ทีฆายกุ า โหตุ มหาราชนิ ี
ทรงพระเจริญ ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้จัดงาน คณะทำ�งานและนักแสดง มหาอุปรากร เดอะ เมจิคฟลูท
ขอขอบพระคุณ
กรุงเทพมหานคร คืนความสุขให้ประชาชน โดยเป็นผู้อุปถัมภ์การแสดงมหาอุปรากร
“เดอะ เมจิคฟลูท”
รอบพิเศษ สำ�หรับผู้อาวุโสและครอบครัว วันเสาร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2557
4
Opera Siam International and the Department of Cutural Promotion, Ministry of Culture present
THE MAGIC FLUTE (Die Zauberflöte)
a Singspiel in two acts by
WOLFGANG AMADEUS MOZART K. 620
Libretto by
Emanuel Schikaneder Emilio Pons • Falko Hönisch • Nadlada Thamtanakom Monique Klongtruadroke • Damian Whiteley Barbara Zion • Potprecha Jak Cholvijarn Kuakul Deachmee • Krittathad Pisuttiwong Yotsawan Meethongkum • Areeya Rotjanadit
Siam Orpheus Choir choir master Tanayut Jansirivorkul Siam Philharmonic Orchestra leader Chot Buasuwan conducted by Trisdee na Patalung directed by Somtow Sucharitkul
December 25-26, 2014 • 7.30 pm and December 27, 2014 • 2 pm Thailand Cultural Center • Main hall
5
6
THE MAGIC FLUTE ข ลุ่ ย วิ เ ศ ษ The Magic Flute หรือ ‘ขลุ่ยวิเศษ’ มหาอุปรากรโดย โมสาร์ท เปิดแสดงครั้ง แรกที่ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2546 โดยสมเด็จพระนาง เจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ เสด็จเป็นประธานพร้อม ด้วยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ ฯ กรม หลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จ พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัย ลักษณ์ อัครราชกุมารี การแสดงครั้งนั้นประสพความสำ�เร็จ เป็นที่น่าภาคภูมิใจ บางกอกโอเปร่าจึง นำ�เสนอซ้ำ�อีกเพื่อฉลองครบรอบ 250 ปี โมสาร์ท ให้ผู้สนใจที่พลาดการแสดงครั้ง แรกมีโอกาสชมผลงานอมตะของคีตกวี ระดับปรมาจารย์ และครั้งนี้ซึ่งเป็นครั้ง ที่สาม เพื่อฉลองเทศกาลแห่งความสุข ในวันที่ 25-27 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย The Magic Flute เป็นมหาอุปรากร ที่มีองค์ประกอบคล้ายคลึงกับวรรณคดี ไทยเรื่องพระอภัยมณี เจ้าชายพระเอก ในเรื่องอาสาไปช่วยเจ้าหญิงโดยมีกระดิ่ง และขลุ่ยวิเศษเป็นเครื่องป้องกันตัวเมื่อ เข้าตาจน เสียงขลุ่ยพระอภัยฝรั่งไม่
ได้สะกดผู้คนให้หลับไหลเหมือนปี่พระ อภัยก็จริง แต่สามารถเรียกเจ้าหญิงให้ ออกมาพบ ส่วนกระดิ่งวิเศษทำ�ให้ศัตรู เปลี่ยนใจจากคิดร้ายเป็นสนุกสนานร่าเริง แม้แต่สิงสาราสัตว์ในป่า เมื่อได้ยินเสียง กระดิ่งก็ออกมาเริงระบำ�อย่างสวยงาม น่ารัก เจ้าหญิงนางเอกเป็นธิดาเทพเจ้าแห่ง แสงสว่างกับราชินีมืดซึ่งเปรียบเสมือน ‘ธรรม’ กับ ‘อธรรม’ พ่อแม่พยายาม ช่วงชิงลูกสาวเป็นกรรมสิทธิ์ โดยฝ่าย พ่อลักพาตัวไปเพื่อให้พ้นอำ�นาจมืด ของแม่ แม่ให้เจ้าชายไปช่วยให้พ้นมือ มาร เจ้าชายเห็นภาพนางก็หลงรัก จึง ขันอาสาไปตามจนพบนางในปราสาท มาร ครั้นพบหน้าก็เกิดความรักแรกพบ แม้จะมีการเข้าใจผิดกันบ้างเล็กๆ น้อยๆ คล้ายละครไทยแต่รักย่อมเข้าใจในรัก กว่าจะพิสูจน์ตนเองว่าเหมาะสมที่จะเป็น คู่ตุนาหงัน พระเอกต้องผ่านพิธีทดสอบ หลายกระบวนการ ทั้งลุยถ้ำ�น้ำ� ฝ่าถ้ำ� เพลิง แต่ก็ผ่านพ้นไปได้ด้วยดีทุกขั้นตอน จนในที่สุดจบแบบ happy ending เรื่องพระอภัยฝรั่งไม่มีนางผีเสื้อสมุทร มีแต่นายยามร่างยักษ์ซึ่งคอยหาโอกาส
ลวนลามเจ้าหญิง เมื่อไม่สำ�เร็จก็โป้ปด มดเท็จ หาเรื่องใส่ความนางเอกต่างๆ นานา แต่ในที่สุดก็ถูกจับได้ ตัวตลกคือ พรานนก ผู้ติดตามเป็นผู้ช่วยพระเอก พรานนกถูกส่งไปทดสอบเหมือนกันแต่ ไม่ผ่านตั้งแต่ข้อแรกคือห้ามพูดกับสตรี เพศ พรานนกชอบค้าคารมอยู่แล้ว จึง อดไม่ได้ที่จะต่อปากต่อคำ�กับหญิงสาว อย่างไรก็ตาม แม้จะสอบตก แต่ก็ยังได้ รางวัลปลอบใจเป็นนางนกรูปงาม สรุป แล้ว happy เหมือนเจ้านาย นอกจากจบอย่างมีความสุขซึ่งถูก รสนิยมผู้ชมไทยแต่ค่อนข้างหายากใน เรื่องโอเปร่า ยังมีข้อคิดอันพึงสังวรณ์ว่า ‘ธรรมย่อมชนะอธรรม’ เสมอไป พ่อ นางเอกผู้ถูกกล่าวหาว่าร้ายนักกลับกลาย เป็นเทพเจ้าแห่งคุณความดีผู้สามารถ พิชิตความมืดให้โลกสว่างไสวด้วยแสง แห่งธรรม ส่วนราชินีรัตติกาลหรือเทพี แห่งความมืดนั้น แท้ที่จริงคือนางร้าย จึงต้องชดใช้กรรมโดยวนเวียนอยู่ในความ มืดชั่วกาลปาวสาน ถ่ายเถา สุจริตกุล 7
SYNOPSIS • เรื่องย่อ
ACT I A serpent chases Prince Tamino through a valley. When he falls unconscious, three ladies in the service of the Queen of the Night emerge from a temple and kill the beast. They leave to tell the queen, and Tamino awakens, assuming he was saved by Papageno, a good-natured bird-catcher who has just arrived. When Papageno accepts the credit, the three ladies reappear and padlock his lips to punish him for lying. They show Tamino a picture of Pamina, the beautiful daughter of their mistress, and he immediately falls in love with her. When they tell him she has been kidnapped by a magician named Sarastro, the Queen appears and asks Tamino to rescue Pamina. He agrees, and the ladies free Papageno, giving him a set of magic chimes and Tamino a magic flute for protection. Papageno, sent ahead by Tamino, arrives at Sarastro’s palace. A villainous guard, Monostatos, is attempting to seduce Pamina, but is scared off by Papageno. The bird-catcher tells Pamina that Tamino has fallen in love with her and plans to rescue her. Pamina rejoices that she now has somebody to love, and the lonely Papageno dreams of a wife. Three spirits lead Tamino to the entrance of a temple in Sarastro’s palace. A priest, the Speaker,
8
informs him that the Queen is really the evil one and that the good Sarastro was merely trying to free Pamina from her mother’s dark influence. Tamino departs to find Pamina, who has escaped from Sarastro’s palace with Papageno. Monostatos soon finds them, but Papageno plays his magic bells, rendering the villains harmless. Sarastro enters and tells Pamina she is free to marry but not to return to her mother. Monostatos drags in Tamino and demands a reward, but is instead punished for his evil deeds. Sarastro orders the priests to take Tamino and Pamina to the temple for purification.
ACT II Sarastro informs the priests that Tamino and Papageno must undergo initiation rites to determine their worthiness to enter the Temple of Light. Brave Tamino and faint-hearted Papageno receive contradictory counsel from the priests and the Queen’s three ladies but decide to follow the priests’ advice. The Queen visits Pamina, commanding her to murder Sarastro. Horrified, Pamina refuses and begs Sarastro to forgive her mother. He agrees, declaring that only love, not vengeance, will lead to peace and happiness.
As part of their initiation trials, Tamino and Papageno are sworn to silence. An old woman appears briefly to Papageno, declaring that she is really 18 years old and in love with him. Pamina arrives but misunderstands Tamino’s silence and leaves heartbroken. The old woman returns to the lovesick Papageno. The Speaker promises him that if he swears fidelity to the woman, she will be the wife of whom he has dreamed. When Papageno agrees, the old woman is transformed into the young Papagena, but she is quickly ordered away by the Speaker. Meanwhile, Pamina, about to commit suicide using the dagger her mother meant for Sarastro, is prevented by the three spirits, who take her to Tamino. Pamina joins him in the final trial, and the pair emerges unscathed thanks to the magic of Tamino’s flute. The three spirits encounter Papageno attempting to hang himself and suggest that instead he play his magic bells. When he does, Papagena appears and the two declare their love and their intent to raise a large family. Monostatos joins forces with the Queen of the Night to kill Sarastro, but their plan is foiled when their powers are magically destroyed and they are cast into eternal night. Sarastro, joined by Tamino and Pamina, celebrates the victory of light over darkness.
องก์ที่หนึ่ง ทามิโน เจ้าชายหนุ่มรูปงามไปล่า สัตว์ ถูกงูยักษ์ไล่ตามจนล้มสลบด้วย ความตกใจกลัว นางกำ�นัลทั้งสามของ ราชินีรัตติกาล มาพบเข้า จึงสังหารงูด้วย เวทมนตร์แล้วชวนกันไปรายงานเจ้านาย ว่ า บั ด นี้ ไ ด้ พ บเจ้ า ชายซึ่ ง เหมาะสมที่ จ ะ ช่วย เจ้าหญิงพามินา พระธิดาที่ถูกมาร ลักพาไปกักขังไว้ เมื่อตกลงกันไม่ได้ว่า ใครจะอยู่เฝ้าเจ้าชาย ทั้งสามจึงตัดสินใจ ไปด้วยกันโดยทิ้งเจ้าชายไว้ตามลำ�พัง เจ้าชาย ทามิโน ฟื้นจากสลบ เห็น พรานนก พาพาเกโน แต่งตัวเป็นนก เดินร้องเพลงผ่านมาจึงไต่ถาม พาพา เกโน รับสมอ้างว่าตนเป็นผู้สังหารสัตว์ ประหลาด และเล่าว่าตนมีหน้าที่ออก ป่าล่านกทุกวันเพื่อนำ�ไปถวายพระราชินี แลกกั บ ขนมปั ง และเหล้ า องุ่ น ซึ่ ง นาง กำ�นัล 3 คนนำ�มาให้ นางทั้ ง สามกลั บ มาเห็ น เข้ า ก็ โ กรธที่ พาพาเกโน กล่าวเท็จ จึงลงโทษโดยให้ น้ำ�แทนไวน์และก้อนหินแทนขนมปัง ทั้ง ใส่กุญแจปากเพื่อไม่ให้ร้องเพลงอีกต่อไป นางกำ�นัลบอกเจ้าชายว่า ราชินีรัตติกาล มีบัญชาให้ไปช่วยเจ้าหญิง ทามิโน เห็น ภาพเจ้าหญิงที่นางกำ�นัลนำ�มาให้ดูก็หลง รักและรับอาสาด้วยความเต็มใจ ราชินี รัตติกาล ออกมาปรากฏร่าง ขับลำ�นำ� เพลงแห่งความทุกข์ที่ต้องพลัดพรากจาก ธิดาและขอให้เจ้าชายช่วย แล้วหายตัวไป ราชินีรัตติกาล ให้ พาพาเกโน ตามไป เป็นผู้ช่วยเจ้าชาย และมอบของวิเศษ 2 สิ่งให้นำ�ติดตัวไป ได้แก่ขลุ่ยและกระดิ่ง ขลุ่ยเพื่อเป่าเรียกเจ้าหญิง และเมื่อภัย มาถุงตัว ให้สั่นกระดิ่ง เสียงกระดิ่งจะ ทำ � ให้ อ ารมณ์ ร้ า ยของศั ต รู เ ปลี่ ย นเป็ น สนุกสนานร่าเริง เจ้าชายจึงออกเดินทาง โดยมีเทวทูตทั้งสามขี่ยานวิเศษนำ�ทางไป ยังปราสาทที่คุมขังเจ้าหญิง
พาพาเกโน เข้าไปในปราสาท โมโนส ตาโตส นายยามร่างยักษ์ซึ่งกำ�ลังพยายาม ลวนลามเจ้ า หญิ ง เห็ น มนุ ษ ย์ น กก็ ต กใจ ด้วยสำ�คัญผิดคิดว่าเป็นผี ส่วน พาพา เกโน เห็นยามรูปร่างสูงใหญ่อัปลักษณ์ก็ ตกใจกลัวเช่นกัน ต่างคนต่างวิ่งหนีเอา ตัวรอดโดยทิ้งเจ้าหญิง พามินา ไว้ตาม ลำ�พัง พาพาเกโน กลับมาบอกเจ้าหญิงว่า พระราชินีผู้เป็นมารดามอบหมายให้ตน มาช่วย และอาสาจะพาเจ้าหญิงหนีจาก ปราสาทไปพบเจ้าชาย หลังจากหลงวนเวียนอยู่ในบริเวณป่า เจ้าชาย ทามิโน ก็ไปถึงปราสาทของ ซารา สโตร ซึ่งมีทางเข้าถึง 3 ประตู สองประตู แรกมีเสียงขับไล่ให้กลับไปเสีย แต่ประตู สุดท้ายเปิดรับ เจ้าชายพบนักบวชชรา จึงอ้อนวอนขอเข้าไปในปราสาทเพื่อช่วย เจ้าหญิง ซาราสโตร ย้อนถามว่าทำ�ไมจึง เชื่อคำ�พูดของ ราชินีรัตติกาล ว่าผู้ลักพา เจ้าหญิงคือมารร้าย พร้อมสั่งสอนว่า ควรหาข้อพิสูจน์ที่แน่นอนก่อนจะปักใจ เชื่อ ทามิโน ยืนยันความตั้งใจเดิมและ ขอเข้าไปพบเจ้าหญิงให้ได้ แต่ ซาราส โตร บอกว่ายังไม่ถึงเวลา เจ้าชายจึงเป่า ขลุ่ยวิเศษเพื่อเรียกเจ้าหญิงให้ออกมาพบ พอเริ่มเป่าก็มีเสียงมนุษย์นกร้องเพลงดัง แว่วเข้ามา ทามิโน จึงตามเสียงไปด้วย เข้าใจว่าเจ้าหญิงอยู่ที่นั่น ในที่สุดเจ้าชายกับเจ้าหญิงก็ได้พบกัน ต่ า งโผเข้ า สู่ อ้ อ มแขนซึ่ ง กั น และกั น ด้ ว ย ความรักแรกพบ ยามร่างยักษ์ โมโนส ตาโตส ตามมาพบเข้าจึงสั่งจับคู่รักทั้งสอง ล่ามโซ่ พาพาเกโน ต้องสั่นกระดิ่งวิเศษ สกดจิตยามให้เต้นระบำ�แทน มาโนสตราโตส ฟ้อง ซาราสโตร ว่า เจ้ า หญิ ง ทำ � ความผิ ด มหั น ต์ เ นื่ อ งจาก ใจง่าย ลอบหนีจากปราสาทออกมาพบ ผู้ชาย พร้อมทั้งขอรางวัลที่ตนสามารถ ตามจับมาได้ แต่เจ้าหญิง พามินา ชี้แจง ว่าสาเหตุที่ต้องหนีเพราะถูกยามลวนลาม
ซาราสโตร จึงตัดสินให้โบย มาโนสตรา โตส แทนให้รางวัล ซาราสโตร บอกเจ้าหญิงว่า สาเหตุ ที่ต้องพรากนางมาก็เพื่อหนีความชั่วร้าย ของมารดา บัดนี้ได้พบผู้ที่คู่ควรเป็นคู่ อภิเษก แต่เจ้าชายต้องผ่านการทบสอบ ก่อนว่าเหมาะสมจริงหรือไม่
องก์ที่ 2 เจ้าชาย ทามิโน กับพรานนกถูกนำ� ตัวไปให้นักบวชทดสอบ เริ่มด้วยห้าม พูดกับสตรีเพศ ฝ่าถ้ำ�เพลิงและถ้ำ�น้ำ� เจ้าชายผ่านการทดสอบทั้งสามขั้นอย่าง ง่ายดาย แม้ขั้นแรกจะทำ�ให้เจ้าหญิง เข้าใจผิดคิดว่าไม่รักเพราะไม่ยอมพูดด้วย ส่วน พาพาเกโน สอบตกตั้งแต่รอบแรก เพราะไม่สามารถอดใจไม่ต่อปากคำ�กับ สตรี จึงได้แต่โศกเศร้าเสียใจที่ไม่ได้คู่ ครอง แต่สวรรค์ยังเมตตาส่งนางนก พา พาเกนา มาให้เป็นรางวัลปลอบใจ มาโนสตราโตส โกรธที่ถูกลงโทษ จึง หนีไปสมัครเป็นข้า ราชินีรัตติกาล ซึ่ง สั ญ ญาว่ า ถ้ า ช่ ว ยพาเจ้ า หญิ ง กลั บ มา สำ�เร็จ จะให้แต่งงานกับเจ้าหญิง ราชินี รัตติกาล มอบกริชให้ พามินา และสั่งให้ ไปสังหาร ซาราสโตร แต่เจ้าหญิงไม่ยอม ทำ�ตาม ในที่สุดอุปสรรคทั้งหลายก็ผ่านพ้นไป ด้วยดี เจ้าชายสามารถพิสูจน์ตัวเองว่า เหมาะสมทุกประการที่จะเป็นคู่อภิเษก ของเจ้าหญิง ทั้งสองจึงได้ครองคู่กัน อย่างมีความสุข ราชินีรัตติกาล ผู้เป็นราชินีแห่งความ มืด นางกำ�นัลทั้งสามและ มาโนสตรา โตส ถูกสาปให้วนเวียนในความมืด ส่วน ซาราสโตร ผู้ถูกกล่าวหาว่าเป็นมาร นั้น แท้ที่จริงคือเทพเจ้าแห่งความสว่าง ผู้สามารถพิชิตความมืด โลกจึงสว่างไสว ชั่วนิจนิรันดร์
9
COMPOSER WOLFGANG AMADEUS
MOZART
วูล์ฟกัง อามาเดอุส โมสาร์ท • คีตกวี
วูล์ฟกัง อามาเดอุส โมสาร์ท เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2299 ที่ซาลสบูร์ค ประเทศออสเตรีย อัจฉ ริยภาพที่แสนอัศจรรย์ในด้านดนตรีปรากฏให้ เห็นตั้งแต่อายุยังน้อยมาก เมื่อมีอายุเพียง 3 ปี ทันทีที่บิดาสอนเปียโนพี่สาวของเขาเสร็จ โมสาร์ ท เดิ น ไปที่ เ ปี ย โนและลงมื อ เล่ น เพลงที่ พี่สาวเพิ่งเรียนตั้งแต่ต้นจนจบ เหตุการณ์ ครั้งนั้นทำ�ให้บิดาของเขาเริ่มฝึกสอนดนตรีให้ อย่างจริงจัง และภายในช่วงเวลาเพียงปีเดียว โมสาร์ทก็กลายเป็นนักเปียโนฝีมือเยี่ยมยอด โมสาร์ ท เริ่ ม ประพั น ธ์ ด นตรี สำ � หรั บ เปี ย โน เมื่ออายุ 5 ปี โดยให้บิดาเขียนโน้ตระหว่างที่เขา เล่น ในที่สุด โมสาร์ทก็เรียนรู้วิธีเขียนโน้ตดนตรี เองและเชี่ยวชาญยิ่งขึ้นเรื่อยๆ วันหนึ่งโมสาร์ท บอกพ่อว่าเขากำ�ลังแต่งคอนแชร์โต้ หลังจาก เห็นโน๊ตที่เขียนด้วยลายมือ พ่อของเขาบอกว่า “เสียดายที่ไม่มีประโยชน์เพราะมันยากเกินกว่า ที่ใครจะสามารถเล่นได้” โมสาร์ทตอบพ่อว่า “มันเป็นคอนแชร์โต้ ต้องศึกษาก่อนถึงจะเล่น ได้” พูดจบก็เดินไปที่เปียโนและลงมือเล่นให้ฟัง ตั้งแต่ต้นจนจบ ครอบครัวโมสาร์ทเดินทางท่องยุโรปหลาย ครั้งหลายครา ทั้งออสเตรีย เยอรมนี อิตาลี และอังกฤษ เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2305 เมื่อโมสาร์ท อายุเพียง 6 ปี หนึ่งปีหลังจากนั้น เขาได้เล่น เปียโนหน้าพระที่นั่งพระเจ้าหลุยซ์ที่ 15 ที่พระ ราชวังแวร์ซายล์ส ร่วมกับมารีอังตัวเน็ตเมื่อยัง ทรงพระเยาว์ โมสาร์ทย้ายไปกรุงลอนดอนเมื่อปี พ.ศ. 2307 เขาได้พบกับโยฮัน คริสเตียน บ๊าค ผู้ เป็นแรงบันดาลให้ประพันธ์ซิมโฟนี 3 เพลงแรก ขณะที่อายุเพียง 8 ปี ในปีต่อๆ มา ครอบครัว 10
โมสาร์ทเดินทางไปแสดงทัวร์อิตาลีอีก 3 เที่ยว หลังจากนั้นก็กลับไปเวียนนาเมื่อ พ.ศ. 2316 โมสาร์ทพบโจเซฟ ไฮเดิ้นที่นั่น เขาไปปารีส เพื่อเยี่ยมมารดาที่ป่วยหนักและเสียชีวิตในเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2321 ซึ่งเป็นปีที่โมสาร์ทนำ� เสนอ Idomeneo มหาอุปรากรยิ่งใหญ่เรื่อง แรกที่มิวนิค ประเทศเยอรมนี บิ ด าของโมสาร์ ท ซึ่ ง เคยเป็ น หั ว หน้ า นั ก ดนตรีประจำ�ราชสำ�นักตั้งความหวังไว้ว่าวันหนึ่ง โมสาร์ทจะเจริญรอยตาม นักดนตรีทุกคนใน สมัยนั้นต่างพยายามหางานทำ�ในราชสำ�นักซึ่ง หมายถึงรายได้ประจำ�ที่จะได้รับ บังเอิญในปี พ.ศ. 2322 มีการเปลี่ยนประมุขคนใหม่ หลัง จากเกิ ด เรื่ อ งทะเลาะอย่ า งรุ น แรงกั บ เจ้ า นาย โมสาร์ทจำ�เป็นต้องลาออกและถูกไล่ออกจากวัง เมื่อปี พ.ศ. 2323 ในเดือนกรกฏาคม พ.ศ. 2324 มีผู้ว่าจ้าง โมสาร์ทให้เขียน Requiem (เพลงสวดไว้อาลัย คนตาย) ในช่วงเวลานั้น โมสาร์ทมีหนี้สิน มากล้นและล้มป่วย ขณะที่นอนซมด้วยพิษไข้ โมสาร์ทเกิดความเชื่อว่านายจ้างของเขาคือพญา มัจจุราช และดนตรีที่กำ�ลังประพันธ์คือเพลง มรณะของตนเอง วูลฟกัง อามาเดอุส โมสาร์ท ผู้อาจเรียกได้ ว่าเป็นคีตกวีที่มีอัจฉริยภาพด้านดนตรียอดเยี่ยม กว่าคีตกวีทั้งหลายในโลก ถึงแก่กรรมด้วยโรค Rheumatic Fever เขาจบชีวิตอย่างยากจน ข้นแค้นเมื่ออายุเพียง 35 ปี ศพของโมสาร์ทถูก ฝังไว้ที่สุสานนิรนามเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2334
เ ก ร็ ด ชี วิ ต
พิสดาร ข อ ง โ ม ส า ร์ ท
คุณเชื่อไหมว่า * ไม่มีเด็กคนไหนเกิดมาพร้อมอัจฉริยภาพมหัศจรรย์เทียบเท่า วูล์ฟกัง อามาเดอุส โมสาร์ท * โมสาร์ทเป็นดาราเด็กที่ยิ่งใหญ่ไม่มีใครเทียม * เขาสามารถหยิบเครื่องดนตรีทุกประเภทรวมทั้ง ไวโอลิน กับ แคลริ เนต ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีชิ้นโปรดขึ้นมาเล่นได้ทันทีทั้งๆที่ไม่เคยเรียนมาก่อน * โมสาร์ทมีชื่อเล่นว่า ‘ความหวังสีทองแห่งออสเตรีย’ * เขาแสดงความสามารถด้านเปียโนตั้งแต่อายุ 3 ปี * โมสาร์ทประพันธ์ดนตรีชิ้นแรกเมื่ออายุ 5 ปี * ประพันธ์โซนาต้าสำ�หรับเปียโนเมื่ออายุ 6 ปี * โมสาร์ทเริ่มมีชื่อเสียงจากการแสดงคอนเสิร์ตในพิธีทางศาสนาตั้งแต่ อายุ 6 ปี * โมสาร์ทเดินทางแสดงฝีมือทั่วยุโรปในปีเดียวกัน * เขาประพันธ์ดนตรีสำ�หรับมหาอุปรากรเรื่องแรกเมื่ออายุ 12 ปี * เมื่ออายุ 13 ปี โมสาร์ทได้รับอิสริยาภรณ์จากสันตปาปา * การเดินทางสม่ำ�เสมอทำ�ให้โมสาร์ทสามารถพูดภาษาต่างๆ ได้ถึง 16 ภาษา * หนึ่งในผลงานดีเด่นได้แก่เพลงเด็ก Twinkle, Twinkle Little Star ซึ่งโมสาร์ทนำ�ไปพลิกผันในรูปแบบ variations อันพิสดาร * ผลงานโอเปร่าของโมสาร์ทซึ่งเยี่ยมยอดและเป็นที่นิยมแพร่ หลายที่สุดจนถึงทุกวันนี้ได้แก่ The Marriage of Figaro, The Magic Flute และ Don Giovanni * โมสาร์ทสามารถออกเสียงโน้ตได้ถูกต้องทุกโน้ตโดยไม่ต้อง อาศัยดนตรีนำ� * โมสาร์ทใช้เวลาน้อยมากในการประพันธ์ผลงานแต่ละชิ้น * เขาสามารถประพันธ์ดนตรีได้โดยไม่เลือกเวลาและสถานที่ * เขาประพันธ์ดนตรีระหว่างกินอาหาร คุยเล่นกับเพื่อน เล่นเกม และ แม้กระทั่งขณะที่ภรรยากำ�ลังคลอดบุตร * อาหารโปรดของโมสาร์ทคือ dumpling หมูสับกับกะหล่ำ�ปลีดอง * โมสาร์ทกลัวผีและเชื่อถือในโชคลางเป็นที่สุด * โมสาร์ทประพันธ์ดนตรีถวายจักรพรรดิ์แห่งออสเตรียเป็นครั้งคราว
* ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1700 นักดนตรีอาชีพหรือแม้แต่คีตกวีประจำ� ราชสำ�นักได้รับค่าตอบแทนในอัตราต่ำ�มาก * โมสาร์ทยากจนมากทั้งๆ ที่จักรพรรดิ์แห่งออสเตรียพระราชทาน เครื่องนุ่งห่มและของขวัญมากมายรวมทั้งแหวนที่เขาสวมเวลาแสดง * โมสาร์ทไม่เคยรู้จักค่าของเงิน และใช้จ่ายเกินตัวโดยไม่คำ�นึงถึงราย ได้ * โมสาร์ทมีหนี้สินท่วมท้นตลอดชีวิต * โมสาร์ทแต่งงานเมื่ออายุ 25 ปี มีบุตร 2 คนและใช้ชีวิตกับ ครอบครัวอย่างยากไร้ * บุรุษลึกลับผู้ว่าจ้างและเร่งเร้าให้โมสาร์ทแต่งเพลงไว้อาลัย สำ�หรับงานศพ (Requiem) ขณะที่โมสาร์ทล้มป่วย ทำ�ให้เขาตกใจกลัวจน คิดว่ากำ�ลังแต่งเพลงงานศพตนเอง * โมสาร์ทตายอย่างกระยาจกที่เวียนนาเมื่ออายุเพียง 35 ปี * นักวิจัยบางคนกล่าวว่าเขาตายเพราะถูก อันโตนิโอ ซาเลียรี คู่แข่ง วางยาพิษ * บ้างว่าไม่มีเงินค่ารักษาพยาบาล * แพทย์ให้การรักษาไม่ถูกต้อง * ตายเพราะโรคหลอดลมอักเสบร้ายแรงและไข้รากสาด * บ้างก็ว่าตายเพราะโรคไตพิการ * ขณะที่คีตกวีอมตะส่วนมากมีความสามารถพิเศษในการประพันธ์ ดนตรีประเภทใดประเภทหนึ่ง โมสาร์ทสรรค์สร้างคีตนิพนธ์อมตะทุก ประเภท กล่าวคือ เพลงสำ�หรับขับร้อง คอนแชร์โต้ ดนตรีเชมเบอร์ ซิมโฟนี โซนาต้า และมหาอุปรากร ฯลฯ * ในช่วงชีวิตอันแสนสั้น โมสาร์ทประพันธ์คีตนิพนธ์อมตะยุคคลาสสิค นานารูปแบบรวมทั้งสิ้น 600 เพลง * หากมีผู้นำ�ผลงานทั้งหมดของโมสาร์ทไปบรรเลงติดต่อกันโดยไม่มี การหยุดพัก จะใช้เวลามากกว่า 8 วัน 8 คืน * ศพของ วูล์ฟกัง อามาเดอุส โมสาร์ท มหาคีตกวีผู้เป็นยอดอัจฉริยะ ถูกฝังไว้ ณ สุสานคนอนาถา รวบรวมโดย ถ่ายเถา สุจริตกุล
11
Opera Siam’s THE MAGIC FLUTE in 2006.
12
13
DIRECTOR
SOMTOW SUCHARITKUL สมเถา สุจริตกุล • ผู้กำ�กับการแสดง Once referred to by the International Herald Tribune as “the most well-known expatriate Thai in the world,” Somtow Sucharitkul is no longer an expatriate, since he has returned to Thailand after five decades of wandering the world. He is best known as an award-winning novelist and a composer of operas. Born in Bangkok, Somtow grew up in Europe and was educated at Eton and Cambridge. His first career was in music and in the 1970s he acquired a reputation as a revolutionary composer, the first to combine Thai and Western instruments in radical new sonorities. Conditions in the arts in the region at the time proved so traumatic for the young composer that he suffered a major burnout, emigrated to the United States, and reinvented himself as a novelist. His earliest novels were in the science fiction field but he soon began to cross into other genres. In his 1984 novel Vampire Junction, he injected a new literary inventiveness into the horror genre, in the words of Robert Bloch, author of Psycho, “skillfully combining the styles of Stephen King, William Burroughs, and the author of the Revelation to John.” Vampire Junction was voted one of the forty all-time greatest horror books by the Horror Writers’ Association, joining established classics like Frankenstein and Dracula. In the 1990s Somtow became increasingly identified as a uniquely Asian writer with novels such as the semi-autobiographical Jasmine Nights. He won the World Fantasy Award, the highest accolade given in the world of fantastic literature, for his novella The Bird Catcher. His fifty-three books have sold about two million copies world-wide. After becoming a Buddhist monk for a period in 2001, Somtow decided to refocus his attention on the country of his birth, founding Bangkok’s first international opera company
14
and returning to music, where he again reinvented himself, this time as a neo-Asian neo-Romantic composer. The Norwegian government commissioned his song cycle Songs before Dawn for the 100th Anniversary of the Nobel Peace Prize, and he composed at the request of the government of Thailand his Requiem: In Memoriam 9/11 which was dedicated to the victims of the 9/11 tragedy. According to London’s Opera magazine, “in just five years, Somtow has made Bangkok into the operatic hub of Southeast Asia.” His operas on Thai themes, Madana, Mae Naak, and Ayodhya, have been well received by international critics. His most recent opera, The Silent Prince, was premiered in 2010 in Houston, and a fifth opera, Dan no Ura, will premiere in Thailand in the 2013/14 season. His sixth opera, Midsummer, will premiere in the UK in 2014. He is increasingly in demand as a conductor specializing in opera and in the late-romantic composers like Mahler. His repertoire runs the entire gamut from Monteverdi to Wagner. His work has been especially lauded for its stylistic authenticity and its lyricism. The orchestra he founded in Bangkok, the Siam Philharmonic, is mounting the first complete Mahler cycle in the region. He is the first recipient of Thailand’s “Distinguished Silpathorn” award, given for an artist who has made and continues to make a major impact on the region’s culture, from Thailand’s Ministry of Culture.
______
สมเถา เกิดในกรุงเทพฯ เติบโตในยุโรป เป็น คนไทยคนแรกที่สำ�เร็จมัธยมศึกษา จากวิทยาลัย อีตัน ต่อมาได้รับทุนการศึกษาจากมหาวิทยาลัย เคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ จนสำ�เร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยม) และปริญญาโท แขนงวิชาวรรณคดีควบคู่กับดนตรี งานอาชี พ แรกของสมเถาคื อ สร้ า งสรรค์
ดนตรี คีตนิพนธ์ ทัศน์ภูเขาทอง View from the Golden Mountain ซึ่งสมเถาประพันธ์เมื่อ พ.ศ. 2518 เป็นการบุกเบิกครั้งสำ�คัญของวงการ ดนตรีโดยใช้เครื่องดนตรีไทยผสมเครื่องดนตรี ตะวันตกเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การดนตรี สมเถา ทำ�หน้าที่วาทยกรครั้งแรกเมื่ออายุ เพียง 19 ปี โดยอำ�นวยเพลงให้วงดุริยางค์ ฮอลแลนด์ ซิ ม โฟนี อ อร์ เ คสตร้ า ที่ ป ระเทศ เนเธอร์แลนด์ ในคีตนิพนธ์ Holland Symphony ซึ่งเขาประพันธ์ทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จ พระบรมราชินีนาถจูเลียนา แห่งเนเธอร์แลนด์ เนื่องในวโรกาสครองสิริราชสมบัติครบ 25 ปี ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 สมเถา ได้ชื่อ ว่าเป็น ‘คีตกวีล้ำ�ยุค’ แห่งภาคพื้นเอเซีย เขา ถู ก วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ อ ย่ า งหนั ก จากเพื่ อ นร่ ว ม ชาติ แต่ในช่วงเวลาเดียวกันก็ได้รับแต่งตั้งเป็น ผู้อำ�นวยการฝ่ายศิลป์ (Artistic Director) ใน งานมหกรรมดนตรีแห่งเอเซีย (Asian Composers Expo 78) เขาก่อตั้งสมาคมคีตกวีแห่ง ประเทศไทย และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้แทนถาวร จากประเทศไทยในคณะกรรมาธิ ก ารดนตรี นานาชาติแห่งยูเนสโก เมื่ อ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ด้ า นดนตรี ห ยุ ด ชะงักชั่วคราว สมเถาจึงหันไปสู่บรรณพิภพ เมื่อ ต้น พ.ศ. 2523 นับแต่นั้นเป็นต้นมา เขาผลิต นวนิยายภาษาอังกฤษแนวต่าง ๆ 50 เรื่องรวม ทั้งเรื่องสั้นกว่า 200 เรื่อง ออกสู่ตลาดโลกภาย ใต้นามปากกา เอส.พี. สมเถา (S. P. Somtow) ผลงานของนั ก ประพั น ธ์ ไ ทยผู้ นี้ ไ ด้ รั บ รางวั ล หลากหลาย และมีผู้นำ�ไปแปลเป็นภาษาต่าง ๆ กว่า 10 ภาษา นวนิยายประเภทสยองขวัญ เรื่อง Vampire Junction โดย เอส.พี. สมเถา ได้รับ เลื อ กเป็ น วรรณคดี ป ระเภทกอธิ ค คลาสสิ ค ซึ่ ง มหาวิทยาลัยหลายแห่งในสหรัฐฯ นำ�ไปใช้เป็น ตำ�ราเรียนในหลักสูตรวิชาวรรณคดี Jasmine Nights นวนิยายกึ่งอัตชีวประวัติ พิมพ์จำ�หน่าย ครั้งแรกโดยสำ�นักพิมพ์ Hamish Hamilton แห่งประเทศอังกฤษ สร้างชื่อเสียงให้ผู้เขียน จน George Axelrod นักเขียนบทภาพยนตร์ มือทอง เจ้าของรางวัลตุ๊กตาทองแห่งวงการ ภาพยนตร์สหรัฐอเมริกากล่าวว่า สมเถา สุจริตกุล คือ ‘D. J. Salinger of Siam’ ผลงานวรรณกรรมของ เอส.พี. สมเถา
ได้รับรางวัลหลากหลายรวมทั้ง World Fantasy Award อันมีเกียรติสูงสุด จากเรื่องสั้น The Bird Catcher นอกจากนั้นสมเถายังเคยดำ�รง ตำ�แหน่งนายกสมาคมนักเขียนนิยายสยองขวัญ แห่งสหรัฐอเมริกา สมเถาหวนกลั บ สู่ ว งการดนตรี อี ก ครั้ ง ใน ช่วงคริสต์ศวรรษ 1990 โดยเปลี่ยนแนวการ ประพันธ์จากเดิมเป็น ‘นีโอ-คลาสสิค’ เมื่อปี พ.ศ. 2542 สมเถาได้รับมอบหมายให้ประพันธ์ มัทนา มหาอุปรากรเรื่องแรกโดย คีตกวีไทย โดยอัญเชิญพระราชนิพนธ์ของ สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเรื่อง มัทนะ พาธา มาถ่ายทอด เป็นมหาอุปรากรสมบูรณ์ แบบเรื่องแรกแห่งสหัสวรรษใหม่ เปิดแสดงรอบ ปฐมทัศน์โลกที่กรุงเทพฯ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 ผลงานครั้งนั้นประสบความสำ�เร็จ ท่วมท้นและได้รับการยกย่องใน Opera Now นิตยสารที่มีอิทธิพลสูงสุดแห่งวงการ
มหาอุปรากร พิมพ์ในกรุงลอนดอน ประเทศ อังกฤษ ว่ายิ่งใหญ่ในระดับ ‘One of the operatic events of the year’ นอกจากนั้น สมเถายังได้ประพันธ์คีตนิพนธ์อมตะอย่างต่อ เนื่อง รวมทั้งผลงานที่ได้รับพระบรมราชานุ ญาตและพระราชานุญาตให้ประพันธ์ทูลเกล้าฯ ถวาย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่ มหาอุปรากรอิงวรรณคดีเรื่อง อโยธยา จาก ‘รามเกียรติ์’ ฉบับเอเชียตะวันออก กัลยาณี ซิมโฟนี ทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเจ้าพี่นาง เธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ และ คอนแชร์โต้มหาราชินี Queen Sirikit Piano Concerto ทูลเกล้าฯ ถวาย สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และในปี 2555 ได้แสดง Requiem for the Mother of Songs ผลงานอลังการที่สมเถาใช้ เวลาประพันธ์กว่า 3 ปี ทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จ พระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรม
หลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเถา สุจริตกุล เป็นศิลปินคนแรกที่ได้รับ รางวัลศิลปาธรกิตติคุณเมื่อ พ.ศ. 2551 เป็น ผู้ก่อตั้งวงดุริยางค์สยามฟิลฮาร์โมนิค และวง ดุริยางค์ สยามซินโฟนิเอตต้า ซึ่งได้รับรางวัล ชนะเลิ ศ ในการแข่ ง ขั น ระดั บ โลกในเทศกาล Summa Cum Laude 2555 ณ กรุงเวียนนา ประเทศ ออสเตรีย เขาผลิตผลงานอย่างต่อ เนื่องทั้งในด้านวรรณกรรมและคีตศิลป์ รวมทั้ง ดนตรีละครเพลง “เรยา เดอะมิวสิคัล” ในรูป แบบบรอดเวย์มาตรฐาน และบัลเลต๋-โอเปร่า “สุริโยทัย” ซึ่งได้รับความสำ�เร็จอย่างมาก มีผู้ สนใจเข้าชมอย่างล้นหลามทุกรอบการแสดง ปัจจุบัน สมเถาดำ�รงตำ�แหน่งประธานมูลนิธิ มหาอุปรากรกรุงเทพ และผู้อำ�นวยการฝ่ายศิลป์ ประจำ�คณะมหาอุปรากรโอเปร่าสยามอินเตอร์ เนชั่นแนล
15
16
CONDUCTOR
TRISDEE NA PATALUNG ทฤษฏี ณ พัทลุง • วาทยกร Thai conductor Trisdee na Patalung has worked extensively at the Netherlands Opera Studio as conductor and resident coach. He was music director of a staged performance of Händel’s oratorio Belshazzar directed by Harry Kupfer, Monteverdi’s Il combattimento di Tancredi e Clorinda, Marc-Antoine Charpentier’s La Descente d’Orphée aux Enfers at the Concertgebouw and Monteverdi’s Orfeo directed by Pierre Audi at the Amsterdam Schouwburg. He conducted the Rossini Opera Festival’s 2009 production of Il viaggio a Reims in Pesaro, Italy, and the Dutch National Touring Opera’s (Nationale Reisopera) 2010 production of Rossini’s La Cenerentola. “Discovered” by Somtow Sucharitkul at the age of 15 and engaged as resident repetiteur and assistant conductor of Opera Siam at 16, Trisdee had his operatic conducting debut in Opera Siam’s Die Zauberflöte at 20, immediately followed by Gluck’s Orfeo ed Euridice at the Steyr Music Festival in Austria. Since then he has conducted such orchestras as the Royal Scottish National Orchestra, Orchestra Sinfonica Nazionale della RAI, Orchestra Sinfonica di Milano Giuseppe Verdi, Orchestra I Pomeriggi Musicali di Milano, Orchestra Haydn di Bolzano e Trento, Orchestra Sinfonica G. Rossini, and Het Gelders Orkest. He is currently the Siam Philharmonic Orchestra’s resident conductor. Of Trisdee’s conducting of Die Zauberflöte, UK’s OPERA magazine said, “If the word ‘genius’ still has any meaning in this age of rampant hyperbole, Trisdee is truly a living example.”
ทฤษฎี ณ พัทลุง เป็นนักประพันธ์ดนตรีและ วาทยกรไทยที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับ โลกอย่างต่อเนื่อง เป็นวาทยกรไทยคนเดียวที่ได้ รับเกียรติไปอำ�นวยเพลงให้กับวง Royal Scottish National Orchestra, Orchestra Sinfonica Nazionale della RAI (วงออร์เคสตรา แห่งชาติอิตาลี) และยังเป็นศิลปินชาวไทยคน แรกที่ได้เซ็นสัญญากับสังกัด Columbia Artists Management Inc. นิวยอร์ค (CAMI) ในปี 2554 ทฤษฎีได้รับการกล่าวถึงโดย นิตยสาร Class Filosofia ประเทศอิตาลีว่า เป็นหนึ่งในวาทยกรอายุต่ำ�กว่า 30 ปีที่มีความ สามารถที่สุดในโลก ในปีต่อมา ได้ควบคุม วง Siam Sinfonietta ร่วมกับอาจารย์สมเถา สุจริตกุล ในการแข่งขันวงดุริยางค์เยาวชนระดับ โลก Summa Cum LaudeInternational Youth Music Festival Vienna นำ�รางวัลชนะ เลิศกลับมาสู่ประเทศไทย หนังสือพิมพ์ Bangkok Post เลือกทฤษฎีเป็นหนึ่งใน “66 Young Leaders Shaping Thailand’s Future” และนอกจากนั้นยังได้รับคัดเลือกเป็น ผู้ทำ�คุณ ประโยชน์ต่อเด็กและเยาวชนสาขาสื่อมวลชน เพื่อเด็กและเยาวชนที่ป้องกันปัญหาสังคม จาก กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ โดยเข้ารับพระราชทานโล่เกียรติคุณใน วันเยาวชนแห่งชาติประจำ�ปี 2555 ทฤษฎี รั บ ตำ � แหน่ ง โค้ ช นั ก ร้ อ งโอเปร่ า ที่ สถาบัน Opera Studio Nederland แห่ง ประเทศเนเธอร์แลนด์ตั้งแต่อายุ 18 ปีและเป็น วาทยกรไทยคนแรกที่ได้อำ�นวยเพลงที่ Concertgebouw ประเทศเนเธอร์แลนด์หนึ่งในหอ แสดงดนตรีคลาสสิคที่สำ�คัญที่สุดของโลก จาก นั้นได้รับเชิญจาก Dutch National Touring Opera ไปอำ�นวยเพลงในมหาอุปรากร La Ceneretola (ซินเดอเรลลา) ใน 12 เมืองทั่วประเทศ เนเธอร์แลนด์และยังได้รับเชิญไปอำ�นวยเพลง ในเทศกาลโอเปราระดับโลก Rossini Opera Festival ณ เมือง Pesaro ประเทศอิตาลีในปี
2552 - 2553 โดยถือเป็นวาทยกรรับเชิญที่อายุ น้อยที่สุดในเทศกาลเป็นเวลา 2 ปีซ้อน ในฐานะนักประพันธ์เพลง ทฤษฎีได้ประพันธ์ เพลง Eternity (นิรันดร์) คีตาลัยถวายแด่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งได้รับการ บรรเลง ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวงและเมื่อ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงเจริญพระชนมายุ 7 รอบ ทฤษฎีได้ประพันธ์บทเพลงเฉลิมพระขวัญ “พระ หน่อนาถ” โดยนำ�บทกล่อมในพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มาประพันธ์ทำ�นอง สากล ออกอากาศทางช่อง Modernine TV ต่อ มาได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายโดยสื่อโทรทัศน์ใน ช่วงพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพฯ และ บรรเลงสดในมณฑลพิธีพระเมรุท้องสนามหลวง ทฤษฎีเริ่มศึกษาดนตรีเมื่ออายุ 13 ปี โดย เรียนเปียโนกับอาจารย์วรพร ณ พัทลุง, อาจารย์ จามร ศุภผล และอาจารย์เอริ นาคากาวา ต่อมา ได้รับการสนับสนุนจากอาจารย์สมเถา สุจริตกุล และรับหน้าที่ผู้ฝึกสอนนักร้องโอเปราประจำ�า คณะมหาอุปรากรกรุงเทพตั้งแต่อายุ 15 ปี ปัจจุบัน นอกจากการเดินทางไปเป็นวาทยกร รับเชิญกับวงออร์เคสตราในต่างประเทศ ทฤษฎี ยังดำ�รงตำ�แหน่งเป็นวาทยกรประจำ�วงดุริยางค์ สยามฟิลฮาร์โมนิค จ า ก ก า ร อำ � น ว ย เ พ ล ง ข อ ง ท ฤ ษ ฎี ใ น มหาอุปรากรเรื่อง The Magic Flute ของ Mozart ในปี 2549 ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่ง ประเทศไทย นิตยสาร ‘OPERA’ แห่งกรุง ลอนดอนได้ ก ล่ า วถึ ง การแสดงครั้ ง นั้ น ในบท วิจารณ์ว่า: “หากคำ�าว่า ‘อัจฉริยะ’ ยังเหลือ ความหมายใดๆ อยู่ในโลกที่เต็มไปด้วยคำ�กล่าว อ้างเกินจริงนี้ ทฤษฎีนับเป็นตัวอย่างที่แท้จริง แห่งยุคปัจจุบัน”
17
CAST • นักแสดงนำ� EMILIO PONS Tamino • tenor
Since his professional debut in 2006 at the Mariinsky Theater in Saint Petersburg, Russia, he has performed internationally at the Grand Théâtre de Genève, Switzerland; the Royal Opera House, Copenhagen, Denmark; the Vlaamse Opera, Ghent & Antwerp, Belgium; the Sankt Margarethen Opera Festival, and the Wiener Kammeroper in Austria; and the Prinzregenten Theater, the Deutsche Oper am Rhein, Düsseldorf, the Magravial Opera House in Bayreuth, Theater Freiburg and Theater Heidelberg, in Germany; Vilnius City Opera, in Lithuania; as well as Compañía Nacional de Ópera de Bellas Artes, Mexico City, and the Teatro Municipal de Santiago, in Chile and Theatro Municipal of Rio de Janeiro, Brazil. His operatic repertoire encompasses more than thirty roles, including: staples of the light lyric Fach such as Tamino (Mozart-Die Zauberflöte), Ferrando (Mozart-Così fan Tutte), Don Ottavio (Mozart-Don Giovanni), Il Conte d’Almaviva (Rossini-Il Barbiere di Siviglia), Nemorino (Donizetti-L’elisir d’amore), Narraboth (Strauss-Salome), Le Chevalier de la Force (Poulenc-Dialogues des Carmélites), Trouffaldino (Prokofiev-L’amour des trois oranges) and Lensky (Tchaikovsky-Yevgenij Onegin); a myriad of leading roles in lesser known works, including the title role in Porsile’s Spartaco, Mad Woman (Britten-Curlew River), Hypollit (Henze-Phaedra), Egeo and Sole (Cavalli-Il Giasone, commer-
18
cially released on DVD), Richmond (Battistelli-Richard III), Serge/Adolphe (Martinů-Die Drei Wünsche), Le Commissaire (Martinů-Juliette), Fernando (in the German première of Granados’ Goyescas); and various supporting roles such as Arbace (Mozart-Idomeneo), Arturo (Donizetti-Lucia di Lammermoor), Jaquino (Beethoven-Fidelio), Pong (Puccini-Turandot), Laërtes (Thomas-Mignon), Beppe/Arlecchin (Leoncavallo-Pagliacci) and Malcolm (Verdi- Macbeth) amongst others. He has sung under the baton of acclaimed conductors such as Mikhail Jurowsky, Daniele Callegari, Jiří Bělohlávek, Ingo Metzmacher, Frédéric Chaslin, Zoltan Pesko, Niksa Bareza, Federico Maria Sardelli, Rodolfo Fischer and Cornelius Meister amongst others; has worked with renowned stage directors such as Robert Carsen, Christof Loy, Guy Joosten, Richard Jones, Pier Francesco Maestrini, Jean-Louis Benôit, Mariame Clément and Benedikt von Peter, and has shared the stage with prominent singers such as Diana Damrau, Jennifer Larmore, Sophie Koch, KS Francisco Araiza, and Franco Vasallo, amongst others. On the concert and recital stage, he has performed recitals in Germany, France, Belgium, The Netherlands, Switzerland, Spain, Poland, Russia, Japan, Azerbaijan (with the London Philharmonic Orchestra) and Israel (with the Jerusalem Camerata and the Be’er Sheva Sinfonietta). Dr. Pons is co-founder and artistic director of the Sankt Goar International Music Festival and Academy. Emilio Pons holds a graduate degree in Piano from the National Conservatory of Music in Mexico and a Juris Doctor Degree from the Universidad Iberoamericana, in addition to Master and Doctor of Music Degrees from the Indiana University Jacobs School of Music, where he was a student of Carlos Montané and Andreas Poulimenos. In Europe, he continues to study privately under the tutelage of KS Francisco Araiza and Lyubov Stuchevskaya.
NADLADA THAMTANAKOM Pamina • soprano
In her early youth, Nadlada Thamtanakom sang the traditional music of her country, Thailand. She began western classical singing at university in Thailand, and distinguished herself rapidly, making her début with Bangkok Opera in 2004 in the Mozart rôle of the Queen of the Night, followed quickly by Zerlina, as well as Flora in Britten’s Turn of the Screw. She was awarded a full scholarship from the Khun Kaseam-Phornthip Narongdej Foundation from 20072012, enabling her to further her voice education in Europe, settling in Belgium in 2007. Nadlada studied at the Royal (Francophone and Dutch-speaking) Conservatoires in Brussels, graduating in June 2010 with top marks in voice, chamber music and sight-reading. She has continued to perfect her singing in masterclasses with Gundula Janowitz (Festival of Auverssur-Oise 2011), Ann Murray, Sir Thomas Allen (opera); and Graham Johnson (Lieder and art songs), and is currently taught by Marie-Claude Solanet. She also extended her education through a two-year course with Operastudio Vlaanderen, leading to a qualification equivalent to a Master’s degree. With the Operastudio, Nadlada sang at the Antwerp and Ghent Opera houses, and in concert with the Jeugd en Musik Orkest Vlaanderen, the arias of Blonde, Gilda, Nannetta, Adele and Ann Trulove.
Her lyric soprano voice covers the operatic repertoire from Handel to the modern era. Nadlada has performed on stage in Brussels and Ghent as the Princess in Ravel’s L’Enfant et les Sortilèges in 2008 and Aspasia in Mozart’s Mitridate, Rè di Ponto in 2010, and was warmly congratulated by composer Philippe Boesmans in April 2011 for her interpretation of Kristin in Julie, directed by Sibylle Watson with the Ensemble Contemporain de Bruxelles, conducted by Bart Boeckart. She has maintained her relationship with Bangkok Opera (later Opera Siam), returning to Thailand to sing the rôle of the Queen of Heaven in Somtow Sucharitkun’s opera The Silent Price in 2012 and 2013, in the opera’s first performances outside the US. In August 2014 she will create the rôle of Dainagon no Suke in the same composer’s Dan no Ura, in performances conducted by the composer. Meanwhile in Europe, she has sung the rôles of Mi in Lehar’s Das Land des Lächelns (in French) and Despina in Cosi, in France and Belgium. Nadlada also has extensive experience in the concert and recital repertoires. Since 2004, she has appeared as a soloist in Belgium, France, Luxembourg and Thailand in Bach’s Magnificat, Mozart’s Requiem and Mass in C Minor, Fauré’s Requiem, Gounod’s St. Cecilia Mass, Handel’s Ode to Queen Anne, Sucharitkun’s Requiem for the Mother of Songs, and in Mahler’s Symphony No. 8 in Thailand in 2013. Her affinity for Lieder and art songs has led her to concentrate particularly on Schubert, Wolf and Fauré since a recital with Graham Johnson in Ghent in November 2010, as well as in a performance of “scenic projects” Sehnsucht and Victor Hugo in the same year. Nadlada has been a finalist in the International de Chant Lyrique (Jeunes Talents) (Vivonne, France) and Concours International de Chant des Châteaux en Médoc voice competitions, in 2012 and 2013. She has also been invited to participate this September in the XIV. Montserrat Caballé International Singing Competition in Zaragoza, Spain.
FALKO HÖNISCH Papageno • baritone
MONIQUE KLONGTRUADROKE The Queen of the Night • coloratura soprano
As an repertoire now comprises important roles of his Papageno (operas. His international career has taken him to Austria (Theater an der Wien), Italy (Teatro Giuseppe Verdi, Trieste), The Netherlands (Nationale Reisopera) and France (Opéra de Lyon) under the baton of Niksa Bareza, Vladimir Fedoseyev, Cornelius Meister, Roberto Paternostro, Siegfried Köhler, et. al. Amongst the stage directors with whom he has worked, Michiel Dijkema, Christine Mielitz, Vera Nemirova, Gabriele Rech or La Fura dels Baus stand out. As a Ton Koopman, Frieder Bernius, Ed Spanjaard and Raphaël Pichon in such renowned concert houses as Amsterdam’s Concertgebouw, the Tonhalle in Düsseldorf and the Händel Festival in Halle, amongst others, singing works ranging from Bach’s Passions and Cantatas, Haydn’s Oratorios, through Frank Martin’s contemporary works. As a song cycles by Schubert, Schumann and Brahms, and lesser known works by relatively unknown composers and also by contemporary living composers whose works he has premiered. In all of these three genres Falko Hönisch has established himself as a versatile singer and has been the recipient of numerous awards in international singing competitions including the 58th ARD Competition in Munich, the Lauritz Melchior Competition for Wagnerian Voices in Aalborg, Denmark, the “New Wagnerian Voices” competition in Karlsruhe, the Richard Strauss Competition in Munich and the IVC Competition in ‘s-Hertogenbosch.
Italian/Thai coloratura soprano Monique Klongtruadroke is a top graduate in Opera Singing from the Conservatoire “Benedetto Marcello” in Venezia, Italy. She studied with soprano Rina Malatrasi, tenor Alain Charles Billard and mezzosoprano Jenny Miller. Her extensive performing career has taken her to Italy, USA, Australia, UK, Myanmar and Thailand. Here she also performed as a soloist in the presence of HRH the Crown Prince Maha Vajiralongkorn, of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn and of General Prem Tinsulanonda. With the Bangkok Symphony Orchestra she was soloist in various Royal Command Performances, such as “A Requiem in Memory of H.R.H. Princess Galyani Vadhana” conducted by Hikotaro Yazaki. Monique’s collaboration with Somtow includes the role of La Charmeuse in Massenet’s Thais and the recording of “Pie Jesu” from his “Requiem for the Mother of Songs” featured in the album “PRAKOMPLENG PRALENGTAWAI”. She sang the role of Queen of the Night in Mozart’s Magic Flute by Barefoot Opera/ Longborough Opera Festival, performing in London and other cities in UK. Her other operatic roles include Gasparina in Haydn’s La Canterina (Venezia, Italy), Serafina in Donizetti’s Il Campanello, Lucy in Brecht/Weill’s The Three Penny Opera, Susanna in Mozart’s Così Fan Tutte, Belinda in Purcell’s Dido and Aeneas all by NUNi Productions (Bangkok). Her Australian debut was in “Ten Days on the Island” Festival
19
(Tasmania), in the World Premiere of Thanapoom Sirichang’s The Lunchbox by IHOS Opera. She created the role of The Mother acclaiming enthusiastic reviews from both critics and audience. Also in demand as a concert and Oratorio soloist, Monique sang in Bach’s Magnificat BWV 243 and Vivaldi’s Magnificat RV 611 both conducted by Paolo Faldi, Mozart’s Coronation Mass, Handel’s Samson, Rutter’s Requiem. She performed at various Gala concerts organized by the Apostolic Nunciature, Italian Chamber of Commerce, and Embassies of : Italy, France, Israel. She also has charitable events at heart, aiding with her performances various organizations including “Cancer Research UK”, “Gift of Life Foundation”, “Operation Blessings Thailand” and “Camillian Home”. Together with her two sisters, Debbie K and Karen Klongtruadroke, and with Thailand’s Steinway Artist Nat Yontararak, she launched the charity concert series called “LOVE”, featuring the fusion of classical, jazz and pop music. Monique also has extensive teaching experience. In Thailand she has been lecturer of Classical Voice and Vocal Diction at Silpakorn University and Assumption University, and she taught Voice at Shrewsbury International School. Currently she divides her activity between UK and Thailand. In London she is coach of Italian Diction for various Opera companies, and teaches Voice.
Européenne de Musique, Damian participated in the Peter Brook production of Don Giovanni conducted by Claudio Abbado/Daniel Harding at Festival d’Aix-en-Provence & world tour. Performs regularly with William Christie/Les Arts Florissants, including at Teatro Real Madrid (Monteverdi’s L’Incoronazione di Poppea), Opera Comique Paris (Deborah Warner’s production of Purcell’s Dido & Aeneas). Major roles in Germany in Salieri’s Falstaff, Graun’s Cesare e Cleopatra, Gazzaniga’s Don Giovanni, Paisiello’s Il Barbiere di Siviglia. Recently Musica Speranza (a Mozart pasticcio) at the Salzburg Landestheater, Bartolo in Mozart’s Le Nozze di Figaro in Dublin, Grande Inquisitore in Verdi’s Don Carlo in Spain, and a debut solo CD Bass Instinct with acclaimed Australian pianist Tamara Anna Cislowska and tours of Australia, New Zealand, Germany & Switzerland in mozart & ME, a one-man show based on the life of Lorenzo Da Ponte.
KUAKUL DECHMEE Monostatos • tenor
sity of Music and Performing Arts in 2010 and 2012. In 2010, he sang Webber’s “Phantom of the opera” with Assumtion Thonburi Orchestra, performed in Henry Purcell’s “King Arthur”, performed in Franz Lehar’s “The Merry Widow” as Danilo. In 2011, he participated in MU Choir and got 2nd prize in Thailand University Choir Compettition, performed selections in W.A. Mozart’s “Cosi fan tutte” as Ferrando in Heart is Bigger than Flood Concert. In 2012, he was participated in opera camp and took master class with Ms. Low Siew Tuan at Agalin Resort, Loey. In 2013, he performed in Richard Strauss’s “Die Fledermaus” as Alfred, took master class with Professor Mario Diaz from the University of Mozarteum. in 2014, de performed in “Clown the Musical” and voice directed in “Prateep of Chaopraya the Musical”. Now, he is a teacher at Aum-aree Music School (Dr.Sax), teacher of Sugree Charoensuk’s Foundation, part - time teacher at Mahidol University, Burapa University, freelance singer and songwriter, and a member of “Barista Acappella Group”.
AYANO SCHRAMM-KIMURA The Queen of the Night’s 1st Attendant • soprano (Dec 25-26, 2014)
DAMIAN WHITELEY Sarastro • bass
Australian bass Damian Whiteley studied at University of Sydney, RNCM in Manchester & the young artist programme IOS at Opernhaus Zürich. As a member of l’Académie
20
The Thai singer and composer Kuakul Deachmee took his first voice lesson with Mrs. Hatairatna Laohapanit when he was 16. Then, he studied in bachelor’s degree at College of Music, Mahidol University and took his lesson with Drs. Jan-Ate Stobbe, Raymond Diaz, and Marieangela Chatzistamatiou. Ho also took his minor lesson in music composition with Mr. Valeriy Rizayev. In 2008, performed in Engelbert Humperdinck ’s “Hansel und Gretel” as The Witch. In 2009, performed in W.A.Mozart’s “The impresario” As Mr. Angel. He participated in the Master class and lecture in voice by Prof. Lukasovsky from the Univer-
Ayano Schramm-Kimura is a Japanese soprano opera singer and recitalist, who began her musical studies at the age of four in Tokyo. At the age of 15, she was accepted to study at prestigious Rugby School in the UK, where she excelled in pianoforte and singing, winning prizes such as the Cleaver-Beresford Singing Prize, the Best Pianist Prize and the Best Mu-
sician Prize, and made her first orchestral debut with the Rugby School Orchestra singing famous arias from Madama Butterfly and Tosca upon graduation. She also performed in a number of concerts as a soloist, which include: Mozart Coronation Mass, Mozart Requiem, Britten’s Ceremony of Carols, Faure Requiem Op. 48, and Villa-Lobos Bachianas Brasileiras No. 5. Despite her musical talent, she chose to read law at King’s College London, and pursued her career as management consultant, later on earning the Master’s Degree in European Business at Ecole Supérieure de Commerce de Paris (ESCP Europe). In 2005, she founded her own jewellery business in Berlin with her husband, and they moved to Bangkok in 2008 to further expand their successful business, which has been featured in numerous international media including TIME magazine, Reuters, and Vogue. In Bangkok, she resumed taking private voice lessons with Susheilagh Angpiroj, who recommended her to attend the vocal music camp organized by Tuan Siew-Low in Loei, where she was inspired by a group of young Thai singers. Consequently she competed in the Osaka International Music Competition in 2010 and awarded the 4th Prize in the Virtuoso Category. This is when she decided to pursue vocal studies at Mahidol University with Dr. Colleen Ann Jennings, who was the Chair of the department at that time. She just completed her Master’s degree of Music Performance with the firstclass honours. She made her operatic debut in Dido and Aeneas in 2012 with the NUNi Production Bangkok, singing the title role, which was received with much warmth. She also sung the role of La Marchande de Journaux of Les Mamelles de Tiresius with the NUNi Production, learned the role of Dorabella in the Cosi Fan Tutte in the production at Mahidol University, and sang in large-scale opera productions such as Thais and La Boheme as a chorus member of Opera Siam. In January 2015, she has been invited to Israel to perform Luigi Boccherini’s Stabat Mater with the Netanya Kib-
butz Orchestra under Shalev Ad-El. She has been also coached by Dr. Joseph Rinaldi, Stefan Sanches, Sheilagh Angpiroj, Loh Siew Tuan, Victoria Rapanan, Daniela Gericke, and Elaine Crook. She also attended various Masterclasses organised by the following professors: Professor Pamela Hinchman (Bienen School of Music, Northwestern University, US), Professor Kotoko Saito (Kobe College, Japan), Professor Franz Lukasovsky (Hochschule für Musik und darstellende Kunst Wien, Austria), Professor Mario Diaz (Morzarteum, Salzburg, Austria) and Senior Professor Graham Johnson (Guildhall School of Music and Drama, London, UK).
Center in 2012 and 2013. Moreover, in 2013, she won the bronze certificate from the Fifth Bangkok Opera International Singing Competition. In the same year, she passed the blind audition to be one of the contestants in The Voice Thailand season 2. She is now performing regularly with Opera Siam’s Young Soloist Program. Ashiraya made her opera debut as Giunone in La Calisto with the company.
BARBARA ZION
The Queen of the Night’s 2nd Attendant • soprano (Dec 25-26, 2014)
ASHIRAYA SUPALAKNAREE
The Queen of the Night’s 1st Attendant • soprano (Dec 27, 2014)
Ashiraya Supaluknaree, soprano, is now completing her Master degree of music in vocal performance at the Conservatory of Music, Rangsit University, studying voice with Kittinant Chinsamran. She has been a proud member of the conservatory since she started as an undergraduate vocal jazz student. After taking classical vocal lessons as her minor instrument during her second year, she’s found her new passion in classical singing and decided to switch to classical vocal performance major at the beginning of her third year. She’s then successfully won the Conservatory’s Concerto Competition twice and performed with the Conservatory’s orchestra at Thailand Cultural
ศิโยน ดาวรัตนหงษ์ หนึ่งในนักเรียนผู้รับ ทุนส่งเสริมดนตรีคลาสสิกในพระอุปถัมภ์สมเด็จ พระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรม หลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ผู้ขับร้อง บทเพลง “แสงหนึ่งคือรุ้งงาม” (เวอร์ชั่นนักเรียนทุนฯ) ปัจจุบันเป็นนักศึกษาปริญญาโทปีที่ 1 เอกการ แสดงขับร้องคลาสสิก โดยได้รับทุน Talent Scholarship ที่ มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก(NYU Steinhardt NYU Steinhardt School of Culture, Education, and Human Development. Major in Vocal performance) ประวัติการเริ่มต้นร้องเพลงและผลงานด้าน การขับร้องเพลงศาสนา Mass, Oratorio and Worship Songs ศิโยน เริมต้น การร้องเพลงด้วยการเป็น นักขับประจำ�มิซซาเช้าวันอาทิตย์โบสถ์บ้านเซ เวียร์ คณะเยซูอิต ( Xaver Hall ) และอาสนวิ หารอัสสัมชัญ บางรัก และหลังจากสำ�เร็จศึกษา ที่ คณะดุริยางค์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ศิโยนได้เริ่มเส้นทางการร้องเพลงคลาสสิกอย่าง เต็มรูปแบบ มีผลงานดังนี้: Soprano solo in Schubert Mass in G Major with SU Orchestra, Petite Messe Solennelle by G. Rossini with Siam Philharmonic Orc, Handel’s Messiah 2011 with Bangkok com21
bined choir ศิโยน ยังได้ร่วมร้องเพลง นมัสการร่วมสมัย กับคริสตจักรใจสมาน และค ริสตจักรพันธกิจแม่น้ำ�อีกด้วย อุปรากรฝรั่ง( Opera ) และละครร้องร่วม สมัยในประเทศไทย: รับบทเป็น Goddess Prosepina ในอุปรากรเรื่อง Orfeo by Claudio Monteverdi with TPO, ศิโยน เข้าร่วม แสดงกับBangkok Opera/Siam Opera ในปี 2008 โดยรับบทเป็น Tonina from Prima La Musica e Poi Parola by Antonio Salieri, Musetta from La Boheme, Savitri from Savitri by Gustav Holst , Frasquita from Carmen, Headman’s daughter from Mae Naak, Dubble casts Amba and Absra in The Silent Prince. งานละครไทยร่วมสมัย ศิ โยน ได้มีโอกาส ร่วมงานละครกับ ภัทราวดี เทียร์เตอร์ ในเรื่อง รอรัก รอลิลิต ลิลิตพระลอ กำ�กับการแสดงโดย ครูเล็ก ภัทราวดี โดยรับบท เป็น ไก่แก้ว , ศิโยนยังได้ร่วมงาน และเรียนรู้ การสร้างละครไทยร่วมสมัยกับ มานพ มีจำ�รัส หรือ ครูพี่นาย ศิลปินศิลปาธร โดยรับบทเป็น พระจันทร์ ในละครเรื่อง สุริยุปราคา โรงละคร วิกหัวหิน , รับบทเป็น พระแม่ธรณี ในพุทธะ ราชะเดอะมิวสิคัล และ รับบทเป็น นางไม้, ป้า แก่ และข้าราชบริพาร ในมหาชาติบุรุษ ใน งาน สวดมนต์ข้ามปี สนามหลวง การเดินทางไปแสดงในประเทศต่างๆ ศิ โยน ร่วมเดินทางไปแสดงกับครูเล็กภัทราวดี มี ชูธนและทีมงาน ณ สหรัฐอเมริกาและแคนนา ดา โดยนำ�ละครเรื่อง รอรัก รอลิลิต ลิลิตพระ ลอ ไปแสดง 6 เมืองใหญ่ดังนี้ San Francisco, Houston, Washington D.C. Chicago, New York City, USA and Toronto Canada, : Mae Naak at London, England with Siam Opera แสดงโอเปราเรื่อง แม่นาค โดย อาจารย์ สมเถาสุจริตกุล ร่วมงานกับ สถาบันกัลยาใน Refection of Thais at Bahrain, Lithuania and Denmark : ศิโยน ยังร่วมงานกับ ECHO Echo European Opera โดยติดตาม Mr.Stenfan Paul Sanchez ครูของเธอ ไปแสดงทั้งใน และต่างประเทศเช่น ปากีสถาน,เกาหลีใต้:The Magic Flute 2014เป็นงานแรกหลังจากเธอได้ ไปเรียน ที่นครนิวยอร์กเป็นเวลา1 ภาคเรียน
22
PATTANAN ART-ONG
lalongkorn University. Art-ong made her Opera Siam debut as Il Destino in La Calisto.
(Dec 27, 2014)
POTPRECHA JAK CHOLVIJARN
The Queen of the Night’s 2nd Attendant • soprano
The Queen of the Night’s 3rd Attendant • countertenor (Dec 25-26, 2014)
Pattanan Art-ong, Soprano, received her bachelor’s degree in music performance from Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University. She studied with Assoc. Prof. Duangjai Amatayakul and Susheilagh Angpiroj. She is now completing her master’s degree in voice performance at Conservatory of Music, Rangsit University, studying voice with Kittinant Chinsamran. From 2007-2009, she joined the Thai Youth Choir under direction of Dr. Pawasut Piriyapongrat. With Chulalongkorn University Concert Choir, she was selected to be a soloist in Stravinsky’s Mass in 2010, Handel’s Messiah in 2011, Mozart’s Mass in c minor in 2012 and Bach’s Magnificat in D major in 2013. Art-ong participated in Agalin Music Camp in 2011 and 2012, conducted by a renowned voice teacher Loh Siew-Tuan. At the final concert of the masterclass, She performed a numerous of opera’s scenes under direction of an internationally wellknown opera director, Ronney Lauwers. In 2012, Art-ong received a scholarship from the office of Higher Education Commission for the 22nd International Summer Academy (ISA) 2012 in Austria, hosted by University for Music and Performing Arts, Vienna where she studied with Thomas Moser. Recently, she performed the role of Eponine in Les Miserable (concert version) with Silpagum Symphony Orchestra under the guidance of Faculty of Fine and Applied Arts, Chu-
Jak sang in Nicholson Choir at Cheam School, Winchester College Chapel Choir, and Bristol Cathedral Choir as a choral scholar. He attended Eton College Choral Course, masterclasses by Michael Chance, and took lessons with Charles Brett, Patrick Van Goethem and Jim Tae-chin. Based in Bangkok, Thailand, Potprecha has performed for Bangkok Opera, Siam Philharmonic, and Siam Sinfonietta on many occasions, notably, in Mozart’s Requiem, Handel’s Dixit Dominus, as Myrtale in Massenet’s Thaïs, as Shepherd Boy in Puccini’s Tosca, in Rossini’s Petite Messe Sollenelle, Haydn’s Harmoniemesse, Mahler’s Symphony No. 3 and as Endimione in Cavalli’s La Calisto (workshop production). Achan Somtow Sucharitkul created three roles for him in his operas: Prince Temiya in the Silent Prince, Lord Atsumori in Dan No Ura, and European Singer in Suriyothai (Ballet-Opera). With Grand Opera (Thailand), he sang in concerts and events organized by British, Swiss, Austrian and Spanish embassies in Bangkok, for example, Queen Elizabeth II’s Diamond Jubilee celebration in Bangkok, Austrian National Day Celebrations in Bangkok, Spanish Songs and Zarzuela Concert, Swiss Art Songs Concert, and Mozart, Schubert and Strauss Concert; and in concerts to celebrate Her Majesty Queen Sirikit’s birthdays at the Royal Cliff Hotel, Pattaya. He
also sang in Handel’s Messiah with Bangkok International Community Orchestra and in fund raising events for many charitable foundations including English-Speaking Union, NightLight International, Kritanusorn Foundation and Foundation for the Blind. He is currently taught by Stefan Sanchez and Deborah York.
DAG SCHANTZ
Speaker of the Temple • tenor
KARRELL GALLENERO
The Queen of the Night’s 3rd Attendant • mezzo-soprano (Dec 27, 2014)
Karrell Gallenero is a mezzo-soprano from the Philippines, although she spent most of her life in Bangkok. She started singing in the church at a young age but it wasn’t until high school where she started to study vocal music seriously. She received her vocal performance degree in sacred music form Moody Bible Institute of Chicago. While in Chicago, she was a part of the Women’s Concert Choir, was a soloist for the Moody Oratorio Chorus and other various concert performances. After returning to Bangkok, she joined singing groups like the Bangkok Music Society choir and Opera Siam. Recent performances include singing in the chorus in Die Fliegende Hollander and Dan No Ura, in La Calisto as Natura, and as the Countess from Le Nozze di Figaro in Adventures in Opera (selected scenes). Karrell is currently in the process of completing her master’s degree in performance and pedagogy from Mahidol University.
Dag Schantz, basebaritone, was born in Stockholm. Where he began his study at Opera School from 19841991.He has been studying with Nicolai Geddar Ingvar Wixell, Birgit Nilsson, and Ferruccio Tagliavini. Dag, he has been specialized in Italian Opera, mainly Verdi, Puccini, and Donizetti. But Mozart has a big place in his heart for amount of more than 700 performances. Dag is mostly performing in Italy and Sweden.
CHAIPORN PHUANGMALEE
1st Priest/ 1st Armoured men • tenor
masingki and entering the Pre-College program at Mahidol University’s College of Music. He continues his studies on scholarship at Mahidol University as an undergraduate in Voice Performance where he studied with Colleen Jennings and Joseph Rinaldi. He is currently a student of Nicholas Provenzale. He has participated in master classes with Franz Lukasovsky, IsvanBonyhadi and Mario Antonio Diaz. Performances with the College of Music include roles in Opera and Music Theatre productions such as West Side Story, Die Fledermaus, South Pacific, and The Land of Smiles. Other notable performances include singing chorus for Fillipa Giordano, and singing at the International Dance Festival Thailand at the Thailand Cultural Centre. In 2012 and 2013, Mr. Phuangmalee was a member of the chorus for the opening concert and opera of La Fêtte, sponsored by the French Embassy in Thailand. He was recently awarded the Bronze Prize in the Junior Division of the 5th Bangkok Opera Singing Competition in 2013. Recently, he was one of the soloists performed in the soft opening and the grand opening of Prince Mahidol hall with Thailand philharmonic orchestra (TPO). He is a member of Grand Opera Thailand with Stefan Sanchez, he performs regularly in Bangkok and throughout the nation.
YOTSAWAN MEETHONGKUM 2nd Priest • baritone
ChaipornPhuangmalee, tenor, has excelled in music from an early age. Beginning as a pianist, he was an active performer in his youth, and received an award for his performance of songs by His Majesty King BhumibolAdulyadej. Mr. Phuangmalee began singing in the pop style before training classically with Pitchaya Ke-
A young baritone, Yotsawan Meethongkum started his musical training at the age of six. He started his first piano lesson with
23
Watcharavadee Warasittichai and later with Dr. Tretip Kamolsiri. He started singing in the choir of Bangkok Christian College under Sathit Sukchongchaipruk. He sings with Chulalongkorn University Concert Choir, a gold medal award winner from Venezia in Musica competition 2014 in Italy, in many concerts under the baton of Dr. Pawasut Piriyapongrat. Yotsawan has sung with Siam Orpheus Choir in Mahler’s Symphony of a Thousand and Wagner’s the Flying Dutchman. He recently took on the role of Sylvano in La Calisto, and Lord Michinobu in Dan no Ura. Yotsawan has been awarded a full scholarship to study Vocal performance at the Conservatory of Music, Rangsit University where he studies voice with bass-baritone, Kittinant Chinsamran.
Sebastian Vittucci. Krittathad started performing with Siam Opera as a Giove in Cavalli’s La Calisto, Lord Kagekiyo in Somtow’s Dan no Ura. Now he is completing his master’s degree in music performance (Vocal) at the Conservatory of Music, Rangsit University. Krittathad studies voice with Kittinant Chinsamran.
Papagena • soprano (Dec 25-26, 2014)
2nd Armoured men • baritone
24
Papagena • soprano (Dec 27, 2014)
AREEYA ROTJANADIT
KRITTATHAD PISUTTIWONG
Krittathad Pisuttiwong, baritone, graduated from Faculty of Music, Silpakorn University where he studied with Dr. Kazuo Inoue and Dr. Funakochi Motoko. In 2008 He joined a music camp in Japan and studied with a conductor from Teatro Alla Scala, Maestro Dante Mazzola and Kayoko Tada. In the same year he was invited to be a guest singer in Trinity Guildhall-rockschool Awards Thailand and also performed NUNi Productions of Mozart in Mischief. He went to Vienna in 2011 to study German and Singing with Prof. Mag.
JC MANAR KAEWTAE
Areeya Rotjanadit (Lookpla) has started her singing lessons when she was in the 7th grade and continued to pursue her dream of being a professional singer at the college of dramatic Arts. During the six years of voice training, she competed in many singing contests, including the “Thailand’s got talent Season 1” and the “23rd KPN Award” where she was among the finalists. Areeya is now 19 years old and has already made herself known in the world of classical music and opera. She is a member of Siam Sinfonietta and had a role in a number of operas and recently, she has joined to Siam Sinfonietta V-tour in Europe and Abu Dhabi with “Měsičku” (Dvořak) song and Bhumibol Adulyadej song “Saifon” conducted by Somtow Sucharitkul and Trisdee na Patalung. She also continues to compete in the singing contests and received an award from the Bangkok opera ASEAN International singing competition 2014.
Being born in Chinese opera family. JCmanar has been inspired and fallen for opera and musical. Awarded first runner up 0f 2008 Thailand Five Zones Singing Competition for international song category, she was given a scholaship of An advanced voice study at Vatinee Music school. An ensemble who was chosen to sing Usa National Anthem as an opening piece of Raktersamer The musical 2011, played One of the Hiso Gangster in Reya the musical. She also loves cooking.When she doesn’t sing, she cooks but while she’s cooking, she sings! Her voice is not less grace than her beauty. Nothing could stop her from reaching for the star and one day the world will remember her name. She was contestant of TV singing show “Keep Your Light Shining Thailand.”
RIT PARNICHKUN
ANDREW DORAN
THANASITA FU
Rit Parnichkun is a 9 years old Thai-Japanese boy. His first appearance into opera was with Opera Siam, he played a role as Daeng (Mae Naak’s son) in the opera Mae Naak atBloomsburry theatre in London (2011). Then he performed twice as Little Prince Temiya in The Silent Prince both held at Thailand Cultural Center. He then joined as the chorus member of Otello, Suriyothai Ballet-Opera, and The Flying Dutchman in 2013. In August this year, Rit played the role of little emperor Antoku in Opera Siam’s premired opera Dannoura. In September Rit also joined a children choir of La Boheme performed by Italian Lirico Opera. Rit is having voice lessons with Stefan Sanchez. Rit is currently studying at AIT International School, Pathumthani.
Andrew Doran is playing the role of the second boy. He has sung in three of Khun Somtow’s opera’s previously. He is thirteen years of age and currently lives in Bangkok, Thailand. He started singing approximately six years ago and has loved it ever since. This is his first solo role and he is very grateful to have one. Outside of opera he plays the oboe and enjoys watching movies. His dream is to one day become a voice over artist for animated movies. He enjoys traveling and currently has travelled to over forty countries, he also dreams to go to every country on the planet one day. He is also very much looking forward to performing for you and he hopes that you enjoy it.
Thanasita was born in Bangkok, Thailand in 1996. She started to study piano at the very young age of 4 at Yamaha Music Academy and began to study classical voice at the age of 7 with Ms. Nadlada Thamtanakom. She was awarded the Merit Scholarship at College of Music, Mahidol University and Silver Prize in the 15th Settrade Youth Music Competition. Recently, she is studying pre-college program at College of Music, Mahidol University in piano major under the tutelage of Assist. Prof. Dr. Eri Nakagawa and classical voice as minor instrument with Mrs. Tsui-Ping Wei. Furthermore, she is a member of Dr. Sax vocal ensemble under the tutelage of Ms. Zion Daoratanahong.
1st Child Spirit • treble
2nd Child Spirit • alto
3rd Child Spirit • mezzo-soprano
CHILD GUEST STARS • ดารารับเชิญรุ่นเล็ก SPECIAL THANKS TO ALL PARENTS • ขอขอบคุณผู้ปกครองทุกท่าน ด.ญ. อัยยา ชโยธิน
ด.ญ. ปรียนันท์ อติการบดี
ด.ญ. รมณ รัตติธรรม
Aiya Chayothin
Preeyanun Atikarnbodee
ด.ญ. เพียงใจ คณานุรักษ์
ด.ญ. เฌอรีย์ วงศ์พิศ
ด.ญ. ลิลลี่ อุดมคุณธรรม คูมส์
ด.ญ. เจียระไน ทองไพฑูรย์
ด.ญ. บุณยอร ศรีสุภรวาณิชย์ Bunyaon Srisuponvanit
ด.ช. สมิทธิ ม่วงศิริ
ด.ญ. กรชนก ม่วงศิริ
ด.ญ. นรมน รัตติธรรม
ด.ช. รพิ สุจริตกุล
Phiangjai Kananurak
Ramon Ruchtidhum
Sherry Vongphit
Jellanai Tongpaitoon
Kornchanok. Muangsiri
Lily Udomkunnatum Coombs
Smitthi Muangsiri
Noramon Ruchtidhum
ด.ญ ศรุตา ราศีวิสุทธิ์ Saruta Rasrivisuth
Raphi Sucharitkul
ด.ญ. อารีนุช ศรีสุภรวาณิชย์ Areenuch Srisuponvanit
25
THE CHORUS
SIAM ORPHEUS CHOIR
คณะนักร้องประสานเสียงสยามออเฟียส
The Siam Orpheus Choir was founded in 2001 and has at times, over the years, been Bangkok’s premier choral group, performing as the Bangkok Opera’s resident chorus in challenging new works and classics like Turandot and Aida. It has also been a pioneering ensemble in concert music, performing the Southeast Asian premieres of works like Tippet’s A Child of Our Time as well as the great classics such as Mozart’s C Minor Mass and the Brahms Requiem. In the last few years, in addition to performing in operas and musicals and giving a large variety of concerts, the choir has also hosted several major events and festivals involving hundreds of members of choruses from many countries. In 2012, they helped premiere Somtow’s Requiem for the Mother of Songs, the largest classical concert ever held in Thailand, which was seen by thousands of people both live and through webcast. In 2013, the large work they performed was Mahler’s Symphony of a Thousand, and in 2014 it will be the Britten War Requiem. The Orpheus Choir has a number of spinoff ensembles such as the Orpheus Chamber Choir, Musica Ficta early music group, and other groups.
26
คณะนักร้องประสานเสียงสยามออร์เฟียส รวมถึงออร์เฟียส แชมเบอร์และนักร้องประสานเสียงเด็กออร์ฟินี่ จัดตั้งขึ้นเพื่อใช้ ในการแสดงโอเปร่าและแสดงคอนเสิร์ตต่างๆ ที่ต้องใช้นักร้อง ประสานเสียงร่วมด้วย คณะนักร้องประสานเสียงสยามออเฟียส Siam Orpheus Choir หรือชื่อเดิม “Orpheus Choir of Bangkok” ก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๕ โดยเป็นการรวมตัวระหว่างนักร้องอาชีพ นักเรียน นักศึกษา เอกขับร้องสากล และบุคคลทั่วไปซึ่งมีความ สนใจและมีความสามารถในการขับร้องประสานเสียง เพื่อขับ ร้องในรอบปฐมทัศน์โลกของ Requiem - In Memorium 9/11 ซึ่งสมเถา สุจริตกุล ได้รับการว่าจ้างจากรัฐบาลไทย ให้ประพันธ์ ขึ้นเพื่อรำ�ลึกถึงผู้สูญเสียในเหตุวินาศกรรม 9 ก.ย. (9/11 Tragedy) ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา คณะนักร้องประสานเสียงสยามออเฟีย สก็ได้กลายมาเป็นคณะนักร้องประาสนเสียงประจำ�ของโอเปร่า สยาม และได้ร่วมขับร้องในโอเปร่าซึ่งจัดขึ้นโดยบางกอกโอเปร่า และโอเปร่าสยามทุกเรื่อง รวมถึงผลงานเพลงสำ�หรับวงขับร้อง ประสานเสียงและวงดุริยางค์ชิ้นสำ�คัญอย่างต่อเนื่อง อาทิ Mass in C minor ของโมสาร์ท Dixit Dominus ของแฮนเดล การ แสดงโอเปร่ากาล่า “มหาชนกซิมโฟนี” ณ ลานน้าพุห้างสรรพ สินค้าเซ็นทรัลเวิร์ล ขับร้องในคีตาลัยถวายแด่พระแม่แห่งดนตรี บทเพลงซิมโฟนีหมายเลขแปด Symphony of a Thousand ของกุสตาฟ มาห์เลอร์ เป็นต้น และในปี พ.ศ. 2558 จะมีผล งานขับร้อง Britten’s War Requiem ร่วมกับวงดุริยางค์สยาม ฟีลฮาร์โมนิคในเทศกาลขับร้องประสานเสียงนานาชาติแห่ง ประเทศไทยอีกด้วย
CHORUS MASTER
TANAYUT JANSIRIVORKUL ธนายุส จันทรสิริวรกุล • ฝึกซ้อมนักร้องประสานเสียง
Thai violinist Tanayut has worked extensively in music since he was at the age of 7. On the strength of his violin performance, Tanayut was awarded a full scholarship by Harrow International School. At the age of 16, he made his debut as a soloist with Irvine Symphony Orchestra in California playing Mozart’s Third Violin Concerto. Previous teachers include Omporn Kowintha and Siripong Tiptan, concert master of the Bangkok Symphony Orchestra. In 2009, he won the second prize from Australia & New Zealand Culture Arts Violin Competition and first prize The First Trinity Guildhall
National Youth Violin Competition. That year, he was discovered by Somtow Sucharitkul, who had later become his important teacher and mentor. Tanayut continues to lead an active career as a recitalist, orchestral musician and soloist. He has performed regularly with the Siam Philharmonic Orchestra since 2010, and has performed with Thailand National Symphony Orchestra, Saigon Philharmonic Orchestra and Hong Kong Chamber Orchestra. He held a position of a section leader in Thailand’s prize winning youth orchestra, The Siam Sinfonietta for three years. In 2012, Tanayut premiered a solo violin piece “Deserted City”, which was specially written for him by Maestro Somtow, in honor of Her Majesty the Queen of Thailand. Tanayut has worked musically with several prestigious professors including Michael Ma, David Goode, Martin Zalodek, Edward Pople, Vilmos Olah, Mar-
tin Cocsis, Min Yang, and Midori Goto. Festival appearances include Summa Cum Laude (Vienna), Los Angeles International Music Festival (California) where he performed as a soloist at The Waltz Disney Concert Hall and Young Euro Classic 2013 (Berlin), where he also performed as a soloist with the Siam Sinfonietta at Konzerthaus Berlin. Tanayut also has a wide range of interest other than music including drama and theatre. In 2012, he won a role “CK as a child” in Thailand’s highly popular musical, Reya The Musical. In the past 5 years, he’s been involved in many Opera Siam productions including Tosca, Bluebeard’s Castle, Otello, and The Silent Prince performing as a chorus member. In December 2013, he was the chorus master for Opera Siam’s production of Wagner’s Der Fliegende Holländer (The Flying Dutchman) which got rave reviews from Auditorium Magazine, London.
CHORUS • นักร้องประสานเสียง ธาลาซา ตาเปีย-รัวโน เฟรันด์
Thalassa Tapia-Ruano Ferrand Soprano
ฟ้าใส จุนเจือศุภฤกษ์
จิรโรจน์ แก้วใจหล้า
Fasai Chunchuasuparerk Soprano
Jiraros Kewjaila Tenor
เอม พานิชกุล
ชานทาล โกปินาธ
เคิร์ท เอเยอร์ส ที่ 3
Madelaine Babia Alto
ธัญญรัศม์ สรวยสุวรรณ
Curt Ayers III Bass
รมย์ พานิชกุล
Vichayuit Arunpreamsuk Tenor
ชลภัทร เศรษฐสิทธิกุล
Chonlaphat Sestasittikul Soprano
Brady Macosko Bass
Voltaire Oblimar Tenor
วิชยุตม์ อรุณเพิ่มสุข
Anika Thawarojana Soprano
ปรีดี มากสุโข
วอลแตร์ ออบลิมาร์
Thanyarat Suaysuwan Soprano
อนิกา ถาวโรจน์
Chayut Makarasut Bass
Dorothy de Leon Soprano
แมเดอลีน บาเบีย
Chantal Gopinath Soprano
ชยุต มกรสุต
โดโรธี เดอ ลียง
Emm Parnichkun Soprano
Rom Panichkul Bass
คริสเตียน แฮม
Christian Ham Tenor
นิค บูธ
Nick Booth Bass
27
28
THE ORCHESTRA
SIAM PHILHARMONIC ORCHESTRA
วงดุริยางค์สยามฟิลฮาร์โมนิค
The Siam Philharmonic Orchestra was founded in 2002 by Somtow Sucharitkul. Originally named the MIFA Sinfonietta, the orchestra originally was intended to fulfill a need for a small symphony orchestra in Bangkok that concentrated on the core classical repertoire and brought more historically informed performance techniques to the region. In 2003, the orchestra became the resident orchestra of the Bangkok Opera. Since that time its repertoire and standing have grown tremendously. In 2005, recognizing that with its Mahler and Wagner premieres it could no longer be called a “sinfonietta”, and at the suggestion of HRH Princess Galyani Vadhana, the Bangkok Opera’s board changed the orchestra’s name to the Siam Philharmonic Orchestra. The Siam Philharmonic has a special mission to young people and from the beginning instituted a highly successful apprentice program, in which exceptionally talented students were recruited to play alongside topprofessionals. Graduate of this programme have gone on to become some of Thailand’s most well-known instrumentalists. In 2010, the orchestra sponsored the creation of a new youth orchestra in order to widen the pool of young talent. The Siam Philharmonic is currently the most experienced opera orchestra in Southeast Asia, with a wide repertoire that includes contemporary operas as well as established classics by Mozart, Verdi, Puccini, Massenet, Britten, and Wagner. In 2009 it inaugurated a complete Mahler cycle which will be completed by the year 2014. Opera magazine’s critic Jonathan Richmond has said of this orchestra: “The playing was clean, taut, and full of detail. Strings were sharply disciplined to evoke a thousand feelings, while sensitive to exploring the depths of those emotions, once exposed. And the winds: just a single flute could enslave the whole Thailand Cultural Centre to the belief that Verdi’s extraordinary fiction was in fact true to life. This was music of a greatness surely more splendid than anything Bangkok has ever heard before. Bravo!”
สยามฟลฮารโมนิคออเคสตรากอตั้งโดย สมเถา สุจริตกุล เมื่อป พ.ศ. 2543 ภายใตชื่อ “มีฟา ซินโฟนิเอตตา” (MIFA Sinfonietta) เพื่อสนองความตองการของกรุงเทพฯ ในการ มีซิมโฟนีออเคสตราขนาดเล็กที่เนนหนักในการบรรเลงดนตรี คลาสสิคประเภท repertoire รวมทั้งฝกฝนนักดนตรีในภาคพื้น ใหพัฒนาเทคนิคการบรรเลง มีฟาซินโฟนิเอตตาถูกจัดใหเปนว งดุริยางคในสังกัดคณะมหาอุปรากรบางกอกโอเปราตั้งแตป พ.ศ. 2544 ตอมาผลงานขอวงมีฟาซินโฟนิเอตตาไดเจริญเติบโตและกาว ไกลยิ่งขึ้น การบรรเลงคีตนิพนธของปรมาจารยคีตกวีมาหเลอ รและวากเนอร เมื่อป พ.ศ. 2548 ทําใหไมเหมาะที่เรียกวงดุริ ยางคนี้วา “ซินโฟนิเอตตา” หรือวงดุริยางคนอยอีกตอไป จึง ไดเปลี่ยนชื่อวงจากเดิมเปน “วงดุริยางคสยามฟลฮารโมนิค” (Siam Philharmonic Orchestra) ซึ่งเปนชื่อที่สมเด็จพระเจา พี่นางเธอเจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทาน ภารกิ จ หลั ก ของวงดุ ริ ย างค ส ยามฟ ล ฮาร โ มนิ ค คื อ การ สนับสนุนเยาวชนผูพื้นฐานชั้นตนจนถึงผูประสบความสําเร็จใน ระดับสูง ทั้งนี้ดวยการเสาะหาเยาวชนผูมีพรสวรรคมาฝกสอน และเปดโอกาสใหแสดงฝมือเคียงบาเคียงไหลนักดนตรีอาชีพ ผูมีความสามารถในฐานะสมาชิกเต็มขั้นของวงดุริยางคโดยไมมี การจํากัดอายุ เยาวชนผูผานโครงการนี้จะไดกาวไปสูระดับแนว หนาของศิลปนไทยผูมีชื่อเสียงเดนดัง โดยในป 2553 วงสยาม ฟลฮารโมนิคไดสนับสนุนการกอตั้งวงดุริยางคเยาวชนสยามซิน โฟนิเอตตาเพื่อรวมรวบเหลานักดนตรีทั้มีพรสวรรคเพื่อเตรียม ตัวเปนนักดนตรีอาชีพที่ดีในอนาคต ปจจุบัน สยามฟลฮารโมนิคเปนวงดุริยางคที่มีประสบการณ การบรรเลงเพลงโอเปราสูงสุดแหงภาคพื้นเอเชียอาคเนย จาก ผลงานที่ ห ลากหลายทั้ ง บทเพลงร ว มสมั ย และคี ต นิ พ นธจาก คีตกวีระดับปรมาจารย อาทิ โมสารท แวรดี ปุชชินี มาเซเนต บริเตนและวากเนอร เปนตน และในป 2552 เปนตนมา วงดุริ ยางคสยามฟลฮารโมนิคไดเริ่มนําเสนอ “วงจรมาหเลอร” โดย กําหนดนําเสนอบทเพลงซิมโฟนีของมาหเลอร จนครบทุกบท ภายในป พ.ศ. 2558
29
MUSICIANS • นักดนตรี CONCERTMASTER
CHOT BUASUWAN โชติ บัวสุวรรณ • หัวหน้าวง
Chot has started playing violin at the age of 7 with Nora-ath Chanklum. He went to Vajiravudh College and while he studying at Vajiravudh College, HRH Crown Prince Maha Vajiralongkorn and HRH Princess Srirasmi bestowed him the “Musical Talent Award”. Later he went to study in New Zealand under the international exchange program between Vajiravudh College and Newzealand. Whilst there, he became a member of Manwatu Youth Orchestra and Manwatu Sinfonia. Before he went to study in New Zealand, he had a chance to study with many well-known Thai violinist such as Dr. Pratak Prateepasen, Tasana Nagavajara and Siripong Tiptan. He is Currently studying for bachelor’s degree in western music at Chulalongkorn University and has been joined with Siam Sinfonietta, Siam Philharmonic Orchestra, Chulalongkorn University Symphony Orchestra, CU String Orchestra and Thai Youth Orchestra.
โชติ บัวสุวรรณ
อุษา โชติแช่มช้อย
พิมพ์จุฑา พงศ์อุดมกิจ
ธนาภรณ์ เสถียรวารี
วสวัตต์ ศุภฤกษ์พาณิชย์
เกวลี พุกป้อม
กรชนก ตรีวิทยานุรักษ์
สิริธันว์ ทิพย์นพคุณ
เสฏฐวุฒิ สำ�ราญพันธ์
พัชรพล เตชะธนะชัย
กุลิสรา แสงจันทร์
พัชรพันธ์ สมบุญตนนท์
Chot Buasuwan Concertmaster Violin I
Thanaporn Sathienwaree Violin I
Kornchanok Treevittayanurak Violin I
Pacharapol Techatanachai Violin I
30
โชติได้เริ่มเรียนไวโอลินตั้งแต่อายุ 7 ปี กับ ผศ. นรอรรถ จันทร์กล่ำ� ต่อมาโชติได้เข้าศึกษา ที่โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย และได้รับรางวัลผู้ มี ค วามสามารถทางดนตรี จ ากสมเด็ จ พระบรม โอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร และพระเจ้าวร วงศ์เธอพระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ (พระ ยศในขณะนั้น) ในเวลาต่อมาโชติได้รับเลือกเป็น นักเรียนแลกเปลี่ยนเพื่อศึกษาต่อ ณ เมือง Palmerston North ประเทศนิวซีแลนด์ และได้เข้า ร่วมวง Manawatu Youth Orchestra และ Manawatu Sinfonia Orchestra ในระหว่าง ศึกษาที่นั่นด้วย ก่อนไปศึกษาที่ประเทศนิวซีแลนด์ โชติได้มี โอกาสเรียนไวโอลินกับ อาจารย์ประทักษ์ ประที ปะเสน อาจารย์ทัศนา นาควัชระ และภายหลังกับ อาจารย์ศิริพงษ์ ทิพย์ธัญ ปัจจุบัน โชติกำ�ลังศึกษาในระดับปริญญาตรีใน สาขาวิชาเอกไวโอลินกับ ผศ. นรอรรถ จันทร์กล่ำ� ที่ภาควิชาดุริยางคศิลป์ตะวันตก คณะศิลปกรรม ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสมาชิก ของวงออเคสตราแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หั ว หน้ า วงดุ ริ ย างค์ ส ยามฟิ ล ฮาร์ โ มนิ ค และวง ดุริยางค์เยาวชนสยามซินโฟนิเอตตา
U-sa Chotechamchoi Violin I
Wasavat Suparlerkpanich Violin I
Sirithan Thipnoppakhun Violin I
Kulisara Sangchan Principal Violin II
Pimjootha Pongudomkit Violin II
Kaewalee Pukpom Violin II
Setthawut Samranpan Violin II
Patcharapan Sombuntanont Violin II
ปุณยาพร เพรียวพาณิชย์
ชัยมงคล วิริยะสัจจาภรณ์
ธนาคาร ธีรสุนทรวัฒน์
พงศธร สุรภาพ
สุปรีติ อังศวานนท์
พรนภัส ปิ่นโฉมฉาย
ฤธวัฐร์ สินธุเทพรัตน์
ปานฝัน ปัญญาปรุ
วิจันทรา กำ�ไร
สโรช กันประเสริฐ
วรรณฉัตร ศรีปาน
ฐปนัท เกียรติไพบูลย์กิจ
ฐานิดา เอี่ยมศิริกุลมิตร
ธีรพล เกียรติทวีพงษ์
สุนทรเทพ อ่อนศิลา
เศรษฐพงศ์ จรรยารยชน
กัญญารัตน์ อู่ไพบูรณ์
มงคล รอดทอง
สมชาย ทองบุญ
สรพจน์ วรแสง
วิชญ์วิน สุรีย์รัตนากร
ณิชาภัทร ศิริพจนากุล
สุภาวดี กาหลง
สมัชชา พ่อค้าเรือ
ยศ วณีสอน
ธนิสรณ์ พึ่งไชย
นิชาภา นิลแก้ว
สุภัค วิทยานุกูลลักษณ์
ไดสึเกะ อิวาบูชิ
นิธิศ บรรเจิดถาวร
คชภัค บุญวิภารัตน์
กันต์ ล้อมสมบูรณ์
Poonyaporn Preawpanich Violin II
อัจยุติ สังข์เกษม
Atjayut Sangkasem Principal Viola
Pornnaphas Pinchomchay Viola
Vichantra Kamrai Viola
Tapanatt Kiatpaibulkit Viola
Suntorntep Onsila Viola
Mongkol Rodthong Viola
Wishwin Sureeratanakorn Principal Cello
Samatchar Pourkharua Cello
Nichapa Nilkaew Cello
Nithid Badjerdthaworn Cello
Chaimongkol Wiriyasatjaporn Cello
Pongsathorn Surapab Principal Double bass
Rutawat Sintutepparat Double bass
Sarote Kanprasert 1st Flute
Thanida Iamsirikulmitr 2nd Flute
Sethapong Janyarayachon Offstage Flute
Somchai Thongboon 1st Oboe
Nichapat Siripojanakul 2nd Oboe
Yos Vaneesorn 1st Clarinet
Supak Wittayanukulluk 2nd Clarinet
Kotchapak Boonviparut 1st Bassoon
Tanakan Theerasuntornvat 2nd Bassoon
Supreeti Ansvananda 1st Horn
Panfan Panyaparu 2nd Horn
Wannachat Sripan 1st Trumpet
Teerapol Kiatthaveephong 1st Trumpet
Kanyarat Aupaiboon 2nd Trumpet
Sorapot Worasang Alto Trombone
Suphawadee Kalhong Tenor Trombone
Thanisorn Puengchai Bass Trombone
Daisuke Iwabushi Timpani
Kant Lormsomboon Celesta
31
CHOREOGRAPHER • ออกแบบท่าระบำ� Puwarate wongatichart ภูวเรศ วงศ์อติชาติ
Puwarate graduated from Bangkok University with a bachelor’s degree majoring in advertising management. While studying in university, he had been assigned to be choreographer for Lakornnitade (Faculty of Communication Arts’ Drama) Bangkok University for several plays such as ‘Lakornnitade Bangkok University XVI The Five Volunteer’, ‘Lakornnitade Bangkok University XVIII – รัตติกาลครั้งหนึ่ง’, ‘Lakornnitade Bangkok University XX – ผมคิดถึงแม่ แบบมหัศจรรย์’. Then, he got many wonderful chances to design fantastic shows for big events of many companies such as Singha Corporation, Otop, etc.. Besides, it’s an his honors to have the opportunities to work for Somtow Sucharitkul’s operas as a choreographer which are the ‘Otello’ and the ‘Mae Naak’ in 2003, and in 2011 he had the chance to go to London for UK premiere of Mae Naak. Moreover, he did choreograph for the ‘Reya The Muscal’. In May 2013, he worked for Somtow’s the Silent Prince opera. Now, he have his own team named “Couture Dance” which aims to do the performing arts., that recently one of the contestants of Thailand’s got talent season 3, under the name of “New blood”. My latest work is to be the choreographer for ballet-opera ‘Suriyothai’ which once again directed by Somtow Sucharitkul.
Siripong Soontornsanor สิริพงษ์ สุนทรเสนาะ
สิริพงษ์ สุนทรเสนาะ (ดุ่ย) เกิด 25 พฤศจิกายน 2525 จบการศึกษาจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขา วิชาการละคร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เคย สอนเต้นที่โรงเรียนมีฟ้า ในปี พ.ศ. 2550-2552 โดย มีผลการแสดงต่างๆ อาทิ พิธีเปิดและปิด SEA game ครั้งที่ 24 ที่จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย ร่วมแสดง ละครเวที “เรยา เดอะมิวสิคัล” A Tout Jamais Musical Majesty of the king 2011 ณ ประเทศฝรั่งเศส และ เข้ารอบการประกวด Thailand’s gat talent#3 ในชื่อกลุ่ม “New Blood Team” ในปี พ.ศ. 2556 สิริพงษ์ได้ร่วมงานกับโอเปร่าสยาม ในฐานะนัก เต้นมาแล้วหลายครั้ง อาทิโอเปร่าเรื่อง “แม่นาค” ณ ประเทศอังกฤษ โอเปร่า “เดอะ ฟลายอิ้ง ดัทช์แมน” “คาร์เมน” และบัลเล่ต์โอเปร่า “สุริโยทัย” ปัจจุบัน สิริพงษ์เป็นนักออกแบบท่าเต้นและร่วม แสดง ในงานต่างๆของคณะ Couture Dance
DANCERS • นักระบำ� นิมิตร อยู่เจริญ
วีราภัท วันธานี
ภัคพล บุศย์ประยูร
พศิน กองจินดา
วิชุดา จีนเหรียญ
สุภาภรณ์ วิศิษฎิศิลป์
Nimitr Yoocharoen
Pasin Kongjinda
จิตรลดา พงษ์พุ่ม
Jitlada Pongpum
32
Veelapat Wantanee
Wichuda Jeenrian
Pakkaphol Budprayoon
Supaporn Wisitsin
COSTUME DESIGNER
NATTHAWAN SANTIPHAP ณัฐวรรณ สันติภาพ • ออกแบบเครื่องแต่งกายนักแสดง
in associated with Dutsadee Kannikar and Pongsakhon Chuanboon Costume Team : Suphaphit Kannika Natnareekan Pongprasatsuk Jittraporn Sucktanom Pattaratida Kosalanon Sittichok Saykham Warakorn Wutthinanchai Adisorn Peepan Apinya Phungcher
This costume team is formed in Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University where Natthawan and Dutsadee hold the bachelor’s degree in Fashion, Garment, Costume and Textile design while Pongsakhon graduated from Drama major. At the present, Natthawan is currently studying in Florence, Italy for her master degree. Having designed the costume for Opera Siam for many times, including the epic production Dan No Ura, she is delightful to be trusted as the costume designer for this challenging production from 6,000 miles away.
The costume production is based in Bangkok with the cooperation of two main persons. Dutsadee currently works in the merchandising department in one of the most leading garment brands in Thailand. She is capable of organizing and managing especially to deal with fabric and apparel production. Pongsakhon is a stylist who has been working professionally for many media in Thailand. With his theatrical and styling skills, the team is able to handle all the situations.
33
โอเปร่าคืออะไร และปีนบันไดฟังเพลง
บทความ โดย ถ่ายเถา สุจริตกุล
หากมีใครถามว่า ‘โอเปร่า’ คืออะไร... คำ�สรุปง่ายๆและรวบรัดที่สุดของ สมเถา สุจริตกุล คีตกวีไทยผู้คุ้นเคยกับสังคีตศิลป์ ประเภทนี้ คือ “ลิเกฝรั่ง” เรื่องทุกเรื่องหรือ แม้กระทั่งนิทานหรือนิยายพื้นบ้านก็สามารถนำ� ไปทำ�เป็นโอเปร่าได้ ทั้งนี้ ต้องถ่ายทอดโดย ใช้ดนตรีเป็นสื่อ ผู้แสดงต้องขับร้องและแสดง บทบาทของตนโดยมีวงดุรยิ างค์บรรเลงประกอบ การประพั น ธ์ อุ ป รากรเริ่ ม เมื่ อ ประมาณ พ.ศ. 2140 แต่การแสดงละครประกอบดนตรี มีตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ การแสดงในระยะ นั้นไม่ยิ่งใหญ่และสละสลวยเท่าใดนัก ต่อ มาได้ รั บ การพั ฒ นาให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น โดยกลุ่ ม ศิ ล ปิ น ในประเทศอิ ต าลี ใ นโดยเริ่ ม จากต้ น ทศวรรษ 2100 มีการนำ�เสนออุปรากรแม้จะไม่สมบูรณ์ แบบ อุปรากรเรื่องแรกเป็นคีตนิพนธ์ของ Jacopo Peri เรื่อง Dafne เปิดแสดงในปี พ.ศ. 2140 ต่อมามีการแสดงอื่นๆ อีกแต่ยังขาดองค์ ประกอบครบถ้วนจนกระทั่งในปี พ.ศ. 2150 Claudio Moteverdi ได้ประพันธ์ Orfeo ซึ่ง เป็นอุปรากรสมบูรณ์แบบเรื่องแรกอันประกอบ ด้วย 1. เพลงโหมโรง (Overture) 2. เพลงขับร้องเดี่ยว (Aria) 3. เพลงขับร้องคู่หรือมากกว่านั้น (ส่วนใหญ่ไม่เกิด 5 คน) 4. บทร้อง (Libretto) 5. บทร้องกึ่งเจรจา (Recitative) 6. เพลงร้องประสานเสียงหมู่ (Chorus) 34
tra
7. ระบำ� 8. วงดุริยาค์ประเภท Symphony Orches-
9. ใช้ฉากบนเวทีประกอบการแสดง หลังจากนั้นได้มีการประพันธ์อุปรากรแพร่ หลายยิ่งขึ้นในยุโรป อาทิ เยอรมัน ฝรั่งเศส อังกฤษ และรัสเซีย ลักษณะที่แตกต่างกันขึ้นอยู่ กับความนิยมของผู้ชมในประเทศนั้นๆ เนื่องจากองค์ประกอบดังกล่าว อุปรากรจึง เป็นศูนย์รวมแห่งศิลปะนานาแขนง ทั้งศิลปะใน การบรรเลง ขับร้อง การแสดงบทบาท เครื่อง แต่งกายและฉาก ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าไม่มีการ แสดงในรูปแบบอื่นที่รวมศิลปะหลากหลายเช่น อุปรากร ศิลปะที่โดดเด่นของมหาอุปรากรได้แก่การ ขับร้อง นักร้องอุปรากรแต่ละคนต้องใช้เสียง ธรรมชาติของตนโดยไม่อาศัยเครื่องช่วยใดๆทั้ง สิ้น ทั้งนี้ ได้มีการจำ�แนกความสูงต่ำ�ของระดับ เสียงไว้ดังนี้ โซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุด ของผู้หญิงหรือเด็ก ขับร้องบทนางเอกหรือผู้ หญิงที่รับบทเด่นของเรื่อง เมสโซ โซปราโน (Mezzo Soprano) และ อัลโต (Alto) เสียงระดับกลางและต่ำ�ของผู้หญิง ในบทนางรองหรือตัวประกอบเอกของเรื่อง เทนอร์ (Tenor) ระดับเสียงสูงของผู้ชาย มักเป็นสียงของพระเอก บาริโทน (Baritone) ระดับเสียงกลาง ของผู้ชาย ส่วน มากเป็นเสียงพระรองหรือ
ตัวประกอบ แต่อาจเป็นเสียงพระเอกได้ใน อุปรากรบางเรื่องที่ผู้ประพันธ์กำ�หนดไว้ เบสส์ (Bass) เสียงระดับต่ำ�สุดของผู้ชาย มักเป็นเสียงผู้ชรา พระ นักบวช หรือราชาผู้ทรง อำ�นาจ การขับร้องซึ่งเป็นองค์ประกอบสำ�คัญของ ศิลปะแขนงนี้อาจจำ�แนกได้กว้างๆ ดังนี้ - ขับร้องเดี่ยว ในบทของนางเอกหรือ พระเอก ผู้ร้าย หรือตัวประกอบสำ�คัญ - ขับร้องมากกว่า 1 คน ได้แก่ร้องคู่ ร้อง 3 ถึง 5 คน ประสานเสียงในบทเพลงเดียวกัน - ขับร้องกึ่งเจรจา เป็นการเล่าเหตุการณ์ ด้วยเสียงสูงๆ ต่ำ�ๆ เพื่อให้เข้ากับดนตรีที่บรรเลง ประกอบ - ขับร้องหมู่ เป็นการขับร้องประสานเสียง ของนักร้องกลุ่มใหญ่ มักได้แก่ผู้แสดงทั้งหมด บนเวที ร้องประสานเสียงตามแนวร้องของตน นอกจากการขับร้อง ดนตรีที่ใช้บรรเลง มีความสำ�คัญยิ่ง ทั้งนี้เนื่องจากดนตรีเป็น เครื่องกำ�หนดบทบาทการแสดงทั้งหมด ดนตรี มหาอุปรากรเริ่มจากเพลงโหมโรง หรือ Overture ซึ่งมีแนวทำ�นองในท้องเรื่องสอดแทรกอยู่ ด้วยเป็นการชี้แนะลักษณะของอุปรากรนั้นๆ ผู้ ประพั น ธ์ ห รื อ คี ต กวี จึ ง ได้ รั บ การยกย่ อ งสู ง สุ ด ส่วนผู้มี่มีบทบาทสำ�คัญสูงสุดในการแสดงได้แก่ วาทยกรผู้อำ�นวยเพลง สรุ ป ได้ ว่ า มหาอุ ป รากรเป็ น นาฏกรรมที่ ยกย่ อ งกั น ทั่ ว ไปว่ า สู ง กว่ า นาฏกรรมประเภท อื่นใด ทั้งนี้ เนื่องจากมหาอุปรากรเป็นที่รวม
ของศิลปะชั้น สูงหลายแขนงเข้าไว้ด้วยกันโดย มีดุริยางคศิลป์เป็นส่วนสำ�คัญ ส่วนนาฏ- กรรม ประเภทอื่นๆ หากจะมีดนตรีเข้ามาปะปนอยู่ ด้วย ก็เป็นแต่เพียงส่วนประกอบ มิใช่เป็นส่วน สำ�คัญที่สุดเช่นดนตรีมหาอุปรากร สุขนาฏกรรม หรื อ โศกนาฏกรรมใช้ คำ � พู ด คื อ ภาษาเป็ น สื่ อ ระหว่างผู้แสดงกับผู้ดู แต่มหาอุปรากรนั้นใช้ เสียงดุริยางค์เป็นสื่อ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน ย่อมเกิดขึ้นเมื่อโสตประสาททำ�ให้อารมณ์ของผู้ ฟังเปลี่ยนแปรไป ด้ ว ยวั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการเผยแพร่ แ ละส่ ง เสริมให้ประชาชนชาวไทยโดยเฉพาะเยาวชนมี ความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมด้านสังคีตศิลป์ ของสากลประเทศ อีกทั้งแลกเปลี่ยนศิลปะ วัฒนธรรมไทยกับต่างชาติตลอดจนเสริมสร้าง กรุงเทพฯให้เป็นศูนย์รวมคีตศิลป์ระดับสูงแห่ง ภาคพื้นเอเซีย คณะมหาอุปรากรโอเปร่าสยาม (บางกอกโอเปร่าเดิม) จึงได้จดทะเบียนเป็น มูลนิธิเพื่อการศึกษาโดยไม่แสวงหาผลประโยชน์ ถูกต้องตามกฎหมายเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2545 โดยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิ วัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรง พระกรุณาโปรดเกล้ารับเป็นองค์อุปถัมภ์นับแต่ ก่อตั้งจนถึงปี พ.ศ. 2550 บางกอกโปร่าซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น ‘โอ เปร่าสยาม’ เพื่อความเหมาะสมในการติดต่อ กับต่างประเทศได้นำ�เสนอมหาอุปรากรสมบูรณ์ แบบมาตรฐานสากลและคีตนิพนธ์อมตะซึ่งเป็น ผลงานของปรมาจารย์คีตกวีทุกยุคทุกสมัยอย่าง
ต่อเนื่อง เป็นที่น่าเสียดายที่คนไทยส่วนมากมักด่วน ลงความเห็นว่าเพลงคลาสสิคต้องปีนบันไดฟัง และมีอคติเสียตั้งแต่ก่อนที่จะได้สัมผัสว่าเพลง ประเภทนี้คือยานอนหลับขนานเอก จึงปิด ประตูสนิท ไม่ยอมให้โสตสัมผัสหรือแม้แต่จักษุ สัมผัส เพียงได้ยินคำ�ว่า ‘เพลงคลาสสิค’ ก็หนี ไกลเสียแล้ว ร้องว่าไม่เอา ไม่ชอบ ทั้งๆ ที่บาง คนไม่เคยสัมผัสเลยแม้แต่ครั้งเดียว เราน่าจะถือภาษิตที่ว่า “ไม่ลองก็ไม่รู้” ทำ�ไมไม่คิดบ้างว่าละครร้อง ละครรำ�หรือละคร ดึกดำ�บรรพ์ของไทยทุกเรื่องก็เข่นเดียวกัน ถ้าผู้ ชมไม่รู้เรื่องราวมาก่อนก็คงดูไม่รู้เรื่อง ดังนั้น โอ เปร่าจึงไม่น่าจะยากเย็นเกินไปถ้าเราศึกษาเนื้อ เรื่องให้คุ้นเคยไว้ล่วงหน้า ประการสำ�คัญก็คือ เรื่องโอเปร่าส่วนมาก ‘เว่อร์’ แบบน้ำ�เน่าทั้งนั้น คือรักก็รักแบบสุดสวาทขาดจิต เกลียดก็จอง ล้างกันไม่มีวันเลิกรา ครั้นไม่สมหวังในความรักก็ ฆ่าตัวตายด้วยวิธีการที่น่าหวาดเสียวต่างๆ สรุป ได้ว่าโอเปร่าเกือบทุกเรื่องเป็นโศกนาฎกรรม ตัว ละครเอกมั ก มี อั น ต้ อ งลาโลกก่ อ นกาลอั น ควร เสมอไป สิ่ ง ที่ ช่ ว ยให้ ผู้ ช มเข้ า ใจเหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น บนเวทีคือการฉายสไลด์คำ�ร้อง (sub titles) ประกอบการแสดง เพื่อให้ผู้ชมสามารถติดตาม เรื่องได้อย่างละเอียด ทั้งนี้ เนื่องจากการขับร้อง ด้วยลีลามหาอุปรากรนั้น ยากที่จะจับเนื้อความ ได้ ปัจจุบันการแสดงโอเปร่าในต่างประเทศจึง นิยมใช้ sub titles เพื่อช่วยให้เกิดความเข้าใจ
แม้ แ ต่ โ อเปร่ า ที่ ขั บ ร้ อ งเป็ น ภาษาอั ง กฤษใน ประเทศที่ผู้ชมรอบรู้ด้านภาษาเป็นอย่างดี ก็ยัง มีคำ�ร้องภาษาอังกฤษฉายบนจอภาพตลอดการ แสดง กล่าวได้ว่า การฉายนื้อร้องประกอบการ แสดงมีบทบาทสำ�คัญในการช่วยให้มีผู้นิยมไปชม โอเปร่ามากขึ้น โอเปร่ า สยามเป็ น คณะมหาอุ ป รากรคณะ แรกที่นำ�วิธีการดังกล่าวมาสู่ผู้ชมตั้งแต่เริ่มแรก โดยฉายสไลต์เนื้อร้องถึง 2 หรือ 3 ภาษา ได้แก่ อังกฤษ ไทย และภาษาอื่นในช่วงแสดงตั้งแต่ ต้นจนจบ รวมทั้งจัดพิมพ์เนื้อเรื่องอย่างละเอียด ในสูจิบัตร นอกจากนั้น การนำ�เสนอคอนเสิร์ต แต่ละครั้ง ยังได้เชิญผู้เชี่ยวชาญมาบรรยายดนตรี ก่อนเริ่มบรรเลงเพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจและสามารถ เข้าถึงความหมายอันลึกซึ้งของคีตนิพนธ์ที่ชาว โลกยกย่องว่าเป็นอมตะ ทำ � ไมเราไม่ ส นั บ สนุ น คนไทยที่ พ ยายาม ปลูกฝังและส่งเสริมให้คนไทยด้วยกันได้สัมผัส วัฒนธรรมตะวันตก ลองฝืนใจปีนบันไดฟังเพลง และสละเวลาเพียงเล็กน้อย ศึกษาเนื้อหาตลอด จนภูมิหลังของผลงานคลาสสิคแต่ละบท เราอาจ เป็นคนหนึ่งที่สามารถเข้าถึงสุนทรีย์รสแห่งคีต ศิลป์ที่ชาวโลกยอมรับว่าไม่มีวันตาย
35
name, and translating her son’s books from English into Thai. Her most popular novel “Dok Som Si Thong” was made into the talk-of-the-town television series and the first Thai Broadway-styled musical “Reya the Musical.” In the year 2013, Thaithow was given an award for ‘Pride and Prime’ student of Wattana Wittaya Academy. She was also honoured with ‘Narathuip Award’ as acclaimed writer from The Writers’ Association of Thailand as well as ‘Surintraja’ Award for Best Translator from Translators and Interpreters Association of Thailand. Thaithow Sucharitkul received the Award of Thailand Outstanding woman of the year 2014 from the National Council of Women of Thailand under the Royal Patronage of Her Majesty the Queen. ---------------------------------
EXECUTIVE PRODUCER
THAITHOW SUCHARITKUL
ถ่ายเถา สุจริตกุล • ผู้อำ�นวยการบริหาร After finishing high school from Mater Dei Institute and Wattana Wittaya Academy, Bangkok, Thaithow Sucharitkul continued her study in the United Kingdom at Winkfield Place and received her diploma in Home Economics and later on in the United States, where she has her training in studio arts graduate studies. Thaithow married Professor Dr. Sompong Sucharitkul, former Ambassador of Thailand to Japan and several countries in Europe. Thaithow’s first profession was teaching at International School in Bangkok. She was very active in the performing arts within the Dramatic Society, headed by the late Thanpuying Dusdimala Malakul na Ayudha, wife of the late former Minister of Education of Thailand. Thaithow Sucharitkul spent the past two decades in San Francisco with her husband after his return to academia. Her last association with an American University was in the position of Associate Director of the Bangkok Summer Program offered by Golden Gate University School of Law. During her stay in the United States, Thaithow Sucharitkul produced two of her son’s (Somtow Sucharitkul) movies as well as several renowned operas for Bangkok Opera. She also spends part of her time using her literary skill, writing novels in her own
36
หลังจากสำ�เร็จมัธยมศึกษาจากมาแตร์เดอีและวัฒนาวิทยาลัย ถ่าย เถา สุจริตกุล เดินทางไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ สำ�เร็จวิชาเคหะ ศาสตร์และเลขานุการจากสถานศึกษาวิ้งค์ฟีลด์เพลส (Winkfield Place) และศึกษาวิชาจิตรกรรมภาพวาดระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัย โนเท รอเดม (University of Notre Dame) สหรัฐอเมริกา ถ่ายเถาสมรสกับ ศาสตราจารย์ ดร. สมปอง สุจริตกุล อดีตเอกอัครราชทูตไทย และได้เดิน ทางติดตามสามีในฐานะภริยาเอกอัครราชทูตประจำ�ประเทศต่างๆ ในทวีป ยุโรปและญี่ปุ่นรวม ๙ ประเทศ ถ่ายเถา สุจริตกุล เริ่มงานอาชีพโดยเป็นอาจารย์โรงเรียนนานาชาติ (International School Bangkok) ด้วยความสนใจในศิลปะการแสดงอย่าง ลึกซึ้ง เธอจึงร่วมเป็นกรรมการสโมสรละครสมัครเล่นซึ่งท่านผู้หญิงดุษฎี มาลา มาลากุล ณ อยุธยา เป็นนายก นำ�เสนอผลงานมาตรฐานทั้งละคร โทรทัศน์และละครเวทีอย่างสม่ำ�เสมอ ระหว่างใช้ชีวิตเกือบ ๒ ทศวรรษที่ซาน ฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา ถ่าย เถาได้ทำ�หน้าที่ผู้อำ�นวยการสร้าง (Producer) ภาพยนตร์ซึ่งเป็นผลงาน ของบุตรชาย นาย สมเถา สุจริตกุล ถ่ายทำ�ในฮอลลิวู้ดถึง ๒ เรื่อง รวมทั้ง อำ�นวยการผลิตมหาอุปรากรเด่นดังหลายเรื่องให้โอเปร่าสยาม (บางกอกโอ เปร่าเดิม) คณะมหาอุปรากรในสังกัดมูลนิธิมหาอุปรากรกรุงเทพ หลั ง จากโยกย้ า ยจากสหรั ฐ อเมริ ก ากลั บ มาพำ � นั ก ในประเทศไทย เป็นการถาวรเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ถ่ายเถา ใช้เวลาส่วนใหญ่ทำ�งานให้มูลนิธิ มหาอุปรากรกรุงเทพในตำ�แหน่งรองประธานมูลนิธิฯ ทำ�การค้นคว้า แปล และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับดนตรีคลาสสิคและมหาอุปรากร รวมทั้งจัด ทำ�คำ�บรรยายประกอบการแสดงมหาอุปรากรทุกเรื่องของโอเปร่าสยาม นอกจากนั้น ยังผลิตผลงานด้านวรรณกรรมโดยเป็นนักเขียนและนักแปล นวนิยายและเรื่องสั้นจากต้นฉบับภาษาอังกฤษของ เอส. พี. สมเถา (สมเถา สุจริตกุล) ออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง ผลงานเด่นดังของ ถ่ายเถา สุจริตกุล ได้แก่นวนิยายเรื่อง “ดอกส้มสีทอง” ซึ่งมีผู้นำ�ไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ที่ ได้รับความนิยมสูงสุดเป็นประวัติการณ์ รวมทั้งได้รับการถ่ายทอดเป็นละคร เพลงมาตรฐานบรอดเวย์ “เรยา เดอะ มิวสิคัล” เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทยได้ประกาศ เกียรติและมอบรางวัล “นราธิป” ให้ ถ่ายเถา สุจริตกุล ในฐานะนักเขียนผู้ สร้างสรรค์ผลงานอย่างต่อเนื่องยาวนาน และผลงานเป็นที่ยอมรับอย่าง กว้างขวาง ในปีเดียวกัน ถ่ายเถาได้รับรางวัล “สุรินทราชา” สำ�หรับนัก แปลดีเด่นจากสมาคมนักแปลและล่ามแห่งประเทศไทย และในปี ๒๕๕๗ ได้รับคัดเลือกเป็น “สตรีไทยดีเด่น พุทธศักราช ๒๕๕๗” โดยสภาสตรีแห่ง ชาติ ในพระบรมราชินูปถัมภ์
BANGKOK OPERA FOUNDATION
a registered nonprofit educational and culture foundation
มูลนิธิมหาอุปรากรกรุงเทพ สมเถา สุจริตกุล Vice President : Thaithow Sucharitkul ถ่ายเถา สุจริตกุล Secretary-Treasurer : Suebsakul Srichayandorn สืบสกุล ศรีชยันดร Legal Counsel : Prof. Dr. Sompong Sucharitkul ศาสตราจารย์ ดร.สมปอง สุจริตกุล President : Somtow Sucharitkul
Opera Siam International of Bangkok Opera Foundation
โอเปร่าสยาม อินเตอร์เนชั่นแนล Hon. Patron : HH Princess Sukhumabinanda Baripatra
หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา
Hon. Patron (International): The Rt. Hon. Guy Greville, 9th Earl of Warwick, 9th Earl Brooke
กีย์ เกรวิล เอริ์ล ออฟ วอริค ที่ 9 Hon. Chairman : Dr.Surin Pitsuwan ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ Executive Committee
คณะกรรมการบริหาร ดร.นฎาประไพ สุจริตกุล General and Artistic Director : Somtow Sucharitkul สมเถา สุจริตกุล Raksak Kananurak รักศักดิ์ คณานุรักษ์ Chale Woodthanan ชเล วุทธานันท์
Chairman, Director of Development : Dr.Nadaprapai Sucharitkul
Advisory Board
คณะกรรมการที่ปรึกษา Chairman : Khunying Patama Leeswadtrakul คุณหญิงปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูล Dr. Sumet Jumsai Na Ayudhaya ดร.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา
ดร.สุวิทย์ ยอดมณี Vara-Poj Snidvongs na Ayudhya วรพจน์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา Dr. Soonthorn Asavanant ดร.สุนทร อัศวานันท์ Prayudh Mahagitsiri ประยุทธ มหากิจศิริ Aviruth Wongbuddhapitak อวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ Dr. Vina Churdboonchart รศ.ดร.วีณา เชิดบุญชาติ Dr. Sirilaksana Khoman ดร.สิริลักษณ์ คอมันตร์ M.L. Poomchai Chumbala ม.ล.ภูมิใจ ชุมพล Varah Sucharitakul วราห์ สุจริตกุล Dr.Paul Beresford Hill ดร.พอล เบเรสฟอร์ด ฮิล James Rooney เจมส์ รูนีย์ David Giler เดวิด ไกเลอร์ Rex Morgan เร็กซ์ มอร์แกน Dr. Suwit Yodmanee
37
THE MAGIC FLUTE
PRODUCTION CREDITS Director กำ�กับการแสดง Conductor วาทยกร Executive Producer ผู้อำ�นวยการบริหาร Producer ผู้อำ�นวยการผลิต Production Manager ประสานงานฝ่ายผลิต Orchestra วงดุริยางค์ Concertmaster หัวหน้าวงดุริยางค์ Orchestra Manager ผูู้จัดการวงดุริยางค์ Assistant Orchestra Manager ผู้ช่วยผู้จัดการวง Orchestra Librarian บรรณารักษ์
Nath Khamnark ณัฏฐ์ คำ�นาค Siam Philharmonic Orchestra วงดุริยางค์สยามฟิลฮาร์โมนิค Chot Buasuwan โชติ บัวสุวรรณ Pongsathorn Surapab พงศธร สุรภาพ Jittinant Klinnumhom จิตตินันท์ กลิ่นน้ำ�หอม Chaimongkol Wiriyasatjaporn ชัยมงคล วิริยะสัจจาภรณ์
Chorus นักร้องประสานเสียง Chorus Master ฝึกซ้อมนักร้องประสานเสียง
Siam Orpheus Choir คณะนักร้องประสานเสียงสยามออเฟียส Tanayut Jansirivorkul ธนายุส จันทรสิริวรกุล Voltaire Oblimar วอลแตร์ ออบลิมาร์ Kant Lormsomboon กันต์ ล้อมสมบูรณ์ Vorarat Wattanasombat วรรัชฏ วัฒนสมบัติ Karrell Gallenero คาเรล กัลเลเนโร
Piano Répétiteur เปียโนประกอบการฝึกซ้อม Chorus Coordinator ประสานงานนักร้องประสานเสียง Choreographer ออกแบบลีลาระบำ� Dancer Coordinator
ประสานงานนักระบำ�
Pruduction Designer ออกแบบศิลป์ Stage Manager ผู้จัดการเวที Lighting Designer ออกแบบแสง Costume Designer ออกแบบเครื่องแต่งกาย Make-up แต่งหน้า Hair Dressing ทำ�ผม Set สร้างฉาก Props อุปกรณ์ประกอบฉาก Video Recording บันทึกภาพเคลื่อนไหว Still Photographer บันทึกภาพนิ่ง Sound Recording บันทึกเสียง Subtitles ผู้จัดทำ�คำ�บบรยาย Thai Translator คำ�แปลภาษาไทย Japanese Translator คำ�แปลภาษาญี่ปุ่น Subtitles Operators เจ้าหน้าที่ฝ่ายคำ�บรรยาย Rehearsal Spaces สถานที่ฝึกซ้อม
Graphic Designer ออกแบบกราฟิค Account, Finace and Admin บัญชี การเงินและธุุรการ Press Relations สื่อมวลชนสัมพันธ์ General Assistant ผู้ช่วยทั่วไป Book Cover ภาพหน้าปก
38
Somtow Sucharitkul สมเถา สุจริตกุล Trisdee na Patalung ทฤษฎี ณ พัทลุง Thaithow Sucharitkul ถ่ายเถา สุจริตกุล Florian Preuss ฟลอเรียน พรูส Dean Shibuya ดีน ชิบูญา
Puwarate Wongatichart ภูวเรศ วงศ์อติชาติ Siripong Soontornsanor สิริพงษ์ สุนทรเสนาะ Pruksa Chanatipat พฤกษา ชนาธิปัตย์ Dean Shibuya ดีน ชิบูญา Sarinya Olssom สรินยา ออลสัน Ryan Attig ไรอัน แอ็ตติกจ์ Natthawan Santiphap ณัฐวรรณ สันติภาพ MTI โรงเรียนสอนศิลปะการแต่งหน้า เอ็ม ที ไอ Ketvadee Gandini สถาบันเสริมสวยนานาชาติเกตุวดี แกนดินี Teerawat Chansuksaward ธีรวัฒน์ จันทร์สุขสวัสดิ์ Sophon Oombangtalard โสภณ อุ่มบางตลาด The Studio Production เดอะ สตูดิโอ โปรดักชั่น Puriwat Charoenying ภูริวัฒน์ เจริญยิ่ง Prateep Jatanakul ประทีป เจตนากุล Thaithow Sucharitkul ถ่ายเถา สุจริตกุล Thaithow Sucharitkul ถ่ายเถา สุจริตกุล Rieko Nishijima ริเอโกะ นิชิจิมะ Dr. Arnond Sakworawich ดร.อานนท์ ศักดิ์วรวิทย์ Sucharit Thamrong Music Centre ศูนย์สังคีตศิลป์สุจริตธำ�รง Chulalongkorn University จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Old English Student Association สมาคมนักเรียนเก่าอังกฤษ Chaimongkol Wiriyasatjaporn ชัยมงคล วิริยะสัจจาภรณ์ Ratana Roipornkasemsuk รัตนา ร้อยพรเกษมสุข Watsiri Sukkarin วัทน์สิริ ศุกรินทร์ Siriwai Chantawaro ศิริวัฒน์ จันทวโร Bawornwarapon Wongsuwan บวรวรพล วงษ์สุวรรณ Jiraros Kewjaila จิรโรจน์ แก้วใจหล้า
39
40
41
42 dentist@asavanant.com
ฑีฆายุกา โหตุ มหาราชินี