Course syllabus ca115(2 2558)

Page 1

แผนการสอนรายวิชา(Course Syllabus)

นศ 115 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงบูรณาการ CA 115 Development of Integrated Creative Thinking

หลักสูตร คณะ/สาขาวิชา วิชาบังคับก่อน ประเภทของรายวิชา จํานวนหน่วยกิต ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา อาจารย์ผสู้ อน

ศิลปศาสตรบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ไม่มี วิชาแกน 3 (2-2-5) (บรรยาย 2 ชั่วโมง / ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง / ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 2/2558 อาจารย์ณัฏฐพงษ์ สายพิณ

คําอธิบายวิชา ความสําคัญของการคิด วิธีคิดที่หลากหลาย การพัฒนาความคิด โดยเน้นที่กระบวนการคิด อย่างสร้างสรรค์ วิธีแสวงหาและเลือกสรรข้อมูลเพื่อใช้เป็นพื้นฐานทางการคิด การนําข้อมูลมา บูรณาการเพื่อสร้างงานด้านสื่อสารมวลชนที่แปลกใหม่และสร้างสรรค์ หรือเพื่อแก้ปัญหาอย่างมี ประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ของรายวิชา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ 1. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์เชิงบูรณาการ 2. สามารถประยุกต์ใช้ความคิดในมิติต่างๆ ในการสร้างสรรค์งานด้านสื่อมวลชนและบูรณาการในชีวิตประจําวันได้ ลักษณะกิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยาย และพัฒนาการด้านความคิด โดยให้นักศึกษาจัดทําผลงานสร้างสรรค์ ด้านสื่อมวลชน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์เชิงบูรณาการ นศ 115 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงบูรณาการ (ปีการศึกษาที่ 2/2558) | 1


ผ่านการปฏิบัติจริง โดยนําเสนอผลงานรายบุคคลและรายกลุ่ม เพื่อให้สามารถเข้าใจและอธิบาย กระบวนการทางความคิดในการผลิตผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล อุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน 1. สแครปบุค(Scrapbook’s Book) 1 เล่ม เพื่อจัดทําสมุดแสดงผลการเรียนรู้ โดยจะบันทึก 1.1 กิจกรรมที่ได้ทําในชั้นเรียน 1.2 สรุปความรู้ที่ได้รับจากกิจกรรมและการเรียนการสอน (โดยย่อ) 1.3 สรุปความรู้ที่ได้จากการแสวงหาความรู้ผ่านกิจกรรม บุคคล หรือจากตํารา ข้อมูล นอกห้องเรียนโดยเชื่อมโยงกับวิชาการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงบูรณาการ 1.4 ข้อมูลอื่น ๆ ที่นักศึกษาต้องการเขียนโดยเชื่อมโยงกับวิชาการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงบูรณาการ * โดยจะจัดส่ง 2 ครั้ง คือ สัปดาห์สุดท้ายก่อนสอบกลางภาค 1 ครั้ง และสัปดาห์สุดท้ายก่อนสอบปลายภาค 1 ครั้ง ปฏิทินการศึกษา วิชา นศ 115 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงบูรณาการ ครั้งที่/วันที่ หัวข้อ/รายละเอียด 1 14/1/59 2 21/1/59 3 28/1/59 4 4/2/59 5 11/2/59 6 18/2/59 7 25/2/59 8 3/3/59 9 10/3/59 10 17/3/59

- แนะนํารายวิชา การวัดผล และข้อตกลงเบื้องต้นในการเรียนการสอน - ความหมาย ความสําคัญ ประโยชน์ของการพัฒนาความคิดเชิงบูรณาการและความคิดสร้างสรรค์ - รู้จักตนเองและตัวตนในลักษณะต่างๆ - อินโทรเวิร์ตและเอ็กโทรเวิร์ต - เอ็นเนียแกรม คน 9 ลักษณ์ - การทํางานของสมอง - การคิดเชิงวิพากษ์ - การคิดเชิงสร้างสรรค์ - การคิดเชิงบูรณาการ การคิดเชิงมโนทัศน์ การคิดแบบเหรียญแห่งคุณค่าทั้ง 6 รูปแบบ หรือการคิดแบบหมวก 6 ใบ รับปริญญามหาวิทยาลัยแม่โจ้ อาจารย์ไปอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรเทคนิคการเขียนหนังสือ และตําราทางวิชาการ ณ โรงแรมเชียงใหม่แกรนด์วิลล์ 25-26 ก.พ.59 - การคิดเชิงวิเคราะห์ - การคิดเชิงสังเคราะห์ นําเสนอโครงร่างผลงานสร้างสรรค์(semi-final) สอบกลางภาค** นศ 115 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงบูรณาการ (ปีการศึกษาที่ 2/2558) | 2


ครั้งที่/วันที่ 11 24/3/59 12 31/3/59 13 7/4/59 14 14/4/59 15 21/4/59 16 28/4/59 17 5/5/59

หมายเหตุ

หัวข้อ/รายละเอียด การคิดเชิงกลยุทธ์ การคิดเชิงประยุกต์ การคิดเชิงระบบ การคิดแบบโยนิโสมนสิการ การคิดเชิงอนาคต นําเสนอผลงานสร้างสรรค์ (Final Project) สอบปลายภาค*** ช่วงวันสอบกลางภาค ระหว่างวันที่ 14-20 มีนาคม 2559 ช่วงวันสอบปลายภาค ระหว่างวันที่ 2-15 พฤษภาคม 2559

***หากมีการเปลี่ยนแปลงวันสอบ จะแจ้งให้ทราบก่อนล่วงหน้า เกณฑ์การประเมินผล ระดับคะแนน ความหมายของผลการเรียน A ดีเยี่ยม B+ ดีมาก B ดี C+ ดีพอใช้ C พอใช้ D+ อ่อน D อ่อนมาก F ตก

ค่าระดับคะแนน 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.00 0.0

ค่าร้อยละ 80-100 75-79 70-74 65-69 60-64 50-59 50-54 0-49

การประเมินผล คิดจากคะแนนรวมตลอดภาคการศึกษาทั้งสิ้น 100% แบ่งเป็นสัดส่วน ดังนี้ กิจ กรรมที่ 1 2

วิธีการประเมินผล การเข้าชั้นเรียน ความตั้งใจ ความรับผิดชอบและ การมีส่วนร่วม สมุดแสดงผลการเรียนรู้ (Scrapbook’s Book) - สรุปการเรียนรู้ในห้องเรียน 5% - สรุปการเรียนรู้นอกห้องเรียน 5%

สัปดาห์ที่ ประเมินผล

สัดส่วน ของการ ประเมินผล

ตลอดภาค การศึกษา

10 %

ตลอดภาค การศึกษา

10 %

นศ 115 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงบูรณาการ (ปีการศึกษาที่ 2/2558) | 3


กิจ กรรมที่

วิธีการประเมินผล

สัปดาห์ที่ ประเมินผล

สัดส่วน ของการ ประเมินผล

งานมอบหมาย, การวิเคราะห์กรณีศึกษา, ตลอดภาค 3 การทดสอบย่อย, การนําเสนอรายงาน 20 % การศึกษา ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม การผลิตผลงานเพื่อประเมินผลปลายภาค (Final Project) 4 7 30 % - นําเสนอครั้งที่ 1 (semi-final) 10% 15 - นําเสนอครั้งที่ 2 (final) 20% 5 สอบกลางภาค 8 15 % 6 สอบปลายภาค 16 15 % หนังสือและเอกสารค้นคว้าประกอบการเรียนการสอน - เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. 2554. การคิดเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซัคเซสมีเดีย. - เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. 2554. การคิดเชิงบูรณาการ. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซัคเซส มีเดีย จํากัด. - เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. 2554. การคิดเชิงประยุกต์. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซัคเซสมีเดีย. - เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. 2554. การคิดเชิงเปรียบเทียบ. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซัคเซสมีเดีย. - เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. 2549. การคิดเชิงมโนทัศน์. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซัคเซสมีเดีย. - เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. 2553. การคิดเชิงวิเคราะห์. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซัคเซสมีเดีย. - เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. 2549. การคิดเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซัคเซสมีเดีย. - เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. 2554. การคิดเชิงสังเคราะห์. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซัคเซสมีเดีย. - เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. 2554. การคิดเชิงอนาคต. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซัคเซสมีเดีย. - โจเซฟ โอ คอร์นเนอร์ และ ไอแอน แมคเดอร์มอทท์.หัวใจนักคิด. กรุงเทพมหานคร : เอ็กซเปอร์เน็ทบุ๊คส์. - ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. 2546. ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. - ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. 2551. การพัฒนาการคิด. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจํากัด 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง. - นงนุช สิงหเดชะ. 2555. พลังของคนเงียบในโลกที่ไม่เคยหยุดพูด. กรุงเทพมหานคร : มติชน. นศ 115 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงบูรณาการ (ปีการศึกษาที่ 2/2558) | 4


- ลักขณา สิริวัฒน์. 2549. การคิด. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์. - วาจาสิทธิ์ ลอเสรีวานิช. 2547. เอ็นเนียแกรม : ศาสตร์เพื่อความเข้าใจตนเองและผู้อื่น. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโกมลคีมทอง. - เอ็ดเวิร์ด เดอ โบโน. 2553. คิด! ทลายกรอบคิดเดิม เพิ่มพลังคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร: บริษัทเกียวโด เนชั่น พริ้นติ้ง เซอร์วิส จํากัด. - เอ็ดเวิร์ด เดอ โบโน. 2546. หมวก 6 ใบ คิด 6 แบบ. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์ชานชาลา. แหล่งค้นคว้าอื่น ๆ 1. เอกสาร หนังสือ ข่าวสาร ทุกประเภทในเรื่องการสื่อสาร ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ 2. การสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต 3. ตําราเกี่ยวกับการคิด จากห้องสมุดกลางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ห้องสมุดกลางมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ห้องสมุดเฉพาะด้านการออกแบบ และห้องสมุดอื่น ๆ 4.สื่อทุกประเภททัง้ วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เว็บไซต์ รวมถึงกิจกรรมที่น่าสนใจ และบุคคลที่น่าสนใจ ตามเนื้อหาที่กําหนดในการสอน

นศ 115 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงบูรณาการ (ปีการศึกษาที่ 2/2558) | 5


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.