DasJati : The Silent Prince 2013

Page 1

In Celebration of 2600th Anniversary of Buddha Enlightenment and The Birthday of H.M. The King The Department of Cultural Promotion, Ministry of Culture and Bangkok Opera Foundation in cooperation with Advanced Info Service PCL and Betagro Group Inc. Present

an opera about the Buddha

by Somtow Sucharitkul Libretto by S.P. Somtow Directed by Somtow Sucharitkul Revival by Stephen Thomas Conducted by Trisdee na Patalung Thailand Cultural Center (Main Auditorium)

June 8, 2013 at 19.30 hours June 9, 2013 at 14.00 hours


Synopsis

Prologue The opera opens with the drone of the tambura. Above it is heard the anguished wail of a woman. In heaven, the goddess Suja, consort of Shakro Devanam Indra, hears the plea of the woman and asks the king of heaven to send a deva down to earth to be reborn as the Prince of Kashi. The king of heaven speaks to the unborn Boddhisatva, a perfect youth seated inside a lotus. He tells him that millions of souls in the world are suffering, waiting for release from the cycle of karma; that even the gods themselves are not free from rebirth. He asks the Boddhisatva to break his millennial meditation and consent to be reborn.

perfect youth. He has still not spoken. The wet-nurses and the queen speak of the many things that have been done to make Temiya regain the power of speech. Sunanda, the king’s trusted advisor, tells the king that in such cases, surely the arousal of his sensual appetites will release him from his catatonia.

Scene One In the royal palace at Benares. Queen Chandra joyfully gives birth to a perfect boy who descends from heaven seated on a lotus. As he steps from the lotus, the queen tells her handmaidens to bathe him in Ganga water, clothe him in finest raiment, and chooses a wet-nurse from her women. The king of Kashi thanks the gods that the royal couple’s prayers have been answered. Because he was born amid the monsoon, he is named Temiya.

Scene Four The king makes a last-ditch effort, crowning Temiya for a day and sending him forth on a white elephant to receive the accolades of the city. As the court watches the spectacle from the veranda of the palace, and listen to the cheering of the crowds, they see that Temiya sits motionless. The king can no longer control his rage and despite the queen’s entreaties, he orders that Sunanda take him to the forest at dawn, behead him, and bury him.

Scene Two Judgment day at the palace, some years later. A criminal is brought before the king and condemned to death. The king tells the boy that the time has come for him to be ready for the responsibilities of being a kshatriya and the boy must order the execution. As the boy is about to obey his father, raising his hand to give the command, he has a vision of souls in hell. The God of the Underworld sings to him, reminding him that in a past life he was once king in Benares, and that in his cruelty he was condemned to millions of years of anguish. Maya, the God of Illusion, tempts him, telling him that obedience to his father is a noble virtue even if it deflects him from the road to becoming the Buddha. The vision ends. The boy stands, his hand still raised. He has withdrawn into silence. Embarrassed and saddened, the king takes the executioner’s sword and kills the criminal with his own hands. The boy seems frozen in the moment of decision. The royal court is in chaos. INTERMISSION Scene Three Many years have passed and the perfect boy is now a

The royal couple commands that a feast of sensual delights be prepared for Temiya, and the finest courtesans of every stripe and colour are paraded before the prince. Despite the temptation of Maya, still he does not speak. Over the choral dance number, the king, queen, Sunanda and the wet-nurse sing a quartet, venting their frustration and bewilderment.

Scene Five Sunanda takes the prince deep into the forest. He digs a grave in preparation for the execution, descending deep into the bowels of the earth. He becomes aware of an unearthly light, and a strange pure voice sings to him from above. He gazes upward and sees that Temiya has assumed the resplendent divine form of the Boddhisatva Deva. Temiya explains to Sunanda why he has been silent. He urges Sunanda not to worsen his karma by killing the Boddhisatva who is on a long journey that will take many more lifetimes before he is ready to unlock the secret of human suffering. He tells Sunanda to climb out from the pit and return to the court, and to tell the truth to his parents. At that moment, the king and queen and members of their entourage enter the clearing. When they see the Boddhisatva, the king understands and begs for forgiveness. The king and queen decide to leave Benares forever and live simply in the forest as the disciples of Temiya. As they prostrate themselves at the Boddhisatva’s feet, heaven itself opens up and the devas and apsaras are seen rejoicing.


เรื่องย่อ

เตมีย์ใบ้ บทนำ� เริ่มด้วยเสียงหง่าวๆ ของเครื่องดนตรีอินเดีย เสียงที่ สอดแทรกเข้ามาคือเสียงผู้หญิงร้องไห้คร่ำ�ครวญบนสวรรค์ นาง สุชาดา มเหสีพระอินทร์ได้ยินเสียงคร่ำ�ครวญของหญิงชาวโลก จึงขอให้พระอินทร์ส่งเทพไปอุบัติเป็นเจ้าชายแห่งพาราณสีใน โลกมนุษย์ พระอินทร์บอกพระโพธิสัตว์ผู้เลิศล้ำ�ด้วยความงาม ไม่มีที่เปรียบว่า มีวิญญาณนับล้านดวงทุกข์ทรมาณ รอคอยการ ปลดปล่อยจากห้วงกรรม จึงขอให้พระโพธิสัตว์ละจากกรรม ฐานซึ่งปฎิบัติมาเป็นล้านปีลงไปอุบัติในโลกมนุษย์ ฉากหนึ่ง ในพระราชวังกรุงพาราณสี พระนางจันทรเทวีให้ กำ�เนิดกุมาร ขณะที่พายุฝนกำ�ลังกระหน่ำ� พระบิดาจึงตั้งชื่อ ให้ว่า “เตมีย์” ฉากสอง เมื่อพระเตมีย์เติบโตเป็นหนุ่มน้อย พระเจ้าพาราณ สีเห็นควรที่จะให้ปฏิบัติกรณียกิจเยี่ยงกษัตริย์ จึงมีบัญชาให้ผู้ ประกาศโทษประหารชึวิตนักโทษแทนพระองค์ ขณะที่พระเต มีย์เตรียมสนองพระบัญขา พระองค์มองเห็นภาพนรก เสียง พญายมทำ�ให้พระองค์ระลึกถึงอดีตชาติเมื่อครั้งเป็นกษัตริย์แห่ง พาราณสี ความโหดเหี้ยมทำ�ให้พระองค์ตกอยู่ในภพภูมิแห่ง อเวจีนานนับล้านปี มายาเทพีแห่งภาพลวง มาลวงล่อให้พระเต มีย์ทำ�ตามบัญชาของบิดาแม้ว่าจะทำ�ให้พระองค์หันเหไปจาก ทางแห่งปรินิพพาน ครั้นภาพลวงเลือนหายไป พระเตมีย์กุมารจึงเสด็จ สู่โลกแห่งความเงียบไม่พูดจา พระเจ้ากรุงพาราณสีโศรกเศร้า และอัปยศอดสูเป็นล้นพ้น จึงแย่งดาบจากเพชรฆาตบั่นคอ นักโทษด้วยพระองค์เอง หยุดพักครึ่งเวลา

ฉากสาม เวลาผ่านไปหลายปี พระเตมีย์ก็ยังไม่ยอมพูด พระมารดากับพระนมจึงปรึกษาหาทางที่จะทำ�ให้พระเตมีย์พูด ได้ดังเดิม สุนันทะ ที่ปรึกษาคนสนิท แนะนำ�ให้หาหญิงมาใช้กล มารยายั่วยวน พระเจ้าพาราณสีและพระมเหสีจึงสั่งให้เตรียมงาน เลี้ยง จัดหาหญิงมาเริงระบำ�โดยหวังให้พระเตมีย์เพลิดเพลิน ในกามรส แต่พระเตมีย์ก็ยังอยู่ในโลกแห่งความเงียบโดยไม่ นำ�พากับสิ่งเย้ายวน ฉากสี่ พระเจ้ากรุงพาราณสีพยายามครั้งสุดท้าย โดยแต่งตั้ง พระเตมีย์ให้ครองกรุง 1 วัน ให้ทรงช้างเสด็จเลียบเมืองเพื่อให้ ประชาชนขื่นชมบารมี ชาววังมองจากระเบียงพระราชวังเห็น พระเตมีย์นิ่งเฉย ไม่สนใจฝูงชนซึ่งโห่ร้อง พระเจ้ากรุงพาราณสี โกรธถึงขีดสุด สั่งให้สุนันทะนำ�พระเตมีย์ไปตัดหัว และจัดการ ฝังเสียในป่าลึก โดยไม่ฟังคำ�ทัดทานของมเหสี ฉากห้า สุนันทะพาพระเตมีย์เข้าไปในป่า ก่อนลงมือประหาร จึงขุดหลุมเตรียมไว้เพื่อฝังพระศพ หลุมที่ขุดลึกลงไปถึงใจ กลางโลก จึงเกิดนิมิตประหลาด สุนันทะมองเห็นแสงอัศจรรย์ และเสียงใสบริสุทธิ์ขับขานจากเบื้องบน มองขึ้นไปเห็นพระเต มีย์ในรูปลักษณ์พระโพธิสัตว์ ประทับบนบรรลังค์รัศมีเจิดจรัส พระเตมีย์เล่าให้สุนันทะฟังถึงสาเหตุที่ไม่พูด และสั่งสอนสุนันท ะไม่ให้ก่อกรรมทำ�บาปโดยสังหารพระโพธิสัตว์ผู้กำ�ลังก้าวเดิน บนเส้นทางอันยาวนานซึ่งใช้เวลาหลายชั่วชีวิตกว่าจะบรรลุถึง สัจธรรมเพื่อปลดเปลื้องความทุกข์ของมวลมนุษย์ และให้สุ นันทะขึ้นจากห้วงเหวแห่งกรรม กลับไปทูลความจริงแก่พระ บิดามารดา ในช่วงเวลานั้น พระเจ้ากรุงพาราณสี พระมเหสี และข้าราชบริพารออกมาเห็นองค์พระโพธิสัตว์ จึงเข้าใจและ ขออภัย แล้วตัดสินใจทิ้งบ้านเมืองออกไปใช้ชีวิตเยี่ยงสามัญชน ในป่าและติดตามเป็นสาวกพระเตมีย์สืบต่อไป


The Silent Prince Buddhism or Autism? by Somtow Sucharitkul

The Silent Prince was originally commissioned by Opera Vista in Houston, who requested an opera on an Indian theme because an Indian-American association in that city was going to fund the production. The Temiya Jataka was a subject I had dreamed of making into an opera for a decade, so when the call came I had a proposal already in hand. My version of the story is adapted from Temiya Jataka Vatthu, translated from Burmese in the 1893 Journal of the Royal Asiatic Society. In adapting the story for the operatic stage a great deal of streamlining has occurred so I would like to mention some of this before getting into the philosophy and psychology of the story in this modern interpretation. Much of it is simply technical; Prince Temiya’s silence is the main point of the story, so I’ve preferred to concentrate on his silence, rather than introduce other disabilities such as deafness and paralysis or immobility which are also a traditional part of the tale. Rather than having being advised to be silent by a deity in disguise, I’ve made the trauma and ensuing decision a more personal thing, a struggle from within. Nevertheless, I haven’t departed from the Temiya myth in its essentials at all. But there’s a reason that this silent boy speaks to us so clearly in the twenty-first century. The affluent and well-meaning parents talking at cross-purposes, the child retreating into a private universe, the misguided bribes and punishments born from frustration … we can see that the story also paints a picture of something quite contemporary: a dysfunctional family and an autistic child. In retelling the story for a modern audience, I try to satisfy both the mythic and the psychological truths the story contains. Obviously not every child who faces an insoluble dilemma and reacts by withdrawing into an inner world of angels and demons is going to become the Buddha in a future life. But in small ways we have all experienced what Prince Temiya experiences … and we are all on the same journey that the Buddha embarked on, even though the destination is almost inconceivably far for most of us. I faced a number of challenges in turning this story into an opera, structurally and musically. In terms of structure, the trauma that sends Temiya into silence has to be the crux of the story from which everything else radiates, so I timed events to place it at the midpoint of the story. And then the greatest challenge of all — composing an opera about a silent person — had to be answered in a way that, when the Boddhisatva finally speaks, the voice you here is so extraordinary, from “from another world”, that you understand why you have

waited for ninety minutes to hear this voice. This is the reason I picked the rarest of voices, a male soprano. (We no longer castrate boy sopranos, so we have to wait for someone who is simply naturally able to sing like this.) Luckily, a male soprano presents himself and is an ideal piece of casting for this opera. In the brightly colored sound-world of The Silent Prince, the gods, who take on various guises to interfere in the world of men, are also given extreme voices: the Queen of Heaven a coloratura soprano, the King of Heaven a basso profundo. Highest and lowest become the boundaries for a human universe where voices are more centered, the King and Queen of Benares being a baritone/mezzo pair. The mandate from Opera Vista in Houston was for a chamber work, so I could use no more than about 25 musicians. I decided to create the work for an orchestra consisting entirely of soloists. This means that here in Thailand we’ve had to use the very best musicians available as every single voice in the orchestra is a virtuoso one. Although the forces are small, it’s actually the most colorful and orchestrally innovative of my operas and there are many textures I’ve used for the first time: the combination of harmonium and tambura for the Indian flavoring, unusual instrumental effects, and the use of six solo violinists who must also all be able to play the viola. The Buddha himself is symbolized by the ethereal sound of four intertwined violinists who always represent the ariyasatya, the four noble truths. The tonal language of The Silent Prince is a new one, more abstract than my previous operas and more concentrated as befits an opera that is much shorter than Mae Naak or Ayodhya. The opera is constructed around two tonal centers, A representing the “pure land” of the Buddha and E flat the world of men. This shows most clearly in Chandra Devi’s lullaby (Act II Scene 1) where the earthbound emotions of the conflicted mother are set to a raga that twists and turns the solo strings (imitating the sounds of Asian “sor”) … but the purity of the mother’s love plays out in a simple A major siciliana. As befits the Benares setting of the opera, much of the thematic and coloristic material of the opera is derived from Indian ragas, but they are treated in ways often far removed from India. I’ve designed The Silent Prince to be an opera on a smaller scale, shorter, more compact, and using smaller forces than my other operas. The idea that Buddhist philosophy can be relayed through this medium and made to speak with a contemporary voice is one of the most exciting challenges for me.


เตมีย์ใบ้

พระโพธิสัตว์หรือเด็กออทิซึม? โดย สมเถา สุจริตกุล

เตมีย์ใบ้ดั้งเดิมเป็นมหาอุปรากรที่คณะโอเปร่าวิสต้าแห่งเมือง ฮุสตัน มลรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา ได้มอบหมายให้ผมประพันธ์เรื่อง อินเดีย ทั้งนี้ เนื่องจากสมาคมอินเดีย-อเมริกันแห่งฮุสตันเป็นผู้ให้ทุนการ ผลิต เตมียชาดกเป็นเรื่องที่ผมใฝ่ฝันที่จะประพันธ์มาเป็นเวลาแรมปี ดัง นั้น เมื่อได้มีการเสนอโครงการดังกล่าว ผมจึงมีเนื้อหาพร้อมบริบูรณ์แล้ว จากเตมียชาดกซึ่งแปลจากภาษาพม่าในวารสาร สมาคม Royal Asiatic พ.ศ. 2436 การถ่ายทอดวรรณกรรมสู่การแสดงมหาอุปรากรบนเวทีนั้น จำ�เป็นต้องปรับโครงสร้างเป็นอย่างมาก ดังนั้น ผมจึงขอกล่าวถึงความเป็น มาก่อนที่จะเข้าสู่ความลึกซึ้งในด้านปรัชญาและจิตวิทยาจากการตีความ ในรูปแบบทันสมัย เทคนิคส่วนใหญ่เป็นเรื่องที่ไม่ซับซ้อน ความเงียบ ของพระ เตมีย์คือจุดสำ�คัญของเรื่อง ผมจึงให้เน้นข้อนี้มากกว่าที่จะให้ความสำ�คัญ ในด้านความพิการอื่นๆ กล่าวคือ เป็นง่อยและหูหนวกเช่นในเรื่องดั้งเดิม แทนที่จะได้รับการแนะนำ�จากเทพเจ้าซึ่งแปลงร่างลงมา ผมจึงให้เป็นการ ตัดสินใจของพระเตมีย์เองที่จะไม่พูด แต่ถึงอย่างไร ผมก็ไม่ได้เปลี่ยนเรื่อง ราวของชาดกดั้งเดิม แต่กระนั้ น ก็ ยั ง มี สิ่ง ที่ กุมารใบ้ บ อกเราอย่ างชั ด เจนในคริ ส ต์ ศตวรรษที่ 21 ว่า ถ้าพ่อแม่ผู้ประสงค์ดีทุ่มเถียงหรือพูดจาขัดแย้งกันเอง ผู้เป็นบุตรมักหนีเข้าไปในโลกส่วนตัว พ่อแม่ก็จะใช้วิธีล่อให้ออกมา เมื่อ ไม่สำ�เร็จก็ลงโทษ เรื่องเช่นนี้เกิดขึ้นเป็นประจำ�ในปัจจุบันกับครอบครัวที่ มีเด็กออทิซึม การนำ�เรื่องเก่ามาเล่าใหม่ให้คนยุคปัจจุบันฟังนั้น ผมพยายาม ตอบโจทย์ทั้งในแง่ของตำ�นานและสัจธรรมเชิงจิตวิทยาที่แฝงอยู่ในเรื่อง จึงเห็นได้อย่างชัดเจนว่า ไม่ใช่เด็กทุกคนที่จะเผชิญปัญหาแล้วหนีไปสู่โลก ของเทพเจ้าหรือซาตานแล้วไปเกิดใหม่เป็นพระพุทธเจ้า แต่กระนั้น แม้ เป็นเพียงส่วนน้อยนิด มนุษย์ยังได้ประสบการณ์เช่นเดียวกับพระเตมีย์... เราทุกคนเดินอยู่บนทางที่พระพุทธเจ้าทรงแผ้วถาง ถึงแม้จุดหมายปลาย ทางจะสุดแสนไกลจนเราไม่มีวันไปถึง ผมต้องเผชิญกับความท้าทายอย่างมากในการถ่ายทอดชาดกนี้ เป็นมหาอุปรากร ทั้งในด้านโครงสร้างและดนตรี ในด้านโครงสร้าง ความเจ็บช้ำ�ของจิตที่ทำ�ให้เตมียกุมารเลือก ที่จะ “เป็นใบ้” คือหัวใจของเรื่อง ผมจึงกำ�หนดให้เหตุการณ์ทั้งหมดเกิด ขึ้นในช่วงกลางเรื่อง สิ่งที่ยากที่สุดคือการแต่งมหาอุปรากรเกี่ยวกับคน ใบ้ ดังนั้น เมื่อพระโพธิสัตว์พูดได้ในที่สุด เสียงที่เปล่งออกมาต้องเป็น เสียงจากโลกอื่น เป็นเสียงสวรรค์ซึ่งผู้ชมต้องรอนานกว่า 90 นาทีก่อน ที่จะได้ยิน นี่คือเหตุผลที่ผมเลือกนักร้องเสียงพิเศษ ได้แก่นักร้องเสียง โซปราโนชายซึ่งหายากยิ่งมารับบทนี้ (สมัยโบราณมีการ “ตอน” เด็กชาย ก่อนที่เสียงจะเปลี่ยน) เนื่องจากปัจจุบันไม่ใช้วิธีการดังกล่าว เราจำ�เป็น ต้องรอจนกว่าจะพบนักร้องชายเสียงพิเศษซึ่งสามารถขับร้องได้ด้วยเสียง โซปราโน นับว่าเป็นโชคที่มีโซปราโนชายสนใจสมัครมาแสดง เราจึงมอบ บทพระเตมีย์ให้

ในสีสันของโลกแห่งเสียงที่สดใสของมหาอุปรากร เตมีย์ใบ้ เทพเจ้าซึ่งสามารถแปลงร่างลงไปวุ่นวายกับกิจมนุษย์ก็ต้องเป็นนักร้อง เสียงพิเศษเช่นกัน กล่าวคือ เสียงสูงพิเศษ (โคโลราทูร่า) สำ�หรับราชินี สวรรค์ เสียงสูงที่สุดและต่ำ�ที่สุดเป็นเครื่องบ่งบอกจักรวาล ส่วนเสียง พระเจ้ากรุงพาราณสีและราชินีจันทราซึ่งเป็นมนุษย์นั้น ขับร้องด้วยเสียง แบริโทน และเมสโซ่ เนื่ อ งจากคณะมหาอุ ป รากรที่ ฮุ ส ตั น ต้ อ งการมหาอุ ป รากร สำ�หรับวงดนตรีเชมเบอร์ (วงดนตรีขนาดเล็ก) ซึ่งใช้นักดนตรีไม่เกิน 25 คน ผมจึงสร้างสรรค์ผลงานสำ�หรับวงดุริยางค์ที่สมาชิกทุกคนเป็น Soloist (นักดนตรีเดี่ยว) นักดนตรีที่ได้รับการคัดสรรมาบรรเลงต้องมีฝีมือ ยอดเยี่ยมในการบรรเลงแต่ละเสียง แต่ละแนว ถึงกระนั้นก็ตาม วง ดุริยางค์ขนาดเล็กไม่ได้หมายถึงสีสันและความสารถของวงจะลดน้อยลง แต่เป็นนวัตกรรมที่ยิ่งใหญ่ในเชิงดนตรี รวมทั้งการผสมผสานของลีลาและ ท่วงทำ�นองซึ่งมีรสสัมผัสของอินเดีย และนักไวโอลินเดี่ยวทั้ง 6 คน ซึ่งต้อง เล่นไวโอลินสลับวิโอล่าในระหว่างเพลงอีกด้วย เสียงสอดประสานของไวโอลิน 4 ตัวจะสื่อถึงอริยสัจสี่ขององค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สำ � เนี ย งดนตรี ที่ ใช้ ใ นเตมี ย์ ใ บ้ นั้ น เป็ น สิ่ ง แปลกใหม่ อั น เป็ น นามธรรมยิ่งกว่ามหาอุปรากรเรื่องอื่นๆ ของผม เรื่องนี้เน้นหนักในความ เหมาะสมของโอเปร่าซึ่งสั้นกว่า ‘แม่นาก’ หรือ ‘อโยธยา’ มหาอุปรากร เรื่องนี้ประกอบด้วยศูนย์กลางเสียง 2 เสียง เสียง A สื่อความหมายถึง “ดินแดนศักดิ์สิทธิ์” ของพระพุทธเจ้า และ E flat หมายถึง โลกมนุษย์ ซึ่ง จะเห็นได้ชัดเจนจากเพลงกล่อมลูกของพระนางจันทราเทวี (องก์ 2 ฉาก 1) อนึ่งเพื่อเหมาะสมกับฉากกรุงพาราณสีในมหาอุปรากรเรื่องนี้ ดนตรีในเรื่องจึงมาจาก “ราคะ” ของอินเดียเป็นส่วนใหญ่ หากได้รับการ ปรุงแต่งให้ผิดแผกแตกต่างไปจากของเดิม ผมออกแบบให้เตมีย์ใบ้เป็นโอเปร่าขนาดเล็ก สั้น กระชับและ ใช้พลังน้อยกว่าโอเปร่าเรื่องอื่นๆ ของผม แนวคิดที่จะให้คำ�สอนของพุทธ ศาสนาสามารถถ่ายทอดผ่านโอเปร่าและสื่อสาร ด้วยเสียงร่วมสมัยนั้น เป็นการท้าทายที่น่าตื่นเต้นที่สุดสำ�หรับผม


คติธรรมจากเตมียชาดก โดย พระมหาไสว ธีรโสภโณ

ตามที่คุณสมเถาได้ชี้แจงในเบื้องต้นเกี่ยวกับการแสดงซึ่งหยิบยก เอาทศชาติ อั น เป็ น วรรณกรรมที่ เ กี่ ย วกั บ พุ ท ธศาสนามาแต่ ง เป็ น ละครนั้น หลายท่านอาจรู้จักพระเวสสันดรเป็นอย่างดีเพราะมีการ เทศน์มหาชาติเป็นประจำ� และในระยะสามสี่ปีหลังมานี้หลายท่าน อาจรู้จักพระมหาชนก เพราะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรง พระราชนิพนธ์หนังสือขึ้น บางท่านอาจรู้จักมโหสถบัณฑิต แต่คนที่ จะรู้จักพระเตมีย์ใบ้นั้นคงจะน้อย อาตมาในฐานะที่เป็นนักบวชซึ่ง เกี่ยวกับทางศาสนาโดยตรงก็จะขอเกริ่นให้ท่านทั้งหลายได้รับทราบ ถึงประวัติของพระเตมีย์ใบ้โดยย่อ ดังนี้ พระเตมีย์ใบ้นั้นจัดว่าเป็นชาติที่หนึ่งในสิบชาติสุดท้าย ก่อนที่ จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า โดยมีเวสสันดรเป็นชาติสุดท้าย สาเหตุ ที่เราเรียกว่าเตมีย์ใบ้นี่ความจริงพระองค์ไม่ได้เป็นใบ้ แต่เกิดมา สมบูรณ์ทุกประการ โดยเมื่อพระเจ้าแผ่นดินกรุงพาราณสีทรง อภิเษกสมรสกับมเหสีก็มีปัญหาคือไม่สามารถจะมีโอรสหรือธิดาได้ ก็เกิดความทุกข์ใจเกรงว่าราชสมบัติจะไม่มีผู้สืบต่อ จึงได้พยายาม ทำ�การบนบานบวงสรวงเทวดา และได้ประสูติโอรสองค์นี้ขึ้นมา เมื่อ ประสูติพระโอรสขึ้นมานั้นด้วยความที่พระราชบิดาทรงโปรดโอรส องค์นี้มาก เมื่อเวลาที่ไปออกว่าราชการพิพากษาคดีต่างๆ บ่อย ครั้งก็ได้นำ�พระราชโอรสองค์นี้ไปด้วย จนกระทั่งพระราชโอรสอายุ ประมาณ 8-9 ปี พอที่จะรู้เรื่องราวต่างๆ ได้ วันหนึ่งได้มีโอกาส ตามพระราชบิดาไปพิจารณาความซึ่งก็เห็นว่าพระบิดาตัดสินลงโทษ นักโทษที่กระทำ�ผิด ให้โบยบ้าง เฆี่ยนบ้าง บางคนก็สั่งจองจำ� บาง คนก็สั่งประหาร เด็กวัยขนาดนี้เริ่มรับรู้ได้จึงเกิดความกลัวว่าวันหนึ่ง หากโตไปจะต้องเป็นกษัตริย์เหมือนพ่อ และจะต้องทำ�บาปเหมือน

พ่อ หากทำ�แบบนี้จะต้องตกนรกแน่นอน ซึ่งจังหวะนั้นก็เผอิญระลึก ชาติได้ถึงสมัยที่พระองค์เกิดในนรกแล้วรู้ว่าทุกข์โทษในนรกเป็น อย่างไร นับจากวินาทีนั้นจึงไม่ปรารถนาที่จะเป็นพระราชาอีกต่อไป มารดาในอดีตซึ่งเกิดเป็นนางฟ้าอยู่ในบริเวณนั้นรู้ความต้องการ ของลูกในอดีตจึงได้มาบอกว่า ถ้าไม่อยากเป็นพระราชาให้ทำ�สาม อย่าง คือ ทำ�เป็นคนง่อยเปลี้ยเสียขาเดินไม่ได้ ให้ทำ�เป็นคนหูหนวก เป็นใบ้ไม่ได้ยินอะไร ซึ่งพระองค์ก็ทำ�ตาม นับจากนั้นเป็นต้นมา จาก ที่เคยเดิน เคยร้อง เคยทำ�อะไร ก็จะไม่ทำ� นิ่ง จับวางตรงไหนก็อยู่ ตรงนั้น ไม่ขยับเขยื้อนเคลื่อนไหว จนเป็นที่ผิดสังเกต พระราชบิดา พระราชมารดาและคนทั่วไป จึงเริ่มทดสอบด้วยวิธีการต่างๆ เช่น เอาไปไว้ในที่มืด เอาไปไว้กับสัตว์ดุร้าย เอางูมารัด ซึ่งตามปกติวิสัย เด็กทั่วไปก็จะร้อง แต่ก็ไม่ร้อง ไม่แสดงอาการใดๆ จนกระทั่งเวลา ผ่านไปถึงเจ็ดปี เมื่ออายุประมาณ 16 ปี ผู้เป็นพ่อก็คิดว่าธรรมดา ของมนุษย์เมื่อย่างเข้าสู่วัยหนุ่มก็ย่อมยินดีในเพศตรงข้าม จึงได้ลอง เอาผู้หญิงสวยๆ มาร่ายรำ� มายั่วยวนด้วยวิธีการต่างๆ เตมียกุมา รกยังคงทำ�เป็นหูหนวก เป็นใบ้ เป็นคนง่อยเปลี้ยเสียขาอยู่นั่นเอง เพราะกลัวโทษในนรกที่เคยตกมา จึงเป็นเหตุให้นิ่งอยู่ได้ พระราช บิดาจึงทรงกริ้วอย่างมาก เพราะถือว่าคนที่เกิดมาพูดไม่ได้ ไม่ได้ยิน เดินไม่ได้นั้นเป็นกาลกิณี ซึ่งคนสมัยก่อนก็จะไม่เลี้ยงไว้ ไม่เก็บไว้ จะ ต้องฆ่าสถานเดียว ผู้เป็นแม่จึงพยายามอ้อนวอนขอราชสมบัติให้ จน สุดท้ายพระราชบิดาก็ยอมให้ครองราชย์หนึ่งวัน เอาขึ้นรถแห่ไปรอบ เมือง พระกุมารก็ไม่แสดงความรู้สึกยินดีต่อราชสมบัติ ทรงนิ่งเฉย แม้ประชาชนจะโห่ร้องทักทาย แสดงความยินดี พระองค์ก็ทรงเฉย จนกระทั่งพระราชบิดาโกรธสุดขีด ทนไม่ไหว จึงรับสั่งให้คนใกล้ชิด เอาไปฆ่า ปรากฎว่าเมื่อกำ�ลังจะขุดหลุมฝังเตมียกุมารซึ่งไม่ได้เดินมา เจ็ดปีเต็มก็ยังสามารรถเดินได้ พูดได้ และได้ชี้แจงให้คนที่นำ�ไปฆ่าว่า แท้จริงแล้วท่านเป็นปกติดีทุกประการ แต่ที่แกล้งไม่พูดนั้นเพราะไม่ อยากจะขึ้นครองราชย์ เพราะถ้าขึ้นครองราชย์จะต้องให้คุณให้โทษ กับผู้กระทำ�ผิด ซึ่งเป็นเหตุให้เกิดบาปและต้องรับทุกข์ในนรก คนที่ จะนำ�ไปฆ่าอ้อนวอนขอให้พระองค์กลับไปครองราชย์ แต่พระองค์ ก็ไม่ยอม นอกจากจะไม่ยอมแล้วนั้น ยังได้ให้ชายผู้นั้นกลับไปทูลให้ พระราชบิดา พระราชมารดามารดาทราบเรื่อง สุดท้ายเมื่อพระราช บิดา พระราชมารดามารดามาถึงและมีโอกาสได้ฟังธรรมจากเตมียกุ มาร ก็เกิดศรัทธาเลื่อมใส และได้ออกบวชเป็นฤๅษีเพื่อปฏิบัติธรรม คติธรรมจากเรื่องเตมีย์ใบนี้มีเด่นๆ อยู่สามสี่ประการที่จะยกขึ้น มาให้ท่านทั้งหลายได้เห็น เผื่อจะนำ�ไปเป็นแนวทางในการดำ�เนิน ชีวิตต่อไปได้ ประการแรก คือ พระองค์ไม่อยากที่จะเป็นใหญ่ ซึ่งโดย ธรรมชาติของคนก็อยากจะเป็นใหญ่ การอยากเป็นใหญ่นี่อาจไม่ใช่ ความผิด เพียงแต่ว่าบางคนเมื่ออยากเป็นใหญ่แล้วก็พยายามทำ�ทุก วิถีทาง ดังที่โบราณท่านว่า ไม่ได้ด้วยเล่ห์ก็เอาด้วยกล ไม่ได้ด้วยมนต์ ก็เอาด้วยคาถา จะไปถึงสิ่งที่ตนเองหวังโดยไม่คำ�นึงถึงวิธีการ ว่าสิ่ง ที่ทำ�จะผิดหรือถูกอย่างไร นี่คือสิ่งสำ�คัญประการหนึ่งว่า พระองค์มี โอกาสที่จะเป็นใหญ่แต่ไม่อยากจะเป็นใหญ่เพราะกลัวต่อการกระ ทำ�บาป ประการที่สอง คือ พระองค์ใช้ขันติหรือความอดทน ทนต่อสิ่ง ยั่วยุต่างๆ ที่พระราชบิดาให้คนทดลอง ซึ่งโดยพื้นฐานของคนเรานั้น


เป็นคนดี แต่พอเจอสิ่งยั่วยุก็ทำ�ให้เกิดเสียคนขึ้นมาได้ อย่างบางคน ต้องทำ�งานเกี่ยวข้องกับเงินมากๆ พอเห็นเงินมากๆ แล้วก็อาจใช้ ตำ�แหน่งหน้าที่ในการทุจริตเงินก้อนนั้นขึ้นมา เพราะมีช่องทางที่อาจ กระทำ�ได้ แต่พระเตมีย์นั้น ขนาดมีสิ่งยั่วยวนอยู่ตรงหน้า พระองค์ก็ ทรงใช้ขันติธรรม ไม่ยอมใจอ่อน เพราะฉะนั้นหากเราจะนำ�ธรรมข้อ นี้ไปปฏิบัติก็น่าจะเป็นประโยชน์ คือ แม้จะมีสิ่งใดก็ตามมายั่วยวน ให้เราเกิดความหลง ความรัก โดยเฉพาะในเรื่องของกามกลทั้งห้า อันประกอบด้วย รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ถ้าเราใช้ความอดทนก็จะ สามารถที่จะทนได้ ไม่ทำ�ให้เราเสียคนเพราะอำ�นาจของกิเลสที่มายั่ว ยุ ประการที่สามที่โดดเด่น คือ พระองค์มีความมุ่งมั่นจะทำ�ในสิ่ง ที่ต้องการให้ประสบความสำ�เร็จ แม้จะถูกทดสอบด้วยประการต่างๆ แต่พระองค์ไม่หวั่นไหว ซึ่งการที่คนเดินได้จะแกล้งทำ�เป็นเดินไม่ได้ พูดได้แต่ไม่ยอมพูด ได้ยินแต่ทำ�เป็นไม่ได้ยินถึงจ็ดปีนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย แม้เพียงจะไม่ให้พูดแค่ชั่วโมงหนึ่งหรือครึ่งชั่วโมงหลายคนในที่นี้ก็ทำ� ไม่ได้ คนส่วนใหญ่เป็นคนที่ชอบพูดและช่างพูด แต่พูดไม่ค่อยชอบ ที่ พระพุทธเจ้าท่านเรียกว่าวจีทุจริต คือถ้อยคำ�ที่ไม่ควรพูด อันได้แก่ การพูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคำ�หยาบและพูดเพ้อเจ้อ ซึ่งวาจาเหล่านี้ เป็นเหตุให้เกิดความขัดแย้ง เกิดการทะเลาะเบาะแว้งกัน ดังนั้น ถ้า เรารู้จักใช้คำ�พูดที่ดี หรือบางครั้งไม่พูดเลย นิ่งเหมือนพระเตมีย์นั้น ปัญหาก็จะไม่เกิด ดังโบราณท่านว่า พูดมากเสียมาก พูดน้อยเสีย น้อย นิ่งเสียโพธิสัตว์ เราจะเห็นว่าปัจจุบันนี้ปัญหาความขัดแย้งที่ เกิดเพราะการใช้คำ�พูดนี่เยอะมากบางทีพูดผ่านสื่อแต่มีการกระทบ ชิ่งไปถึงอีกฝ่าย พออีกฝ่ายได้รับฟังก็พูดผ่านสื่อกระทบกันไปกระทบ กันมาจนเกิดความไม่เข้าใจกัน เพราะฉะนั้นเราดูจากพระเตมีย์แล้ว นิ่งเสียบ้าง ถ้าเรานิ่งเสียบ้างนี่จะก่อให้เกิดประโยชน์มากมาย บาง ครั้งคนที่กำ�ลังจะแต่งงาน พ่อแม่ก็มักจะสอนว่า ตาไม่บอดก็ต้องทำ� เหมือนตาบอด หูไม่หนวกก็ต้อทำ�เหมือนหูหนวก เพราะบางครั้งถ้า เราไปรู้ไปเห็นทุกอย่าง การจะใช้ชีวิตคู่ต่อไปจะยากลำ�บาก จะทำ�ให้ เกิดปัญหาขัดแย้งกันเพราะฉะนั้น ที่กล่าวมาคงพอให้เห็นภาพว่าพระองค์มีที่มาที่ไปอย่างไร หาก เราได้ศึกษาประวัติของพระองค์แล้วนำ�ไปเป็นแนวทางปรับใช้กับ การดำ�เนินชีวิตของเราก็น่าจะเกิดประโยชน์สูงสุด ขออนุโมทนากับ ทางคณะทำ�งานทุกท่านที่ได้จัดการแสดงมหาอุปรากรโดยอาศัยสื่อ คำ�สอนในทางพระพุทธศาสนา เพราะว่าการเข้าถึงหลักคำ�สอนนั้นมี หลายรูปแบบ หลายวิธีการ ช่องทางนี้ก็เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่จะได้ นำ�คำ�สอนของพระพุทธศาสนาเข้าไปถึงผู้ฟัง ฉะนั้น ขออนุโมทนา และขอเล่าให้ฟังถึงประวัติของพระเตมีย์ใบ้โดยย่อแต่เพียงเท่านี้ ขอ เจริญพร (ถอดความจากงานแถลงข่าวการแสดงมหาอุปรากรเฉลิมพระเกียรติ “เตมีย์ใบ้” วันที่ 21 พฤศจิกายน 2555 ณ สมาคมผู้สื่อข่าวต่าง ประเทศแห่งประเทศไทย)

Temiya Jataka

a Tale about the Lord Buddha Chanda Devi, the wife of the king of Kashi had no son. This filled her life with misery. Sakka, the king of the devas, when saw her grief he decided to help her because she was a virtuous lady. So, he persuaded the Bodhisatta, who was then born in the realm of the Tavatimsa to prepare for his descent in her womb for the sake of her happiness. The Bodhisatta then entered the womb of the queen. When born, there was a heavy rain-fall in the city. As he was born wet he was called Temiya. When Temiya was one month old and was lying in his father’s lap, he overheard the father’s harsh sentence meant for some bandits. This made him remember one of his births when he was the king of Varanasi and reigned there for twenty years for which he suffered for twenty thousand years in the Ussada Niraya (a kind of hell). So, he loathed the idea of being a king for the second time. As he was conversant with the deities of the higher world he received the advice from one of them to pretend to be dumb and inactive to avoid the inheritence of the kingdom. He took the advice and accordingly pretended to be dumb and inactive for sixteen years. Owing to his pretence he was declared unfit as a prince or a future king and was eventually handed over to the royal charioteer Sunanda to be taken to the cemetery to be clubbed to death and buried there. When Sunanda was digging the grave to dispose off the dead body, Temiya stealthily sneaked behind him and confided his resolve to him. Impressed, Sunanda then wanted to be an ascetic like him. But Temiya asked him first to inform his whereabouts to the king and his mother; and then become an ascetic. The king, queen and others then soon arrived there. Temiya gave them a sermon to praise the ideals of asceticism. All the people, including the king and the queen, were highly impressed by his sermon and became ascetics. Soon, the fame of Temiya spread all over the place, which made the citizens of the three kingdoms adjacent to Varanasi his followers. (from : http://ignca.nic.in/jatak058.htm)


Somtow Sucharitkul

Composer and Director

The most well-known expatriate Thai in the world- International Herald Tribune Once referred to by the International Herald Tribuneas “the most well-known expatriate Thai in the world,” Somtow Sucharitkul is no longer an expatriate, since he has returned to Thailand after five decades of wandering the world. He is best known as an award-winning novelist and a composer of operas. Born in Bangkok, Somtow grew up in Europe and was educated at Eton and Cambridge. His first career was in music and in the 1970s he acquired a reputation as a revolutionary composer, the first to combine Thai and Western instruments in radical new sonorities. Conditions in the arts in the region at the time proved so traumatic for the young composer that he suffered a major burnout, emigrated to the United States, and reinvented himself as a novelist. His earliest novels were in the science fiction field but he soon began to cross into other genres. In his 1984 novel Vampire Junction, he injected a new literary inventiveness into the horror genre, in the words of Robert Bloch, author of Psycho,

“skillfully combining the styles of Stephen King, William Burroughs, and the author of the Revelation to John.” Vampire Junction was voted one of the forty alltime greatest horror books by the Horror Writers’ Association, joining established classics like Frankenstein and Dracula. In the 1990s Somtow became increasingly identified as a uniquely Asian writer with novels such as the semi-autobiographical Jasmine Nights. He won the World Fantasy Award, the highest accolade given in the world of fantastic literature, for his novella The Bird Catcher. His fifty-three books have sold about two million copies world-wide. After becoming a Buddhist monk for a period in 2001, Somtow decided to refocus his attention on the country of his birth, founding Bangkok’s first international opera company and returning to music, where he again reinvented himself, this time as a neo-Asian neo-Romantic composer. The Norwegian government commissioned his song cycle Songs Before Dawn for the 100th Anniversary of the Nobel Peace Prize, and he composed at the request of the government of Thailand his Requiem: In Memoriam 9/11 which was dedicated to the victims of the 9/11 tragedy. According to London’s Opera magazine, “in just five years, Somtow has made Bangkok into the operatic hub of Southeast Asia.” His operas on Thai themes, Madana, Mae Naak, and Ayodhya,have been well received by international critics. His most recent opera, The Silent Prince, was premiered in 2010 in Houston, and a fifth opera, Dan no Ura, will premiere in Thailand in the 2013 season. His sixth opera, Midsummer, will premiere in the UK in 2014. He is increasingly in demand as a conductor specializing in opera and in the late-romantic composers like Mahler. His repertoire runs the entire gamut from Monteverdi to Wagner. His work has been especially lauded for its stylistic authenticity and its lyricism. The orchestra he founded in Bangkok, the Siam Philharmonic, is mounting the first complete Mahler cycle in the region. He is the first recipient of Thailand’s “Distinguished Silpathorn” award, given for an artist who has made and continues to make a major impact on the region’s culture, from Thailand’s Ministry of Culture.


สมเถา สุจริตกุล

คีตกวีและผู้กำ�กับการแสดง คนไทยในต่างแดนผู้เป็นที่รู้จักมากที่สุดในโลก--International Herald Tribune สมเถา เกิดในกรุงเทพฯ เติบโตในยุโรป เป็นคนไทยคน แรกที่สำ�เร็จมัธยมศึกษา จากวิทยาลัยอีตัน ต่อมาได้รับทุนการศึกษา จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศ อังกฤษ จนสำ�เร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยม) และปริญญาโท แขนงวิชาวรรณคดี ควบคู่กับดนตรี งานอาชีพแรกของสมเถาคือสร้างสรรค์ดนตรี คีตนิพนธ์ ทัศน์ภูเขาทอง View from the Golden Mountain ซึ่งสมเถา ประพันธ์เมื่อปี พ.ศ. 2518 เป็นการ บุกเบิกครั้งสำ�คัญแห่งวงการ ดนตรีโดยใช้เครื่องดนตรีไทยผสมเครื่องดนตรี ตะวันตกเป็นครั้งแรก ในประวัติศาสตร์การดนตรี สมเถา ทำ�หน้าที่วาทยกรครั้งแรกเมื่ออายุเพียง 19 ปี โดยอำ�นวยเพลงให้วงดุริยางค์ ฮอลแลนด์ซิมโฟนีออร์เคสตร้าที่ ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในคีตนิพนธ์ Holland Symphony ซึ่งเขา ประพันธ์ทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระบรมราชินีนาถจูเลียนา แห่ง เนเธอร์แลนด์ เนื่องในวโรกาสครองสิริราชสมบัติครบ 25 ปี ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 สมเถา ได้ชื่อว่าเป็น ‘คีต กวีล้ำ�ยุค’ แห่งภาคพื้นเอเซีย เขาถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักจาก เพื่อนร่วมชาติแต่ในช่วงเวลาเดียวกันก็ได้ รับแต่งตั้งเป็นผู้อำ�นวย การฝ่ายศิลป์ (Artistic Director) ในงานมหกรรมดนตรี แห่ง เอเซีย (Asian Composers Expo 78) เขาก่อตั้งสมาคมคีตกวีแห่ง ประเทศไทย และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้แทนถาวรจากประเทศไทยใน คณะกรรมาธิการดนตรี นานาชาติแห่งองค์กรยูเนสโก เมื่อความคิดสร้างสรรค์ด้านดนตรีหยุดชะงักชั่วคราว สม เถาจึงหันไปสู่บรรณพิภพ เมื่อต้น พ.ศ. 2523 นับแต่นั้นเป็นต้นมา เขาผลิตนวนิยายภาษาอังกฤษแนวต่าง ๆ 50 เรื่องรวมทั้งเรื่องสั้น กว่า 200 เรื่อง ออกสู่ตลาดโลกภายใต้นามปากกา เอส.พี. สมเถา (S. P. Somtow) ผลงานของนักประพันธ์ไทยผู้นี้ได้รับรางวัลหลาก หลาย และมีผู้นำ�ไปแปลเป็นภาษาต่าง ๆ กว่า 10 ภาษา นวนิยาย ประเภทสยองขวัญ เรื่อง Vampire Junction โดย เอส.พี. สมเถา ได้ รับเลือกเป็นวรรณคดีประเภท กอธิคคลาสสิคซึ่งมหาวิทยาลัยหลาย แห่งในสหรัฐฯ นำ�ไปใช้เป็นตำ�ราเรียนใน หลักสูตรวิชาวรรณคดี Jasmine Nights นวนิยายกึ่งอัตชีวประวัติ พิมพ์จำ�หน่ายครั้งแรกโดยสำ�นักพิมพ์ Hamish Hamilton แห่งประเทศอังกฤษ สร้างชื่อเสียงให้ผู้เขียนจน George Axelrod นักเขียนบทภาพยนตร์มือทอง เจ้าของรางวัลตุ๊กตาทองแห่ง วงการภาพยนตร์สหรัฐอเมริกากล่าวว่า สมเถา สุจริตกุล คือ ‘D. J.

Salinger of Siam’ ผลงานวรรณกรรมของ เอส.พี. สมเถา ได้รับ รางวัลหลากหลายรวมทั้ง World Fantasy Award อันมีเกียรติสูงสุด จาก เรื่องสั้น The Bird Catcher นอกจากนั้นสมเถายังเคยดำ�รง ตำ�แหน่งนายก สมาคมนักเขียนนิยายสยองขวัญแห่งสหรัฐอเมริกา สมเถาหวนกลับมาสู่คีตภพอีกครั้งในช่วงคริสต์ศวรรษ 1990 โดยเปลี่ยนแนว การประพันธ์จากเดิมเป็น ‘นีโอ-คลาสสิค’ เมื่อปี พ.ศ. 2542 สมเถาได้รับ มอบหมายให้ประพันธ์ มัทนา มหาอุปรากรเรื่องแรกโดยคีตกวีไทย โดยอัญเชิญ พระราชนิพนธ์ของ สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเรื่อง มัทนะพาธา มาถ่ายทอด เป็น มหาอุปรากรสมบูรณ์แบบเรื่องแรกแห่งสหัสวรรษใหม่ เปิดแสดง รอบ ปฐมทัศน์โลกที่กรุงเทพฯ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 ผลงานครั้งนั้น ประสบ ความสำ�เร็จท่วมท้นและได้รับการยกย่องใน Opera Now นิตยสาร ที่มี อิทธิพลสูงสุดแห่งวงการมหาอุปรากร พิมพ์ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ว่ายิ่งใหญ่ในระดับ ‘One of the operatic events of the year’ นอกจากนั้น สมเถายังได้ประพันธ์คีตนิพนธ์อมตะ อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งผลงาน ที่ได้รับพระบรมราชานุญาตและพระรา ชานุญาตให้ประพันธ์ทูลเกล้าฯ ถวาย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่มหาอุปรากรอิงวรรณคดีเรื่อง อโยธยา จาก ‘รามเกียรติ’ ฉบับ เอเชียตะวันออก กัลยาณีซิมโฟนี ทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จ พระเจ้าพี่ นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และ คอนแชร์โต้มหาราชินี Queen Sirikit Piano Concerto ทูลเกล้าฯ ถวาย สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และในปี 2555 จะ เปิดแสดงคีตาลัย พระมารดาแห่งดนตรี Requiem for the Mother of Songs ผลงานอลังการ ที่สมเถาใช้เวลาประพันธ์กว่า 3 ปี ทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรม หลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเถา สุจริตกุล เป็นศิลปินคนแรกที่ได้รับรางวัลศิลปาธร กิตติคุณเมื่อปี พ.ศ. 2551 เป็นผู้ก่อตั้งวงดุริยางค์สยามฟิลฮาร์โมนิค ออร์เคสตร้า และวงดุริยางค์ เยาวชนนวัตกรรม สยามซินโฟนิเอตต้า ซึ่งได้รับรางวัลชนะเลิศในการแข่งขัน ระดับโลกในเทศกาล Summa Cum Laude 2555 ณ กรุงเวียนนา ประเทศ ออสเตรีย เขาผลิตผล งานอย่างต่อเนื่องทั้งในด้านวรรณกรรมและคีตศิลป์ รวมทั้งดนตรี ละครเพลง “เรยา เดอะ มิวสิคัล” ในรูปแบบบรอดเวย์มาตรฐาน ปัจจุบัน สมเถาดำ�รงตำ�แหน่งประธานมูลนิธิมหาอุปรากร กรุงเทพ และผู้อำ�นวยการฝ่ายศิลป์ประจำ�คณะมหาอุปรากรโอเปร่า สยาม


Trisdee na Patalung ทฤษฎี ณ พัทลุง Conductor

วาทยกร


Thai conductor Trisdee na Patalung has worked extensively at the Netherlands Opera Studio as conductor and resident coach. He was music director of a staged performance of Händel’s oratorio Belshazzar directed by Harry Kupfer, Monteverdi’s Il combattimento di Tancredi e Clorinda, Marc-Antoine Charpentier’s La Descente d’Orphée aux Enfers at the Concertgebouw and Monteverdi’s Orfeo directed by Pierre Audi at the Amsterdam Schouwburg. He conducted the Rossini Opera Festival’s 2009 production of Il viaggio a Reims in Pesaro, Italy, and the Dutch National Touring Opera’s (Nationale Reisopera) 2010 production of Rossini’s La Cenerentola. “Discovered” by Somtow Sucharitkul at the age of 15 and engaged as resident repetiteur and assistant conductor of Opera Siam at 16, Trisdee had his operatic conducting debut in Opera Siam’s Die Zauberflöte at 20, immediately followed by Gluck’s Orfeo ed Euridice at the Steyr Music Festival in Austria. Since then he has conducted such orchestras as the Royal Scottish National Orchestra, Orchestra Sinfonica Nazionale della RAI, Orchestra Sinfonica di Milano Giuseppe Verdi, Orchestra I Pomeriggi Musicali di Milano, Orchestra Haydn di Bolzano e Trento, Orchestra Sinfonica G. Rossini, and Het Gelders Orkest. He is currently the Siam Philharmonic Orchestra’s resident conductor. Of Trisdee’s conducting of Die Zauberflöte, UK’s OPERA magazine said, “If the word ‘genius’ still has any meaning in this age of rampant hyperbole, Trisdee is truly a living example.”

ทฤษฎี ณ พัทลุง เป็นนักประพันธ์ดนตรีและวาทยกรไทยที่มีผลงาน เป็นที่ยอมรับในระดับโลกอย่างต่อเนื่อง เป็นวาทยกรไทยคนเดียวที่ได้รับ เกียรติไปอำ�นวยเพลงให้กับวง Royal Scottish National Orchestra, Orchestra Sinfonica Nazionale della RAI (วงออร์เคสตราแห่งชาติ อิตาลี) และยังเป็นศิลปินชาวไทยคนแรกที่ได้เซ็นสัญญากับสังกัด Columbia Artists Management Inc.นิวยอร์ค (CAMI) ในปี 2554 ทฤษฎีได้รับการกล่าวถึงโดยนิตยสาร Class Filosofia ประเทศอิตาลี ว่าเป็นหนึ่งในวาทยกรอายุต่ำ�กว่า 30 ปีที่มีความสามารถ ที่สุดในโลก ในปีต่อมา ได้ควบคุมวง Siam Sinfonietta ร่วมกับอาจารย์ สมเถา สุจริตกุล ในการแข่งขันวงดุริยางค์เยาวชนระดับโลก Summa Cum Laude International Youth Music Festival Vienna นำ�รางวัล ชนะเลิศกลับมาสู่ประเทศไทย หนังสือพิมพ์ Bangkok Post เลือกทฤษฎี เป็นหนึ่งใน “66 Young Leaders Shaping Thailand’s Future” และ นอกจากนั้นยังได้รับคัดเลือกเป็น ผู้ทำ�คุณประโยชน์ต่อเด็กและเยาวชน สาขาสื่อมวลชนเพื่อเด็กและเยาวชนที่ป้องกันปัญหาสังคม จากกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยเข้ารับพระราชทานโล่ เกียรติคุณในวันเยาวชนแห่งชาติ ประจำ�ปี 2555 ทฤษฎีรับตำ�แหน่งโค้ชนักร้องโอเปร่าที่สถาบัน Opera Studio Nederland แห่งประเทศเนเธอร์แลนด์ตั้งแต่อายุ 18 ปี และเป็นวาทยกร ไทยคนแรกที่ได้อำ�นวยเพลงที่Concertgebouw ประเทศเนเธอร์แลนด์ หนึ่งในหอแสดงดนตรีคลาสสิคที่สำ�คัญที่สุดของโลก จากนั้นได้รับเชิญ จากDutch National Touring Opera ไปอำ�นวยเพลงในมหาอุปรากร La Cenerentola (ซินเดอเรลลา) ใน 12เมืองทั่วประเทศเนเธอร์แลนด์ และ ยังได้รับเชิญไปอำ�นวยเพลงในเทศกาลโอเปร่าระดับโลก Rossini Opera Festival ณ เมือง Pesaro ประเทศอิตาลีในปี2552-2553 โดยถือเป็น วาทยกรรับเชิญที่อายุน้อยที่สุดในเทศกาลเป็นเวลา 2 ปีซ้อน ในฐานะนักประพันธ์เพลง ทฤษฎีได้ประพันธ์เพลง Eternity (นิรันดร์) คีตาลัยถวายแด่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งได้รับการบรรเลง ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง และเมื่อสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณ วดี ทรงเจริญพระชนมายุ 7 รอบ ทฤษฎีได้ประพันธ์บทเพลงเฉลิมพระขวัญ “พระหน่อนาถ” โดยนำ�บทกล่อมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่ หัว มาประพันธ์ทำ�นองสากล ออกอากาศทางช่อง Modernine TV ต่อ มาได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายโดยสื่อโทรทัศน์ในช่วงพระราชพิธีพระราชทาน เพลิงพระศพฯ และบรรเลงสดในมณฑลพิธี พระเมรุ ท้องสนามหลวง ทฤษฎีเริ่มศึกษาดนตรีเมื่ออายุ 13 ปี โดยเรียนเปียโนกับ อาจารย์ว รพร ณ พัทลุง, อาจารย์จามร ศุภผล และ อาจารย์เอริ นาคากาวา ต่อ มาได้รับการสนับสนุนจากอาจารย์สมเถาสุจริตกุล และรับหน้าที่ผู้ฝึกสอน นักร้องโอเปร่าประจำ�คณะมหาอุปรากรกรุงเทพตั้งแต่อายุ 15 ปี ปัจจุบัน นอกจากการเดิ น ทางไปเป็ น วาทยกรรั บ เชิ ญ กั บ วงออร์ เ คสตราในต่ า ง ประเทศนั้น ทฤษฎียังดำ�รงตำ�แหน่งเป็นวาทยกรประจำ�วงดุริยางค์สยาม ฟิลฮาร์โมนิค จากการอำ�นวยเพลงของทฤษฎีในมหาอุปรากรเรื่อง The Magic Flute ของ Mozart ในปี 2549 ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย นิตยสาร ‘OPERA’ แห่งกรุงลอนดอนได้กล่าวถึงการแสดงครั้งนั้นในบทวิจารณ์ว่า: “หากคำ�ว่า ‘อัจฉริยะ’ ยังเหลือความหมายใดๆอยู่ในโลกที่เต็มไปด้วยคำ� กล่าวอ้างเกินจริงนี้ ทฤษฎี นับเป็นตัวอย่างที่แท้จริงแห่งยุคปัจจุบัน” (“If the word ‘genius’ still has any meaning in this age of rampant hyperbole, Trisdee ... is truly a living example.”)



The Silent Prince

THAI PREMIERE

Dec 5, 2012 at Thailand Cultural Center


Cast Kyu Won Han King of Banares

Kyu Won Han has made numerous appearances with San Francisco Opera since his debut as Masetto in Don Giovanni in 1999, and has returned as Ping in Turandot, as Moralès in Carmen and as Prince Yamadori in Madama Butterfly. HAN also appeared in their Verdi Celebration Recital titled “Verdi and the Art of Italian Song.” HAN made his European debut in 2001 as Ping in Turandot at Strasbourg’s Opéra National du Rhin and Japanese debut as Papageno in Die Zauberflöte at the New National Theater of Tokyo. In 2003 he sang Dunois in concert version of Tchaikovsky’s Maid of Orleans at Concertgebouw in Amsterdam. An alumnus of the San Francisco Opera Adler Fellowship Program, HAN was featured in the title role of Don Giovanni at the Merola Opera Program in 1999 and made the 31-city-tour with Western Opera Theater with the role. Additional credits with San Francisco Opera Center include Mr. Gedge in Showcase Presentation of Albert Herring in 2000, and Mercurio in Showcase Production of Cavalli’s La Calisto and a prestigious Schwabacher

Debut Recital in 2001. As a celebrated recitalist and concert artist, HAN’s repertoire includes Beethoven’s Ninth Symphony, the Brahms’ Requiem, the Faure Requiem Handel’s Messiah, Mahler’s Eighth Symphony, Mozart’s Coronation Mass, Schubert’s Mass in G, Bernstein’s Chichester Psalms, and Saint-Saëns’ Oratorio de Noël. A frequent guest to concert stages throughout Japan, he appeared in the 2002 FIFA World Cup Soccer Game’s Anniversary Concert in Yokohama, and in the acclaimed “Beethoven’s Ninth Symphony with 10,000 Choirs” at the Osaka Castle Arena in Osaka since 2003. A native of Seoul, Korea, HAN received his Bachelor and Master degrees in Music from Manhattan School of Music. His numerous awards include the Belvedere Competition, the Mario Lanza Competition, the Oratorio Society Competition, the Licia Albanese/Puccini Competition, the Dicapo Opera Competition and the Connecticut Opera Guild Competition. The recent appearances include the role of Figaro in Il Barbiere di Siviglia and

Grace Echauri

conductors as Marco Armiliato, Enrique Patrón de Rueda, Anton Coppola, Somtow Sucharitkul, Ramón Tebar, Alfredo Silipigni, and Giampaolo Bracali. THE NATION journal wrote: “In the opera, Amneris is the impossibly jealous princess who may own her slave, Aida, but cannot tear Radames’s love away from Aida and to have it for herself. The singing of Grace Echauri was more than stunning — love, envy, hatred were played off each other with directness, deceit, seeming sanity and ultimate madness by a voice of superb expression.” In France, one of her recordings, the opera Ildegonda by Melesio Morales received the MICHEL GARCIN “Orphée dór Award in 1996 as “The record of the year”. Her repertoire includes many symphonic works, such as the Mahler Symphonies No.2, No.3 and No.8, Kindertotenlieder and Das Klagende Lied; Verdi Requiem, Mozart Coronation Mass and Requiem, Handel Messiah, Bach Mass in B minor and Christmas Oratorio, Beethoven Symphony No. 9, De Falla El Amor Brujo, Dvorjak Stabat Mater, Rossini Pettite Messe and Stabat mater, among others. She has sung with the most import-

Chandra Devi

First awarded winner of the XXX International Vincenzo Bellini Vocal Competition in Italy. She received the prestigious MOZART AWARD by the Austrian Embassy in her native Mexico. She appeared at the Bellas Artes’ Opera House as Isabella in L’Italiana in Algeri, Azucena in Il Trovatore, La Gran Duqesa in Alicia, Prince Orlofsky in Die Fledermaus and Soledad in La Mulata de Cordoba. She participated in a operatic gala concert in Mexico featuring Placido Domingo. Ms. Echauri has sung with all the major opera companies in Mexico, in the United States, England and Thailand as well. She has apppeared in such roles as Dinah in Trouble in Tahiti, Rosina in Il Barbiere di Siviglia, Luisa Fernanda, Carmen, Amneris in Aida, Angelina in La Cenerentola, Nicklausse in Les Contes d’Hoffmann, Judith in Bluebeard’s Castle, Concepcion in L’heure Espagnole, Frida and Suzuki in Madama Butterfly, under the direction of internationally renowned

Dandini in La Cenerentola at the Opéra National de Bordeaux, and as Maak in Mae Naak by renowned Thai composer Somtow Sucharitkul at the Bangkok Opera. HAN gave memorable performances at Hiroshima and Nagasaki Peace Concerts in commemorating the sixtieth anniversary of atomic bombings and this historic musical event reached millions worldwide via satellite broadcast by NHK, Japan Broadcasting Corporation. In the fall of 2008 he has released a debut CD called “Questo Amor” by Avex Classics in Japan. Most recently he sang the role of Conte Robinson in Il Matrimonio Segreto and the role of Belcore in L’elisir d’amore. Also he appeared in Carnegie Weil Recital Hall as Miguel in The scourge of Hyacinth And He in In the field of unsaid wildflowers. Future engagements include Carmina Burana in Japan, Beethoven 9th at Carnegie Hall, NewYork. The Silent Prince in Bangkok, Carmen in Reno, Nevada among many others.

ant symphony orchestras in Mexico, as well as the Palermo symphony, the Lehman College Symphony Orchestra, The New England Symphony Orchestra and the Bangkok Symphony Orchestra. In 2010 Ms. Echauri sang the world premier of the Opera Antonieta by Ibarra. Recently she sang the Shostakovich Jewish Folk Poetry and made a recording of music by Jaime Nuno. Her recordings also includes the Federico Ibarra’s opera Madre Juana and the dramatic oratorio Brindis por un Milenio (written especially for Ms. Echauri by the composer) and the Mahler Symphony No. 8 with the Xalapa Symphony Orchestra recorded live at the Bellas Artes Opera House.


Martin Snell

King of Heaven • God of Underworld • Procurer Martin Snell was born and educated in Dunedin, New Zealand. After law studies and professional qualification , he entered the Royal Northern College of Music, Manchester, England to commence postgraduate vocal studies with Patrick McGuigan in September 1991, graduating with distinction in 1994. He has received many awards and scholarships, including winning the 1993 Mobil Song Quest and receiving a major scholarship from the Peter Moores Foundation, London. Martin has been a resident artist with Theater St Gallen, Theater Basel, and Luzerner Theater. Since August 2005, he has worked as a freelance performer based in Lucerne, Switzerland and was granted Swiss citizenship in 2010. Martin Snell’s vocal repertoire comprises diverse roles ranging from Monteverdi and Handel to Mozart

and Rossini, Puccini and Strauss to Donizetti and Stravinsky, Verdi and Wagner, Janàcek and Smetana, Tchaikowsky and Offenbach. As both a concert and opera singer Martin Snell has performed widely throughout Europe as well as Asia and his native New Zealand with conductors such as Bertrand de Billy, Herbert Blomstedt, Sir Colin Davis, Peter Eötvös, Howard Griffiths, Thomas Hengelbrock, Philippe Herreweghe, René Jacobs, Philippe Jordan, Morten Schuldt Jensen, Carlos Kalmar, Wolfgang Katchner, Jiri Kout, David Parry, Alexander Polianichko, Peter Schneider, Jeffery Tate, Christian Thielemann, and Sebastian Weigle, among many others. In 2013 Martin Snell will have débuted with the Bangkok Opera and the Japan National Orchestra in Tokyo, performed in Brazil, Munich, Berlin, Vienna and Zürich, and

returned to the Bayreuth Festival for Tannhäuser. He appears with Auckland Choral in a performance of Elgar’s The Dream of Gerontius and also the City of Dunedin Choir to celebrate its 150th anniversary as well débuts the role of Fasolt in Wagner’s Das Rheingold in Switzerland. Future plans include concert engagements in Norway, Singapore, Switzerland, Germany and New Zealand as well as further appearances at the Bayreuth Festival.

Nadlada Thamtanakom

Queen of Heaven • Goddess of Illusion • Courtesan In 2004 Nadlada graduated with a Bachelor’s degree in Musical Education from the Rajabhat Ban Somdet Chaophraya University. With the benefit of a full scholarship generously awared by Khun Kaseam-Phornthip Narongdej Foundation from 2007-2011, Nadlada settled in Belgium in 2007, graduating Cum Laude from Brussel’ Flemish Royal Conservatory in 2010. This year she has graduated from the Operastudio Vlaanderen in Ghent, Belgium. She sang the roles of Zerlina, The Queen of the Night and Flora with Bangkok Opera in 2003-2005. Her light soprano coloratura operatic repertoire embraces a wide rang from Handel to contemporary music. She has been a member of Operastudio Vlaanderen since September 2012, singing arias of Blone, Gilda, Naneta,

Adele and Ann Le Feu, in the opera houses of Antwerp and Ghent. In 2010 she sang a full role in a production of a Lehar operetta in French translation in France in Belgium. She was greatly complimented by Philippe Boesmans in April 2011 for her interpretation of Kristin in the opera Julie directed by Sybil Wilson with the Brussels Ensemble Comtemporain conducted by Bart Boeckart. In 2010-2011 she indertook master-classes with Gundula Janowiz, Ann Murray, Sir Thomas Allen (opera) and Graham Johnson (Lieder). For 2012-1213 she will take part in Udo Reinemann International Lied Master-classes spread over a year, with masters including Peter Schreier, Ann Murray, Michel Tranchant, Hartmut Holl and others. She has performed as solo soprano

in Bach’s Magnificat, Mozart’s Requiem and Great Mass, Faure’s Requiem and Gounod’s St. Cecilia Mass, in Belgium, France and Luxemburg. She is particularly attracted to Lied and melodie francaise, which she sings regularly in recital. Her main vocal coaches are Loh Siew Tuan, Dina Grossberger, Muriel Corradini and Susanna Eken.


Barbara Zion (ศิโยน ดาวรัตนหงษ์) Apsara • Amba

ศิโยนเริ่มเรียนร้องเพลงกับบาทหลวงเอากุสติน โม ลิ่ง S.J.คณะเยซูอิต โดยเรียนขับร้องประสานเสียง เริ่ม เรียนร้องเพลงคลาสสิคกับอาจารย์พฤติกา แจ้งรัตน ตระกูล เรียนการขับร้องโอเปรากับอาจารย์เนติ กัน ตะถาวร อาจารย์คิม จุน มาน และอาจารย์แนซี ซุย พิงเว่ย สำ�เร็จการศึกษา เอกการแสดงขับร้องคลาสสิก ที่ คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยเรียน กับอาจารย์ Dr.Kazuo Inoue และ Dr.Funakoshi Motokoa ศิโยนได้เข้าร่วมการการอบรมการขับร้อง คลาสสิกกับ AMAS Music Camp 2007 โดยได้รับทุน สนับสนุนในพระอุปถัมถ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้า ฟ้ากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ศิโยนได้มีโอกาสถวายการขับร้องบทร้อง Ebben! จากอุปรากรเรื่อง La Wally โดย Calantini ในคอน เสริต์ พระกรุณาธิคุณทุนดนตรีคลาสสิก แสงหนึ่งคือ รุ้งงาม และ ร้องนำ�บทเพลง “ แสงหนึ่ง” ร่วมกับ นักเรียนทุนในพระราชทานใน สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ผลงานด้านเพลงศาสนา :- Soprano Solo ใน Schubert Mass in G major ร่วมกับวง SU.Orchrestra และ SU. Chorus, Petite Messe Solennelle

by Rossini Mass ร่วมกับวง Saim Philharmonic Orchestra, Messiah by G.F Handel ร่วมกับ วง Bangkok combined choir and orchestra, Requiem for the Mother of Song ประพันธ์โดย สมเถา สุจริตกุล นอกจากนี้ศิโยนยังเป็นเป็นนักขับร้อง ประสานเสียงและร้องนำ�ท่อนเดี่ยวต่างๆในพิธีมิสซา ของอาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก ผลงานด้านการแสดงอุปรากร:- ในปี 2006 รับ บทเป็น Prosepina ในอุปรากรเรื่อง Orfeo by Montaverdi ร่วมกับวง Thailand Philharmonic Orchestra conducted by Gudni A. Emilson และตั้งแต่ปี 2008 ศิโยนได้เข้าร่วมแสดงกับคณะ มหาอุปรากรกรุงเทพ โดยรับบทเป็น Tonina ใน อุปรากรเรื่อง Musica e Poi Parola by A. Salieri อำ�นวยเพลงโดย ทฤษฎี ณ พัทลุง, Musetta ใน อุปรากรเรื่อง La Boheme by G. Puccini อำ�นวย เพลงโดย สมเถา สุตจริตกุล, Savitri ในอุปรากรเรื่อง Savitri by G. Holst อำ�นวยเพลงโดย ณดนัย เลาห คุณากร, Macedes ในอุปรากรเรื่อง Carmen by Bizet อำ�นวยเพลงโดย สมเถา สุจริตกุล, Headman’s daughter ในอุปรากรเรื่อง Mae Naak ประพันธ์ โดย สมเถา สุจริตกุล อำ�นวยเพลงโดย ทฤษฎี ณ

พัทลุง, Apsara/Amba ในอุปรากร เรื่อง The Silent Prince ประพันธ์โดย สมเถา สุจริตกุล อำ�นวยเพลงโดย ทฤษฎี ณ พัทลุง ศิโยน ได้ร่วมงานกับ Grand Opera (Thailand) และ Echo Opera โดยมี Mr. Stefan Paul Sanchez ครูสอนร้องเพลงปัจจุบันเป็นผู้ฝึกสอน ศิโยนเดินทาง ไปแสดงโอปราในจังหวัดต่างๆ ของประเทศไทย และ ต่างประเทศเช่น เกาหลีใต้และปากีสถาน ศิโยนผ่านการสอบคัดเลือกในหลักสูตร Master in Vocal Performance/ Classic Voice ของ NYU Steinhardt มหาวิยาลัยนิวยอร์ก เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา ปัจจุบันเป็นอาจารย์สอนวิชา Vocal Ensamble ที่ โรงเรียนสอนดนตรีเอื้อมอารีย์ วิชาขับร้องประสานเสียง โรงเรียนภัทราวดีมัธยม หัวหิน และเป็นที่ปรึกษาวิชา ขับร้อง โรงเรียนดนตรีกาญจนาโคราช

Duo Pan was born in Shanghai. His parents, a physicist and painter, were both university teachers. When he was a kid he received his first music education from his older brother, who was a pop music fan and guitar player. After that, Duo started his first singing lessons by imitating all the singers he heard on the radio and cassette, both male and female voices. Gradually, Duo’s interests expanded beyond singing, he also wanted to “play”. So, he started piano lessons which provided the foundation of his knowledge and view of classical music. Duo continued his music education, later choosing music as his focus at the Shanghai Normal University. Although, after graduating from the university, he worked as a music editor for a radio station

and a music magazine, and as a music teacher, he has been continuously following his dream of being a classical singer. About 10 years ago, Duo decided to leave his work and go to Europe. He studied in Austria, the Netherlands, and France to feel the art, music culture, and history in Europe. In 2012 he received his master’s diploma of music in the Netherlands. During those years he performed, among others, the Mattheus Passion and other several cantatas from Bach, Dialogues des Carmelites from Polenc, and Giovanna d’Arco from Verdi. He has performed in the Netherlands, Spain, Andorra, and most recently in Thailand, where he participated in the 2012 debut of The Silent Prince from Somtow.

Duo Pan Sunanda


Jak Cholvijarn Prince Temiya

Jak has always been interested in singing since he was very young. He sang in the Nicholson Choir at Cheam School, Winchester College Chapel Choir and Bristol Cathedral Choir where he was a choral scholar. His interests have led him to pursue singing classes in England and in Europe. In summer 1998, Jak went to Eton College to participate in the Choral Course; in summer 2000, 2001 and 2002, Jak attended vocal master classes given by Rudolf Knoll at the University Mozarteum, Salzburg, Austria. He is currently taught by Professor Renate Faltin at Hans Eisler, Berlin, and Stefan Sanchez in Bangkok. In addition to choral singing, Jak has performed as a soloist for Achan Somtow on many occasions, for example, Mozart

Requiem Memorial Service for September 11 (2002), Handel’s Dixit Dominus (2003), Memorial Concert for the Tsunami Victims organized by the Dutch Ministry (2005), Handel Gala (2009), Myrtale in Massenet’s THAIS (2009), Rossini Petite Messe Sollenelle (2010), and Mahler Symphony No. 3 (2010). Some of the prizes he has won in singing competitions include French Songs Prize at Bristol Music Festival in 2003 and the Third Prize Winner in the Annual Bangkok Vocal Competition in 2002. Jak is currently pursuing a PhD in Buddhist Studies at University of Bristol, and teaching Thai Buddhism at Thai Studies Center, Faculty of Arts, Chulalongkorn University.

Rom Parnichkun

Prince Temiya as a teenage boy Rom is a 15 years old boy at Ekamai International school. His first experience of opera acting is at Opera Siam’s “Bluebeard Castle” which was performed in 2011. He joined the Kid’s chorus of “Mae Naak” performed at Bloomsburry theatre in London the same year. In 2012, he played the role of Pi in Bruce Gaston’s “A Boy and A Tiger” performed for Rotary meeting at

Impact Arena, Muangthongthani. Later he joined the Kid’s chorus of “Requiem for the mother of song”. In December, he played the role of (teenage) prince Temiya in “The Silent Prince”. In 2013, he joined the chorus of “Otello”. Besides learning of singing with Stefan Sanchez, Rom likes to play electric guitar and piano.

Rit Parnichkun

Prince Temiya as a young boy Rit is a 8 years old. His first performance is by playing the role of Daeng, Mae Naak’s son of “Mae Naak” performed at Bloomsburry theatre in London, 2011. In 2012, he performed in Bruce Gaston’s “A Boy and A Tiger” performed for Rotary meeting at Impact Arena, Muangthongthani. Later he joined the Kid’s

chorus of “Requiem for the mother of song”. In December, he played the role of (little boy) prince Temiya in “the Silent Prince”. In 2013, he joined the chorus of “Otello”. Besides learning of singing with Stefan Sanchez, Rit likes to play piano and starts to learning drum. He loves to listen to classical music concerts.


The Silent Prince World Premiere Houston, 2010

... a timeless masterpiece Somtow Sucharitkul’s sumptuous and marvelously lyrical score is enchanting (several traditional Indian instruments are used in the orchestra---tamburas, celeste, harmonium), moving, intriguing, and always retains a deep sense of mystery and spirituality. His rich and beautiful orchestrations are masterful, meaningful, and mesmerizing. — Houston Chronicle

It was the first time a full-length classical opera by a Thai composer had its opening in a major “international opera” city. Houston is famous for world premieres, having premiered operas by Phillip Glass and John Adams. Somtow’s opera completely sold out the Zilkha Hall in Houston’s theatre district. The audience was predominantly youthful, and greeted the performance with a thunderous standing ovation. — The Nation


“The two-hour score spikes lush Western sonorities with tangy Asian elements ... the tambura’s drone, along with melismas and ululating vocal lines, wafts Indian incense over the mystical proceedings.…” — Opera Magazine, London

Based on the Jakata tales, the composer’s treatment of the fable-like tale of the reincarnated Buddha extended beyond cultural context into universal appeal with timeless allegories and thought-provoking tangents, all current and relevant. — Joel Luks in the Bangkok Post

Opera Vista’s premieres The Silent Prince An overprotective mother who thinks her son is God? A virile father who rejects his son’s gentle and stereotypical female traits? A deity sent to earth to know great pain and carry the burden of others? Thai composer Somtow Sucharitkul’s Bollywood-style chamber opera The Silent Prince, although based on an Indian morality tale, crosses many cultural bridges with a comprehensive story line with numerous allegories, tangents and thought-provoking interpretations, all relevant and current. If you are not familiar with the tales of Temiya, a Buddha reincarnated as a prince who decides to become silent, Sucharitkul’s themes are universal and are similar to Judeo-Christian values.

Written in a very comfortable tonal language, Sucharitkul disperses a misconception that contemporary opera is esoteric and impertinent. A world premiere perfect for the Houston stage, the rich and exotic sonorities created by juxtaposing delicious instruments like the traditional Indian tambura with celeste, the church-like harmonium and harp with colorful coloratura flourishes, the effect was mesmerizing capturing an honest, respectful and modern representation of Indian culture. — Culture Map, Houston


Soloists of

THE SIAM PHILHARMONIC ORCHESTRA ชลัฐ ลิมปิศิริ (Chalat limpisiri) • Violin เริ่มศึกษาไวโอลินตั้งแต่อายุ 11 ปี จากนั้นได้เข้าศึกษาต่อในหลักสูตรเตรียมอุดมดนตรี วิทยาลัยดุริยางค์ศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีด้านการแสดงดนตรีจากวิทยาลัยดุริยางค์ศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ชลัฐมีประสบการณ์ทางด้านดนตรี อย่างมากตั้งแต่สมัยเรียนจนถึงปัจจุบัน โดยเป็นหัวหน้าวง Nakhon Chamber Orchestra และเป็นสมาชิกของ Dr. Sax chamber orchestra, South East Asian Youth Orchestra (SAYOWE), Asian Youth Orchestra (AYO), Thailand Philharmonic Orchestra และ Siam Philharminic Orchestra ปัจจุบันชลัฐกำ�ลังศึกษาในระดับมหาบัณฑิต ด้านการแสดงไวโอลิน กับอาจารย์ศิริพงษ์ ทิพย์ธัญ ณ วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต ชิติพัทธ์ ดาราพงษ์ (Chitipat Darapong) • Violin

เริ่มเรียนโวโอลินเมื่ออายุ 12 ปี กับอาจารย์ นิคม สุวรรณ ได้รับเลือกเป็นหัวหน้าวงดุริยางค์เยาวชนไทยในพระอุปถัมภ์ฯ (Thai Youth Orchestra) ประจําปี พ.ศ. 2553 สำ�เร็จการศึกษาจาก วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต โดยศึกษาไวโอลินกับอาจารย์ ศิริพงษ์ ทิพย์ ธัญ และเป็นนักศึกษาทุนสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ระหว่างการศึกษาชิติพัทธ์ได้รับเลือกเป็นหัวหน้าวง ดุริยางค์ซิมโฟนีแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต (Rangsit University Symphony Orchestra) ประจําปีการศึกษา พ.ศ. 2552-2553 โดยร่วม แสดงในงานสําคัญต่างๆเช่น งาน Thailand International Composition Festival ประจําปี พ.ศ. 2553 และ 2554 และยังเป็นสมาชิก วงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพฯ (BSO) อีกด้วย

ฉัตรชัย สุขนิยม (Chatchai Sukniyom) • Violin & Viola

เริ่มเล่น ไวโอลินเมื่อ อายุ12 ปีและได้สำ�เร็จการศึกษา เกียตินิยมอันดับ1 จาก มหาวิทยาลัยรังสิต โดยเรียน ไวโอลินกัน อาจารย์ ศิริ พงศ์ ทิพย์ธัญ ในระหว่างศึกษา นั้น ภณกวี ได้ เข้าร่วมกิจกรรมและร่วมแสดงกับวงต่างๆมากมาย เช่น ค่ายดนตรี SAYOWE ในปี 2546 และร่วมการแข่งขันเครื่องสายตะวันตก ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับที่ 2 เป็นต้น ปัจจุบัน ฉัตรชัยรับราชการทหาร ณ กองดุริยางค์ทหารอากาศ เป็นสมาชิกวงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ และวงดุริยางค์สยามฟีลฮาร์โม นิค

โชติ บัวสุวรรณ (Chot Buasuwan) • Violin

เริ่มเรียนไวโอลินตั้งแต่อายุ 7 ปี กับ อ.นรอรรถ จันทร์กล่ำ� ต่อมาได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย และได้รับรางวัลผู้มีความ สามารถทางด้านดนตรี จากสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ และพระวรชายา โชติได้มีโอกาสเรียนไวโอลินกับ อ.ประทักษ์ ประทีปะเสน, อ.ทัศนา นาควัชระ หลังกลับจากการเป็นนักเรียนทุนแลกเปลี่ยน ณ ประเทศนิวซีแลนด์ โชติได้เรียนไวโอลินกับอาจารย์ศิริพงษ์ ทิพย์ธัญ จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังเป็นสมาชิกวง SiSi, SPO, GVO, CU Symphony Orchestra, CU String Orchestra, TYO ปัจจุบัน โชติกำ�ลังศึกษาระดับปริญญาตรีที่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ ภาควิชาดุริยางคศิลป์ตะวันตก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และดำ�รง ตำ�แหน่งหัวหน้าวงดุริยางค์เยาวชน Siam Sinfonietta และศึกษาไวโอลินกับ อ.นรอรรถ จันทร์กล่ำ�

วุฒิพงศ์ โตเจริญธนาผล (Wutthipong Tocharoentanaphol) • Viola

เริ่มเรียนไวโอลินตั่งแต่อายุ 8 ปี กับ อ.ธันวิน ใจเพียร และ อ.ภูกร ศรีณรงค์ ต่อมาได้มาศึกษาวิโอล่ากับ ผศ.พ.อ.ชูชาติ พิทักษากร ศิลปินแห่งชาติ เคยได้ร่วมเล่นกับวงออร์เครสตร้าในประเทศไทยหลายวง เช่น Siam Phillharmonic Orchestra, Siam Sinfonietta, Bangkok Symphony Orchestra, Princess Galyani Vadhana Institute Orchestra, Asian Russian Symphony Orchestra เป็นต้น ปัจจุบันวุฒิพงษ์ กำ�ลังศึกษาอยู่ที่ภาควิชาดุริยางคศิลป์ตะวันตก คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย


มงคล รอดทอง (Mongkol Rodthong) • Viola

เริ่มศึกษาวิโอลาที่โรงเรียนดุริยางค์ทหารเรือกับ อ.ชัยวัฒน์ บูรณะมานัสและ ผศ.พ.อ. ชูชาติ พิทักษากร หลังจากจบการศึกษาได้รับ ราชการประจำ�หมวดซอวง กองดุริยางค์ทหารเรือ ฐานทัพเรือกรุงเทพ มงคลเป็นสมาชิกขอวงดุริยา่งค์เยาวชนไทย วงดุริยางค์สยามฟีลฮาร์โมนิค และมีโอกาสเข้าร่วมค่ายดนตรีเยาวชนเอเชียอาคเนย์ SAYOWE ค่ายดนตรีกรมศิลปากร รุ่นที่ 1 รวมถึงได้รับคัดเลือกไปร่วมค่ายดนตรีที่ประเทศเกาหลี ปัจจุบัน มงคลได้รับทุนศึกษาต่อ ณ วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต โดยศึกษาวิโอลากับ อ.ศิริพงษ์ ทิพย์ธัญ

สุนทรเทพ อ่อนศิลา (Sunthorntep Onsila) • Viola

เริ่มเรียนวิโอล่ากับ ร.อ. พิเดช ฉายสินสอน และ จ.ส.อ. ประสิทธิ ศรีคุ้มที่โรงเรียนดุริยางค์ทหารบก และพ.อ. ชูชาติ พิทักษากร เคยร่วมการแสดงกับ วงเยาวชนไทยตำ�แหน่ง Principle Viola ปี2003 และ ร่วมแสดงกับ SAYOWE ปี 2004 ปัจจุบัน กำ�ลังศึกษา ที่ Conservatory of Music Rangsit University สาขา Music Performance ชั้นปีที่ 3 และเรียนไวโอลินกับ อ. ศิริพงษ์ ทิพย์ธัญ และได้ ร่วมเล่นกับวง Siam Philharmonic Orchestra

ริเอโกะ นิชิจิม่า (Rieko Nishijima) • Viola

เริ่มเส้นทางดนตรีโดยการเรียนเปียโนตั้งแต่อายุ 4 ขวบ และในฐานะนักวิโอล่า เธอเป็นสมาชิกของ Fuji Philharmonic Orchestra วงดุริยางค์เยาวชนระดับแนวหน้าของประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่อายุ 15 ปี ริเอโกะได้ศึกษาวิโอล่ากับ Toshiki Akiyama ที่นครโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น Anne Etevenon ที่ Concervatoir de Nantes ประเทศฝรั่งเศส และ ผศ.พ.อ. ชูชาติ พิทักษากร ในประเทศไทย โดย นอกจากดนตรีตะวันตกแล้ว เธอยังมีความสามารถในดนตรีพื้นเมืองญี่ปุ่นและการบรรเลงเพลงป๊อบของญี่ปุ่นอีกด้วย ภายหลังจากย้ายถิ่นพำ�นักมาสู่ประเทศไทย ริเอโกะได้เข้าร่วมวงออเคสตร้าที่มีชื่อเสียงจำ�นวนมาก เช่น วงดุริยางค์สยามฟีลฮาร์โมนิค วงดุริยางค์สยามคอมมูนิตี้ วง BICO (principal Viola) และ The Viola Lovers ปัจจุบัน ริเอโกะเปิดคลาสสอนสอนเปียโน ไวโอลินและวิโอลาส่วนตัว ทั้งบทเพลงคลาสสิกและเพลงป๊อบ

พรนภัส ปิ่นโฉมฉาย (Pornnaphas Pinchomchay) • Viola

เริ่มเรียนวิโอล่า กับ ร.อ. ชัยวัฒน์ บูรณมานัส และ พ.จ.อ. สุรินทร์ ดีสุวรรณ เมื่ออายุ 13 ปี ที่โรงเรียนดุริยางค์ทหารเรือ กองดุริยางค์ ทหารเรือ ฐานทัพเรือกรุงเทพ เคยมีโอกาสร่วมบรรเลงกับ Sangkok Orchestra ประเทศเกาหลีใต้ ปัจจุบันรับราชการทหารที่กองดุริยางค์ทหารเรือ และเป็นนักดนตรีของวงดุริยางค์ราชนาวี วงเครื่องสายแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และวงดุริยางค์เยาวชนสยามซฺนโฟนิเอตต้า

วิชญ์วิน สุรีย์รัตนากร (Wishwin Sureeratanakorn) • Violoncello

เริ่มเรียนเชลโล่เมื่อตอนอายุ 5 ขวบกับ อ.อภิชัย เลี่ยมทองและศึกษาจนจบ Grade 8 จาก Assiociated Board of Royal School of Music เมื่อตอนอายุ 13 ปี ได้รับทุนความสามารถพิเศษทางด้านดนตรีที่โรงเรียนนานาขาติโชรส์เบอรรี่กรุงเทพจนจบ year 11 (เทียบ เท่ามัธยมศึกษาปีที่ 6) และได้ชนะการประกวด Concerto Competition ของวิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต โดยได้รับเกียรติให้ บรรเลงเดี่ยวกับวง Rangsit Philharmonic Orchestra ปัจจุบัน วิชญ์วินเป็นนักศึกษาทุนของวิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต และเป็นหัวหน้ากลุ่มเชลโลของวงดุริยางค์เยาวชนสยามซิน โฟนิเอตต้า และวงดุริยางค์เยาวชนไทยในพระอุปถัมภ์ฯ

นิชาภา นิลแก้ว (Nichapa Nilkaew) • Violoncello

นิชาภาเริ่มเล่นเชลโลตั้งแต่อายุ 15 ปี ที่โรงเรียนสารสาสน์วิเทศ บางบอน เมื่ออายุ 17 ปี ได้ศึกษาเขลโลอย่างจริงจังกับ อ.สุนทร ประกอบ โดยที่ผ่านมา นิชาภาได้เข้าร่วมวงดุริยางค์ระดับชาติและนานาชาติมากมาย อาทิ วงดุริยางค์เยาวชนไทยในพระอุปถัมภ์ฯ วง Russia-ASEAN Symphony Orchestra ณ เมืองบาหลี สาธารณรัฐอินโดนีเซีย วงดุริยางค์ซิมโฟนีแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต วงดุริยางค์ สยามฟีลฮาร์โมนิคและวงดุริยางค์เยาวชนสยามซินโฟนิเอตต้า ปัจจุบัน นิชาภาเป็นนักศึกษาทุนสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัย รังสิต โดยศึกษาเชลโลกับ อ.อภิชัย เลี่ยมทอง


พงศธร สุรภาพ (Pongsathorn Surapab) • Contrabass

เริ่มเรียนดับเบิลเบสที่วิทยาลัยนาฎศิลป กรุงเทพ และเข้าศึกษาต่อที่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโดยศึกษากับ อ.นคร กิตติอุดม และเคยเรียนกับอ.นพดล ถิรธราดล, อ.กฤษฎา แก้วพูล, Mr.Hikaru Watanabe, Mr.David Sheet, Mr.Wolfgang Steike เป็นหัวหน้ากลุมดับเบิลเบส SPO, GVO, CU Symphony Orchestra เป็นผู้ช่วยหัวหน้ากลุ่มร่วมของ ฺBSO เป็นสมาชิกวง The Viola Lovers และเคยเข้าร่วมวง Asian Youth Orchestra เมื่อปี 2007 ปัจจุบันเป็นอาจารย์พิเศษดับเบิลเบสของมหาวิทยาลัยชั้นนำ�ของประเทศ เป็นผู้จัดการวงดุริยางค์ของมูลนิธิมหาอุปรากรกรุงเทพ และกำ�ลังศึกษาในระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาสังคีตวิจัยและพัฒนา คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

สโรช กันประเสริฐ (Sarote Kanprasert)• Flute & Piccolo

เริ่มเรียนฟลูทกับ อ.อนุชา เปรมานนท์ (ดุริยางค์ทหารเรือ) เมื่ออาุยุ 14 ปี จบการศึกษาจากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี 1997 โดยเรียนฟลูทกับอ.สุภาพ พิทักษ์วงศ์สาโรจน์ เคยได้รับเชิญเข้าร่วม The montreal international music camp ใน ปี 1999 ได้เรียนฟลูทกับ Carolyn christie จากนั้นในปี 2001 ได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วมวง Asian youth orchestra ได้เรียนฟลูทกับ Thomas Perazzoli หลังจากจบการศึกษาตลอด 15 ปีที่ผ่านมา สโรชได้ร่วมงานกับวงออเคสตราชั้นนำ�ของไทยหลายวง ปัจจุบันเป็นหัวหน้ากลุ่มฟลูทของ วงดุริยางค์สยามฟิลฮาร์โมนิค และรับราชการเป็นนักดนตรีของวงดุริยางค์กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

สมชาย ทองบุญ (Somchai Tongboon) • Oboe & English Horn

เริ่มเรียนดนตรีที่โรงเรียนวัดสุทธิวราราม ภายใต้การควบคุมของ อ.สรพจน์ วรแสง และได้เริ่มศึกษา โอโบจาก อ.ดำ�ริห์ บรรณวิทย กิจตั้งแต่อายุ 17 ปี โดยระหว่างนั้นได้ร่วมกิจกรรมและการแข่งขันกับวงดุริยางค์ของโรงเรียนวัดสุทธิวรารามหลายรายการ จากนั้นเข้า ศึกษาต่อที่คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในสาขาวิชาเอกโอโบ โดยที่ผ่านมานั้นสมชายได้ร่วมบรรเลงกับวงดุริยางค์ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศอย่างหลากหลาย เช่น SAYOWE, CISMA, SSMS ฯลฯ ปัจจุบันเป็นครูสอนดนตรีที่โรงเรียนสารสาสน์เอกตรา และร่วมบรรเลงโอโบอย่างสม่ำ�เสมอกับวง BSO, SPO, BSWO และ Sawasdee woodwind quintet.

ยศ วณีสอน (Yos Vaneesorn)• Clarinet & Bass Clarinet

ยศเริ่มเรียนคลาริเนตที่โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จากนั้นศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในระหว่าง ที่ศึกษาได้รับคัดเลือกเข้าร่วมวง ASEAN Symphonic Band และ Asian Youth Ochestra ซึ่งหลังจบการศึกษาในระดับปริญญาตรีใน ระดับเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ยศได้รับทุนการศึกษาต่อในระดับปริญญาโทจาก Louisiana State University และทุนการศึกษาในระดับ ปริญญาเอกจาก University of Missouri at Kansas City ประเทศสหรัฐอเมริกา และหลังจากจบการศึกษาในระดับปริญญาเอกจึงได้ เข้าเป็นอาจารย์ประจำ�ของภาควิชาศิลปนิเทศ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัจจุบันยศเป็นอาจารย์ประจำ�คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมถึงดำ�รงตำ�แหน่งหัวหน้ากลุ่มคลาริเนตร่วมของวง ดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพและหัวหน้ากลุ่มคลาริเนตของวงดุริยางค์สยามฟีลฮาร์โมนิคอีกด้วย

คชภัค บุญวิภารัตน์ (Kotchapak Boonviparut)• Bassoon

เริ่มเรียนดนตรีที่โรงเรียนวัดสุทธิวราราม ภายใต้การควบคุมของ อ.สรพจน์ วรแสง และได้เริ่มศึกษาบาสซูนเป็นต้นมา ได้เข้าร่วมแคม ป์ดนตรีต่างๆ และการแสดงคอนเสิร์ตอีกมากมาย คชภัคร่วมแสดงคอนเสิร์ตกับวงจุฬาลงกรณ์ซิมโฟนีออเคสตร้า วงสยามฟิลฮาโมนิค และวงสยามซินฟอเน็ตตา มาโดยตลอด ปัจจุบันคชภัคเป็นนิสิต ชั้นปีที่ 4 คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาดนตรีศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เครื่องมือเอกบาสซูน ศึกษากับอา จารย์ภัทราวุธ พันธ์พุทธพงษ์


สุปรีติ อังศวานนท์ (Supreeti Ansvananda) • French Horn

สุปรีติ จบการศึกษาจาก New England Conservatory of Music, Boston และได้ไปศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัย Yale School of Music หลังจากนั้นเป็นคนไทยคนแรกที่ได้เข้าร่วม Pacific Music Festival ที่เมืองซัปโปโร่ประเทศญี่ปุ่น สุปรีติ เคยดำ�รงค์ตำ�แหน่งเป็น หัวหน้ากลุ่มฮอร์นที่วง Evergreen Symphony Orchestra (2001-2002), Hong Kong Sinfonietta (2003-2009) และ National Symphony Orchestra, Taipei (Taiwan) (2010-2012) ปัจจุบัน เป็นอาจารย์สอน Horn ทีคณะดุริยางค์ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร

เลิศเกียรติ จงจิรจิต (Lertkiat Chongjirajitra) • Trumpet

เป็นทั้งนักดนตรีและครูดนตรีที่มีความสามารถและได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง เลิศเกียรติได้ไปแสดงในฐานะนักดนตรีรับเชิญ แสดงร่วมกับวงดุริยางค์มากมาย เช่น วงดุริยางค์มาเลเชียนฟิลฮาร์โมนิค วงดุริยางค์ฮ่องกงฟิลฮาร์โมนิค วงดุริยางค์แห่งชาติแห่งประเทศ ไต้หวัน วงดุริยางค์ซิมโฟนีสิงคโปร์ วงดุริยางค์ซิมโฟนีกวางโจว วงดุริยางค์ซิมโฟนีมาเก๊า วงดุริยางค์นุสันทาราแห่งอินโดนีเซีย และวงอื่นๆ อีกมากในแถบเอเชีย ปัจจุบันเลิศเกียรติเป็นผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษ คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นหัวหน้ากลุ่ม ทรัมเปทวง ดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ ผู้อำ�นวยการด้านดนตรีและผู้อำ�นวยเพลงของวงดุริยางค์เครื่องลมศิลปากร รวมทั้งศิลปินทรัมเปทยามาฮ่า ประจำ�ประเทศไทย

สรพจน์ วรแสง (Soraphot Worasaeng) • Trombone

เริ่มเรียนเรียนทรอมโบนครั้งแรกที่โรงเรียนวัดสุทธิวราราม หลังจากนั้นได้เข้าศึกษาต่อระดับชั้นอุดมศึกษาที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเรียนกับอาจารย์สุรพล ธัญญวิบูลย์ และศึกษาเพิ่มเติมกับอาจารย์อรุณกร ชัยสุบรรณ์กนก เคยได้รับเชิญ จากวง Kuala Lumper Symphony Orchestra, Penang State Symphony Orchestra ประเทศมาเลเซีย ปัจจุบันรับราชการตำ�แหน่งดุริยางคศิลปินระดับชำ�นาญงาน กองการสังคีต สมาชิกวง BSO, SPO, ผู้ควบคุมวงดุริยางค์โรงเรียนวัด สุทธิวราราม อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศิลปากรและมหาวิทยาลัยรังสิต

ไดสึเกะ อิวาบูชิ (Daisuke Iwabushi) • Timpani

นักทิมพานีชาวญี่ปุ่นและหัวหน้ากลุ่มเพอคัชชั่นของวงดุริยางค์สยามฟิลฮาร์โมนิค และเป็นอาจารย์สอนวิชาเพอร์คัชชั่นที่คณะ ดุริยางค์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นอกจากนี้ไดสึเกะยังได้ร่วมบรรเลงกับวงดุริยางค์ต่างๆ ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ เช่น วงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ, BSWO และ SSMS เป็นต้น

ธรรมศักดิ์ หิรัญขจรโรจน์ (Thammasak Hirunkajonroj) • Percussion

เริ่มเล่นดนตรีเมื่ออายุ 12 ปี ที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เคยเข้าร่วมการแข่งขันประกวดวงโยธวาทิตชิงถ้วยพระราชทานของ กรมพลศึกษาและ TIWEC ณ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นสมาชิกวงโยธวาทิตโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, Sk Jazz, TYO, Siamyth Drum & Bugle Corp, Cu Percussion Ensemble, Cu Symphony Orchestra, BSWO, Siam Sinfonietta, Siam Philharmonic Orchestra ปัจจุบัน กำ�ลังศึกษาในระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้ศึกษาการเล่นเครื่องเพอร์คัสชั่นกับอาจารย์ สุจารีย์ ประพิณวงศ์ และอาจารย์เผ่าพันธ์ อำ�นาจธรรม และได้มีโอกาส Master Class กับ Prof.Katarzyna Mycka ศิลปินชั้นนำ�ของ โลก


พันธิตร โรจน์วาธรรม (Panthit Rojwatham) • Percussion

เริ่มศึกษาวิชาเอก Percussion ตั้งแต่ ม.4 ในสายศิลป์-ดนตรี ร.ร.วัดสุทธิวราราม และจบหลักสูตรดนตรีด้วยคะแนนสูงสุดในชั้น ปัจจุบันศึกษาอยู่ที่ ม.ศิลปากร คณะดุริยางคศาสตร์ สาขาการแสดงดนตรี เอก Percussion ชั้นปี 4 โดยมี อ.เกษม ทิพยเมธากุล อ.เผ่าพันธ์ อำ�นาจธรรม และ อ.ไดสึเกะ อิวาบูชิ เป็นอาจารย์ผู้ฝึกสอน มีประสบการณ์ในการบรรเลงดนตรีร่วมกับวง orchestra ต่างๆ เช่น Siam Philharmonic Orchestra Siam Sinfonietta และ Thai Youth orchestra เป็นต้น ซึ่งได้มีโอกาสไปแข่งขันการบรรเลง วง orchestra เยาวชนระดับโลกร่วมกับวง Siam Sinfonietta ที่ประเทศออสเตรีย กรุงเวียนนา และได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 ปี 2012 และกำ�ลังจะเดินทางไปแข่งขัน Percussion Ensemble ที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ร่วมกับวง Viridian Percussion Ensemble ในปี 2013

กฤตณ์ จิระธนโชติ (Krit Jirathanachote) • Percussion

เริมศึกษาดนตรีที่วิทยาลัยนาฏศิลป กรุงเทพฯ เป็นเวลา 6 ปี กฤตณ์เป็นสมาชิกวงดุริยางค์เยาวชนไทย, Chulalongkorn University Symphony Orchestra, Chulalongkorn University Percussion Ensemble และ Siam Sinfonietta ปัจจุบันเป็นนิสิตชั้นปีที่ 2 คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิชาเอก Classic Percussion และเป็นอาจารย์สอน ดนตรีที่สถาบัน KPN และ Map Studio

จิตตินันท์ กลิ่นน้ำ�หอม (Jittinant Klinnumhom) • Tambura

เริ่มเล่นดนตรีครั้งแรกที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ในเครื่องดนตรีเฟรนช์ฮอร์น สำ�เร็จการศึกษาจากภาควิชาดุริยางคศิลป์ สาขาดนตรีตะวันตก (การประพันธ์เพลง) คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบัน จิตินันท์เป็นผู้ช่วยผู้จัดการวงดุริยางค์ของมูลนิธิมหาอุปรากรกรุงเทพ และกำ�ลังศึกษาในระดับมหาบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พศธร เสถียรนิธิ (Pasatorn Satieniti) • Harp

เริ่มศึกษาดนตรีครั้งแรก ตั้งแต่อายุ 3 ปี และได้เริ่มศึกษาที่ศูนย์ฮาร์ปตำ�หนักประถม ในช่วงปลายปี 2007 โดยมีโอกาสได้ศึกษากับ อาจารย์ที่มีชื่อเสียงจำ�นวนมาก อันได้แก่ Jie Zhou, Heleen Vandeputte, พลเรือตรีหญิง ธาราวดี ฆโนทัย, Loiuse Wiggins, Paulina Porazinska, Reyes Benito Gómez, Ema Mitarai, Ji Min Lee, Elizabeth Jaxon และ Elinor Bennett และสอบผ่าน Grade 3 จากสถาบัน ABRSM (Associated Board of the Royal Schools of Music) และ Grade 6 จากศูนย์ฮาร์ปตำ�หนักประถม ด้วยคะแนน ระดับเกียรตินิยมอันดับ 1 ทั้งหมด ปัจจุบัน พศธร จบการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะดุริยางคศาสตร์ สาขาการแสดงดนตรี ในเครื่องเอก Harp

กันต์ ล้อมสมบูรณ์ (Kant Lormsomboon) • Piano & Celesta

กันต์ ล้อมสมบูรณ์ เริ่มเรียนเปียโนเมื่ออายุ 5 ปี ที่โรงเรียนดนตรีสยามกลการ ต่อมาเมื่ออายุ 7 ปี ได้เรียนเปียโนกับ อ.ณัฐ ยนตรรักษ์ ในปี 2007 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขัน Trinity Guildhall National Youth Piano Competition ครั้งที่ 1 ในปี 2011 ได้รับรางวัลชนะเลิศ การประกวด Hot Music Award ครั้งที่ 16 ในปี 2012 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขัน Siam International Piano Competition ครั้งที่ 2 และสอบผ่านประกาศนียบัตร ด้านการแสดงเปียโน จาก Landes Musik Schulen ประเทศ Austria ปัจจุบัน กันต์ศึกษาเปียโนกับ อ.ธงสรวง อิศรางกูร ณ อยุธยา คณะศิลปกรรมศาสตร์ ภาคดุริยางคศิลป์ตะวันตก จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

สถาปัตย์ แสงสุวรรณ (Sathapat Sangsuwan) • Organ

เริ่มเล่นดนตรีเมื่ออายุ 10 ปี จากนั้นได้ศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะดุริยางคศาสตร์ จบการศึกษาด้วยคะแนนเกียรตินิยม อันดับ 1 สาขาเชิงพาณิชย์ เคยรับรางวัลรองชนะเลิศการประกวด Electone ในงาน YTMF ด้วยเพลงประพันธ์ของตนเอง มีประสบการณ์ ด้านทำ�เพลงประกอบภาพ อาทิเช่น Byrdland, Teaser ยักษ์, โฆษณา SYM, โฆษณา Close up เคยร่วมบรรเลงดนตรีให้กับละครเวที นางฟ้ากับชาลี The Musical, Dear Death, Room, The power of his love,แรกร่าง, ปริศนา The musical, หลังคาแดง The musical, เงิน เงิน เงิน The musical, ไกลกังวล Musical on the beach และ Spring awakening ปัจจุบันประกอบอาชีพนักดนตรีอิสระ


Chorus Apiradee Ponpun • Soprano

Miss Apiradee Ponpun 20 year old student; doing her third year at Humanities faculty of Bangkok University. She is currently a member of Bangkok University Chorus (BU) and also taking part as a soprano singer at Thailand Youth choir (TYC). This is her first opera and she is looking forward to perform in many others in the coming up future.

Chantal Gopinath • Soprano

Chantal is 14 and goes to NIST International School in Bangkok. She has loved singing since she was a child of four, but it was only in 2012 that she discovered her flair for opera. At an audition with Aj Somtow, she impressed him and surprised herself by singing in soprano voice. She enjoys every minute of opera performance and is looking forward to a rewarding experience with Opera Siam.

Emm Parnichkun • Soprano

Emm is a 12 years old girl at AIT International School. Her first performance with opera is by joining the Kid’s chorus of “Mae Naak” performed at Bloomsburry theatre in London in 2011. In 2012, she performed in Bruce Gaston’s “A Boy and A Tiger” performed for Rotary meeting at Impact Arena, Muangthongthani. Later she joined the Kid’s chorus of “Requiem for the mother of song”. In December, she joined the chorus of “The Silent Prince”. In 2013, she joined the chorus of “Otello”. Besides learning of singing with Stefan Sanchez, Emm likes to sing along with piano and folk guitar.

Mana Kaewtae • Soprano

Being born in Chinese opera family. JC manar has been inspired by and fallen for opera and musical. Awarded first runner up 0f 2008 Thailand Five Zones Singing Competition for international song category, she was given a scholaship of An advanced voice study at Vatinee Music school, an ensemble which was chosen to sing USA National Anthem as an opening piece of Raktersamer The musical. In 2011, She played One of the Hiso Gangsters in Reya the musical. She also loves cooking.When she doesn’t sing, she cooks but while she’s cooking, she sings! Her voice is not less graceful than her beauty. Nothing could stop her from reaching for the stars and one day the world will remember her name.


Patcha Sennun • Soprano

Studying Voice at Chulalongkon University in her Senior year, Nat, a compact girl with avantgarde voice takes her very first step in to the stage-of-art world with the world premier “ The silent prince”. Not only a student she is also a teacher at Mymelody Music School. Keep your eyes on her as she’s going to be another star in opera universe.

Poonnika Molloy • Soprano

She began performing when she was 7, singing along side her sister Myra. She has performed in Paris at the Musee du quay Branly, on the hit Chinese show “Day Day UP” and recently in “Reya the Musical.” In her free time, she loves to draw.

Suporn Boonprasit • Soprano

Suporn first started singing when she was five years old as a member of The Wattana Wittaya Academy Chorus, and became a member of The Thai Youth Choir when she was nine. After Primary School, she continued to study at Bodindecha (Sing Singhasanee) School and participated in the School Military Band as a flautist. She is currently studying Music Education (Flute) at Chulalongkorn University, Faculty of Education, is a member of The Chulalongkorn University Concert Choir (CUCC), and takes private singing lessons with Ajarn Weewan Tonechai and Ajarn Rapeeporn Pratum-Anon.

Thalassa Tapia-Ruano Ferrand • Soprano

12 years old Soprano, born in Bangkok. Spanish/ French Mother and Hongkong Chinese Father. When Thalassa was 4 years old she asked to learn Opera, she finally started learning Opera at age 7. She balanced Chorus, Musical, Opera, piano, flute, guitar and School as her first priority with wonderful help from her Satit Bilingual School and Opera Siam.She was granted Full Scholarship throughout her school years as “SBS Super Star”.She needs more than 24 hours in a day to do more things that she loves, to prepare for her life long dream.

Thanyarat Suaysuwan • Soprano

She began her music education at the age of 5, and At age 15, obtained her grade 5th theory of music certificate passed with merit , and later she passed the 8th grade piano examination from The Associated Board of the Royal schools of music, London (ABRSM). She started her voice lessons with Teeranai na nongkai. At age 19, She joined the choir, Bu chorus and Thai Youth Choir. In January 2013, she was singing in 7-11 advertising for Teacher’s day theme. Then she joined the chorus of the famous Othello.Currently, She study in classical voice with Jairat pitakcharoen As her mentor.

Thasaneya Ratwong • Soprano Graduate from Faculty of Communication Arts, Bangkok University, Majoring in Radio and Television Broadcasting. Her recently works such as Nueng-nai-duangjai the musical, REYA the musical, Goh Lang Wang the musical and currently VJ at TrueLife+ TV.


AnikaThavarojana • Alto

Apart from her performing and studying , Anika is just an ordinary girl who loves nature, drawing and film. She mostly spends her spare time watching old films.

Areeya Rotjanadit • Alto

After graduted from College of Dramatic Arts, Bangkok. Now she is a FRESHY of Faculty of Fine and Applied Arts, Chkulalongkorn University. She also participated in Thailand’s got Talent Season 1 and joined with many shows of Opera Siam International such as Reya the musical, The Silent Prince and Otello.

Ramya Gopalan • Alto

Ramya Gopalan, a graduate of the London School of Economics, joined the United Nations Development Programme in 2005 and is currently working in its Asia Pacific Regional Office in Bangkok. Throughout her full-time professional career, she always found time to pursue her passion for music. She mastered Indian Classical music, training in both Hindustani & Carnatic styles for more than 10 years and in addition acquired proficiency in jazz, rock, and blues vocals, performing to audiences in India, London & Bangkok. The Silent Prince is her second Opera performance.

Sally Atchara Hinke • Alto

Sally Atchara Hinke, 14, is a music scholar in voice and violin at The Regent’s International School Bangkok. She became the youngest musician in the Siam Sinfonietta youth orchestra in 2010. Miss Hinke’s first stage appearance was as a giant cookie at age eight but her most recent stage experience was performing in the Bangkok premiere run of Reya The Musical. Sally’s seen an awful lot of operas and always dreamed of singing in one.

Apisit Panimmarerng • Tenor Apisit is currently studying at Faculty of Communication Arts, Bangkok University, majoring in Radio and Television Broadcasting. Her recently works such as Pieng Chai Khonnee Mai Chai Poo Viset the musical, REYA the musical and a member of Bangkok University Chorus.

Kittin Suchato • Tenor

Kittin began his musical studies when he was twelve at Wat Suthiwararam School Military Band as a Saxophone player. He remained a member of the band until Mattayom 6. After high school, he continues to study at The Western Music Department, Srinakarinwirot University, Faculty of Fine and Applied arts. He originally chose to major in Saxophone Performance but later changed to Classical Vocal Study. He joined Opera Siam International for The Silent Prince (Gala) in Dec, 2012 and Verdi’s Otello and recently won The First Prize from 5th Bangkok Opera International Singing Competiton, in May 2013.


Noppasith Aroonthin • Tenor

Noppasith graduated from Srinakarinwiroj University with major Thai and minor performing arts. He has been in many magnificent play and musical such as Miss Saigon, Ruktersamer the musical, the stories musical moments concert,YES academy’s west side story (played Riff) Also starred in many musical tv show such as Les miserable thailand premierre show, Sai jai thai concert under HRH princess Mahachakri Sirindhorn concert on channel 5. He also awarded from many vocal contest significantly, 1st prize from music department ministry of defense thailand. Not only the musical subject that keeps him busy, he is now popular through many events and MC stuff. Now a freelance artist domestic and international.

Panai Saichompoo • Tenor

Pond has been working professionally in music and acting fields since he was sixteen. During his young career, he won a number of singing competitions including Sala Chalermkrung competition and first prize Grammy Junior singing contest, to name a few. Pond also has co-hosted a television show for Komchadluek, a subsidiary of Nation Broadcasting Corporation. Recently, he won a role in Thailand’s highly popular musical, Reya - The Musical.

Tanayut Jansirivorkul • Tenor

Top is a violinist. He has been working professionally in music and acting fields since he was twelve. In 2011, Top was invited to play a concerto debut in Los Angeles where he performed Mozart’s Third Violin Concerto. Top also has been involved in Bangkok Opera’s productions in several non-singing roles including Tosca and Bluebeard’s castle. Recently he won a role “CK as a child” in Thailand’s highly popular musical Reya – The Musical.

Wairuj Dechmahitkul • Tenor

Pui has master degrees in Science and Engineering but he has a keep interest in arts and entertainment. He loves to play Badminton and Squash.

Yu Maruta • Tenor

Yu Maruta was born in bangkok on 26 November 1987 Japanese/Thai. He was listened to classical music since he was 4 while he joined Bangkok Opera when he was 15. After he sang in Bangkok Opera he went to study Silapakorn University and studied with three famous concert masters with famous violinist in Thailand and other countries Tasana Nagvajara, Leo Phillips from England and a master class with Roland Balhdini from vienna. He was pass an audition (SSMS: Silapakorn Summer Music School ) and tour concert with world famous Maestro Hikotaro Yazaki in 2012 and he be in member siam sinfonietta as well.


Jirapong Manit • Bass

A computer nerd who can sing, seems to be the best description for him. After a year of successfully trying to program a robot to dance, this is the first time he will be on the opera stage himself

Philippe Saint-Paul • Bass

A dancer by day, a dreamer by night, Philippe keeps traveling the world, hoping to find his true self. Strangely enough, they have been traveling together all along. Maybe they will finally meet tonight, in a combination of stern and joyful mind.

Robert Breibtreu • Bass

Robert Bleibtreu, born on the 29th of August, is one of the youngest members of Opera Siam’s core, Orpheus chorus, first joining the company during Carmen as a member of the children’s chorus, and has participated in Carmen, Tosca, both Mae Naak performances in Bangkok and London, and will continue working with Opera Siam in the foreseeable future.

Siroj Sakudomkachorn • Bass

Siroj started playing trombone in the Soka Gakkai Thailand ‘s Band when he was 13 years old and became a conductor when he was 15 years old. Siroj studied classical singing with Ajarn Zion Daorattanahong. In 2007, he received a schorlarship to study in Faculty of Music, Silpakorn University and studied with Dr.Kazuo Inoue. He graduated in 2011, obtaining highest honours. He started performing with Siam Opera in 2010. He performed as a Morales in Bizet’s Carmen, Captain in Somtow’s Mae Naak conducted by Maestro Somtow Sucharitkul with Siam Philharmonic Orchestra.

Andres Espinoza • Executed Prisoner

One of the few places where i feel completely fulfilled is when I’m on stage. I missed my student years in London where I had to choose beetween going to the Theatre or going out with friends, as my budget was really low. I had the chance to work in hollywood productions and duo played shakespeare in a small chamber theatre.


Dancers

ธัญวัลย์ ชัยจารุวรรณ

พฤกษา ชนาธิปัตย์

Tanyawan Chaicharruwan

Prueksa Chanatipat

วินิตา โลหิตกุล กัญญาลักษณ์ เสวตสมบูรณ์

Winita Lohitkul Kanyalak Sawetsomboon

สิริพงษ์ สุนทรเสนาะ

Siripong Soontronsanor

ภูวเรศ วงศ์อติชาติ Choreographer

ภัคพล บุศย์ประยูร

Pakkaphol Budprayoon

พศิน กองจินดา

Pasin Kongjinda

ทนงศักดิ์ ผดุงเดช

Thanongsak Padungdech

จบการศึกษาจากคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เคยผ่านงานการ เป็นนักแสดงและแดนเซอร์ให้กับละครเวทีคณะนิเทศศาสตร์ โอเปราสยาม และเป็น ผู้ออกแบบท่าเต้นให้ละครเวทีหลายเรื่อง ปัจจุบันทำ�งานด้าน Event โดยมีทีมระบำ� Couture Dance และเป็น Resident Choreographer ของโอเปราสยาม

พิษณุ โยธินรัตนชัย Costume Designer

สำ�เร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาการโฆษณา และประชาสัมพันธ์ และ ศึกษาการออกแบบเสื้อผ้า Fashion design programs, alliance-francaise de Bangkok พิษ ณุได้ออกแบบงานแสดงเปิดพิธีและงานประชุมในระดับเอเชีย ได้แก่ AMWAY We Touch The World 201 และ HBL ASIA 2011 และสร้างสรรค์ผลงานด้านเครื่องแต่งตัวสำ�หรับงานแสดงทั้ง โทรทัศน์และเวที รวมทั้งมหาอุปรากรของโอเปร่าสยาม อาทิ ทอสก้า แม่นาก ฯลฯ และละคร เพลง “เรยา เดอะ มิวสิคัล” ปัจจุบัน พิษณุเป็น Professional Fashion Stylist Designer เจ้าของห้องเสื้อและบริษัท Event Organizer “PITSANU” และเป็นผู้ควบคุมการออกแบบเสื้อผ้า หน้า ผม ของโอเปราสยาม



ถ่ายเถา สุจริตกุล ผู้บริหารการผลิต

หลั ง จากจบมั ธ ยมศึ ก ษาจากมา แตร์เดอีและวัฒนาวิทยาลัย ถ่ายเถา สุจริตกุล เดินทางไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ ได้รับ ประกาศนียบัตรวิชาเคหะศาสตร์และเลขานุการ จาก Winkfield Place ประเทศอังกฤษ และ ศึ ก ษาวิ ช าจิ ต กรรมภาพวาดระดั บ ปริ ญ ญาโท ที่ University of Notre Dame สหรัฐอเมริกา ถ่ายเถาสมรสกับศาสตราจารย์ ดร. สมปอง สุจริตกุล และเดินทางติดตามสามีไปประจำ� ประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรปและเอเซียรวม ๙ ประเทศในฐานะภริยาเอกอัครราชทูต ถ่ายเถา สุจริตกุล ใช้ชีวิตช่วงปลายเกือบ ๒ ทศวรรษในสหรัฐอเมริกา ระหว่างพำ�นักใน สหรัฐอเมริกา ถ่ายเถาทำ�หน้าที่ผู้อำ�นวยการ ผลิ ต ภาพยนตร์ ถ่ า ยทำ � ในฮอลลี วู้ ด ถึ ง สองครั้ ง จากผลงานของสมเถา สุจริตกุล เธอเดินทาง กลับมากรุงเทพฯ เป็นครั้งคราวเพื่อบริหาร การผลิ ต มหาอุ ป รากรระดั บ มาตรฐานสากล หลายเรื่องให้บางกอกโอเปร่า นอกจากนั้นยัง

สร้างสรรค์ผลงานด้านวรรณกรรมโดยเป็นนัก เขี ย นและนั ก แปลนวนิ ย ายและเรื่ อ งสั้ น ภาษา อังกฤษของ เอส. พี. สมเถา ออกสู่ตลาดอย่าง ต่อเนื่อง นวนิยายของถ่ายเถา สุจริตกุล ได้รับ การถ่ายทอดเป็นละครโทรทัศน์หลายเรื่องรวม ทั้ง “ดอกส้มสีทอง” ซึ่งได้รับการดัดแปลงเป็น ละครเพลงมาตรฐานบรอดเวย์เรื่อง “เรยา เดอะ มิวสิคัล” ถ่ายเถาโยกย้ายจากสหรัฐอเมริกา กลับมาพำ�นักในประเทศไทยเป็นการถาวรตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ใช้เวลาส่วนใหญ่ทำ�งานให้คณะ มหาอุปรากรโอเปร่าสยาม (บางกอกโอเปร่า เดิม) ในตำ�แหน่งรองประธานมูลนิธิมหาอุปรากร กรุงเทพ นอกจากนั้นยังได้ทำ�การค้นคว้า เขียน และแปลข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ดรตรี ค ลาสสิ ต และ มหาอุปรากร รวมทั้งจัดทำ�คำ�บรรยายประกอบ การแสดงมหาอุปรากรกว่า ๒๐ เรื่อง เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ สมาคมนักเขียนแห่ง ประเทศไทยได้ประกาศเกียรติและมอบรางวัล

”นราธิป” ให้ ถ่ายเถา สุจริตกุล ในฐานะนัก เขียนผู้สร้างสรรค์ผลงานอย่างต่อเนื่อง ยาวนาน และผลงานเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง กับ รางวัล “สุรินทราชา” สำ�หรับนักแปลดีเด่นจาก สมาคมนักแปลและล่ามแห่งประเทศไทย

ดร. นฎาประไพ สุจริตกุล

Executive in Charge of Business Affiars ดร.นฎาประไพ สุจริตกุล เป็นหนึ่งในผู้ ร่วมก่อตั้งมูลนิธิมหาอุปรากรกรุงเทพ เริ่ม ผลงานทางการขับร้องเพลงโซโล “Rock Mass” คีตนิพนธ์ของพี่ชาย “สมเถา สุจริต กุล” ทางโทรทัศน์ Evangelische Omroep เนเธอร์แลนด์ เมื่ออายุ 14 ปี ก่อนหน้านั้น เธอ ก็ ค ร่ำ � หวอดกั บ การแสดงนาฏศิ ล ป์ รำ � ไทยใน ฐานะนักแสดงรุ่นเยาว์ตั้งแต่ 3 ขวบ เคยรับ หลายบทบาทในการแสดงละครการกุศล พิธีกร ร้องเพลงในงานคอนเสิร์ต ตลอดจนรับบทเอก ในนาฏกะ “วาสวฑัตตาในฝัน” ซึ่งแสดงหน้า พระที่นั่งพระบามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว นอกเหนือจากดีกรีดอกเตอร์สาขารัฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยปารีส นฎาประไพยังชื่นชอบ กับศิลปะการแสดง ทั้งการร้องเพลงไทยเดิมและ เพลงป๊อบสากล ผ่านการรับบทต่างๆ ในคณะ บางกอกโอเปร่า อาทิ บทหมู่มวลในมหาอุปรากร “มัทนา” และนักร้องประสานเสียงในงาน “Re-

quiem 9/11” นฎาประไพเริ่มบทบาทในฐานะ Producer ให้กับบางกอกโอเปร่าในปี 2005 ใน มหาอุปรากร “Aida”, “Queen Sirikit Concerto” ผลงานของไมสโตรสมเถาซึ่งประพันธ์ ทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ และได้เสด็จมาทรงทอดพระเนตร พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ รวมถึงมหาอุปรากร “Mae Naak” ประพันธ์โดยไมสโตรสมเถา ซึ่ง เป็นผลงานแรกของคณะ Opera Siam International ที่จัดแสดงที่ประเทศอังกฤษ ล่าสุดเมื่อปี 2012 นฎาประไพ รับหน้าที่ เป็น Producer ให้กับ “The Requiem for the mother of Songs” ของ อ.สมเถา ซึ่งได้ รั บ การกล่ า วขวั ญ ยกย่ อ งไปทั่ ว โลกของวงการ ดนตรี ค ลาสสิ ก ว่ า เป็ น ผลงานชิ้ น โบว์ แ ดงของ ศตวรรษ ซึ่ง อ.สมเถา ใช้เวลาบรรจงรังสรรค์ถึง 4 ปีเต็ม เพื่อน้อมรำ�ลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณอัน

หาที่สุดมิได้ แห่งสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรม หลวงนราธิวาสราชนครินทร์ องค์พระอุปถัมภ์ ของมูลนิธิมหาอุปรากรกรุงเทพ พระมารดาแห่ง วงการดนตรีคลาสสิกของประเทศไทยและของ สากลโลก


Dean M. Shibuya Scenic Designer

Noted as an architectural designer, I was approached about the possibility of designing sets for theater productions by Director Craig Slaight. Merging my architectural skills with my love of live performance, I started my career in scenic design at San Francisco’s ACT (American Conservatory Theatre) Young Conservatory with a set for Ladies of the Canyon: The Music of Joni Mitchell, followed by shows featuring the music of James Taylor (Shed a Little Light), Sting, and most recently Elton John. I also designed sets for the Young Conservatory’s dramatic productions

of Mullen’s Alley, Charley’s Aunt and the world premier production of Broken Hallelujah (a world premiere). Designs for other Bay Area productions include Theatre Rhinoceros’s Twelve Days of Cocina, a holiday show by comedienne Marga Gomez, Falsettos and Three on a Party, a coproduction with Word4Word Theatre Company. I also designed sets for San Francisco Conservatory of Music’s graduate productions of the baroque opera L’Egisto, by Francesco Cavalli and Orpheus in the Underworld by Offenbach under the direction of Richard Harrell. In 1996 I was commissioned to design a set for the Bangkok Opera’s new production of Madama Butterfly under international director Henry Akina. After a very successful run there, the concept was submitted accepted by the Savonlinna Opera Festival in Finland where we where it was reinvented to adapt to their magnificent venue in St. Olof ’s Castle in Finland’s beautiful Lake Coun-

try. One of their requirements was a design that could be also used in a conventional proscenium theater so the production could travel to other opera houses. This production’s first stop beyond Savonlinna was recently staged for the Malmö Opera in southern Sweden. It ran for two months to critical acclaim and, as a result, will be reprised in the spring of 2013. As of August 2011 I was thrilled to be named the new Managing Director of the San Francisco Lyric Opera and will, along with Artistic Director Barnaby Plamer revive the company in a new direction focusing on contemporary chamber opera!

Stage Management Team คมเศก พร้อมนาวิน

คมเศกคร่ำ�หวอดในวงการจัดกิจกรรมการตลาดและส่งเสริมการขายต่างๆ มา มากกว่า 18 ปี เคยมีประประสบการณ์การจัดกิจกรรมให้กับ AIA, ธนาคารแห่งประเทศไทย, การแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 13 ณ กรุงเทพมหานคร รวมถึงการแสดงคอนเสิร์ตต่างๆ ที่ มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติ ปัจจุบัน คมเศกดำ�รงตำ�แหน่ง Senior Event Specialist ของบริษัท บันลือ สีหนาท จำ�กัด

ยุทธิชัย เจียรกุล

ประสบการณ์การทำ�งานในวงการคอนเสิร์ต เป็นผู้อยู่เบื้องหลังงาน กำ�กับเวที และกำ�กับคิวการแสดงมากว่า 25 ปี ปัจจุบันตำ�แหน่งกรรมการผู้ จัดการบริษัททำ�ธุรกิจด้านงานออแกไนซ์ ชื่อ High Up


Stephen Thomas Revival Director

Stephen Thomas began writing and directing plays for theatre festivals while in school. He worked for many years in the TV and film industry in New York City doing everything from acting, lighting, camera, sound, assistant directing and editing. Shortly after arriving in Bangkok in 2009 he made his Thai onscreen debut opposite actress Nok Sinjai in the movie ใครไน ห้อง (Who Are You?), shortly followed by an appearance in Channel 3’s The Sin Chronicles (บันทึก กรรม). This led to a role in the first of Channel 3’s weekend movie series (หนังดังสุดสัปดาห์) Widow Ghost And The Red-Lipped Man (ผีแม่ม่าย กับผู้ชายปากแดง). Stephen joined Opera Siam for the 2009 production of Carmen as a commedia dell’arte player. Since then he has appeared in Tosca, and joined the chorus for

Mae Naak and The Silent Prince. During the London performance of Mae Naak, Stephen worked with the British chorus members to teach them Thai mannerisms and habits. Stephen is also active in Bangkok theatre. He performed in B-Floor Theatre’s แผ่นดินอื่น (The Other Land) and Goya & Gleung, Index’s รักเธอเสมอเดอะมิวสิคัล (Rak Ther Samer The Musical) and played Puck in The Iron Fairies’ production of A Midsummer Night’s Dream. He has appeared in numerous TV movies and the feature films ชอบกด Like ใช่กด Love (Chorp Kod Like Chai Kod Love) and Dragon Wolf, and supplied the voices for the English version of Workpoint’s animated feature Yak The Giant King (ยักษ์). Also a musician and songwriter with 2 CDs available on iTunes

and CDBaby, Stephen is currently beginning work on new songs for the Thai market.

Athalie de Koning

Chorus Master

Athalie de Koning is an all-round international music educator with a passion for Voice. She was born in the Netherlands, but lived Thailand, Malaysia, and England alternately over the years. Athalie holds a Bachelor of Education in Music from the Conservatory of Utrecht with a major in Voice and Conducting. Discovering her love for Interdisciplinary Improvisation—combining Theatre, Dance, and Music—she completed her Master of Education in Arts in 2012 at the Utrecht School of the Arts. Having lived in Thailand as a child, Athalie returned to settle here in 2010,

working as a freelance singer, emcee, voice teacher and event manager. She taught Voice at Mahidol University before joining Opera Siam as chorus master and in-house producer. In the evenings, Athalie performs as a Jazz singer at different Jazz clubs aroundBangkok and has made guest appearances at Fubar and the Siam Kempinski Hotel, among other places. Oneday, Athalie would love to perform in a concert that combines mor lam music with Jazz scat improvisation.



The Silent Prince PRODUCTION CREDITS

ทีมงาน เตมีย์ใบ้

Conductor วาทยกร

Somtow Sucharitkul สมเถา สุจริตกุล S.P. Somtow เอส.พี. สมเถา Trisdee na Patalung ทฤษฎี ณ พัทลุง

Producer ผู้อำ�นวยการผลิต

Thaithow Sucharitkul ถ่ายเถา สุจริตกุล

Composer/Director คีตกวี/กำ�กับการแสดง Libretto คำ�ร้อง

Revival Director ผู้ช่วยกำ�กับการแสดง Executive in Charge of Business Affiars

Orchestra manager ผู้จัดการวงดุริยางค์

Assistant orchestra manager ผู้ช่วยผู้จัดการวง

Orchestra librarian บรรณารักษ์วงดุริยางค์

Chorus master ฝึกซ้อมนักร้องประสานเสียง Repetiteur เปียโนประกอบการฝึกซ้อม Set designer ออกแบบฉาก

Lighting designer ออกแบบแสง

Choreographer ออกแบบท่าระบำ� Costumes เครื่องแต่งกาย

Production stage manager ผู้จัดการเวที

Set and props ฉากและเครื่องประกอบฉาก Video recording บันทึกภาพ

Sound recording บันทึกเสียง

Super titles คำ�บรรยายประกอบการแสดง

Super titles operators ควบคุมการบรรยาย Make-Up แต่งหน้า

Hair dressing แต่งผม

Still photographers ช่างภาพนิ่ง

Rehearsal space สถานที่ฝึกซ้อม

Public Relations ประชาสัมพันธ์

Chorus coordination ประสานงานคอรัส Mr. Somtow Sucharitkul’s P.A.

Production coordinator ผู้ประสานงาน

Stephen Thomas สตีเฟน โธมัส

Nadaprapai Sucharitkul นฎาประไพ สุจริตกุล Pongsathorn Surapap พงศธร สุรภาพ

Jittinant Klinnumhom จิตตินันท์ กลิ่นน้ำ�หอม Ratchanon Intarasathit รัชชานนท์ อินทรสถิต Athalie de Koning แอทธาลี เดอ โคนิง Pasatorn Stieniti พศธร เสถียรนิธิ Dean Shibuya ดีน ชิบูยา

Ryan Attig ไรอัน แอ็ตติกจ์

Puwarade Wongatichart ภูวเรศ วงศ์อติชาติ Pisanu Yotinratanachai พิษณุ โยธินรัตนชัย

Komsaek Phromnawin คมเศก พร้อมนาวิน Hi - Up Co., Ltd. บริษัท ไฮ-อัพ จำ�กัด

Studio Production Co., Ltd. สตูดิโอ โปรดั๊กชั่น จำ�กัด Theme P. 418 Potent ธีม พี. 418 โพเต้นท์ Thaithow Sucharitkul ถ่ายเถา สุจริตกุล Aua-aree Engchanil เอื้ออารีย์ อิ้งจะนิล Cover Mark บริษัท โอ.ซี.ซี. จำ�กัด

Ketvadee Gandini เกตุวดี แกนดินี Sathit Ponkoon สาธิต พลกูล

Sucharit Thamrong Music Centre ศูนย์สังคีตศิลป์สุจริตธำ�รง

Old England Student Association สมาคมนักเรียนเก่าอังกฤษ Chaimongkol Wiriyasatjaporn ชัยมงคล วิริยะสัจาภรณ์

Carolina Tapia-Rauno Ferrand คาโรลีนา ตาเปียรัวโน เฟรันด์ Nath Khamnark ณัฏฐ์ คำ�นาค

Ratana Roipornkasemsuk รัตนา ร้อยพรเกษมสุข

Chaimongkol Wiriyasatjaporn ชัยมงคล วิริยะสัจาภรณ์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.