆ จึงกอใหเกิดการสรางรูปแบบใหมๆในงานวรรณกรรม ซึง่ อาจจะยังคาดเดา ไมไดวารูปแบบที่เปลี่ยนแปลงไปจะเปนเชนไร คำ�ถามก็คือจะมีหรือไมที่รูปแบบ ใหมและวิธีคิดของมรดกโบราณ เชน งานของสุนทรภู หรือวางานรุนเกากวานั้น จะมีคนรุน ใหมผใู ดหรือไมทจี่ ะสามารถนำ�สองสวนนีม้ าผสานกันไดอยางกลมกลืน และงานวรรณกรรมทีน่ าหวงก็คอื กวีนพิ นธ คำ�ถามตอไปคือ เปนหวงวากวีนพิ นธ จะหายไปจากวิธีคิดของเทคโนโลยีสมัยใหม เพราะกวีนิพนธมิไดใหภาพที่เปน จริง แตเปนภาพที่คิดตอ ซึ่งเปนจินตภาพหรือเปนลำ�ดับภาพได คุณอัศศิรเิ ห็นวางานวรรณกรรมจะเปนอยางทีอ่ าจารยจกั รพันธถาม คือ 27


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

จะมียคุ ทีผ่ สมผสานเทคโนโลยีเขากับของเกาทีเ่ รามีอยู แตสงิ่ ส​ �ำ คัญก็คอื ภาษาและ ตัวอักษร แตกลวิธีจะเปลี่ยนอยางแนนอนตามยุคสมัย เมื่อเด็กรุนนี้โตขึ้น ก็อาจ จะใชกลวิธเี หลานีป้ ระยุกตเขากับตัวหนังสือของเรา เพราะวรรณศิลปของเราเปน ตัวหนังสือ อยางไรก็ตามการเปลีย่ นแปลงนัน้ ก็จะใชเทคโนโลยีเขามาจนได และ ก็จะเกิดนวัตกรรมขึน้ มาจนได และถาสังคมและผูเ ขียนอันเปนนักวิชาการยอมรับ ก็จะกลายเปนบทเรียนใหมหรือเปนนวัตกรรมทีจ่ ะใชศกึ ษากันตอไป สวนประเด็น ในเรื่องกวีนิพนธนั้น คุณอัศศิริเห็นวาเนื่องจากผูคนตางมีจิตวิญญาณ ก็เหมือน กับรถจักรยานที่ยังคงมีคนบางสวนถีบอยู จึงคิดวากวีนิพนธก็เชนกัน จะตอง มีผูที่เห็นวิญญาณแทๆที่ยังดำ�รงอยู แตสิ่งที่นาระทึกใจก็คือ ศิลปะในอีก 40-50 ปขางหนาจะเปนอยางไร และคิดวาในขณะนี้ก็นาจะยังไมมีผูใดรู เนื่องจากเด็ก ที่คุนเคยกับคอมพิวเตอรก็จะรูสึกวาคอมพิวเตอรคือยางลบและดินสอของคนใน ยุคปจจุบัน และสิ่งที่จะตามมาก็คือสิ่งที่คาดไมถึงและเปนเรื่องที่นาเหลือเชื่อ

28


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ลักษณะรวมสมัยในงานทัศนศิลป์ อรรฆย ฟองสมุทร

อาจารยอรรฆย ฟองสมุทร จบการศึกษาทั้งในระดับรัฐศาสตรบัณฑิต และมหาบัณฑิต จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และจบการศึกษาระดับปริญญา โทดาน curatorship จาก University Goldsmith ปจจุบันสอนศิลปะอยูที่ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และเปนภัณฑารักษใหกับหอศิลป มหาวิทยาลัยกรุงเทพ อาจารยอรรฆยกลาววาสิ่งหนึ่งที่อยากจะตั้งขอสังเกตก็คือ ภาษาดาน สังคมศาสตรกับศิลปะวิจารณนั้นนับวายังคงเปนปญหาตอกัน เพราะคำ�บาง คำ�เชน “discourse” ทางศิลปะวิจารณหรือวรรณกรรมเรียนวา “วาทกรรม” แตทาง สังคมศาสตรเรียกวา “อรรถาธิบาย” หรืออาจารยไชยยันต ไชยพร  เรียกวา “อรรถกถาธิบาย” นีค่ อื ขอแตกตางในความเขาใจเกีย่ วกับคำ� หรือคำ�วา “dialogue” ในทางสังคมศาสตรเรียกวา “การสนทนา” ในภาษาทางวรรณศิลปเรียกวา “ทวิวัจน” หรือคำ�วา “paradox” ทางสังคมศาสตรเรียกวา “ขอขัดแยง” ในทาง วรรณศิลปเรียกวา “การยอนแยง”  คำ�เหลานี้เมื่อนำ�มาสอบถามนักศึกษาใน ชัน้ เรียน ไมวา จะในสถาบันใดสวนใหญกใ็ หค�ำ ตอบวา “ไมรเู รือ่ ง”  จึงคิดวาภาษา การสื่อสารในเรื่องของศิลปะวิจารณ อาจจะเปนปจจัยหนึ่งที่ทำ�ใหมีบางอยางใน ความรวมสมัยที่มีทั้งความนาสนใจ และความรวมสมัยอยูดวยกัน นี่คือสิ่งที่ถือ วาเปนขอสังเกตของหัวเรื่องของโครงการวิจัย ประเด็นที่จะกลาวตอไปคือ ศิลปะวิจารณ ในที่นี้ขอใหความเขาใจกอน วาเปนศิลปะวิจารณในงานทัศนศิลปเทานั้น และก็ยังแคบลงไปอีกก็คือจะพูดถึง แตสิ่งที่อาจารยอรรฆยเห็นเทานั้น ในสวนของหัวเรื่อง “ลักษณะรวมสมัยในงาน ทัศนศิลป” นั้น ถาอานในจดหมายเชิญก็จะเห็นไดชัดวาเปนที่แนชัดวาศิลปนรวม สมัยของไทยมีส�ำ นึกสูงมากในเรือ่ งของสำ�นึกทางสังคม ในขณะเดียวกันก็มงุ ทีจ่ ะ 29


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

พัฒนาศักยภาพและความสามารถสวนตนใหสูงขึ้น นั่นก็คงจะเปนบทสรุปที่เห็น ไดจากภาคทัศนศิลปและบทสรุปของสภาวการณของการวิจารณวามีบทบาทที่ วางไวในวัตถุประสงคของการวิจารณวาเปนอยางไร ลักษณะรวมสมัยทางศิลปะ ที่เกี่ยวของจาก 10 ป 20 ป หรือ 30 ป ที่ผานมาหรือไม อยางไร อาจารยอรรฆย ตั้งขอสังเกตบางประการจากขอสรุปดังกลาวที่วา สถานการณของทัศนศิลปดูจะ ชัดเจนกวาความสามารถเชิงสุนทรียะและการสรางสรรค บวกกับสำ�นึกเชิงสังคม อยูในเกณฑที่มีพัฒนาการ แตในดานความสัมพันธที่งานสรางสรรคดังกลาว มีตอ ผูช มนัน้ พัฒนาตามตัวงานดวยหรือไม เพราะผูช มเปนผูช มโดยทัว่ ๆไป หรือ ผูช มทีเ่ ราเรียกกันในปจจุบนั วา “แฟนคลับ” ซึง่ มีความสำ�คัญในการสือ่ สารหรือการ สงสารของผลงานทั้งสิ้น นอกจากนี้ ความสัมพันธระหวางทัศนศิลปกบั คนกลางอืน่ ๆ ไมวา จะเปน สือ่ สาธารณะ วงวิชาการ บทวิจารณ หรือนักบริหารจัดการทีเ่ ราเรียกวาภัณฑารักษ ก็ดี curator ก็ดนี นั้ ยังไมแนใจวาในความเปนจริงแลวเหมือนกันหรือตางกันอยางไร ระหวางภัณฑารักษและ curator เนื่องจากเห็นวาความหมายของภัณฑารักษและ curator ที่อาจารยอรรฆยทำ�งานอยูนั้นก็มีวิวัฒนาการที่แตกตางกันออกไป หาก พิจารณาในบริบทวัฒนธรรมตะวันตกผานเงือ่ นไขของประวัตศิ าสตรตะวันตก  กับ ผานเงื่อนไขบริบทวัฒนธรรมของประเทศไทย  ผานเงื่อนไขของประวัติศาสตร ไทย ก็ทำ�ใหคำ�แปลที่แปลไวเดิมคือ ภัณฑารักษ กับ curator ซึ่งคำ�แปลในสมัย รัชกาลที่ 5 ซึ่งในสมัยนั้นก็ไมไดเรียกวาคูเรเตอร แตเรียกวากูเลเตอร สำ�หรับ ความสัมพันธกับสื่อสาธารณะอาจจะดูวามีการตอบรับมากนอยเพียงใด ตอเนื่อง หรือไม สาระของงานศิลปะถูกสงออกไปในหนังสือเหลานั้นหรือไม หรือวาเปน เพียงการประชาสัมพันธแบบหยาบๆ เรื่องของความตอเนื่องในบทความนั้นจะ สังเกตไดวาจะปรากฏอยูในสื่อที่มีอยูจำ�กัดมากหรือมีอยูอยางจำ�กัด และบางสื่อ ที่มีก็ไมไดใหความสำ�คัญมากนัก และในหลายๆสื่อ โดยเฉพาะนิตยสารที่มีเรื่อง ทางศิลปะแทรกอยูต ลอดเวลา แตเปนเพียง agenda ของบริษทั แม และสิง่ เหลานัน้ ก็ไมใชความตองการของบรรณาธิการ หรือความสัมพันธกบั วงวิชาการทีห่ มายรวม ถึงภาคการศึกษาและระบบการศึกษาทัง้ หมดวามีการตอบรับกับการสรางสรรคนี้ 30


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

อยางไร อาจารยอรรฆยคดิ วาความสัมพันธของทัศนศิลปทมี่ ตี อ วงวิชาการนัน้ น​ า​  จะหมายความถึงผูกโยงกับสาขาขางเคียง เชน ทฤษฎีศิลป ประวัติศาสตรศิลป หรือศิลปะวิจารณ อยูกันอยางไร ไดรับการตอบรับ หรือสอดคลองกันมากนอย เพียงใด หากลองพิจารณาใหดกี จ็ ะพบวามีล�ำ ดับของการตอบรับ หรือการเขารวม กิจกรรมในบางครั้ง แตถาเรามองยอนกลับไปอยางที่วา 10 ป 20 ป หรือ 30 ป ก็จะเห็นวามีอยูเทาเดิม หรือมีนอยหรือมากขึ้นเพียงใด ลักษณะการศึกษาเชนนี้ จะชวยใหมองเห็นสภาวะของการวิจารณหรือทัศนศิลปที่มีความสัมพันธกับสวน อื่นๆ เพราะการวิจารณก็ตองสัมพันธกับตัวงานทัศนศิลปเปนหลักอยูแลว ก็จะ สัมพันธกนั ไปเรือ่ ยๆในมิตอิ ยางเปนทัศนศิลปอยางเดียวกอนทีจ่ ะขยายกรอบออก ไปสูสังคมวาไปดวยกันมากนองเพียงใด เปนเชนนี้มายาวนานเพียงใด ความ สัมพันธกับการวิจารณวามีการตอบสนองอยางไร อะไรเรียกวาการวิจารณ และ อะไรที่เรียกวาบทวิจารณ ในแงนี้  การวิจารณในทัศนะของนักประวัติศาสตรศิลป และในทัศนะ ของนักสังคมศาสตรอาจจะไมเหมือนกัน หลายๆครั้งก็มีตัวอยางที่เห็นบอยก็ คือ การวิจารณในเงื่อนไขของประวัติศาสตรศิลปวามีการยกและการอางอิงถึง ประวัติศาสตรศิลปตะวันตกอยูบอยครั้ง ในประเด็นนี้ยังไมสามารถที่จะสรุป ไดวามีขอดีและขอเสียอยางไร แตขอสังเกตหนึ่งที่เห็นคือ ความสัมพันธระหวาง ประวัตศิ าสตรศลิ ปตะวันตกทีม่ คี วามสัมพันธตอ งานศิลปะไทยรวมสมัยจริงๆ และ มีตอกันมานอยเพียงใด ขอยกตัวอยางในกรณีของฤกษฤทธิ์ ติระวณิช  ศิลปน ไทยที่มีชื่อเสียงในระดับโลก อีกคนหนึ่งคือ พรทวีศักดิ์ ริมสกุล   ซึ่งเปน ศิลปนรุน ใหมของไทยทีก่ า วไปสูเ วทีระดับนานาชาติและมีชอื่ เสียง คนทัง้ สองไดรบั การนำ�มาเทียบเคียงจากความแตกตางกัน แตเทียบเคียงกับศิลปนระดับโลกคือ Marcel Duchamp เหมือนกัน อาจารยอรรฆยกลาววาจำ�ไดวามีบทความหนึ่งที่ วิจารณฤกษฤทธิ์ ติระวณิชไววา ความสำ�คัญของฤกษฤทธิ์ในงานกวยเตี๋ยวผัด ไทยนั้น แนนอนวาความสำ�คัญไมไดอยูที่รสชาติของกวยเตี๋ยวผัดไทย แตความ สำ�คัญที่นักวิจารณชาวตะวันตกพูดถึงฤกษฤทธิ์คือ สิ่งที่ฤกษฤทธิ์ไดสรางเปน 31


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

นวัตกรรมไวและสามารถเทียบเคียงกับสิ่งที่ Marcel Duchamp ไดทำ�ไว คือ การเบลอกำ�แพงของหองสี่เหลี่ยมของหองจัดแสดงงาน หรือความหมายของ นิทรรศการ หรือความหมายของ Kunst นีเ่ ปนนวัตกรรมหนึง่ ที่ Marcel Duchamp เคยทำ� แตฤกษฤทธิใ์ ชอกี กระบวนการหนึ่งในการเขาไปเบลอในความหมายของ พื้นที่ดังกลาว ในเวลาเดียวกัน พรทวีศักดิ์ ริมสกุล ก็เปนศิลปนที่นาสนใจมาก คนหนึ่ง ที่ไดรับการยกขึ้นมาเทียบเคียงกับ ​Marcel Duchamp โดยบุคคลสอง คน คนหนึง่ เปนนักประวัตศิ าสตรศลิ ปใหความเห็นวา เมือ่ พูดถึงวัสดุทพี่ รทวีศกั ดิ์ ใช ทำ�ใหหวนนึกถึงวามีความสั​มพันธกับ M ​ arcel Duchamp อีกคนหนึ่งเปน ภัณฑารักษใหความเห็นวา พรทวีศักดิ์เปน ​Marcel Duchamp ของไทย  ที่ยก ตัวอยางศิลปนทั้งสองคนนี้ขึ้นมานั้นเพื่อใหเห็นวามีมิติในการเทียบเคียงระหวาง ศิลปนไทยคนหนึง่ คือ ฤกษฤทธิ์ กับ M ​ arcel Duchamp และ พรทวีศกั ดิ์ กับ M ​ arcel Duchamp จะเห็นไดวาเปนการเทียบเคียงคนละระดับกัน เนื่องจากนักวิจารณ ชาวตะวันตกใหคณ ุ คาฤกษฤทธิ์ในทางทีเ่ สมอกับ M ​ arcel Duchamp ในขณะทีม่ ี ภัณฑารักษใหคาพรทวีศักดิ์ในฐานะที่เปนผูไลตาม ​Marcel Duchamp ซึ่งนัยทั้ง สองนี้ตางกันโดยสิ้นเชิง ดังนั้น การมองผานเงื่อนไขทางประวัติศาตรบางครั้งก็ มีขอจำ�กัดบางประการเชนกัน ประการตอไปคือ ความสัมพันธกับนักบริหารจัดการวามีกิจกรรมสราง สรรครว มกันทีก่ อ ใหเกิดการขยายผลทางการสรางสรรคไดหรือไม อยางไร อาจารย อรรฆยกลาววาหลายครั้งทีส่ งั เกตในฐานะทีเ่ ปนภัณฑารักษดว ย ก็จะเห็นวามีขอ จำ�กัดเกิดขึ้นในทางปฏิบัติ หรือในทางความคิดที่จะมองวาภัณฑารักษ curator หรือการกาวไปสูส าขาอืน่ ๆ ไมวา จะเปนวาทยกร ไปเปนผูส กัดกัน้ หรือเปนผูจ �ำ กัด ในการสรางสรรคนั้น ในประเด็นนี้ อาจารยอรรฆยเห็นวาหากเริ่มจากทัศนคติ นี้เปนขอจำ�กัดที่สำ�คัญ และโดยสวนตัวก็ไมเชื่อวาจะมีศิลปนผูสรางสรรคคนใด จะยอมถูกจำ�กัด หรือจะยอมเห็นดวยกับเงื่อนไขที่เปนปจจุบันมาก และเห็น วาไมใชสิ่งที่จะยอมงายๆในเรื่องนี้ ในดานความสัมพันธของงานทัศนศิลปกับสังคม นับเปนอีกประเด็น หนึง่ วางานทัศนศิลปมอี ทิ ธิพลตอสังคมหรือไม ตัวอยางทีม่ องเห็นไดอยางชัดเจน 32


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

คือ ประติมากรรมสาธารณะ หรือโครงการประติมากรรมสาธารณะที่จะเกิดขึ้นใน อนาคต ลอง​ตงั้ ค​ �ำ ถ​ าม​ดว​ู า ทุกวันนีเ้ ราเห็นประติกรรมสาธารณะมีบทบาทหรือความ สำ�คัญตอสังคมหรือไม เมือ่ เราตัง้ คำ�ถามถึงตรงนี้ เราก็จะไดค�ำ ตอบวา เรากำ�ลังพูด ถึงประติมากรรมสาธารณะ หรือเราควรจะมุงไปพัฒนาเรื่อง “สวนประต​ิมากรรม” แทน ตน​เองเห็นวา สวนประติมากรรมสรางคุณคาใหประติมากรรมมากกวาการ นำ�งานประติมากรรมไปอยูตามที่สาธารณะ หรือการพยายามที่จะเขาไปกำ�หนด กรอบระเบียบวา อาคาร 1 หลังตองมีประติมากรรม 1 ชิ้น อยางเชนที่หลายๆ ประเทศปฏิบตั ิ เชน เกาหลี และเกาหลีกน็ บั เปนตัวอยางทีด่ ที มี่ ปี ระติมากรรมเปรอะ อยูตามหนาอาคารทุกอาคารที่ปรากฏอยูตามเมืองตางๆ  ที่เรียกงานเหลานี้วา ประติมากรรมเปรอะ เพราะแมแตประติมากรเองก็ยังรูสึกอึดอัดใจที่เขาเจียด พื้นที่ใหก็เนื่องจากวาเปนเรื่องของระเบียบกฎหมาย แตสุดทายแลวก็ไมไดชวย อะไรเลย ไมวาจะเปนเรื่องภูมิทัศน เรื่องสุนทรียะ เรื่องความรูความเขาใจ หรือเรือ่ งการศึกษาก็ตาม ประติมากรรมเหลานีไ้ มไดปรากฏบทบาทในสวนนัน้ เลย กลายเปนสวนที่ทางอาคารตองมาดูแลทำ�ความสะอาด เพราะแนนอนวาเมื่อ ปรากฏในพื้นที่สาธารณะหรือพื้นที่เปด สิ่งที่ตามมาคือ การดูแล นอกจากนี ้ ทีส่ าทรก็จะเห็นวาหัวมุมในเสนทางระหวางถนนริมคลองก็จะ มีประติมากรรมชางนอยปรากฏอยูเ รียงราย ประติมากรรมเหลานีเ้ มือ่ ไปสุดถนนที่ ตัดกับถนนนราธวาสราชนครินทรกจ็ ะเปลีย่ นไปโดยสิน้ เชิง กลายเปนประติมากรรม เด็กชนไก  เรื่องนี้เปนเรื่องสำ�คัญ เพราะเปนความเขาใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยว กับการมีประติมากรรมในที่สาธารณะ ลักษณะเชนนี้จำ�เปนตองมีความสัมพันธ โดยตรงกับสาธารณะ เนือ่ งจากวาจิตรกรรมไมตอ งอยูใ นพืน้ ทีส่ าธารณะ จิตรกรรม ตองอยูในที่จำ�กัด แตประติมากรรมเปนปรากฏการณที่ชัดเจนวา เมื่อถูกยาย ไปอยูใ นพืน้ ทีส่ าธารณะแลว ประติมากรรมเหลานัน้ ไดท�ำ หนาทีต่ อ พืน้ ทีส่ ว นกลาง นั้นมากนอยเพียงใด บทบาทของสาขาทัศนศิลปทดี่ �ำ เนินอยูก บั สิง่ รอบๆตัวนัน้ สะทอนใหเห็น ถึงศิลปะวิจารณไดเปนอยางดี ตลอดหลายๆปที่ผานมาวาดำ�เนินไปในทิศทางใด และยังตั้งขอสังเกตวาทุกวันนี้เราเคยตั้งขอสังเกตกันหรือไมวาบทความหรือบท 33


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

วิจารณทปี่ รากฏอยูต ามสือ่ ตางๆ ทัง้ สือ่ สิง่ พิมพ สือ่ วิทยุ โทรทัศน มีมากนอยเพียง ใด มีเพิ่มขึ้นหรือลดลงมากนอยเพียงใด และมีสัดสวนสอดคลองกับการขยายตัว ของพื้นที่ศิลปะและกิจกรรมทางศิลปะหรือไม อยางไร บทความหรือบทวิจารณ เหลานั้นมีผูอานจริงๆหรือไม หากอานอานมากนอยเพียงใด หรือบทความและ บทวิจารณเหลานัน้ มีผอู า นหรือไม เนือ่ งจากจากทีส่ งั เกตโดยเฉพาะสือ่ สิง่ พิมพหวั ตางประเทศที่นิยมใหมีบทความทางศิลปะหรือเนื้อหาของงานศิลปะในเรื่องของ การ review ไว ก็เนื่องจากเปนเรื่องของ agenda ของบริษัทแมที่ตองการใหมี บทความเหลานี้ จึงมีความชอบธรรมที่พึงมีมากวาจะเกิดจากการสำ�รวจความ ตองการของผูอาน นอกจากนี้ยังมีประเด็นอื่นวาบทความและบทวิจารณพูดกับใคร หรือ พูดกับใครหรือไม  เราเคยทำ�การสำ�รวจชีวิตจริงๆของบทวิจารณและบทความ เหลานีอ้ ยางจริงจังหรือไมวา ศิลปะวิจารณมบี ทบาทและทำ�หนาทีห่ รือไม อยางไร และสิง่ นีท้ �ำ ใหนกึ ไปถึงเหตุการณเมือ่ หลายปทผี่ า นมาวาไดมโี อกาสเดินทางไปยัง ประเทศสิงคโปรและไดพบหนังสือเลมหนึ่งชื่อ What’s happen to Art Criticism ซึ่งเปนหนังสือเลมเล็กๆที่พิมพโดย University of Chicago Press ที่แสดงใหเห็น ถึงสถานการณของศิลปะวิจารณในประเทศอเมริกาในชวงประมาณป ค.ศ. 2001 วาเปนอยางไร เนือ่ งจากในหนังสือเลมนีไ้ ดมกี ารสำ�รวจสถานการณของบทวิจารณ ศิลปะวา ปหนึ่งมีบทวิจารณและบทความศิลปะในอเมริกามากเทาใด และมีผูอาน บทความและบทวิจารณเหลานัน้ หรือไม และมีความเปนไปไดวา บทความหรือบท วิจารณบางชิน้ ไมมผี อู า นเลย และสภาวการณของเขาทีเ่ ดินทางในระดับหนึง่ แตก ตางจากเราทีก่ �ำ ลังจะเดินอยางไร อาจารยอรรฆยชใี้ หเห็นวากาวชวงตัง้ ไขแตกตาง กันมาก ของเขากำ�ลังจะลม แตของเรากำ�ลังจะยืน สภาวการณทกี่ �ำ ลังจะลมและจะ ยืนนัน้ แสดงใหเห็นวา เมือ่ เรายืนขึน้ แลวเราจะลมเลยหรือไม สิง่ นัน้ สามารถตอบ ไดทนั ที เพราะเรามี model ทีด่ อี ยูอ นั หนึง่ ซึง่ เราเองคงจะตองถามตัวเองวา ณ วัน นีเ้ ราตองการใหมกี จิ กรรมในทางวิจารณมากขึน้ แตในเมือ่ เราไมเคยรูเ ลยวา การ วิจารณนั้นมีผูอานจริงหรือ หรือวาในความเปนจริงแลว ผูอานตองการอะไร หรือ เราตองการเขียนใหคนอานตองการอาน หรือเราจะเขียนเพราะวาสิ่งนี้ผูอานควร 34


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

รู สิง่ เหลานีเ้ ปนสิง่ ทีแ่ ยกออกจากกันในหลายประเด็น เพราะถาหากศิลปะวิจารณ ไมไดทำ�หนาที่เทาที่ควรจะเปน แตในขณะเดียวกันศิลปนและผลงานศิลปะกลับ มีการพัฒนาอยางสม่ำ�เสมอนั้น แสดงใหเห็นวาศิลปะวิจารณอาจจะไมมีความ จำ�เปนตอการพัฒนา และความกาวหนาของทัศนศิลปก็เปนได ซึ่งนั่นก็เปนสิ่งที่ จะบอกวาการศึกษาและการวิจยั ทัง้ หมดทีผ่ า นมาเกีย่ วกับการวิจารณอาจจะเปลา ประโยชน เพราะการวิจารณไมสามารถทำ�หนาที่ที่สำ�คัญประการหนึ่งก็คือ การ สือ่ สารกับผูช มหรือผูอ า นได ดังนัน้ ความสำ�คัญของการวิจารณหรือบทวิจารณก็ จะอยูที่วาบทวิจารณเหลานั้นสื่อสารไดหรือไม อยางไร เมือ่ กลาวถึงการสือ่ สารก็ท�ำ ใหหวนไปถึงคำ�วา “วาทกรรม” “ทวิวจั น” “การ ยอนแยง” ทีก่ ลาวไวขา งตนวา คำ�เหลานัน้ มักจะเปนลักษณะเฉพาะของบทวิจารณ ที่เห็นกันอยูบอยครั้ง เนื่องจากนักวิจารณจำ�นวนไมนอยนิยมความฟุมเฟอยของ ภาษา ไมรูจักพอเพียงในการใชเพื่อสื่อสาร แตกลับใชเพื่ออวดวาทะมากกวาจะ สนใจเรือ่ งสาระ ผูช มและผูฟ ง สวนใหญกม็ กั จะชอบเรือ่ งราวเหลานัน้ เรือ่ งดังกลาว สะทอนคุณลักษณะของสังคมบางประการก็คือ ความสนใจตอรูปแบบมากกวา เนื้อหา เรื่องราวเหลานั้นก็ไมแตกตางกันเลยในมิติดานสังคมศาสตร  หากยังจำ� บทความเกาๆทางดานสังคมศาสตรหรือรัฐศาสตรไดกจ็ ะเห็นวา สนใจเรือ่ งรูปแบบ มากกวาเนือ้ หา และความสนใจรูปแบบมากกวาเนือ้ หาก็ยงั ปรากฏในรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2550 ดวย นอกจากนีย้ งั ยกตัวอยางในชวง 4-5 ปทผี่ า นมาวา ในการสัมมนา ครัง้ หนึง่ มีผบู รรยายชาวไทยบรรยายดวยสำ�นวนภาษาอังกฤษทีช่ วนฟง ชวนติด ตามใหหลงใหล เมื่อจบการบรรยายไดเห็นศิลปนและนักวิชาการจับกลุมสนทนา กันถึงความเกงกาจของผูบ รรยาย ไมนานอาจารยอรรฆยกห็ นั ไปถามนักวิชาการ ชาวตางประเทศ 3 คน ไมวา จะเปนชาวตะวันตกหรือชาวตะวันออก กลับไดค�ำ ตอบ ที่นาตกใจวา “เหย” นี่นับวาเปนภาพสะทอนความจริงในเรื่องวาทะและสาระที่ เปนจริงเรื่องหนึ่งที่สังเกตเห็นไดจากการบรรยายในวันนั้น แมวาเราจะยังไมได สาระความคิดเปนของศิลปนที่มีทัศนะตอการวิจารณอยางไร  แตสิ่งที่แสดงให เห็นนี้คือความรูสึกจริงใจและซื่อสัตย ไมใชเปนเพียงคำ�หวานที่ดูเปดกวางแต ลับหลังกลับไมไดชนื่ ชมการวิจารณเหลานัน้ ดวยเหตุทวี่ า “คุณเปนใคร มาจากไหน” 35


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ใครจะปฏิเสธเรื่องนี้ก็ได แตสิ่งเหลานี้เปนความจริงอยูไมนอย เพราะมารยาทที่ รักษาไวดีที่สุดคือ เขาจะไมพูดกับคุณตรงๆเทานั้นเอง อาจารยอรรฆยเห็นวา เราจะไดรบั ทัศนคติดงั กลาวงายมาก ถาเราสำ�รวจผลงานทัศนศิลป โดยเฉพาะที่ เกีย่ วกับปรัชญาทีม่ มี ติ ทิ ลี่ กึ ซึง้ ทีไ่ มมใี ครเขาถึง หรือบทกวีทมี่ คี วามดืม่ ด่�ำ มีความลึก ที่แยบยลเสียจนผูวิจารณดูโงเขลาลงไปถนัดใจ ในที่นี้อาจจำ�เปนตองกลาวถึง ทัศนคติของผูวิจารณดวยที่มักจะเรียกกันดวยคำ�พูดที่เจนปากวาเปนกลาง หาก จะพิจารณากันอยางจริงใจแลวก็จะพบวาความเปนกลางนั้นเปนสภาวะที่แทบ จะไมมีทางเปนจริงได แตในขณะเดียวกัน คำ�วาความซื่อสัตยทางความคิด ดูนาจะเปนสิ่งที่เปนรูปธรรมมากกวา  สังคมดูจะดำ�เนินไปในทิศทางที่วาความ ซื่อสัตยดูจะไมมีลำ�ดับชั้นทางความคิด เพราะความลุมลึกที่ปราศจากความ ซื่อสัตยดูจะไดรับการยกยองกันมากกวาวาฉลาด และทายที่สุดเราก็จะลงเอยกัน วาไดประโยชนมากกวาคำ�วาเปนประโยชน เพราะผูท �ำ ไดประโยชน  สาธารณชน ไมเปนประโยชน ดังนั้น การสรางวัฒนธรรมการวิจารณจึงตองการหลักในเรื่อง นั้นๆ เชน​  มารยาท ความเหมาะสมเหมาะควร เรื่อยไปจนถึงเรื่องหนักๆเชน จริยธรรม ซึ่ง​เปนคำ�ที่เมื่อ 5 ปกอนไมมีผูใดพูดถึง แตวันนี้พูดกันจนไมมีคา นักวิจารณจ�ำ เปนตองมีความเชือ่ ใจในความสมบูรณระหวางศิลปะ ศิลปน คนกลาง และผูช ม โดยไมมองวาจะมีสว นหนึง่ สวนใดเปนผูร า ย เพราะไมวา ศิลปน จะอาศัยประโยชน ไมวาจะจากโอกาสหรือประเด็นอื่นๆ เชน ภัณฑารักษจะหา ประโยชนจากศิลปนและการตลาด หรือผูช มจะเฉยเมย ไมมพี ฒ ั นา แตสงิ่ เหลานัน้ ก็ไมไดหมายความวาทัง้ หมดจะเปนผูร าย  ความคิดทีว่ า “ปลาตายตัวเดียวเหม็น ทัง้ ของ” นัน้ ไมควรนำ�มาใชในความหมายนี้ การวิจารณควรดำ�เนินไปตามบริบท ของสังคมวัฒนธรรมของแตละพื้นที่ มากกวาที่จะเปนการมองดวยสายตาของ ตะวันตก และแมวาเราไมสามารถละสายตาดังกลาวได แตการที่เราตองทบทวน บริบทจำ�เปนอยางยิง่ ตอการทำ�ความเขาใจสถานการณของตัวเองมากกวาทีจ่ ะทำ� ตรงๆไปโดยปราศจากบริบท ประการสุดทายคือ การมองการวิจารณหรือประเด็นอื่นๆ ที่ยังขาดใน สังคมไทยวาเปนสิ่งผิดปกติ การวิจารณที่ไมกาวหนา การไมมีหอศิลป หรือ 36


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

พิพิธภัณฑศิลปะ และประเด็นอื่นๆ ทุกวันนี้สาขาทัศนศิลปของไทยก็กลับเดิน ไปไดอยางนาสนใจ แมจะไมไดดีที่สุด แตก็ไมไดหมายความวาไมดี แตก็ยัง ดีกวาประเทศทีม่ คี วามพรอมมากกวา เชน ปรากฏการณทเี่ ห็นไดอยางชัดเจนใน เทศกาล Venice Biennale ของปนี้ที่ Thai Pavilion ดำ�เนินการดวยงบประมาณ ที่มีอยู  เรายังคงทำ�ไดดีกวา Pavilion ของสิงคโปรที่มีงบประมาณมากวานับ 10 เทา แตในที่นี้ไมไดหมายความวา “ดี” แตแค “ดีกวา” เทานั้น และสามารถทำ� ไดดีกวาในขอจำ�กัดที่มีอยู หากเปนไปไดอยากใหมองอยางอดทนมากกวาที่จะ มองอยางโกรธเคือง นอยเนือ้ ต่�ำ ใจ เหมือนอยางทีห่ ลายๆคนเริม่ ทีจ่ ะมองรัฐประหาร เมือ่ วันที่ 19 กันยายน 2549 วาไปสะดุดการเรียนรูข องคน เราเห็นผูน �ำ ทีผ่ า นๆมา ของเรากับนโยบายดานศิลปวัฒนธรรม และนโยบายดานการศึกษาแลวจะเห็นวา สิง่ ทีด่ �ำ เนินอยูใ นปจจุบนั นีจ้ ะกระทอนกระแทน แตกเ็ ปนความกระทอนกระแทนที่ ปกติ อาจารยอรรฆยเปรียบเทียบเหมือนกับการที่มองดูลูกวา การมองเห็นเขา กาวเดินเปนการมองที่จะรูวาเขาเดินผิดปกติหรือไม เราใหเขาใส soft shoes จน เริ่มมาใชรองเทาปกติ ดังนั้น การที่เราจะมองการวิจารณที่กำ�ลังจะกาวเดินก็คง เหมือนการมองเด็กๆที่กำ�ลังเติบโตอยางชาๆ ซึ่งอาจจะชากวาคนเสียดวยซ้ำ� แตถาเรามองมาตลอด 10 ป 20 ป หรือ 30 ป แลวยังเห็นวายังไมโต ก็ถึงเวลา ที่เราจะตองทบทวนวา เราอาจจะตองเปลี่ยนวิธีการเลี้ยง เราอาจจะตองเปลี่ยน ยา หรืออาจจะตองเปลี่ยนหมอก็ได การอภิปราย/ซักถาม อาจารยรนื่ ฤทัยกลาววาการบรรยายของอาจารยอรรฆยชว ยใหมองเห็น วาปรากฏการณรว มสมัยของวงากรทัศนศิลปจะพัฒนาไปอยางมาก แตการวิจารณ กลับยังคงออนดอยอยู ราวกับเพิ่งจะหัดเดิน  ทั้งๆที่มีประวัติมาอยางยาวนาน ผูเขารวมประชุมคนหนึ่งเห็นวาการบรรยายของอาจารยอรรฆยชวย ใหความรูเรื่องการวิจารณวาควรมองการวิจารณอยางเปดกวาง ทั้งในเรื่องความ สัมพันธกับกลุมคนตางๆดวย ซึ่งความสัมพันธของกลุมศิลปน นักวิจารณ และ ผูช ม  คิดวาแตละกลุม ตางก็มลี กั ษณะเฉพาะของตนอยูแ ลวทัง้ ในเรือ่ งความรูแ ละ 37


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

วิธีการ โดยสวนตัวคิดวาศิลปนจำ�เปนตองเปนผูพัฒนาไปกอน โดยมีลักษณะ พิเศษที่จะใชจินตนาการและการแสวงหาตัวตนและสื่ออกมาผานงานศิลปะ สวน กลุมนักวิจารณก็ตองเปนผูที่ตองมองหาเหลี่ยมมุมของศิลปน ซึ่งเหลี่ยมมุมนี้ก็ คงจะตองแตกตางกันระหวางผูทำ�งานดานทัศนศิลปและวรรณศิลป นอกจากนี้ นักวิจารณยังมีหลากหลาย ทั้งที่เปนศิลปน นักวิจารณ หรือเปนนักทฤษฎีศิลปที่ ไมไดเปนศิลปน และทำ�งานวิจารณศิลปะ หรือเรียนรูสนใจและกาวเขามาสูการ วิจารณ ยิ่งไปกวานั้นยังชวยใหเห็นวาความคิด วิธีการ สำ�นักคิดตางกัน อาจ เปนทั้งคูตรงขาม คูเทียบเคียง และคูขนานของศิลปน จึงตองรักษามารยาทและ ความซื่อสัตยทางความคิดที่ตองสื่อ​ออกมาดวย แตสื่อที่จะนำ�เสนอไปสูผูชมและ ผูอานนั้น เปาหมายที่แทจริงก็คือตวามตองการที่จะพัฒนาความคิดใหเกิดการ จรรโลงขึ้นมา แตคำ�ถามก็คือจะทำ�อยางไร เพราะหนาที่หนึ่งของการวิจารณคือ การตีแผ และนำ�เสนอบางแงมุมของงานศิลปะออกมาใหเห็น ซึ่งตองอาศัยความ รูและทัศนะหลายประการที่จะชวยใหมองเห็นได แตปญหาก็คือศิลปะและนัก วิจารณอยูตางระดับกัน และในทั้งสองกลุมก็มีความแตกตางหลากหลายมากใน หลายกลุม ดังนั้น ผูชมที่ดูประหนึ่งเหมือนเปนกลุมลางสุดจะทำ�อยางไรใหแตละ กลุม ทันกัน และพัฒนาแตละกลุม ไปพรอมๆกัน ก็จะชวยใหนกั วิจารณพัฒนามุม มอง และความคิดของตนเองไปดวย และเปาหมายของนักวิจารณคือ สวนหนึ่ง ใหผูชมไดคิดทางศิลปะ อีกสวนหนึ่งก็คือใหศิลปนไดคิดตามเชนกัน เพื่อใชใน การสรางงานศิลปะตอไป อาจารยอรรฆยตอบวาเรือ่ งมารยาทีก่ ลาวถึงนัน้ มี 2 สวน คือ 1) มารยาท ที่ศิลปนมีไวกับตัว 2) มารยาทของนักวิจารณ และยังตั้งขอสังเกตวา การมี งานศิลปะออกมาชิน้ หนึง่ และไดรบั การวิจารณ กับอีกชิน้ ทีไ่ มไดรบั การวิจารณเลย อะไรดีกวากัน  การไมมเี สียงตอบรับเลยดูจะแยกวา ขณะทีก่ ารวิจารณไมวา จะใน แงบวกหรือแงลบ ก็ยังนับวามีการนำ�มาสรางการสนทนาตองสำ�คัญกวา ดังนั้น หากไมไดรับการวิจารณเลย บางคนก็อาจรูสึกสบายใจ แตโดยสวนตัวไมเห็น วาเปนเรือ่ งดี และไมพงึ เปน เพราะงานศิลปะไมวา ดีหรือเลวในสายตาของผูว จิ ารณ แตก็ยังคงมีคุณคาและความหมายในการพูดถึง มีบทสนทนาที่สงออกมาได สิ่ง 38


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

นั้นนาจะสำ�คัญที่สุด นอกจากนี้ยังถือวาเปนการสะทอนใหเห็นบางสิ่งที่เรากำ�ลัง เผชิญอยูกับการวิจารณ คือ เมื่อผูวิจารณจะลงมือทำ�อะไร เราจะเห็นวาทางขาง หนาในทางทัศนศิลปเปนเปานิง่ ดังนัน้ สิง่ ทีต่ ามมานัน้ ก็นบั เปนปรากฏการณรว ม สมัยอยางหนึ่ง จะเห็นไดวาในบทวิจารณของเรานิยมฟุตเวิรก ถึงแมจะเปนเปา นิ่ง ก็ยังคงเตนฟุตเวิรก แตไมตอย ดังนั้น คำ�ถามแทบจะไมมี แตโชวเตน ไปรอบๆ โชวลีลา โชวขา  เปนปญหาตอการสื่อสารมากวา สุดทายแลวอาน บทวิจารณไปแลว 1 บท  นักวิจารณเตนฟุตเวิรก มาก แตตอ ยไมลม ทำ�อะไรไมได สำ�หรับสภาวการณที่ดำ�เนินอยูเชนนี้อาจจะไมใชขอไดเปรียบในการที่จะทำ�การ วิจารณตอ ไป อยางนอยก็ตอ งมีการตอสูก นั บาง เพราะศิลปนออกมาสงความคิด สูสังคม นักวิจารณก็ตองสูบาง โดยสงหมัดออกไปบาง ไมใชวานักวิจารณออก ไปแลวทำ�เพียงแตเตนไปรอบๆเทานั้น หัวหนาโครงการกลาววาโครงการวิจัย “การวิจารณในฐานะพลังทาง ปญญาของสังคมรวมสมัย” ไดทำ�วิจัยการรับการวิจารณไปแลว และผลการ วิจัยที่ออกมานั้นคือการรับการวิจารณแทบจะไมมีผูอาน อานนอยมาก ปญหา ประการหนึ่งคือ อานไมรูเรื่อง หรือยากเกินไป  สิ่งที่อาจารยอรรฆยกลาวถึง นั้นทำ�ใหเห็นวาแมในตางประเทศการวิจารณก็เกือบจะลมเชนกัน คือเขียน แลวไมมีผูอาน และยังมีประเด็นที่วาบทวิจารณและตัวงานศิลปะเอื้อตอกันมาก นอยเพียงใด โดยประสบการณสวนตัวคิดวาบทวิจารณชวยผูเสพไมนอย แตบท วิจารณดังกลาวตองไมใชบทวิจารณที่เตนดวยลีลา ภาษา และมีแตทาทางที่ยาก ตอการเขาใจ ก็จะยอมเสียเวลาในการอาน หากเปนบทวิจารณที่เตนดวยและชก หนักๆใหเห็นประเด็นดวย ก็เห็นวามีประโยชนอยางมาก และโดยสวนตัวอาจจะ เรียกไดวา เปนผูท อี่ ยูน อกวงศิลปะ แตเคยไดอา นบทวิจารณบทหนึง่ ทีข่ ณะนีก้ ม็ กั จะนำ�ไปอางอยูเสมอคือ บทวิจารณของ Fredric Jameson ที่พูดถึง Postmodern ทีว่ จิ ารณงานตัง้ แตรองเทาชาวนาไปจนถึงโรงแรมในแคลิฟอรเนีย ซึง่ ไดรบั ความ รูจากบทวิจารณชิ้นนี้มาก แมวาจะอานยากก็ตาม แตก็ไมไดมีแตฟุตเวิรกเพียง อยางเดียว แตมีประเด็นและหมัดยังหนักดวย เพราะชวยใหเขาใจวาแมจะเห็น เพียงแครองเทาที่วางอยูที่หนาประตู ก็ยังไดยินเสียงโหยหวนของผูที่มีชีวิต 39


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ทุกขยากไดอยางชัดเจน ซึ่งงานวิจารณเชนนี้ใหคุณคาแกผูเสพอยางมาก อาจารยอรฆยกลาววาโดยสวนตัวเชื่ออยางจริงใจวาการวิจารณเปน เรื่องสำ�คัญมาก ไมวาจะในสาขาศิลปะหรือสาขาใดก็ตาม แตนั่นหมายความวา การวิจารณตองดำ�เนินไปควบคูกับเนื้อหาทางสังคม อยางเชนที่คุณอัศศิริแสดง ใหเห็นวาเนื้อหาทางสังคมเปนเชนนี้แลว การวิจารณจะดำ�รงอยูอยางไร  การจะ รักษาชีวิตของการวิจารณไวนั้นเปนสิ่งที่ยากกวาที่จะใหการวิจาณมีชีวิตเสียอีก เนื่องจากทุกวันนี้เมื่อมีการวิจัยการรับการวิจารณไปแลวก็พบวาไมมีผูรับ ดังนั้น จึงหมายความวาการวิจารณกำ�ลังจะตายหรือไม หากอายุ 30 ปของบทวิจารณ อาจจะเทียบเทากับเด็กอายุ 7-8 ป ถาเปนเชนนัน้   ถึงเวลาแลวหรือยังทีเ่ ราจะตอง เริ่มปกปอง ใหยา หรือทำ�อะไรที่มากกวาที่ทำ�อยูแลวนี้หรือไม โดยคงตองเลี้ยง ใหโตเร็วกวานี้สักหนอย หรือเลี้ยงใหโตโดยรูเทาทันโลกดวย อาจารยจักรพันธใหขอมูลเพิ่มเติมจากที่หัวหนาโครงการและที่อาจารย อรรฆยนำ�เสนอไว คือเรื่องการวิจัยการรับการวิจารณวา เหตุผลที่คนไมอานบท วิจารณสวนหนึ่งนั้นไมใชวาเขาไมอาน แตเขาอานแลวไมเขาใจ อานแลวแต หาความเชื่อมโยงไมพบ ซึ่งก็หมายความอยางที่อาจารยอรรฆยเสนอความเห็น ไวในขางตนวามี term ของคำ�ตางๆจำ�นวนมาก และมีฟตุ เวิรก ทีห่ ลากหลายระดับ ดวยเชนกัน บางระดับอาจจะเรียกวาเปนพืน้ ฐาน และการจะมีฟตุ เวิรก ไดกจ็ �ำ เปน จะตองมีพนื้ ฐานกอน แตงานวิจารณจ�ำ นวนมากก็ไมถอื วาเปนงานทีม่ ฟี ตุ เวิรก มาก นัก แตสิ่งที่เปนพื้นฐานก็มีคำ�ตางๆที่ไมอาจจะปฏิเสธไดวามีอยูในบทวิจารณ ปญหาในที่นี้ก็คือคนจำ�นวนมากที่อานบทวิจารณเขาไมถึงสิ่งที่เปนกลุมกอน ของเนื้องานวิจารณ เชน บทวิจารณกลาวถึงงานของคุณประเทือง เอมเจริญ รูป กระทอมชาวนา ผูอ า นบทวิจารณไมทราบวางานชิน้ นัน้ เปนอยางไร อยูท ใี่ ด หนาตา เปนเชนไร แมวาในบทวิจารณจะบรรยายรูปลักษณของงานชิ้นนี้อยูบางก็มอง ไมเห็น ก็ทำ�ใหเขาใจบทวิจารณไมได  สิ่งนี้เปนองคประกอบในหลายๆดานที่ ทำ�ใหการวิจารณไมเติบโต เพราะอยางนอยที่สุด คนก็ตองเห็นผลงานชิ้นนี้กอน สักเล็กนอย เมื่อคนไมไดไปดูผลงานชิ้นนั้นมาอานบทวิจารณแตเพียงอยางเดียว จะนึกภาพออกไดอยางไร หรือบางคนก็อาจจะอานบทวิจารณเพื่อ “เอามัน” โดย 40


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ไมรวู า เนือ้ หาของบทวิจารณคอื อะไร อาจารยจกั รพันธคดิ วาการวิจารณทศั นศิลป มีปจ จัยหลายดานทีจ่ �ำ เปนตองพิจารณา และเห็นดวยกับอาจารยอรรฆยทชี่ ใี้ หเห็น วาการวิจารณในมุมมองของสังคมศาสตร กับการวิจารณในงานทีเ่ ปนภูมหิ ลังของ ประวัติศาสตรศิลปก็มีความตางกัน แตขณะเดียวกันก็อยากจะพิจารณาใหลึก ไปวานั้นอีกวา ไมวาจะเปนนักวิจารณชาวไทยหรือนักวิจารณชาวตะวันตกเอง ก็มีสิ่งที่เรียกวาเบื้องหลังในใจ ที่พูดถึงศิลปนผูนี้โดยอางศิลปนผูยิ่งใหญผูนี้ขึ้น มา  ทิศทางของการวิจารณจะนำ�ไปสูอ ะไรบางอยางทีอ่ ยูใ นใจของผูเ ขีย่ นทีม่ ดี ว ย กันทั้งคู ดังนั้น ในแงของการเขียนแบบประวัติศาสตรศิลป หรือเขียนแบบ สังคมศาสตร ก็มขี อ ดีดว ยกันทัง้ คู เพียงแตวาผูเ ขียนใชไดแบบเปนประโยชนมาก นอยเพียงใด ไมใชวาจะเปนการเขียนเพื่อใหไดประโยชนแบบใด อยางไรก็ดี ก็​ ควร​จะพิจารณาบทวิจารณทโี่ ครงการฯไดคดั สรรมาแลวบางสวนวามีงานทัง้ ทีเ่ ปน แบบสังคมศาสตรและเปนภูมหิ ลังของประวัตศิ าสตรศลิ ป และยังเชือ่ วาหากไดไป ศึกษามากๆก็จะเห็นวาทัง้ สองฝายตางก็พาไปสูส งิ่ ทีต่ วั เองพยายามจะใหเปนทัง้ คู ในประเด็นทีอ่ าจารยอรรฆยกลาววามีค�ำ จำ�นวนมากทีส่ รางปญหา แมแตโครงการ วิจัยฯเองก็สรางคำ�ใหมๆขึ้นมา ซึ่งทำ�ใหผูอานเกิดความงุนงงดวยเชนกัน และ เคยไดหารือกันในกลุมผูวิจัยวาอาจจำ�เปนตองจัดทำ�ศัพทานุกรม (glossary) คำ� ใหมๆเหลานั้น อยางไรก็ตาม ก็เห็นดวยกับอาจารยอรรฆยที่วาสิ่งที่เปนปญหา ก็คือ terminology เพราะรูปแบบของตะวันตกไมวาจะเปนเรื่องการวิจารณ หรือ ประติมากรรมสาธารณะ ทีผ่ บู ริหารกรุงเทพมหานครอยากได  ก็ไปรวบรวมศิลปน จำ�นวนหนึง่ มาจัดทำ�พรอมใหเงินสนับสนุน สิง่ เหลานีเ้ กิดขึน้ เพราะการใช model ตะวันตกทั้งสิ้น แตสิ่งที่อาจารยอรรฆยไดใหกำ�ลังใจไวคืออยางเพิ่งเบื่อ และสิ่ง ที่อยากใหเกิดก็คือ คงตองหา model ตอไปเรื่อยๆ จนกวา model นั้นจะลงตัว กับสังคมไทย อาจารยอรรฆยกลาววาเนนการพยายามทบทวนบริบท เพราะวาในทุกๆ model ทีพ ่ ดู ถึงนัน้ ตางก็เปนการพูดถึง model ตะวันตกทัง้ สิน้ หรือในเรือ่ งของการ วิจารณไมวาจะเปนแงมุมในเชิงสังคมศาสตร ประวัติศาสตรศิลป หรือในมิติอื่นๆ ตางก็มรี ากฐานทางสังคมดวยกันทัง้ นัน้ และทีผ่ า นมาคุณอัศศิรกิ ไ็ ดกลาวถึงความ 41


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

เสมอภาค และภารดรภาพนั้นที่ปจจุบันผูคนมีความรูสึกวาเฉยกับสิ่งนี้ เพราะมี อยูห รือเฉยเพราะวาไมมี ซึง่ ทัง้ สองประเด็นนีก้ น็ บั เปนเรือ่ งทีแ่ ตกตางกันไป แตทงั้ สองสิ่งเมื่อเรามองลึกลงไปยังรากฐานแลวนั้น พบวาทั้งสองสิ่งมาจากโครงสราง ทางสังคมที่ตางกัน ดังนั้น การแกไขจึงไมไดอยูที่การวิจารณทัศนศิลป หรือ ศิลปะวิจารณ หรือแกปญหาที่พื้นที่ทางศิลปะ หรือหอศิลป หรือไมไดแกปญหา ที่ตัวงานวิชาการ แตตองมองไปแลวบอกวามีอยูเพียงแคนี้ โดยเฉพาะในดาน สังคมศาสตรก็เปนเชนนี้ และเราก็จะไดเห็นวา เราคงจะตองขยายออกไป และ มองออกไปในกรอบที่สอดรับกับรากของเราเทานั้นเอง

42


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะการละคร ประดิษฐ ประสาททอง

คุณประดิษฐเลาวาตนเองเลนโขน เลนดนตรีไทย อานทำ�นองเสนาะ มา ตั้งแตสมัยยังเปนนักเรียนอยูที่ ร.ร. สวนกุหลาบ ชวงนั้นจะเขาไปอานรอยกรอง ในหองสมุดทุกวัน เรื่องที่อานบอยคือขุนชางขุนแผน อิเหนาและรามเกียรติ์ โดย จะอานซ้ำ�แลวซ้ำ�เลาและตั้งคำ�ถามกับตัวเองวาผูเขียนพยายามจะบอกอะไร หรือ ตัวละครตองการจะบอกอะไร สมัยเรียนอยูที่สวนกุหลาบ คุณประดิษฐเคยแสดง โขนเปนพระรามหนาพระที่นั่งในวันลูกเสือแหงชาติ ซึ่งเปนการแสดงโขนครั้ง แรกของสวนกุหลาบ เมือ่ ไดมาศึกษาตอทีม่ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร ก็ไดมาคัดตัว แสดงโขนกับ มรว. คึกฤทธิ์ ปราโมช คุณประดิษฐไดแสดงเปนตัวลิง ทั้งๆ ที่เรียน มาเปนพระโดยตลอด แตกด็ ใี จมากเพราะไมเคยมีโอกาสไดเรียนทารำ�ของลิง และ ชอบตัวลิงมาก  แตครูทสี่ อนใหคณ ุ ประดิษฐแสดงเปนตัวพระไมเคยอนุญาตใหขา ม ขนบ คุณประดิษฐเลาวานอกจากจะศึกษาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแลว ยังไดเรียนโขนในโรงเรียนนาฏศิลปสัมพันธดวย เมื่อไปตอแถวผูเรียนเปนลิง ครู ที่สอนคุณประดิษฐใหเปนพระมาตลอดก็ไมอนุญาตใหเรียนเปนลิงเพราะเสียดาย ฝมือ แตเมื่อกลับไปเรียนโขนที่ธรรมศาสตรก็เปนลิงสลับกันไป สำ�หรับดานนาฏศิลป คุณประดิษฐเลาวามีโอกาสไดเรียนกับแมครู สุวรรณี ชลานุเคราะห ซึ่งเชี่ยวชาญดานละครใน และมีวิธีการสอนรำ�ที่ออนชอย เหมือนภาพเขียน และมีความเปนหญิงมาก  แตเมือ่ กลับไปเรียนโขนกับครูไพฑูรย เขมแข็ง และครูทองสุข (แปะ) ทองลิ่ม ก็ตองเรียนทารำ�อีกแบบหนึ่งที่นิ่งแตมี สงา ก็ทำ�ใหคุณประดิษฐรูสึกสับสนวาควรจะรำ�แบบใด เพิ่งจะเขาใจเมื่ออีกหลาย ปตอมาวานั่นคือความแตกตางของพระโขนกับพระละคร 43


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

เมื่อศึกษาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเมื่อป พ.ศ. 2523 ก็ไดเริ่มเขามา ทำ�ละครการเมือง ละครรับนอง ละครเคลือ่ นไหว และ Street Performance ในชวง นั้นเหตุการณ 6 ต.ค. 2519 ผานมาหลายปแลว และมี พรบ. 66/23 มาใหเหลา นักศึกษาที่หลบหนีเขาปาไปสามารถกลับมาได นักศึกษาเหลานี้จึงไดนำ�ศิลปะ ประเภทเพลงและทาเตนทีเ่ กีย่ วกับการดำ�รงชีวติ มาดวย เชน เพลงฝดขาว รอนแร เปนตน ทางกรมศิลปากรจึงไดน�ำ ไปปรับเปนระบำ�ตางๆ ทีเ่ กีย่ วกับการดำ�รงชีวติ ถือเปนศิลปะรวมสมัยในยุคนั้นที่ไดรับแรงบันดาลใจจากนักศึกษาที่หนีจาก เหตุการณ 6 ต.ค. 2519 เขาไปในปา และมีอิทธิพลตองานของคุณประดิษฐที่มา ทำ�ในชมรมศิลปะและการแสดงของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรดวย คุณประดิษฐเลาวาเคยรวมงานงิ้วธรรมศาสตรในสมัยนั้น โดยรับการ ออกแบบทารำ� ใสท�ำ นองรอง การพากย ออกแบบการตีกลอง ตีฉาบ ทีล่ อ เลียนงิว้ จริงแตประยุกตใหดเู ราใจมากขึน้ สวนดานเนือ้ หาเปนหนาทีข่ องคุณวันชัย (จอบ) ตันติวทิ ยาพิทกั ษ และคุณสุวกิ รม พัฒนวลัย ซึง่ ทัง้ สองคนยังเปนผูน �ำ ในการทำ�งิว้ ธรรมศาสตรจนถึงทุกวันนี้ สำ�หรับละครสมัยใหม  ในสมัยนัน้ คุณประดิษฐไมเชือ่ วาการเรียนทฤษฎี ละครตะวันตกแตเพียงอยางเดียวโดยเชื่อมโยงกับชีวิตไมได และไมนาจะมี ประโยชน จึงไมไดไปลงทะเบียนเรียนวิชาเหลานี้ ประกอบกับการเรียนวิชาเกี่ยว กับการขับเคลือ่ นทางสังคมในคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในขณะนัน้ มีกรณี ศึกษาแตเพียงของตะวันตก เชนการปฏิวัติฝรั่งเศส โดยไมมีเรื่องราวของไทยที่ เพิ่งเกิดขึ้น โดยเฉพาะเหตุการณเดือนตุลาฯ  จึงไมพอใจและคิดวาตนมีสิทธิที่ จะไดรใู นเรือ่ งเหลานี ้ จึงตอตานการศึกษาทฤษฎีตะวันตกทัง้ หมด อันเปนสาเหตุ ใหไมรูทฤษฎีละครตะวันตกมาจนถึงทุกวันนี้ แตคุณประดิษฐก็ไดเรียนรูจากการ ที่มีชาวตางประเทศมาทำ� workshop ที่หอศิลปพีระศรี หรือสถาบันเกอเธ ครั้งละ 3 ชั่วโมงบาง 5 ชั่วโมงบาง ซึ่งทั้งสองแหงก็เปนสถานที่ในฝนของคนหนุมสาว ยุคแสวงหาที่จะมารวมตัวกันเพื่อศึกษาคนควาและทดลองดานละคร ตอมาได ไปใชหอ งพักนักกีฬาบนชัน้ 5 ของตึกกิจกรรมนักศึกษาดัดแปลงเปนสตูดโิ อละคร รวมกับเพื่อนๆ โดยที่ลงทุนไมมากนัก ไดสรางละครทดลองดานการเมืองออก 44


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

มาหลายเรื่อง ไมวาจะเปนละครที่ใชผลงานของอัศศิริ ธรรมโชติ สุชาติ สวัสดิ์ศรี บทกวีของอังคาร กัลยาณพงศ วิทยากร เชียงกูร รวมถึงบทละครสะทอนสังคม ของตางประเทศ คุณประดิษฐรูส กึ วาละครทีท่ ดลองทำ�นีเ้ ปนละครทีต่ อบโจทยชวี ติ ไมใชละครที่เรียนในหองเรียน เกิดการคนควาทดลอง มีการปฏิสัมพันธกับคนดู และเกิดการวิพากษวิจารณ คุณประดิษฐรูสึกวาเริ่มทำ�ละครเปนอาชีพเมื่อมาอยูกับมะขามปอม เพราะผูด คู อื ผูท อี่ ยูใ นสังคมจริง และผูส รางละครสูส าธารณะก็ตอ งพรอมจะยอมรับ คำ�วิพากษวิจารณ ชวง 10 ปแรกของการทำ�งานเปนการทำ�งานในชนบท เพราะ ในชวงนั้นทางมะขามปอมเชื่อในนโยบายแบบคอมมิวนิสต “ปาลอมเมือง” คือ เชื่อวาถาใหชาวบานเขาใจถึงวิถีประชาธิปไตยและมีสื่อเปนของตัวเองแลวจะ สามารถมีอ�ำ นาจตอรองกับทางรัฐหรือสือ่ จากสวนกลางได ชวง 6 ต.ค. 2519-2520 เปนการตอสูของเสรีนิยมกับคอมมิวนิสต  สื่อของแตละฝายก็พากันโฆษณา ชวนเชื่อ เกิดสงครามสื่อขึ้น แตหลังจากคอมมิวนิสตลมสลายไปก็เปนยุคของ ทุนนิยม สื่อโฆษณามีอิทธิพลมาก คุณประดิษฐเลาตอไปถึง 10 ปทสี่ องทีท่ �ำ งานในมะขามปอมวา ในป 2536 มะขามปอมไดรับเชิญใหไปแสดงในเยอรมนีเปนครั้งแรก ซึ่งทำ�ใหมะขามปอม เริ่มมีชื่อเสียง คุณประดิษฐตองรับผิดชอบละครที่จะไปแสดงครั้งนี้ และเมื่อละคร เรือ่ งนีแ้ สดงจบลงก็เปนละครทีเ่ ปลีย่ นแปลงชีวติ ของคุณประดิษฐและมะขามปอม คือทำ�ใหเปนที่รูจักของคนทั่วไปรวมทั้งสื่อมวลชน  หลังจากที่มะขามปอมกลับ ประเทศไทยก็ไดมีโอกาสไปแสดงที่ศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทยและมีผูชม จำ�นวนมาก มะขามปอมจึงเปนที่รูจักตั้งแตนั้นเปนตนมา ในตอนนั้นมีสื่อมวลชน ถามคุณประดิษฐวา เพราะเหตุใดจึงขามขัน้ จากคนรากหญาไปตางประเทศเลยโดย ไมสนใจคนชัน้ กลาง คุณประดิษฐตอบวาคนชัน้ กลางมีอยางอืน่ ใหเลือกชมจำ�นวน มากและคงจะไมสนใจละครอยางมะขามปอม สื่อมวลชนผูนั้นจึงใหความเห็นวา การที่มะขามปอมเปนที่รูจักของคนชั้นกลางจะเปนการยึดพื้นที่สื่อในหมูชนชั้น กลาง ซึ่งชนชั้นกลางนั้นแมวาจะมีจำ�นวนนอย แตก็เปนผูคนจำ�นวนนอยที่มีพลัง ขับเคลื่อนสูงที่สุดในสังคม ถามะขามปอมยึดพื้นที่ชนชั้นกลางไดก็จะสามารถขับ 45


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

เคลื่อนสังคมไดงายขึ้น หลังจากนั้นมะขามปอมจึงมีงานที่รองรับชนชั้นกลางมาก ขึ้น โดยที่เนื้อหายังเปนเรื่องราวของคนรากหญา แตนำ�มายอยใหชนชั้นกลางรับ ไดอยางสนุกสนาน ในขณะเดียวกันก็สอื่ สารใหชนชัน้ กลางรูว า เกิดอะไรขึน้ ในสังคม ตอมาในชวง 10 ปที่สาม คุณประดิษฐอธิบายวามะขามปอมจะทำ�งาน ในประเด็นการสื่อสารสาธารณะ จึงจดทะเบียนเปนมูลนิธิ เพื่อใหชนชั้นกลางไดมี โอกาสบริจาคเงินโดยนำ�ไปหักภาษีได และเปดโรงละครทีส่ แี่ ยกสะพานควาย และ เชื่อมโยงกับสาธารณะดวยการจัดแสดงในโรงละคร รวมทั้งยังเชื่อมโยงกับนานา ชาติอยางตอเนื่อง คุณประดิษฐเลาวาเมื่อครั้งไปแสดงที่เยอรมนี นักวิชาการเยอรมันที่มา ดูละครตางพากันจัดประเภทละครของคุณประดิษฐวาอยูในประเภทนั้นประเภท นี้ และเมือ่ กลับมาประเทศไทยก็มนี กั วิชาการไทยมาวิเคราะห  โดยสวนตัวก็เพียง แสดงไปตามหนาที่ของศิลปน แตก็รูสึกขอบคุณนักวิชาการตางๆ มากที่ใหความ สนใจ และทำ�ใหการแสดงของคุณประดิษฐมีคุณคา คุณประดิษฐกลาววาไมเห็นดวยที่มีผูบอกวาละครไทยลอกเลียนแบบ ละครตางชาติจนไมมเี อกลักษณเปนของตนเอง  การแสดงนัน้ มีความหลากหลาย มาทุกยุคสมัย ศิลปะของชาติตางๆ มีอิทธิพลตอกันมาตลอด เชนตั้งแตสมัย อาณาจักรสยามก็มกี ารสงทูตไปแลกเปลีย่ นวัฒนธรรมกับอาณาจักรพุกาม ศรีวชิ ยั และศรีสัตนาคนหุต เปนตน  หรือในชวงสงครามก็มีการกวาดตอนศิลปนจาก อาณาจักรอื่นไปอยูกับตน เพราะในสมัยโบราณนั้นถือวาการมีศิลปนในบานเมือง มาก  เป น ตั ว บ ง ชี้ วา บ านเมืองมีความสุข มีการรองรำ � ทำ � เพลง  ในสมั ย นั้ น ศิลปนไดรับการยกยองมากไมเหมือนกับปจจุบันที่รองรำ�ทำ�เพลงเพื่อเงินเทานั้น  ซึ่งไมไดเปนศิลปะที่เกิดจากความสุข แตเปนศิลปะที่เกิดจากการซื้อ การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมทำ�ใหเกิดการดัดแปลงวรรณกรรมหรือการ แสดงของชาติอื่นใหเปนรูปแบบของตน  เชนวรรณกรรมฮินดูเรื่องรามายณะ ก็ไดรับการดัดแปลงใหเปนแบบไทย หรือทารำ�ตางๆ ที่มีการรับเอาของตาง วัฒนธรรมมามาก แตกไ็ มไดรบั มาลอกเลียนแบบ เกิดการดัดแปลงจนมีเอกลักษณ เปนของตนเองจนไมเหลือเคาเดิม เพราะฉะนั้นการรับอิทธิพลของชาติอื่นๆจึงมี 46


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

มาอยางตอเนื่อง ขึ้นอยูกับวาในสมัยนั้นๆ มีการตอตอกับชาติใดมากก็จะไดรับ อิทธิพลจากชาตินั้นๆมาก  เชนสมัยแรกๆ ก็จะไดรับอิทธิพลจากอินเดีย ชวา จีน แตพอหลังรัชกาลที่ 4 ก็จะเริ่มไดรับอิทธิพลจากยุโรปมากขึ้น  ในปจจุบันก็เปน อเมริกา ญี่ปุนและเกาหลี ซึ่งไมไดมีแตเพียงฝายเราที่รับอิทธิพลจากชาติอื่น แต ชาติอื่นก็รับอิทธิพลไปจากเราเชนกัน สิง่ ทีน่ า กลัวกวาคือทุนนิยม  ในปจจุบนั เริม่ แยกแยะไมออกวาวัฒนธรรม เปนของชาติใดอยางชัดเจน เชนนักรองที่มีการแตงกาย วิธีการรอง การเตนที่ เหมือนกันไปทุกชาติ เปลี่ยนไปเพียงแตภาษา  ก็เปนเพราะทุนนิยมสรางใหเปน เชนนัน้ และเทคโนโลยีกม็ สี ว นชวยใหเผยแพรวฒ ั นธรรมไปไดอยางรวดเร็ว  ดวย เหตุนี้  การรับอิทธิพลจากชาติอื่นจึงไมไดเปนตัวบงชี้วาศิลปะใดจะเปนศิลปะ รวมสมัย ความหลากหลายทางวัฒนธรรมนัน้ มีในทุกกลุม ชนและในทุกสมัย  แมใน ทุ ก วั น นี้ ค วามหลากหลายนั้ น ก็ ยั ง คงอยู  ขึ้ น อยู  กั บ ว า กลุ  ม คนเหล า นั้ น อยู  ใ น วัฒนธรรมแบบใด  เชนกลุมคนที่เกี่ยวของกับการเกษตรก็จะผูกพันกับการ นับถือผี รักธรรมชาติ  ถึงแมวาความเชือ่ เหลานีจ้ ะถูกทำ�ลายไปจากวิทยาศาสตร การเกษตรไปบาง แตความเชื่อทำ�นองนี้ก็ยังคงอยู เชนความเชื่อเรื่องแมโพสพ หรือการทำ�ขวัญขาว จึงเกิดการสรางศิลปะที่เกี่ยวโยงกับสิ่งเหลานี้  ในขณะที่ผูที่ เกี่ ย วข อ งกั บ การศึ ก ษาสมั ย ใหม ก็ จ ะสร า งงานศิ ล ปะอี ก รู ป แบบหนึ่ ง เพื่ อ ให สอดคลองกับรูปแบบวิถีชีวิต  ดังนั้นความหลากหลายเหลานี้จึงไมใชตัวบงชี้วา ศิลปะแบบใดจะเปนศิลปะรวมสมัยเชนกัน คุณประดิษฐเห็นวา ลักษณะของศิลปะรวมสมัยมีอยู 4 ประการคือ 1. การผลิตตนฉบับชิ้นแรกของงานศิลปะ จะตองสรางโดยศิลปนที่มี ชีวติ อยูใ นชวงเวลานัน้   เชนละครในของรัชกาลที่ 2 ตนฉบับวรรณกรรมคือรัชกาล ที่ 2 และครูนาฏศิลปคือผูออกแบบทารำ�วาลงสรงโทนตองรำ�แบบนี้ “บรรจงทรง สอดสนับเพลา” ตองทานี้เทานั้น จะรำ�ผิดไปจากนี้ไมได ถาปจจุบันยังรำ�ตามนี้ก็ ถือวาการรำ�เชนนีเ้ ปนขนบประเพณีนยิ ม (classic) ไมสามารถเปลีย่ นแปลงได  จึง ไมใชงานศิลปะรวมสมัย  แตถา เมือ่ ใดทีเ่ กิดการนำ�เอา “บรรจงทรงสอดสนับเพลา” 47


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

มาใสทำ�นองใหม ใสทารำ�ใหม เปลี่ยนแปลงเครื่องแตงกายใหมใหเขากับยุคสมัย คุณประดิษฐจึงจะถือวางานเชนนีเ้ ปนงานศิลปะรวมสมัยเพราะมีการสรางใหมจาก ศิลปนที่มีชีวิตในยุคปจจุบัน 2. แรงบันดาลใจในการสรางงานศิลปะ หรืออิทธิพลในการสรางงาน ศิลปะตองมาจากสภาพแวดลอมหรือสังคมในเวลานัน้ ๆ ซึง่ งานศิลปะจะมีลกั ษณะ สนับสนุนหรือตอตานสังคมหรือวัฒนธรรมนั้นๆ ก็ได เชนในสังคมทุนนิยมก็จะมี ทั้งงานศิลปะที่สรางขึ้นเพื่อสนับสนุนระบบทุนนิยม เชนศิลปะเชิงพาณิชยตางๆ แตในขณะเดียวกันก็มีงานศิลปะที่ตอตานทุนนิยมดวย แรงบันดาลเหลานี้มีมา ตลอดเวลา เชนในยุคสังคมเกษตร แรงบันดาลใจก็จะมาจากการพยายามสื่อสาร กับสิ่งเหนือธรรมชาติ บวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เชนเพลงหน าพาทย หรือการ เลนแมศรีลิงลม ในสมัยอยุธยาที่มีการปกครองแบบสมมติเทพ จึงมีการแสดง เรือ่ งรามายณะหรือรามเกียรติเ์ พือ่ มาตอบโจทยของยุคสมัยทีต่ อ งการใหประชาชน ยอมรับอำ�นาจของเทพกษัตริย การจัดที่นั่งในทองพระโรงของตัวละครสุครีพ พาลี หรือการจัดทัพก็เปนการจำ�ลองการจัดทัพในสมัยนั้น ตอมา ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมชนำ�รามเกียรติม์ าเขียนใหมเปนบทละครเวที ใหตวั ละครใสสทู เปนปจจุบนั ดึงมาเพียงบุคลิกลักษณะของตัวละครนั้นๆ ในขณะที่บทละครเปนการเสียดสี เยยหยันระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยในยุคของทาน จึงจะเห็นไดวา มีทั้งที่สนับสนุนและตอตานระบบการปกครอง ในสมัยจอมพล ป. พิบูลยสงคราม ก็มกี ารใชลเิ กเพือ่ เผยแพรแนวคิดรัฐนิยม ในขณะเดียวกันก็เกิดลิเกหอมหวนทีล่ กุ ขึ้นมาตอตานดวยการรองกลอนสดเมื่อลับตาเจาหนาที่ของรัฐ ในขณะที่บทรองที่ สงใหรัฐตรวจสอบนั้นเปนคนละอยางกัน หรือบทกวีในยุคเดือนตุลาก็มีลักษณะ ของการตอตาน หรือละครที่สยามนิรมิตรก็เปนละครเพื่อตอบสนองนักทองเที่ยว เปนละครทีส่ นใจแตจ�ำ นวนผูช มและคาตัว๋ โดยไมใสใจเนือ้ หาทีจ่ ะสือ่ ออกมา  และ ละครเชิงพาณิชยหรือละครโทรทัศนที่ตอบสนองตอผูคนในระบบทุนนิยมที่มี ความเครียดสูงโดยเปนละครที่ไมมีสาระ แตในขณะเดียวกันก็มีละครที่ตอตาน ทุนนิยม เชนละครทางเลือก ละครใตดิน ละครโรงเล็ก หรือที่อาจารยเจตนา นาควั ช ระใช คำ � ว า “ละครผอม” คำ � ว า “ละครผอม” ก็ แ สดงถึ ง การต อ ต า น 48


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ทุนนิยม เพราะทุนนิยมนัน้ เนนความอวน ใชทรัพยากรอยางสิน้ เปลือง ทำ�ทุกอยาง เพื่อใหไดผลประโยชนโดยไมใจศิลปะ “ละครผอม” ปฏิเสธสิ่งเหลานั้น เชนที่ มะขามปอม โรงละครจะเปลือย ปราศจากสิ่งตกแตงหรือพื้นที่โฆษณา ละครก็สื่อ สารกับผูชมอยางงายๆ โดยที่ไมมีการแฝงโฆษณา จึงเปนการตอตานทุนนิยม ตั้งแตรูปแบบ เปนตน 3. จะตองมีการสื่อสารกับผูคนในยุคสมัยนั้นๆ ทั้งในดานรูปแบบและ เนือ้ หา ในดานรูปแบบนัน้ การแสดงจะมีขนบทีจ่ ะสือ่ สารกับผูช มมาทุกยุคสมัย เชน ละครใน ผูช มจะตองรูค วามหมายของทารำ� เพลงหนาพาทย ตองรูว า ละครเรือ่ งนีม้ า จากวรรณคดีเรือ่ งใด ดังนัน้ ละครในจึงเปนละครทีเ่ สริมอำ�นาจบารมีของผูจ ดั แสดง และยังเปนละครที่มีแตชนชั้นสูงเทานั้นที่จะมาดูหรือเปนละครที่แบงแยกชนชั้น ไดอีกดวย เชนเดียวกับบัลเลตหรือละคร musical ในปจจุบันที่ทำ�หนาที่เดียวกัน  ถึงแมผูที่ไปชมจะไมไดซาบซึ้งกับบัลเลตหรือละครในจริงๆ  แตก็เปนการแสดง ใหเห็นถึงชนชั้นวาอยูในชนชั้นสูงจึงมาชมและซาบซึ้งกับละครลักษณะนี้ได ทั้งหมดแสดงใหเห็นถึงการเรียกรองความรูของผูชมในการชมการแสดง เชนการ ชมลิเก มาชมเครื่องเพชรของตัวละครก็สนุกในระดับหนึ่ง แตถารูวาทารำ�หรือ การรองนั้นมีการเชือดเฉือนกันแบบใดจะดูสนุกขึ้นอีก หรือการที่ตัวละครตัว เดียวกันแตคนละคณะเลนคนละแบบ เมื่อนำ�มาเปรียบเทียบกันก็ทำ�ใหดูสนุกขึ้น กวาเดิม ในสวนของเนื้อหา การแสดงนั้นๆ จะตองสื่อสาร บอกเลาความคิดของ ผูส รางการแสดงนัน้ ๆ ตอสังคม ณ เวลานัน้   การนำ�เอาละครของเทนเนสซี่ วิลเลีย่ ม หรือเชกสเปยรมาแสดงโดยไมไดดดั แปลงเลยถือวาไมรว มสมัย แตถา ใชละครของ เชกสเปยรมาพูดในสิ่งที่ตองการที่จะสื่อสารจะถือวารวมสมัย 4. กระบวนการผลิตงานศิลปะจะตองสอดรับกับวิถีชวี ิตและสภาพสังคม ในชวงเวลานัน้ ๆ  เชนศิลปะในยุคทีย่ งั นับถือผี การสรางงานศิลปะจึงมีความเคารพ ผี เคารพครู นึกอยากจะรำ�ขึน้ มาก็ร�ำ ไมได ตองทำ�พิธบี วงสรวงกอน การออกแบบ ทารำ�เพลงหนาพาทยกต็ อ งทำ�การเซนสรวงกอนจึงจะคิดทารำ�ออกมาได  หรือใน ระบบกษัตริย การสรางงานศิลปะก็จะเกิดการสั่งงานจากบนลงลาง เชนถาแมครู 49


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

บอกวาอยางไรก็ตองเชื่อตามนั้น จะคิดสรางสรรคเองไมได การสรางงานศิลปะ จึงเปนการลอกแบบจากบนลงลาง  จากครูใหญสูครูเล็ก เชนการแสดงของกรม ศิลปากรจะมีผูอำ�นวยการผลิต เชน หมอมแผวเปนผูดูแลภาพรวม สั่งการใหครู อิงอร เปนผูดูแลตัวอิเหนา นักแสดงที่เลนเปนอิเหนาก็ตองใชทารำ�ตามที่ครูอิงอร กำ�หนด หามเกินไปจากนี ้ ครูชมุ ศรี มณีวตั เิ ปนผูด แู ลตัวละครวิหยาสะกำ� นักแสดง ก็ตองใชทารำ�ตามที่ครูชุมศรีกำ�หนดจะดัดแปลงไมได  โดยที่ครูชุมศรีก็รับเอาทา รำ�จากหมอมแผวมาอีกชั้นหนึ่ง  สมมติวาครูแปงคือผูรับบทวิหยาสะกำ�  ในวัน แสดงครูแปงเกิดความตองการจะใชทา รำ�ทีต่ วั เองคิด  บังเอิญวาวันนัน้ หมอมแผว มาชมการแสดงพอดี คนที่จะถูกลงโทษหนักก็คือครูชุมศรี  สวนครูแปงก็จะตอง งดการแสดงไปนาน ทั้งหมดนี้สรางสมระบบมาตั้งแตสมัยสมบูรณาญาสิทธิราช ไมวายุคสมัยจะผานไปนานเพียงใดก็ไมเปลี่ยนแปลง การแสดงจากกรมศิลปากร จะกระจายไปสูวิทยาลัยนาฏศิลปทั้ง 11 แหงทั่วประเทศ ดูเหมือนวาคนเหลานี้จะ คิดการแสดงทีด่ เู หมือนจะรวมสมัยขึน้ มา  แตวธิ คี ดิ ก็ยงั คงเดิมคือหามนอกกรอบ ที่ครูกำ�หนดไว จากวิทยาลัยนาฏศิลปก็กระจายไปสูวิทยาลัยครูตางๆ ที่มีการ สอนนาฏศิลป  ศิลปะจะถูกแชแข็งไวเพื่อไมใหบิดเบือน เปนการอนุรักษศิลปะ ไวไมใหเพี้ยน ซึ่งเปนสิ่งที่จำ�เปนตองทำ�  แตก็ไมถือวาเปนศิลปะรวมสมัย  เชนเดียวกับในปจจุบันที่มีระบบทุนนิยมซึ่งนายทุนเปนใหญ Producer ก็ตอง ทำ � ตามนายทุ น Director ก็ ต  อ งทำ � ตาม Producer ส ว น Actor ก็ ต  อ งฟ ง จาก Director จะเห็นไดวาโครงสรางการสรางงานศิลปะในระบบทุนนิยมก็เปน แบบบนลงลางเหมือนระบบสมบูรณาญาสิทธิราช  ละครทุนนิยมกระแสหลักจึง ไมใชศิลปะรวมสมัย โลกาภิวัตนใหพื้นที่สรางงานศิลปะอยางมีอิสระมากขึ้น  กระบวนการ ผลิตงานศิลปะรวมสมัยจะตองมีการกระจายอำ�นาจการตัดสินใจ สงเสริมการมี สวนรวม  เชนการที่ Chorographer เปดโอกาสใหนักเตนไดมีโอกาสแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกันเรื่องทาเตน และใหนักเตนมีโอกาสคิดทาเตนอยางอิสระ นี่คือ การสรางงานศิลปะรวมสมัยของแตละปจเจกบุคคล  การสรางงานศิลปะคือการ ที่ศิลปนตองแสดงอัตตาของตนเองออกมาในงานดวย คุณประดิษฐคิดวาศิลปะ 50


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

พืน้ บานมีความเปนศิลปะรวมสมัยอยูม าก ศิลปนพืน้ บานมีความเปนตัวของตัวเอง และปรับงานใหสอดรับกับสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปไดตลอดเวลา ถาเปรียบเทียบ การรองของแมขวัญจิต ศรีประจันตเมื่อ 20 ปที่แลวกับปจจุบัน ถึงแมวา ความ ไพเราะจะไมแตกตางกันแตเนื้อหา ลูกเลน และไหวพริบนั้นเปลี่ยนแปลงไปตาม ยุคสมัย การอภิปราย/ซักถาม นักศึกษาผูห นึง่ ถามวาคุณประดิษฐมีการตอบรับตอการวิจารณการแสดง ของตนเองอยางไรบาง คุณประดิษฐตอบวาศิลปนแตละคนก็จะมีวธิ กี ารตอบสนอง ตอการวิจารณในแบบของตนเอง  คุณประดิษฐนั้นไมไดทำ�งานเพื่อตอบสนอง อัตตาของตนเอง  แตเปนการสรางละครที่เปลี่ยนแปลงสังคม ดังนั้นการประเมิน ชิ้นงานจึงไมไดเปนการประเมินวางานสวยหรือไมเทานั้น แตเปนการประเมินวา ผลกระทบจากงานที่ทำ�ไปเปลี่ยนแปลงสังคมไดจริงหรือไม ขับเคลื่อนความคิด ผูคนไดหรือไม  ดังนั้น เมื่อเลือกคำ�วิจารณมาปรับปรุงการทำ�งาน ก็จะแบง ระดับของคำ�วิจารณวาคำ�วิจารณนั้นสะทอนอะไรจากผูวิจารณบาง  ประการ แรกคือ  ละครที่แสดงไปสรางความรูที่ผิดใหกับผูชมหรือไม  ประการที่สองคือ ละครเรือ่ งนัน้ สรางความรูส กึ ใดใหกบั ผูช ม เชน ละครบางเรือ่ งทีจ่ บอยางมืดมน เชน เรื่องคำ�พิพากษาของชาติ กอบจิตติ  แตความมืดมนนั้นกลับไปสรางแรงบันดาล ใจใหผชู มเกิดความรูส กึ ตองการตอตานความชัว่ ทีต่ วั ละครในเรือ่ งตอตานไมส�ำ เร็จ คุ ณ ประดิ ษ ฐกล า วถึ ง ชิ้ น งานวา งานที่ ดี ย  อ มพาไปสู  ผ ลสั ม ฤทธิ์ ที่ ดี ผลสัมฤทธิ์ที่ดีก็ยอมสะทอนมาจากงานที่ดี ดังนั้นจึงตองพัฒนาชิ้นงานทั้งในดาน ศิลปะและเนื้อหาสาระ ดวยการพัฒนาจากที่ผูชมใหคำ�วิพากษวิจารณ แตเรื่อง นี้จะประเมินยากมากเพราะความชอบงานศิลปะเปนเรื่องของรสนิยมสวนบุคคล  เหมือนขนมบัวลอยถวยเดียวกัน  คนหนึง่ กินแลวรูส กึ วาอรอยกลมกลอม  อีกคน หนึง่ กินแลวรูส กึ ไมอรอย  การจะเลือกรับคำ�วิจารณใดจึงตองใชวจิ ารณญาณ  วิธี การตอบสนองตอคำ�วิจารณของมะขามปอมคือตองยิ้มรับ  คำ�ชมหรือคำ�ติทุกคำ� ถือเปนความเมตตาจากผูชม  ถามีทาทีตอตานตั้งแตแรกก็จะไมมีทางไดรูความ 51


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

จริงเลยวาการแสดงเปนอยางไร ทางมะขามปอมจะยินดีรับไวทั้งหมดไมวาทาที ของการวิจารณนนั้ จะเปนอยางไร  หลายๆ ครัง้ ทีย่ งั รับคำ�วิจารณทางลบไมไดเมือ่ แสดงเสร็จใหมๆ เนื่องจากเหน็ดเหนื่อยและมีความตั้งใจในการทำ�งานสูงมาก แตกต็ อ งยิม้ รับไวและเมือ่ หวนกลับมาพิจารณาคำ�วิจารณนนั้ ในตอนหลังก็ตอ งยอม รับวาคำ�วิจารณนั้นๆ มีสวนที่ทำ�ใหตองปรับปรุงจริง  แมแตคำ�วิจารณของผูที่ ไมไดมาดูกต็ อ งรับไว  บางคนไดยนิ แตเพียงชือ่ เรือ่ งก็ตดั สินใจวาจะไมมาชมเพราะ เข็ดจากการชมละครแนว NGO มาจากที่อื่นที่ยัดเยียดความคิดตางๆนานาให และแฝงไววาถาไมทำ�ตามที่ละครบอกก็จะไมใชคนฉลาดหรือผิด ซึ่งทำ�ใหคุณ ประดิษฐและทางคณะมะขามปอมตองกลับมายอนมองถึงวิธีการตั้งชื่อเรื่องและ การประชาสัมพันธนั้นสรางภาพหลอนใหกับผูชมหรือไม อยางไร อาจารยรนื่ ฤทัยถามวาคำ�วิจารณสว นใหญจะมาจากผูช มเมือ่ การแสดงจบ มากกวาจะเปนการวิจารณจากนักวิชาการใชหรือไม คุณประดิษฐตอบวาไดรบั คำ� วิจารณทุกรูปแบบ ทั้งแบบสอบถามที่ทางมะขามปอมทำ�เอง กิจกรรมเกมเพื่อรับ ความคิดเห็นของผูชม จดหมายและอีเมลจากผูชม และงานวิจารณตามนิตยสาร ทีท่ างมะขามปอมจะติดตอนักวิชาการหรือนักวิจารณใหมาชมและเรียกรองใหเขียน งานวิจารณเพื่อตองการปรับปรุงการแสดงตอไป อาจารยรนื่ ฤทัยถามตอวาละครเรือ่ ง “สะพานควาย my love” ทีเ่ พิง่ แสดง จบไปมีเสียงตอบรับอยางไรบาง คุณประดิษฐตอบวาสาเหตุที่ไปตั้งโรงละครที่ สีแ่ ยกสะพานควายเพราะบริเวณนัน้ มีแมคา อยูก นั มาก มีทงั้ รานทอง สถานบริการ คาราโอเกะ คนเหลานีเ้ ปนกลุม เปาหมายของทางมะขามปอม และทางมะขามปอม อยูที่นั่นมาสิบกวาปแลว ทำ�กิจกรรมชุมชนกับเยาวชน แมบาน รานทอง พระ มา ตลอด และจะขยายกลุมเปาหมายไปถึงพนักงานบริษัทและหญิงบริการ ดังนั้นจึง จะสรางโรงละครทีเ่ ปนศูนยศลิ ปะของชุมชน ใหกลุม คนเหลานัน้ สามารถสรางงาน แลวมาแลกกันดูได  แตทำ�อยางไรจึงจะสรางความเปนมิตรกับชุมชนใหเกิดขึ้น คำ�ตอบของมะขามปอมคือตองนำ�เรือ่ งราวของกลุม เปาหมายมาทำ�การแสดงหรือ กิจกรรม เปดตัวดวยนิทรรศการภาพถาย “ฅ. ฅน สะพานควาย” เปนนิทรรศการ ภาพถายวิถีชีวิตผูคนที่อาศัยอยูในละแวกนั้น เชน ผูหญิงเลี้ยงแมว คุณยายกวาด 52


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ขยะ แมคาขายดอกไมกำ�ลังพรมน้ำ�บนดอกไม พระบิณฑบาต เด็กวิ่งเลน เปนตน และมีวดี ทิ ศั นการสัมภาษณผคู นสะพานควายวา “ความสุขและความทุกขของคุณ คืออะไร” นำ�มาตัดตอฉายเปนหนังสั้น ซึ่งผูคนในชุมชนก็ใหความสนใจอยางมาก สวนละครเวทีเรือ่ ง “สะพานควาย my love” คือผลจากการทีท่ างมะขามปอมไดไป สัมภาษณเรื่องวิถีชีวิตของคนในชุมชน นำ�มายอยสรุปเปนตัวละครสี่คนในสี่อายุ นำ�เสนอโดยใชมุกตลก มีเพลงลูกทุงและเพลงสตริงประกอบทำ�ใหทั้งวัยรุนและ แมคาสามารถรับได คุณประดิษฐเลาถึงตัวละครตัวหนึ่งคือเถาแกเนี้ยรานทอง ที่ มีความฝนอยากร่ำ�รวยมาตั้งแตเด็ก เมื่อโตก็ไดเปนสะใภรานทองดังฝน แตเมื่อ เวลาผานไป 40 ป ชีวิตไมมีอะไรเปลี่ยนแปลง สามีทำ�งานเสร็จก็ออกไปตีกอลฟ ลูกก็เรียนจบออกจากบานไปทำ�งาน เถาแกเนี้ยจึงโดดเดี่ยวแลวมาถามตัวเองวา ตองการอะไรจริงๆ  หลังจากจบละครแลวก็มกี ารสำ�รวจความคิดเห็นกับชาวบาน ในวันรุงขึ้น โดยจะเปนการสัมภาษณผูที่ไดชมละครวารูสึกอยางไรบาง ก็ไดรับ ผลตอบรับที่ไมคาดคิดคือมีบางคนบอกวาดูแลวตลก  แตก็เศราจนถึงกับรองไห เพราะตรงกับชีวิตตนเองที่มีชีวิตซ้ำ�ซาก แสดงใหเห็นวาผูชมดูละครแลวไดตั้ง คำ�ถามกับตนเอง หรือชีวติ ของตัวละครสาวเย็บผาทีแ่ อบหลงรักมอเตอรไซครบั จาง แลวไมกลาบอกรัก  มารูทีหลังวาเขามีภรรยาแลว  ก็เศราโศกมาก  แตก็หา ทางออกพบวาชีวิตไมไดมีเทานี้ ยังมีโอกาสไดพบผูชายคนอื่นอีกมาก จุดที่ ทำ�ใหตัวละครทุกคนฉุกคิดไดคือเมื่อวันหนึ่งมีวัยรุนถือกลองลักษณะคลายกลอง ระเบิดเขามา ทุกคนก็แยงกลองนั้นกันไปมาจนในที่สุดกลองหลุดมือและกำ�ลังจะ ระเบิด ทุกคนก็ฉุกคิดถึงชีวิตที่ผานมา ซึ่งในละครไดขยายความคิดของแตละตัว ละครในชัว่ ขณะทีต่ วั เองกำ�ลังจะตาย เพือ่ แสดงใหเห็นวาพอใจกับชีวติ มากแคไหน มีอะไรที่ยังไมไดทำ�บาง ละครเรื่องนี้สามารถทำ�ใหชาวบานตั้งคำ�ถามกับตนเอง ไดวา ชีวิตเกิดมาเพื่ออะไร ซึ่งทำ�ใหทางคณะผูจัดทำ�ประทับใจมาก หัวหนาโครงการกลาววารูส กึ ตืน่ เตนทีศ่ ลิ ปะการละครไดสอื่ สารกับชุมชน เปนสวนหนึ่งของชุมชน และสามารถใหสาระคุณคากับคนในชุมชนไดโดยตรง เพราะบางครัง้ งานศิลปะทีต่ อ งการสือ่ สารกับคนเหลานีก้ ไ็ มสามารถเขาถึงพวกเขา ได และถามวาจะมีโอกาสที่จะขยายศิลปะแบบนี้ออกไปนอกชุมชนสะพานควาย 53


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ไดหรือไม นอกจากนี้ ยังเห็นวาละครโทรทัศนยังมีรูปแบบเดิมๆ เพราะเหตุใดจึง ตองคงรูปแบบเหลานี้ไว  และเปนสิ่งที่ชาวบานตองการจริงๆ หรือไม คุณประดิษฐตอบวากลุมมะขามปอมไมคิดจะไปเทียบกับสื่อในกระแส หลัก แตจะพยายามสรางทางเลือกใหผูคน สาเหตุที่สรางโรงละครนั้นมีอยู 3 มิติ คือ 1. มิติในเชิงวัฒนธรรมการวิจารณ ดวยความที่โรงละครมีความเปนกัน เองและมีพื้นที่เล็ก เมื่อแสดงละครจบจะมีเกมและแบบสอบถามความคิดเห็นของ ผูชม นอกจากนี้ยังมีการจับกลุมวิพากษวิจารณกันเองของผูชม ทำ�ใหเกิดพลวัต ทางปญญาซึง่ ทางมะขามปอมฝนอยากใหเกิดขึน้ เปนเวทีทที่ �ำ ใหเกิดการวิพากษ วิจารณ แสดงความคิดเห็นในที่สาธารณะ ซึ่งโรงละครใหญๆทำ�แบบนี้ไมได ตองใชโรงละครเล็กทีป่ ลอดภัยและเปนกันเองเทานัน้ ทีจ่ ะทำ�ใหเกิดความกลาแสดง ความคิดเห็น การแสดงความคิดเห็นนี้ทำ�ใหเกิดความเปนประชาธิปไตย และ จะนำ�ไปสูการกระจายอำ�นาจสูประชาชน สวนการขยายออกสูสังคมภายนอกนั้น  การสรางโรงละครนี้เปนตัวอยางใหคณะละครอื่นๆนำ�ไปทำ�ตาม สรางโรงละครที่ สามารถแสดงความคิดเห็นไดกระจายไปทั่วเมือง เพื่อเปนการสรางนิสัยการออก จากบานไปแสดงความคิดเห็นเหมือนที่ยุคหนึ่งเคยมีสภากาแฟ แตโรงละคร จะสรางเหตุการณใหผูคนไดวิพ ากษวิจารณแสดงความคิดเห็น ซึ่งจะทำ�ให ชาวบานรูส กึ วามีสทิ ธิม์ เี สียง มีเวทีทจี่ ะปลดปลอยระบายความคิด ความคับของใจ เปนการลดความกดดันของสังคม แทนที่จะไประบายทางอื่นที่ไมเกิดประโยชน วิถชี วี ติ ปจจุบนั ทำ�ใหผคู นไมมที วี่ า งสำ�หรับสุนทรียศาสตร ฟงเพลงก็รสู กึ วาไมเพราะ ดมดอกไมก็ไมหอม คนในเมืองใหญถูกทำ�ลายสัมผัสของความเปน มนุษย  ศิลปะจึงทำ�หนาทีเ่ ยียวยาหรือคืนความเปนมนุษยทสี่ มบูรณ คือทำ�ใหรรู ส รูวาความงามคืออะไร ความไพเราะอยูที่ใด ซึ่งเปนหนาที่อันยิ่งใหญของศิลปะ 2. มิติดานชนชั้น คุณประดิษฐกลาววาปจจุบันระบบทุนนิยมเปนตัวการ แบงแยกชนชัน้ ตามจำ�นวนเงินทีม่ อี ยู  คนทีม่ เี งินนอยจะไดรบั การปฏิบตั ทิ แี่ ตกตาง กัน ไมวา จะเปนทีโ่ รงพยาบาล ศูนยการคา หรือธนาคาร ซึง่ เปนการทำ�ลายความเปน มนุษย ไมเคารพความเปนมนุษย แตเคารพเงิน  คุณประดิษฐเลาถึงสมัยที่มี 54


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

โอกาสไปเลนลิเกกับชาวบานวาตอนนั้นรับไมไดที่ไมมีหองน้ำ�และตองเปลี่ยน เสื้อผาตอหนาธารกำ�นัล แตเมื่อไดไปแสดงที่ญี่ปุนกลับมีหองสวนตัวนักแสดงที่ หามใครเขาถาไมไดรับอนุญาต โรงละครของมะขามปอมจะเปนโรงละครทีไ่ มมชี นชัน้ มีการตกแตงทีท่ กุ ชนชั้นรับได  การสรางบรรยากาศก็ไมเปนกันเองจนเกินไปหรือหางเหินเกินไป แตเปนบรรยากาศที่ดูเท ถามาที่นี่ก็แสดงถึงความเปนคนทันสมัย ที่ตั้งก็อยูใกล สถานีรถไฟฟาทีช่ นชัน้ กลางเขาถึงไดงา ย และอยูก ลางสีแ่ ยกสามารถเขาถึงไดทกุ ชนชั้น แตกตางกับศูนยวัฒนธรรมที่ตองขับรถเขาไปเทานั้น ไมมีรถเมลวิ่งผาน แมจะมีรถไฟฟาก็ไมไดสรางทางเดินเขาไปถึงศูนยฯ ได 3. มิตดิ า นปจเจกบุคคล เปนการสรางสุนทรียะ รสนิยม รางวัลชีวติ ใหกบั ปจเจกบุคคล นับเปนสิ่งที่ขาดหายไปในชีวิตประจำ�วัน

55


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

56


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ลักษณะรวมสมัยในงานสังคีตศิลป อมานัต จันทรวิโรจน

อาจารยอมานัตกลาววาการจะอธิบายความหมายของคำ�วาดนตรีนั้น มีปญหามาก นักวิชาการหลายคนไดอธิบายความหมายของคำ�วาดนตรีไวหลาย อยาง แตมีความหมายหนึ่งที่คิดวาครอบคลุมไดทั้งหมด คือ ดนตรีหมายถึง organized sound คือเสียงที่ไดรับการจัดเรียงโดยมนุษย เพื่อสื่อความรูสึกจาก ผูสรางผานไปยังผูรับ ดนตรีเปนสื่อที่ตองอาศัย 3 สวนจึงจะสามารถถายทอดผล งานออกมาได คือตองมีผูสราง ผูถายทอด (บางครั้งผูสรางกับผูถายทอดเปนคน เดียวกัน แตสำ�หรับดนตรีคลาสสิกแลว ผูสรางมักจะเปนคนละคนกับผูถายทอด เพราะดนตรีคลาสสิกตองการเครื่องดนตรีจำ�นวนมากที่ไมสามารถเลนดวยคน เพียงคนเดียวได) ดนตรีคลาสสิกนัน้ มีทมี่ าตัง้ แตยคุ กลาง และทำ�หนาทีเ่ ปนกระจก สะทอนวัฒนธรรม วิถีชีวิต และความคิดของแตละยุคสมัย เชน เพลงในยุคกลาง ที่มีความศรัทธาในคริสตศาสนาสูง ก็จะมีเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนา เปนเพลงที่ ใชประกอบพิธีกรรม เนื้อรองก็มาจากคัมภีรไบเบิ้ล ดนตรีในสมัยนี้เกิดจากความ พยายามของมนุษยที่จะสรางสิ่งสวยงามที่สุดเพื่อสงไปยังพระเจา หลังจากนั้นก็ มีการพัฒนาเรื่อยมา จนถึงจุดเชื่อมตอระหวางยุคคลาสสิกและโรแมนติกอันเปน ยุคของบีโธเฟน ซึ่งมีการปฏิวัติเกิดขึ้นอยางมาก ไมวาจะเปนการปฏิวัติฝรั่งเศส อเมริกา เกิดสงครามแบงแยกดินแดน ดนตรีจงึ เปลีย่ นหนาทีจ่ ากเดิมทีเ่ ปนตัวสราง ความหรูหราใหกับผูครอบครอง เปนที่เชิดหนาชูตาของแตละวัง นักแตงเพลง (composer) มีหนาทีแ ่ ตงเพลงใหกบั วัง  แตบโี ธเฟนกลับไมไดท�ำ งานใหราชสำ�นัก เปนศิลปนอิสระ ซึง่ เปนสิง่ ทีแ่ ปลกมากในสมัยนัน้   และเขาไมไดท�ำ งานตามคำ�สัง่ ของใคร หากแตทำ�งานตามที่อยากทำ� สรางดนตรีที่อยากจะเห็นจริงๆ ซึ่งถือ 57


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ไดวาเปนศิลปะรวมสมัยของสมัยนั้น อาจารยอมานัตยกตัวอยางเสียงขึ้นตนของ ซิมโฟนีห่ มายเลขหา ซึง่ เปนเพลงทีบ่ โี ธเฟนแตงขึน้ ในขณะทีก่ �ำ ลังจะหูหนวก เสียง นั้นเปนเสียงเคาะประตู เปนเสียงที่โชคชะตากำ�ลังเคาะประตูบานเขา  เพลงนี้จึง เปนการบรรยายความรูสึกของบีโธเฟน จนในที่สุดในทอนจบกลับกลายเปนการ ประกาศชัยชนะ เพราะเขารูว า สุดทายเขาจะชนะโชคชะตาของเขาได ถึงแมวา เขาจะ หูหนวกก็ยงั สรางงานตอไปได ​นักแ​ ตงเ​พลงในปจจุบนั ก็อาจจะตองการถายทอด บางอยางสูผ รู บั เชนเรือ่ งของสงคราม ความรุนแรงในภาคใต ความไมชอบมาพากล ในสังคม การคอรัปชั่น เราไมเขาใจวาโมสารทหรือบีโธเฟนคิดอยางไรตอนแตง เพลงเพราะเราไมไดอยูใ นสมัยเดียวกับพวกเขา ดนตรีรว มสมัยจึงมีความไดเปรียบ ที่ผูแตงยังมีชีวิตอยู และสามารถแกไขปรับปรุงใหเพลงสามารถสื่ออยางที่พวก เขาตองการไดมากที่สุด อาจารยอมานัตเปดเพลงที่ไดรับแรงบันดาลใจจากการ ทิ้งระเบิดปรมาณูที่เมืองฮิโรชิมาและนางาซากิในสงครามโลกครั้งที่ 2 แตงโดย คริสตอฟ เพนเดอรากี้ (Krzysztof Penderecki) ชาวโปแลนด ชื่อเพลง Threnody for victims of Hiroshima (บทสวดสงวิญญาณแหงฮิโรชิมา) แตงเพราะรูสึก หดหูก บั เหตุการณทเี่ กิดขึน้ และตัวเองไมสามารถทำ�อะไรไดเลย  จึงนำ�ความหดหู นั้นแตงออกมาเปนบทเพลง  เชนเดียวกับที่มีอาจารยคนหนึ่งไปพิพิธภัณฑเกี่ยว กับสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่เยอรมัน และไดเดินเขาไปในหองหนึ่งที่เต็มไปดวยรูป ของชาวยิวทีถ่ ูกทรมานและถูกฆาในสงครามโลกครั้งที่ 2 ติดอยูอ ยางสะเปะสะปะ และมีตวั อักษรสีแดงเขียนไววา “Then the world stay silence and let us die.” แสดง ใหเห็นถึงความเปนคนตัวเล็กๆ ในสังคม ที่ไมสามารถแกปญหาอะไรได แตก็ อยากจะบอกความรูสึกที่อัดอั้นโกรธแคนออกมา แตปญหาก็คือจะหาเสียงใดที่จะ มาอธิบายความรูสึกเชนนี้ เสียงดนตรีที่ไพเราะแบบในยุคคลาสสิกนั้นไมสามารถ จะอธิบายได เพลงนี้จึงเปนเพลงที่ไมมีทำ�นอง เปนเพียงเสียงที่นำ�มาตอกัน (ฟง เพลง Threnody for victims of Hiroshima) ความรวมสมัยคือการที่ดนตรีถูกสรางขึ้นมาในยุคเดียวกับที่เรามีชีวิต อยู ในบริบทเดียวกับในยุคนี้ เชนเพลงทีเ่ พิง่ ฟงจบไปก็เปนเพลงเกีย่ วกับเรือ่ งราว ในปจจุบัน และนัก​แตง​เพลงยังมีชีวิตอยู เหตุการณหลายอยางในสังคมสามารถ 58


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

เปนแรงบันดาลใจใหกับนัก​แตง​เพลงได  แตตองยอมรับวาดนตรีเปนศิลปะที่มี ขอจำ�กัดหลายอยาง เชน ดนตรีตอ งอาศัยสือ่ สามสือ่ คือผูส ราง ผูส อื่ ทีต่ อ งอานโนต และฝกซอมกอนออกแสดง และผูร บั เพลงทีเ่ ปนตัวอยางนัน้ ฝกซอมยากมากเพราะ ไมมีจังหวะ ผูควบคุมวงตองมีนาฬิกาไวจับเวลาในการเปลี่ยนเครื่องดนตรี และ ดนตรีเปนศิลปะแบบ performing art ซึ่งตองใชเวลารับงานศิลปะตามที่กำ�หนด เชนถาเพลงมีความยาว 8 นาที ก็ตอ งฟง 8 นาทีจงึ จะไดรบั อรรถรสหรือเนือ้ หาครบ ถวน แตในความเปนจริงมีผูฟงจำ�นวนมากที่ไมสามารถมีสมาธิฟงจนครบ 8 นาที ดนตรีเปนสื่อที่ abstract มาก เมื่อไดฟงจะตีความแตกตางกันไปตาม ประสบการณและความรูสึกของแตละคน การจะเขาใจสิ่งที่ผูสรางตองการจะสื่อ ไดครบถวนนัน้ เปนไปไดยากมาก ดังนัน้ งานศิลปะดนตรีคลาสสิกรวมสมัยจึงมีนอ ย มากเมื่อเทียบกับศิลปะแขนงอื่น โดยเฉพาะในประเทศไทยนั้นมีนักแตงเพลง อาชีพไมถึง 20 คน ซึ่งถือวานอยมากเมื่อเทียบกับมาเลเซียและสิงคโปรซึ่งถือ วาเปนประเทศที่เกิดกระแสของดนตรีประเภทนี้ การจัดแสดงของไทยก็นอยกวา ประเทศอื่น การเขาถึงดนตรีคลาสสิกรวมสมัยจึงถือวาเปนเรื่องยาก นักแตงเพลงในปจจุบนั ตางพากันคนหาจุดยืนหรือเอกลักษณของตนเอง บางคนก็แตงเพลงโดยใชหลักการหรือคณิตศาสตร แตไมคำ�นึงถึงความไพเราะ บางคนก็ยอนกลับไปหารากเหงาหรือดนตรีพื้นบาน  เพลงที่จะเปดใหฟงเปน ตัวอยางเปนเพลงที่มีที่มาจากความเปน Nationalism หรือชาตินิยม แตงโดย ด​ ร.ณรงคฤทธิ์ ธรรมบุตร  ชือ่ เพลง S​ infonia Suvarnabhumi เปนเพลงทีพ่ ดู ถึงความ งดงามของประเทศไทยในภาคตางๆ และพูดถึงความงดงามของพระอัจนสุโขทัย มีการนำ�เสนอทำ�นองสรภัญญะ เปนการบรรยายถึงความงดงามของพุทธศาสนา แตดนตรีนั้นไมสามารถทำ�ใหเห็นภาพชัดเจนได ถาไมบอกวาบรรยายถึงพระ อัจนสุโขทัย  ผูฟงอาจไมนึกถึงพระพุทธรูปเลยดวยซ้ำ� จึงตองใชทำ�นองของบท สวดสรภัญญะมาใชเพือ่ ใหเห็นภาพชัดเจนขึน้ (ฟงเพลง Sinfonia ​​ Suvarnabhumi) ในเพลงนี้มีการใชเสียงตางๆ เพื่อสรางบรรยากาศของวัดเชนเสียง ระฆัง ทำ�นองสรภัญญะ ถึงแมวาเราจะไมสามารถเห็นภาพไดวาพระอัจนสุโขทัย งามอยางไร แตก็สามารถสรางบรรยากาศในจินตนาการได ดนตรีไมสามารถ 59


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ทำ�ใหเห็นภาพไดทันที ทำ�ไดเพียงพาผูฟงไปยังบรรยากาศรอบๆ  ยังมีดนตรีอีก ประเภทหนึ่งคือดนตรีบริสุทธิ์หรือ absolute music ซึ่งไมไดบรรยายภาพอะไร ดู เหมือนจะไมเกีย่ วของกับเหตุการณตา งๆ ทีเ่ กิดขึน้   แตอนั ทีจ่ ริงแลว  แมแตดนตรี ประเภทนีก้ ย็ งั เกีย่ วของกับสังคม เพราะเปนการถายทอดความรูส กึ ทีเ่ กีย่ วของกับ สังคมในขณะนั้นออกมา แมจะไมมีเรื่องราว แตวัตถุดิบตางๆ ก็เปนวัตถุดิบที่เกิด ขึ้นในยุคสมัยที่แตงเพลง เชนลักษณะเสียงที่ใช บทเพลงตั้งแตยุคกอนจนถึงยุค ศตวรรษที่ 20 จะสรางจาก scale หรือเสียงทีต่ อ กัน เชน โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด ที ลา ซอล ฟา มี เร โด เปนสเกลเมเจอรที่ใชเปนหลักในดนตรี ไมวาจะเปนดนตรี ประชานิยมหรือดนตรีคลาสสิกในสมัยกอนเชนของโมสารท บีโธเฟน ไชคอฟสกี หรือบราหม  แตในปจจุบันมีความพยายามคิดหาเสียงใหมๆ ผูแตงเพลงบางคน ที่ชอบคณิตศาสตรก็จะใชคณิตศาสตรมาล็อคเสียงที่เกิดขึ้น เชนในหนึ่งชวงเสียง ปกติจากโดถึงโด จะแบงได 12 ตัว ก็อาจจะแบงเปน 40 ตัว ลักษณะคณิตศาสตรนี้ สื่อถึงความพยายามในการทดลอง สื่อถึงยุคแหงการพัฒนา ยุคแหงการทดลอง (age of experiment) หรือเพลงพระอัจนสุโขทัยที่เพิ่งฟงไป เสียงที่เกิดขึ้นเปน เสียง โด เร มี ซอล ลา โด ซึ่งเปนเสียงของดนตรีไทย เมื่อเปดใหตางประเทศฟง ก็สามารถสือ่ ถึงความเปนไทยได หรือเสียงทีก่ ระดางในตัวอยางเพลงแรกก็เกิดจาก แรงบันดาลใจในสภาพสังคม ตองยอมรับวาในศิลปะหลายแขนงเกิดความบิดเบีย้ ว ขึ้น ในอดีตศิลปะถือวาความเหมือนคือความงาม ความไดสัดสวนคือความงาม ภาพวาดเหมือนเทาไรก็ยิ่งสวยงาม ดนตรีก็เชนเดียวกัน ในสมัยโมสารท เพลงที่ ไดสดั สวน มีประโยคถามสีห่ อ ง ประโยคตอบสีห่ อ ง จึงจะถือวาสวยงาม  แตศลิ ปะก็ มีการเดินทาง  เมือ่ ถึงยุคของปกสั โซ ภาพวาดของเขาไมมคี วามเหมือนเลย ดนตรี ก็เชนเดียวกันที่มีความกระดางในบทเพลงมากขึ้น อาจารยอมานัตอธิบายถึงเพลงทีก่ �ำ ลังจะเปดวาเปนเพลงทีพ่ ดู ถึงชนเผา โบราณในรัสเซียที่กำ�ลังจะทำ�พิธีบูชายัญเพื่อตอนรับการมาถึงของฤดูใบไมผลิ โดยใหหญิงสาวพรหมจรรยที่ดีที่สุดของเผามาเตนรำ�จนขาดใจตาย เนื้อเรื่อง ของเพลงไมเกี่ยวกับยุคสมัยปจจุบัน แตเสียงที่ใชเปนเสียงกระดาง อันเปนผลมา จากลักษณะทางสังคมที่เกิดขึ้นในยุคปจจุบัน ชื่อเพลง Life of Spring แตงโดย 60


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

สตราวินสกี (Igor Stravinsky)ออกแบบทาเตนโดยนิจินสกี (Vaslav Fomich Nijinsky)  และทำ�ฉากโดยปกัสโซ เพลงนี้จัดแสดงครั้งแรกในป 1927 ซึ่งผูคน ยังไมมคี วามเขาใจในดนตรีคลาสสิกรวมสมัยมากนัก จึงคาดหวังกับความไพเราะ เมือ่ เพลงนีไ้ มเปนดังทีค่ าดก็ไมพอใจ  แตกม็ บี างสวนทีเ่ ขาใจบทเพลง จึงเกิดความ ขัดแยงระหวางผูฟงสองกลุมในระหวางจัดแสดง อาจารยอมานัตกลาววาเพลงนี้ ขึ้นตนดวยเสียงบาซูนเดี่ยวที่สูงมาก ซึ่งปกติเครื่องดนตรีชนิดนี้จะเลนดวยเสียง ต่�ำ เพือ่ ใหจงั หวะเทานัน้ หลังจากนัน้ เสียงอืน่ ๆ ก็พรัง่ พรูกนั เขามาอยางไรระเบียบ เหมือนการเจริญเติบโตของตนไมในฤดูใบไมผลิ (ฟงเพลง Life of Spring) เพลงนีม้ คี วามหยาบกระดาง ใหเครือ่ งดนตรีเดนออกมาเปนเครือ่ งๆ และ เนนในจังหวะที่ไมควรจะเนน ลักษณะอยางนี้เกิดขึ้นในดนตรีคลาสสิกรวมสมัย เกือบทั้งหมด ดนตรีคลาสสิกรวมสมัยในปจจุบันจึงมีความหลากหลายมากเชน เดียวกับความหลากหลายของผูคน ในยุคกลางผูคนทั้งหมดคิดวาตนเกิดมาเพื่อ รับใชพระเจา  ดนตรีจึงมีรูปแบบเดียวคือรับใชศาสนา  ตอมาก็พัฒนาไปเรื่อยๆ จนมีความหลากหลายดังเชนในปจจุบนั   นักแ​ ตงเ​พลงแตละคนพยายามสรางความ แปลกใหมใหกับเสียงดนตรี เชนเสียงที่สังเคราะหจากคอมพิวเตอร เสียงกระดาง วัตถุดบิ จากดนตรีพนื้ บาน หรือกลุม minimalism ทีพ่ ยายามหาความแปลกใหมดว ย การซ้ำ� เปนตน ดนตรีเปนศิลปะที่ไมเปนประชาธิปไตย  นัก​แตง​เพลงเปรียบเสมือน พระเจาที่พูดอยางไรตองไดอยางนั้น เชน ถาตองการใหเปาโอโบที่วินาทีที่ 55 ก็ตองเปาที่วินาทีนั้นเทานั้น หรือตองการใหเครื่องสายเลนในไดนามิกที่ p ก็ตอง เลนตามนั้น เปนตน แตยังมีนัก​แตง​เพลงผูหนึ่งชื่อ John Cage กลับคิดแตกตา งออกไป เขาไดศึกษาปรัชญาเตาและชื่นชอบมาก เริ่มแรกเขาแตงเพลง Music of Chances โดยใช ก ารทำ � นายจากการเสี่ ย งเซี ย มซี โดยเขี ย นโน ต ไว ที่ ก า น และเขยาออกมาก็จดโนตไว นำ�มาเรียงตอกันเปนเพลง ตอมา John Cage คิด วาแมจะนำ�ทำ�นองมาจากการเสี่ยงเซียมซี  แตความยาวของโนต หรือการใช เครื่องดนตรีก็ยังเกิดจากอัตตาของผูแตง จึงเกิดคำ�ถามวาทำ�อยางไรดนตรีจะมี อัตตาของผูสรางนอยที่สุด จนไดเขียนผลงานบรรลือโลกขึ้นมาหนึ่งชิ้น ในตอน 61


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

แสดงถึงกับเกิดจลาจล ชื่อเพลง 4’33” สำ�หรับเครื่องดนตรีทุกประเภท อาจารย อมานัตกลาววาจะรองใหฟงและเงียบเสียงไปชั่วครูหนึ่ง จากนั้นก็ดูนาฬิกา แลวกลาววาจบทอนหนึ่งแลว  อาจารยอมานัตเลาใหฟงวาเมื่อครั้งแสดงครั้ง แรก นักเปยโนก็ขึ้นไปนั่งที่เปยโนเปนเวลา 4 นาที 33 วินาที เมื่อครบตามเวลา แลวก็โคงและลงจากเวที และเพลงนี้ยังมีสามทอนอีกดวย ผูแตงเพลงทำ�หนา ที่เพียงกำ�หนดเวลา และปลอยใหเสียงทุกอยางเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เปน ดนตรีที่ถือวาผูประพันธมีสวนรวมนอยที่สุด เปนการถายทอดปรัชญาเตาคือการ เขาสูธรรมชาติ ปรัชญาอยางหนึ่งที่เกิดขึ้นในเพลงนี้คือโลกเราไมมีความเงียบ อยาคาดหวังในสิ่งที่กำ�ลังจะเกิดขึ้น หลายคนที่ไปฟงดนตรีคาดหวังวานักเปยโน จะตองเลนอะไรสักอยาง แตก็ไมมีอะไรเกิดขึ้น และอีกประการหนึ่งคือทุกคนตอง รูจักเงียบและฟงบาง เมื่อเกิดคำ�ถามวาเพลงนี้คือศิลปะหรือไม มีอาจารยทาน หนึ่งตอบกับอาจารยอมานัตวาเปนศิลปะ เพราะศิลปะมีกรอบ เชนวิวไมใชศิลปะ แตถามีคนไปถายภาพ ภาพถายวิวก็เปนงานศิลปะ เพลงนี้ก็เชนกันที่มีกรอบคือ ความยาว ระยะเวลาในการเลน มีจุดเริ่มและจุดจบ และมีโนตคือตัวหยุด ความ เงียบเปนอีกสวนหนึ่งของดนตรีที่หลายๆ คนลืม เพลงนี้เปนจุดเริ่มตนใหมีการ improvisation ในดนตรีคลาสสิกรวมสมัยมากขึ้น อาจารยอมานัตกลาวถึงอนาคตของดนตรีคลาสสิกรวมสมัยวาดนตรีแบบ ใดเปนดนตรีที่ดีและไมดี และผูฟงควรจะฟงอะไร คำ�ถามเหลานี้อาจารยอมานัต ยังหาคำ�ตอบไมได แตก็มีความคิดวาดนตรีคือการสื่อสารกับคนเฉพาะกลุม ถามี คนรับและเขาใจดนตรีก็เพียงพอแลว สวนผูฟงก็ฟงในสิ่งที่อยากฟง เมื่อฟงในสิ่ง ทีอ่ ยากฟงก็จะพยายามทำ�ความเขาใจกับดนตรีไดเอง  สถานการณดนตรีคลาสสิก รวมสมัยในไทยนัน้ แมจะยังจำ�กัดอยูใ นวงแคบ  แตกม็ นี กั แตงเพลงรุน ใหมมากขึน้ นักดนตรียอมเลนเพลงใหมๆ มากขึ้น และมีผูฟงมากขึ้น ซึ่งผูฟงนี้เองที่มีความ สำ�คัญมากตอศิลปะแขนงนี ้ ถาไมมผี ฟู ง ดนตรีคลาสสิกรวมสมัยก็อยูไ มไดเชนกัน เพลงทีจ่ ะเปดใหฟง เปนเพลงสุดทายเปนเพลงของนักแตงเพลงรุน ใหมที่ มีชื่อเสียงมากในปจจุบัน มีการใชดนตรีพื้นบานมาผสมผสานกับดนตรีสมัยใหม และมีลกั ษณะการนำ�เสนอทีน่ า สนใจ ชือ่ เพลง The map เปน Cello Concerto (การ 62


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

ประชันกันระหวางผูเดี่ยวกับวงออเคสตรา) ประกอบกับมัลติมีเดีย ผูแตงเพลงนี้ คือทันดุน (Tan Dun) ชาวจีน เดิมมีอาชีพชาวนา ตอมาไดรับแรงบันดาลใจจาก ซิมโฟนีห่ มายเลขหาของบีโธเฟน จึงตัดสินใจเดินทางไปปกกิง่ เพือ่ เปนนักแตงเพลง ตอมาเมือ่ จะแตงเพลงนีไ้ ดออกเดินทางเพือ่ เก็บขอมูลจากเพลงพืน้ บาน จนไดพบ กับผูหญิงคนหนึ่งที่มารองเพลงอันเปนเพลงที่คูรักใชรองหากันขามภูเขา ทันดุน ประทับใจมากจึงถามวาจะรองเพลงเพลงนีใ้ หกบั นักเชลโลชอื่ โยโย มา (Yo-Yo Ma) ที่อเมริกาไดหรือไม ซึ่งหมายถึงการเชื่อมตอดนตรีระหวางวัฒนธรรม ในที่สุดจึง เกิดเปนเพลง The map อันหมายถึงการเดินทางของทันดุนเพื่อสงดนตรีจีนออก สูสากล การอภิปราย/ซักถาม คุณสุริยัน สุดศวีวงศถามวาเพราะเหตุใดดนตรีคลาสสิกรวมสมัยจึงตอง มุ  ง ไปสู  ค วามยาก  มี เ พลงคลาสสิ ก ร ว มสมั ย ที่ ไ ม ย ากบ า งหรื อ ไม   และการ improvisation ของดนตรีคลาสสิกนั้น เริ่มมีในยุคปจจุบันนี้ใชหรือไม อาจารย อมานัตตอบวาในสมัยกอนนาจะมีอยูใ นชวงคารเดนซาของผูเ ดีย่ ว แตนนั่ คืออภิสทิ ธิ์ ของผูเดี่ยวแตเพียงผูเดียว เครื่องดนตรีอื่นยังไมมีการ improvisation  และความ ยากของดนตรีนั้นมีที่มาจากประเด็นที่เกิดขึ้นในสังคมที่มีความซับซอนมากขึ้น คุณสุริยันแสดงความคิดเห็นตอไปวาการใชดนตรีพื้นบานกับดนตรี คลาสสิกไมนาจะเปนเรื่องใหม เพราะมีการใชมาอยางยาวนานแลว เชนในดนตรี คลาสสิกฝรัง่ เศส อาจารยอมานัตตอบวาการใชดนตรีพนื้ บานในดนตรีคลาสสิกเดิม คือการยืมทำ�นองจากดนตรีตะวันออก รวมถึงโลกาภิวัตนทำ�ใหไดรับอิทธิพลทาง วัฒนธรรมจากชาติอื่นๆ มากขึ้น เชนอุปรากรเรื่อง “มาดามบัตเตอรฟลาย” หรือ “สาวเครือฟา” ที่ไดรับอิทธิพลจากญี่ปุน แตดนตรีคลาสสิกรวมสมัยทำ�มากกวา การยืมทำ�นองมาเทานั้น บางครั้งใชขนบการบรรเลงแบบดนตรีพื้นบาน เชน เพลงเถาในดนตรีไทยจะมีสามสวน ประกอบดวย สามชั้น สองชั้น ชั้นเดียว คือ ชา ปานกลาง เร็ว แตดนตรีคลาสสิกที่เปนชา ปานกลาง เร็วนั้นหายากมาก สวน มากจะเปน เร็ว ชา เร็ว 63


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

สรุป ธีระ นุชเปยม

หัวหนาโครงการตั้งขอสังเกตเปนประเด็นคำ�ถามทั้งหมด 4 ขอ ดังนี้

1. ความรวมสมัยจะตองสอดคลองกับยุคสมัยเพียงใด  ขณะนี้ตนเอง ใกลจะอายุ 60 ปแลว ยังถือวารวมสมัยอยูหรือไม และจากที่ไดฟงคุณอัศศิริกลาว ถึงเหตุการณเดือนตุลาฯ และรูสึกวาเหตุการณนั้นหางกับปจจุบันมาก ทั้งในเรื่อง ของความคิดและรูปแบบ จึงสงสัยวาเหตุการณเดือนตุลาฯ ยังรวมสมัยกับปจจุบนั หรือไม และผลงานในยุคกอนยังสื่อสารกับยุคสมัยของเราไดหรือไม 2. หากความรวมสมัยจะตองไดรบั แรงบันดาลใจจากสังคมและวัฒนธรรม ในยุคสมัยนัน้ ๆ ทัง้ ตอบรับและตอตาน ความยัง่ ยืนของงานศิลปะเชนนีจ้ ะมีไดหรือ ไม  หัวหนาโครงการคิดวานอกจากสังคมและวัฒนธรรมแลว  ความรวมสมัย ยังอาจอยูที่ขนบ  เชนงานของอังคาร กัลยาณพงศถือเปนการกบฏตอขนบของ รัตนโกสินทร และสามารถสือ่ กับยุคสมัยได จึงถือวารวมสมัย  และบางครัง้ ถึงแมจะ เปลี่ยนรูปแบบไป แตงานศิลปะในเนื้อแทแลวยังคงเดิม เชนงานของเชกสเปยรที่ นำ�มาทำ�ในรูปแบบสมัยใหมก็ยังสามารถจับใจคนได เชน ภาพยนตรเรื่อง “West ่ รางจาก “Romeo and Juliet” ของเชกสเปยร นัน้ นาประทับใจมาก side story” ทีส 3. ความรวมสมัยจะตองแยกแยะชนชั้นทางสังคมดวยหรือไม 4. การวิ จารณที่จะสื่อกับยุคสมัยไดจะตองมี รู ป แบบเฉพาะหรื อ ไม อยางไร การวิจารณที่ใชภาษายากๆ  ทฤษฎีที่อานแลววกวน  อาจทำ�ใหผูคนไม อานงานวิจารณ ดังนั้นการวิจารณจะตองแสวงหารูปแบบไปอยางไมมีที่สิ้นสุด หรือไม 64


ลักษณะรวมสมัยในงานศิลปะแขนงตางๆ: ทัศนะของศิลปน

65


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.