บทที 1 บทนํา ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้บญั ญัติไว้ในมาตรา 289 ดังนี' องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ- นย่อมมีหน้าที-บาํ รุ งรักษาศิลปะ จารี ตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ- น หรื อ วัฒนธรรมอันดี ของท้องถิ-น (ราชกิ จจา, 2550 : 116) และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พุทธศักราช 2542 และที-แก้ไขเพิ-มเติม (ฉบับที- 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 23 กําหนดให้การจัดการเรี ยนรู ้จะต้องเน้น ความสําคัญทั'งความรู ้ คุ ณธรรม กระบวนการเรี ยนรู ้ และบูรณาการการเรี ยนรู ้และการประยุกต์ใช้ ภูมิปัญญาไทย และมาตรา 27 กําหนดให้สถานศึกษาขั'นพื'นฐานมีหน้าที-จดั ทําสาระของหลักสู ตร ตามวัตถุประสงค์ในวรรคหนึ-งในส่ วนที-เกี-ยวกับสภาพปั ญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ-น คุ ณ ลัก ษณะอัน พึ ง ประสงค์ เ พื- อ เป็ นสมาชิ ก ที- ดี ข องครอบครั ว ชุ ม ชน สั ง คมและประเทศชาติ ตระหนักถึ งความสําคัญของการเรี ยนรู ้ วฒั นธรรม ตํานาน ประวัติความเป็ นมาของท้องถิ-นเพื-อสื บ ทอดมรดกทางวัฒนธรรม (กระทรวงศึกษาธิ การ, 2545 : 7 - 8) ดัง นั'น การศึ ก ษาขั'น พื' น ฐานจึ ง ได้ก ํา หนดแนวทางในการจัด การศึ ก ษาในหลัก สู ต ร แกนกลางการศึ ก ษาขั'นพื' นฐาน พุ ท ธศัก ราช 2551 สํา หรั บ ท้องถิ- นและสถานศึ ก ษาได้นํา ไปใช้ เป็ นกรอบและทิ ศทางในการจัดทําหลักสู ตรสถานศึ กษา และจัดการเรี ยนการสอนเพื-อพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั'นพื'นฐานให้มีคุณภาพด้านความรู ้ และทักษะที-จาํ เป็ น สํ า หรั บ การดํา รงชี วิ ต ในสั ง คมที- มี ก ารเปลี- ย นแปลง และแสวงหาความรู ้ เ พื- อ พัฒ นาตนเอง อย่างต่อเนื-องตลอดชีวติ และมีจุดมุ่งหมายให้มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุ รักษ์และพัฒนาสิ- งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที-มุ่งทําประโยชน์ และสร้างสิ- งที-ดีงามในสังคม และอยู่ร่ว มกันในสั ง คมอย่า งมี ค วามสุ ข และด้า นสื- อการเรี ย นรู ้ ซึ- ง เป็ นเครื- องมื อ ที- จ ะส่ ง เสริ ม สนับสนุ นการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ ให้ผเู ้ รี ยนเข้าถึ งความรู ้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะ ตามมาตรฐานของหลักสู ตรได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ สื- อการเรี ยนรู ้ มี หลากหลายประเภท ทั'งสื- อ ธรรมชาติ สื- อสิ- งพิมพ์ สื- อเทคโนโลยี และเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ ต่าง ๆ ที- มีในท้องถิ- น การเลื อกใช้สื-อ ควรเลื อกให้ มี ความเหมาะสมกับ ระดับ พัฒ นาการ และลี ล าการเรี ย นรู ้ ที- ห ลากหลายของผูเ้ รี ย น (กระทรวงศึกษาธิ การ, 2551 : 31)
2 ภาษาไทยทั'งภาษาพูดและภาษาเขียน เป็ นมรดก เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาของชาติที-ใช้ ในการสื- อสารเรี ยนรู ้ พัฒนาตน ธํารงสังคม และรักษาความเป็ นชาติไว้ให้ยง-ั ยืนมัน- คง ภาษาไทย เป็ นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิ ดความเป็ นเอกภาพและเสริ มสร้ างบุคลิ กภาพของคนในชาติ ให้มีความเป็ นไทย เป็ นเครื- องมื อในการติ ดต่อสื- อสาร เพื- อสร้ า งความเข้าใจและความสัมพันธ์ ที- ดีต่อกัน ทํา ให้ส ามารถประกอบกิ จธุ รการงาน และดํารงชี วิตร่ วมกันในสัง คมประชาธิ ปไตย ได้ อ ย่ า งสั น ติ สุ ข และเป็ นเครื- อ งมื อ ในการแสวงหาความรู ้ ประสบการณ์ จ ากแหล่ งข้อมู ล สารสนเทศต่าง ๆ เพื-อพัฒนาความรู ้ ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทนั ต่อการเปลี-ยนแปลง ทางสังคมและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนการนําไปใช้ในการพัฒนาอาชี พ ให้ ม -ัน คงทางสั ง คมและเศรษฐกิ จ นอกจากนี' ยัง เป็ นสื- อที- แ สดงภู มิ ปั ญ ญาของบรรพบุ รุ ษ ด้า นวัฒนธรรม ประเพณี ชี วทัศน์ โลกทัศน์ และสุ นทรี ย ภาพ โดยบันทึ ก ไว้เป็ นวรรณคดี และ วรรณกรรมอันลํ'าค่า ภาษาไทยเป็ นสมบัติข องชาติ ที- ควรค่ าแก่ ก ารเรี ย นรู ้ เพื- ออนุ รักษ์ และสื บ สานให้ค งอยู่ คู่ชาติไทยตลอดไป (กรมวิชาการ, 2544 : 3) ซึ- งคนไทยจําเป็ นต้องตระหนักถึ งความสําคัญของภาษาไทย ต้องทําความเข้าใจและศึ กษาหลักเกณฑ์ทางภาษา และฝึ กฝนให้มีทกั ษะฟั ง พูด อ่านและเขี ย น ภาษาไทยให้มีประสิ ทธิ ภาพ เพื-อนําไปใช้ในการสื- อสาร การเรี ยนรู ้ การสร้ างความเข้าใจอันดี ต่อกัน การสร้างความเป็ นเอกภาพของชาติ และความจรรโลงใจ เพื-อเกิดประโยชน์แก่ตนเอง ชุ มชน สังคม และประเทศชาติ (กรมวิชาการ, 2544 : 6) การจัดการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทยในโรงเรี ยน นับว่ามีความจําเป็ น อย่า งยิ-ง เพราะนอกจากจะช่ วยให้เ ยาวชนของชาติ ตระหนัก ถึ ง ความสํา คัญของภาษาไทยแล้ว ภาษาไทยยังเป็ นพื'นฐานที- คนไทยทุกคนจะใช้เป็ นเครื- องมือในการแสวงหาความรู้ ในด้านต่าง ๆ เพื-อพัฒนาตนเอง ตลอดจนสังคมและประเทศชาติได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ (วิลาวัณย์ สุ ภิรักษ์, 2545 :1) การเรี ย นการสอนภาษาไทยในปั จจุ บ นั มิ ได้มุ่ งหวังให้ นักเรี ยนอ่ านออกเขี ย นได้เ พี ย งอย่า งเดี ย ว หากมุ่งหวังให้นักเรี ยนนําความรู ้ ความสามารถไปใช้ให้เกิ ดประโยชน์ได้จริ ง สื- อสารกับผูอ้ ื- นได้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล ใช้เป็ นเครื- องมือในการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื-น ๆ และ ใช้เทคโนโลยีในการสื- อสารได้เป็ นอย่า งดี รวมทั'ง ต้องรั กษาภาษาไทยไว้ในฐานะที- เป็ นสมบัติ ของชาติอีกด้วย (กรมวิชาการ, 2546 : 21) ดังนั'น การจัดการเรี ยนรู ้ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย จึงเป็ นสาระสําคัญของหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั'นพื'นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ- งกระทรวงศึกษาธิ การ (2551 : 9) ได้กาํ หนดจุดมุ่งหมาย ความสําคัญ และคุณภาพของผูเ้ รี ยน เมื-อจบการศึกษาในระดับการศึกษา ขั'นพื'นฐาน คือ สามารถใช้ภาษาสื- อสารได้อย่างดี สามารถอ่าน เขียน ฟัง ดู และพูดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล และคิดเป็ นระบบ มีนิสัยรักการอ่านการเขียน การแสวงหาความรู ้
3 และการใช้ภาษาในการพัฒนาตนและสร้ างสรรค์งานอาชี พ ตระหนักในวัฒนธรรมการใช้ภาษา และ ความเป็ นไทย ภูมิใจและชื-นชมในวรรณคดีและวรรณกรรม ซึ- งเป็ นภูมิปัญญาของคนไทย สามารถ นําทักษะทางภาษามาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริ งได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและถูกต้องตามสถานการณ์และ บุคคล มีมนุ ษยสัมพันธ์ที-ดีและสร้างความสามัคคีในความเป็ นชาติไทย และมีคุณธรรม จริ ยธรรม วิสัยทัศน์ โลกทัศน์ที-กว้างไกลและลึกซึ'ง การอ่าน และเขียน เป็ นทักษะพื'นฐานทางด้านภาษาไทยทักษะหนึ- ง ซึ- งเป็ นกระบวนการ อันสําคัญในการแสวงหาความรู ้ของมนุษย์ เนื-องจากปั จจุบนั นี' ความเจริ ญก้าวหน้าในด้านการพิมพ์ และเทคนิคอื-น ๆ ทําให้วทิ ยาการต่าง ๆ เผยแพร่ ออกมาในรู ปแบบของสิ- งพิมพ์ การแสวงหาความรู ้ จึงมิได้มาจากการฟังหรื อการซักถามเท่านั'น ด้วยเหตุน' ี การอ่านและการเขียนจึงกลายเป็ นเครื- องมือ อย่า งหนึ- ง ช่ วยให้ม นุ ษ ย์เรี ย นรู ้ ส-ิ ง ต่ า ง ๆ ได้ท ว-ั ถึ ง ทํา ให้ม นุ ษ ย์เป็ นผูท้ ี- มี ค วามทันสมัย ทันต่ อ เหตุ ก ารณ์ ข องสภาพสั ง คมที- มี ก ารเปลี- ย นแปลงอยู่เ สมอ และสามารถปรั บ ตัว ให้เ ข้า กับ สภาพ ความเป็ นไปทางสังคมได้ สามารถดํารงชี วิตอยูใ่ นสังคมได้อย่างปกติสุข ดังนั'น ผูท้ ี-มีนิสัยรักการอ่าน และการเขียน ย่อมเป็ นผูท้ ี-มีความรู ้ กว้างขวาง และสามารถนําความรู ้ ไปพัฒนาทางด้านสติปัญญา อารมณ์ และสั ง คมได้ ดี ข' ึ น การอ่ า นและเขี ย นจึ ง มี ป ระโยชน์ ต่ อ ชี วิ ต ประจํา วัน เป็ นอย่ างมาก เพราะนอกจากจะได้รับความรู ้แล้ว ยังทําให้เกิดความบันเทิงทางด้านจิตใจอีกด้วย ดังนั'นการอ่านและ การเขี ยนจึ งเป็ นปั จจัยพื'นฐานที- สําคัญยิ-งของการศึ กษาในทุ กระดับชั'นโดยเฉพาะอย่างยิ-งในชั'น ที-เริ- มต้นของการเรี ยนรู ้ ต้องให้ผูเ้ รี ยนมีความสามารถในการอ่านและเขียน เพื-อให้ผูเ้ รี ยนใช้เป็ น เครื- องมือในการศึกษาหาความรู ้ จึงมีความจําเป็ นอย่างยิ-งที-ตอ้ งส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนมีความสามารถ และทัก ษะในการอ่ า นและเขี ย น เพราะกิ จกรรมทุ ก ชนิ ดของการเรี ย นรู ้ และการวัดผลสั ม ฤทธิM ทางการเรี ยนในทุกวิชาต้องอาศัยการอ่านและเขียนทั'งสิ' น จึงเป็ นวิธีการศึกษาหาความรู ้ ที-สะดวก สามารถทําได้โดยไม่จาํ กัดเวลาและสถานที- นักเรี ยนจึงสามารถอ่านและเขียนได้ทุกครั'งที-มีโอกาส (สุ วนันท์ สันติเดชา, 2547 : 6 - 7) ทักษะการอ่านและเขี ยน นับว่าเป็ นหัวใจของการเรี ยนภาษาไทย กระทรวงศึกษาธิ การ จึ ง กํา หนดไว้ใ นหลัก สู ต รทุ ก ช่ วงชั'น โดยได้บ รรจุ วิช าภาษาไทยให้อยู่ใ นกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ที-สถานศึกษาต้องใช้เป็ นหลัก เพื-อสร้ างพื'นฐานการคิด การเรี ยนรู ้ และการแก้ปัญหา มุ่งเน้นให้มี ผลการเรี ยนรู ้ที-คาดหวัง มีการพัฒนาทักษะด้านการอ่านการเขียน ดังนั'น ครู ผสู ้ อนภาษาไทยจึงต้อง เปิ ดโอกาสให้ ผู ้เ รี ย นได้ฝึ กฝน แต่ อ ย่า งไรก็ ต าม การอ่ า นการเขี ย น ยัง คงเป็ นปั ญ หาของเด็ ก ซึ- ง สุ วฒั น์ วิวฒั นานนท์ (2550 : 2) ยังได้สรุ ปว่า ความสามารถในการอ่าน และเขี ยนของผูเ้ รี ยน เป็ นปั ญหาสําคัญในการจัดการศึกษาของประเทศมาโดยตลอด ซึ- งจากรายงานผลการศึกษาวิจยั ของ สถาบัน ส่ ง เสริ ม การสอนวิท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี (สสวท.) และการศึ ก ษาข้อ มู ล เกี- ย วกับ
4 ความสามารถในการศึกษาด้านการอ่านการเขียน และการให้เหตุผลของนักเรี ยนไทย พบว่า นักเรี ยน ทําข้อสอบที-เป็ นแบบอัตนัยด้วยการเขียนอธิ บายความไม่ได้ สะท้อนให้เห็นว่า ทักษะการอ่านและ เขียนของเด็กไทย ยังมีประเด็นที-ให้เห็นว่าเด็กไทยมีจุดอ่อนในการเรี ยนทักษะดังกล่าวอีกด้วย จากการศึ กษาสภาพการเรี ยนการสอนวิชาภาษาไทยที- ผ่านมา พบว่าการเรี ยนการสอน ภาษาไทยยังไม่บรรลุ ตามความมุ่งหมายของหลักสู ตรเท่าที-ควร ดังจะเห็ นได้จากผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาด้านผลสัมฤทธิM ทางการเรี ยนวิชาภาษาไทย พบว่าคะแนนเฉลี-ยของนักเรี ยนของ ไทยยัง อยู่ใ นระดับ ที- ต- าํ กว่า เกณฑ์ม าตรฐานร้ อยละ 50 อยู่ม าก และจากการตรวจสอบคุ ณ ภาพ การศึ กษานักเรี ยนชั'นประถมศึ กษาของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่ งชาติ (องค์กรมหาชน) ประจําปี การศึกษา 2550 ยังพบว่า ผลสัมฤทธิM ทางการเรี ยนวิชาภาษาไทยของนักเรี ยนทั'งประเทศ มีคะแนนเฉลี- ยตํ-ากว่าร้ อยละ 50 (กรมวิชาการ, 2550 : 37) แม้ว่าหน่ วยงานที- รับผิดชอบของกระทรวง ศึกษาธิ การจะได้พยายามส่ งเสริ มและยกระดับคุณภาพการเรี ยนการสอนภาษาไทยมาโดยลําดับก็ตาม ในช่ วงระยะเวลา 10 ปี ที-ผ่านมา ความสามารถในการอ่านเขียนภาษาไทยของเด็กและเยาวชนไทย ถื อเป็ นประเด็นสําคัญประเด็นหนึ- ง ที- หลายฝ่ ายห่ วงใย และสะท้อนเป็ นกระแสสั งคมอยู่เนื อง ๆ ที-พบว่า นักเรี ยนปกติที-จบชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 บางคนยังอ่านเขียนไม่คล่อง นักเรี ยนระดับชั'น มัธยมศึกษาบางคนมีปัญหาเรื- องความเข้าใจในการอ่าน และความอ่อนด้อยเรื- องการเขียน หรื อผูจ้ บ การศึกษาระดับอุดมศึกษาบางคนมีความสามารถทางภาษายังไม่เพียงพอแก่การปฏิบตั ิงาน มีคนไทย จํานวนไม่นอ้ ยไม่ตระหนักในคุณค่าภาษาไทย มีผสู ้ นใจเรี ยนรู ้ภาษาไทยให้ลึกซึ' งและแตกฉานน้อย มาก ซึ- งแสดงให้เห็ นว่า การเรี ยนการสอนต้องพัฒนาให้มีประสิ ทธิ ภาพยิ-งขึ' น(สํานักวิชาการและ มาตรฐานการศึกษา,สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั'นพื'นฐาน, 2550 : 3 - 4) จากการศึกษารายงานผลสัมฤทธิM ทางการเรี ยน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทยของนักเรี ยน ชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ'น อําเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช ปี การศึกษา 2551 - 2552 (โรงเรี ยนวัดทางขึ'น, 2552 : 10) ที-ผศู ้ ึกษารับผิดชอบการจัดการเรี ยนรู ้พบว่าปี การศึกษา 2551 - 2552 มีผลสัมฤทธิM ทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย เฉลี-ยร้อยละ 69.08 และ 63.20 ตามลําดับ โดยในปี การศึกษา 2551 นักเรี ยนมีความสามารถด้านทักษะการฟั ง ร้อยละ 66.09 ทักษะ การพูดร้อยละ 66.28 ทักษะการอ่านร้อยละ 60.18 และทักษะการเขียนร้อยละ 60.53 ตามลําดับ และ ปี การศึกษา 2552 นักเรี ยนมีความสามารถด้านทักษะการฟั งร้อยละ 70.14 การพูดร้อยละ 71.01 ทักษะ การอ่านร้อยละ 67.15 และทักษะการเขียนร้อยละ 68.05 ตามลําดับ สรุ ปได้วา่ นักเรี ยนมีสมรรถภาพ การอ่านและการเขียน มี ค่าเฉลี- ยร้ อยละตํ-ากว่าสมรรถภาพการฟั งและการพูด ซึ- งตํ-ากว่าเป้ าหมายทีโรงเรี ยนกําหนดไว้ที-ร้อยละ 75.00 และมีความจําเป็ นจะต้องได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพอย่างเร่ งด่วน
5 ผูศ้ ึ ก ษาจึ ง ได้ท ําการวิ เคราะห์ หาสาเหตุ ของการมี ผลสั มฤทธิM ทางการเรี ยนตํ-าด้านสมรรถภาพ การอ่านและการเขียน พบว่ามีสาเหตุที-สําคัญ คือ ในด้านที-เกี-ยวกับตัวของนักเรี ยน ได้แก่ นักเรี ยน ไม่มีความคิ ดรวบยอดเกี- ยวกับเสี ยงและตัวอักษรที- เป็ นพื'นฐานสําคัญของการอ่านและการเขี ย น ขาดความเอาใจใส่ ในการเรี ยน ขาดการฝึ กฝน และมี ความบกพร่ องทางสติ ปัญญา สําหรั บด้าน เกี- ย วกับ ครู ผูส้ อน ได้แก่ วิธี การจัดการเรี ย นรู ้ ไม่ หลากหลาย และการใช้สื- อการเรี ยนการสอน ส่ วนใหญ่ได้จากบทเรี ยน ทําให้ไม่มีความหลากหลาย ผูศ้ ึกษาจึงได้แสวงหาแนวทางในการพัฒนา คุณภาพผูเ้ รี ยน โดยศึกษาเรี ยนรู ้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เข้ารับการอบรมสัมมนา ศึกษาวิธีการสร้าง สื- อ นวัตกรรมการเรี ยนการสอน ขอรับคําปรึ กษาแนะนําจากผูเ้ ชี- ยวชาญ และผูศ้ ึกษาได้แนวทางที-ดี ที-สุด คื อ เลื อกพัฒนาสื- อการเรี ยนการสอน ประเภทหนังสื ออ่านเพิ-มเติ ม สาระที-จะพัฒนา คื อ สาระที- 5 วรรณคดี และวรรณกรรม ซึ- งสอดคล้องกับหลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั'นพื'นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสู ตรโรงเรี ยนวัดทางขึ'น ที- ไ ด้กาํ หนดให้ทุก กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ จดั กิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยเชื- อมโยงและบูรณาการเกี- ยวกับท้องถิ- นตามความสําคัญ และความ เหมาะสมในแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้น' นั ๆ ในส่ วนของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย โรงเรี ยน วัดทางขึ' น ได้เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความสํา คัญ ของภาษาไทยว่า เป็ นสื- อแสดงภู มิ ปั ญญาของบรรพบุ รุ ษ ด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุ นทรี ยภาพ เป็ นสมบัติล' าํ ค่าควรแก่การเรี ยนรู ้อนุ รักษ์ และสื บสาน ให้คงอยูค่ ู่ชาติไทยตลอดไป จึงได้กาํ หนดสาระการเรี ยนรู ้ที-เกี-ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ-นไว้ในทุกชั'น สําหรับชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 กําหนดเพลงพื'นบ้าน เพลงบอก ให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ (โรงเรี ยนวัดทาง ขึ'น, 2553 : 32) ดัง นั'น ผู ้ศึ ก ษาจึ ง ให้ ค วามสํ า คัญ กับ สร้ า งและพัฒ นาหนั ง สื อ อ่ า นเพิ- ม เติ ม เพื- อ ใช้ ประกอบการจัดการเรี ย นรู ้ ที- จะฝึ กฝนให้ผูเ้ รี ย นพัฒนาด้า นการอ่ า นการเขี ย น ช่ วยให้มีค วามรู ้ มีประสบการณ์ จากการอ่าน สามารถเข้าใจในเรื- องที-อ่าน รู ้ จกั การแสวงหาความรู ้ เพิ-มเติม ดังทีจารุ ณี ยอดกัณหา (2540 : 26) ได้กล่าวว่า หนังสื ออ่านเพิ-มเติมจะช่วยเพิ-มเติมความรู ้ และประสบการณ์ ที- หนัง สื อแบบเรี ย นไม่ มี ช่ วยให้เกิ ดความเพลิ ดเพลิ นและสนุ ก สนานแก่ ผูอ้ ่ าน เป็ นการพัฒนา การอ่านตามความสามารถของเด็กแต่ละคน พร้อมทั'งยังเป็ นการให้อิสระแก่ผอู ้ ่านในการที-จะเลือก หนังสื อไว้อ่านตามความสามารถ และความเหมาะสมของตนเอง ซึ- งสอดคล้องกับกุศยา แสงเดช และคณะ (2545 : 9) ที-กล่าวว่า การใช้หนังสื ออ่านเพิ-มเติม มีวตั ถุประสงค์เพื-อใช้ประกอบการสอน เรื- องใดเรื- องหนึ- ง เป็ นแหล่ งค้นคว้าหาความรู ้ ของนักเรี ยน ส่ งเสริ มการอ่านและปลูกฝั งนิ สัยรั ก การอ่าน สนองความต้องการและความสนใจของเด็กหลาย ๆ ด้าน ส่ วนมณฑา ขําภู่ (2549 : 11) ยังกล่าวสนับสนุนอีกว่า การสร้างสังคมการอ่านเป็ นหน้าที-ของทุกคน การอ่านหนังสื อเป็ นการย่น เวลาประสบการณ์ ความรู ้ ทุ กคนจึ งต้องพยายามฝึ กฝนตนเองให้เป็ นนักอ่านที-ดี รู ้ จกั ใช้ขอ้ มูล
6 ข่าวสารที-ได้จากการอ่าน ควรอ่านหนังสื อที-มีคุณค่า การอ่านหนังสื อจึงเปรี ยบเสมือนอาหารสมอง ที-ให้ปัญญาแก่ตนเอง เป็ นการพัฒนาสติปัญญาความรู ้ โดยเลื อกหาหนังสื อที-มีรูปภาพ มีการเล่าเรื- อง ประกอบเรื- องจากนิ ทาน เพื- อเครื- องกระตุ ้นให้เกิ ดความปรารถนาที- จะอ่ านหนังสื อต่ อไป และ นอกจากนี' การใช้หนังสื ออ่านเพิ-มเติมในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที-ผา่ นมา ได้มีผทู ้ าํ การศึกษา ค้น คว้า วิจ ัย ถึ ง ผลสั ม ฤทธิM ที- ไ ด้ แสดงให้ เห็ นว่า ใช้จ ัดการเรี ย นรู ้ อย่า งได้ผ ล ช่ ว ยให้ก ารเรี ย น การสอนมีประสิ ทธิ ภาพยิง- ขึ'น ดังที- อุไร ยาพิมาย (2550 : บทคัดย่อ)ได้ศึกษาการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย โดยใช้หนังสื ออ่านเพิ-มเติม เรื- อง ไหมดีที-หนองบัวคํา ชั'นประถมศึกษาปี ที- 2 เพื-อพัฒนาผลสัมฤทธิMทางการเรี ยน พบว่า นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิM ทางการเรี ยน สู งขึ' นร้ อยละ 66.48 และงานวิจยั ของ เอมอร ตั'งศุ ภกุล (2549 : 40) ที- ได้ท าํ การพัฒนาหนังสื อ อ่านเพิ-มเติม วิชาภาษาไทย เรื- อง ประเพณี บูชาอินทขีล สําหรับนักเรี ยนช่วงชั'นที- 2 พบว่า หนังสื อ อ่านเพิ-มเติม เป็ นการสร้างสื- อที-จะช่วยเสริ มทักษะการอ่าน รวมทั'งเพิ-มพูนประสบการณ์ทางภาษา ของนักเรี ยนให้เป็ นไปตามวัยและความสามารถในการอ่านของแต่ละบุคคลได้เป็ นอย่างดี สรุ ปได้ว่า การใช้หนังสื ออ่านเพิ-มเติม เป็ นเครื- องมือที-ช่วยในการจัดการเรี ยนการสอน กลุ่ มสาระการเรี ย นรู ้ ภาษาไทยที- น่า สนใจ เหมาะสมต่อการเรี ย นรู ้ ข องผูเ้ รี ย น ผูศ้ ึ ก ษาเห็ นด้วย เป็ นอย่างยิ-ง เพราะนอกจากช่ วยให้ผูเ้ รี ยนพัฒนาด้านภาษาแล้ว ยังปลูกฝั งนิ สัยรั กการอ่าน และ รั ก การค้นคว้าหาประสบการณ์ เพิ-ม เติ ม ทํา ให้ผูเ้ รี ย นมี ค วามกระตื อรื อร้ นในการเรี ยนให้บ รรลุ ตามวัตถุประสงค์ของหลักสู ตร ผูศ้ ึกษาจึงสร้างและพัฒนาหนังสื ออ่านเพิ-มเติม ชื- อ หนังสื ออ่านเพิ-มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ-ินใต้ บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ'น จํานวน 6 เล่ม คือ เล่ม 1 ถ้อยคําเรี ยงเสี ยงเพลงบอก เล่ม 2 ไม้พ'ืนถิ-นเมืองคอน ลูกโท่ เล่ม 3 ไม้พ'ืน ถิ-นเมืองคอน ลูกพลา เล่ม 4 ไม้พ'ืนถิ-นเมืองคอน ดอกนมแมว เล่ม 5 ไม้พ'ืนถิ-นเมืองคอน มังเร และ เล่ม 6 ไม้พ'ืนถิ-นเมืองคอน ลูกรกช้าง เพื-อพัฒนากระบวนการเรี ยนรู ้ ที-เน้นให้ผเู ้ รี ยนมีองค์ความรู ้ ทักษะปฏิบตั ิ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จะช่วยให้นกั เรี ยนมีความสามารถในการอ่านการเขียน เพิ-มขึ'น ก่อให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ อย่างแท้จริ ง ส่ งผลให้ผูเ้ รี ยนมีผลสัมฤทธิM ทางการเรี ยนสู งขึ'น ตลอดจน ปลูกจิตสํานึ กให้ผเู ้ รี ยนตระหนักในคุณค่า ร่ วมอนุ รักษ์ ฟื' นฟู และสื บทอดเพลงบอกให้เป็ นมรดก ที- สําคัญยิ-งของจังหวัดนครศรี ธรรมราชและของชาติ อี กทั'งสามารถนํา ไปใช้ใ นชี วิตประจํา วัน ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพต่อไป
7
วัตถุประสงค์ ของการศึกษา 1. เพื- อสร้ างและหาประสิ ท ธิ ภาพของหนังสื ออ่า นเพิ- มเติ ม ชุ ด อนุ รัก ษ์ถ-ิ นใต้บ อกใบ้ ด้วยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ'น ให้มีประสิ ทธิ ภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/ 80 2. เพื-อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิM ทางการเรี ยนก่อนและหลังเรี ยนโดยใช้หนังสื ออ่านเพิ-มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ-ิ นใต้บอกใบ้ด้วยเพลงบอก กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั'นประถมศึ กษาปี ที- 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ'น 3. เพื-อศึกษาความพึงพอใจของนักเรี ยนที-มีต่อการเรี ยนโดยใช้หนังสื ออ่านเพิ-มเติม ชุ ด อนุรักษ์ถ-ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 โรงเรี ยน วัดทางขึ'น
สมมุติฐานของการศึกษา 1. หนังสื ออ่านเพิ-มเติ ม ชุ ด อนุ รักษ์ถ-ิ นใต้บ อกใบ้ด้วยเพลงบอก กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ'น มีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2. นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิM ทางการเรี ยนหลังเรี ยนโดยใช้หนังสื ออ่านเพิ-มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ-ิน ใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ'น สู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที-ระดับ .01 3. นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนโดยใช้หนังสื ออ่านเพิ-มเติม ชุด อนุ รักษ์ถ-ินใต้บอก ใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ'น อยูใ่ น ระดับมาก
ขอบเขตของการศึกษา 1. ประชากรทีใ ช้ ศึกษา ประชากรที- ใช้ศึกษาในครั'งนี' คื อ นักเรี ยนชั'นประถมศึ กษาปี ที- 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ'น อํา เภอท่ า ศาลา จัง หวัด นครศรี ธ รรมราช สั ง กัด สํ า นัก งานเขตพื' น ที- ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา นครศรี ธรรมราช เขต 4 ภาคเรี ยนที- 2 ปี การศึกษา 2553 จํานวน 25 คน 2. ตัวแปร 2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ หนังสื ออ่านเพิ-มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ-ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ'น
8 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 2.2.1 ผลสั ม ฤทธิM ทางการเรี ย นหลัง การเรี ย นโดยใช้ห นัง สื อ อ่ า นเพิ- ม เติ ม ชุ ด อนุรักษ์ถ-ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 โรงเรี ยน วัดทางขึ'น 2.2.2 ความพึงพอใจของนักเรี ยนที-มีต่อการเรี ยนโดยใช้หนังสื ออ่านเพิ-มเติม ชุ ด อนุรักษ์ถ-ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 โรงเรี ยน วัดทางขึ'น 3. ขอบเขตด้ านเนือ- หา เนื' อหาที-นาํ มาใช้ในการทดลองครั'งนี' เป็ นเนื' อหาตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษา ขั'นพื'นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสู ตรโรงเรี ยนวัดทางขึ'น พ.ศ. 2553 หน่วยการเรี ยนรู ้ที- 10 เรื- อง อนุรักษ์ถิ-นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก และนํามาจัดทําเป็ นหนังสื ออ่านเพิ-มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ-ินใต้ บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั'นประถมศึ กษาปี ที- 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ'น จํานวน 6 เล่ม 4. ขอบเขตด้ านระยะเวลา ระยะเวลาที-ใช้ในการทดลอง คือ ภาคเรี ยนที- 2 ปี การศึกษา 2553 เป็ นเวลา 20 ชัว- โมง โดยไม่รวมเวลาที- ใช้ทดสอบวัดผลสัมฤทธิM ทางการเรี ยนก่ อนเรี ยนและหลังเรี ยน ดําเนิ นการจัด กิจกรรมการเรี ยนรู ้ วนั ละ 2 ชัว- โมง โดยใช้เวลาในชัว- โมงเรี ยน 1 ชัว- โมง และนอกเวลาเรี ยน 1 ชัว- โมง สัปดาห์ละ 8 ชัว- โมง ระหว่างวันที- 7 กุมภาพันธ์ 2554 ถึงวันที- 22 กุมภาพันธ์ 2554
นิยามศัพท์ เฉพาะ 1. หนังสื ออ่านเพิ-มเติ ม ชุ ด อนุ รักษ์ถ-ิ นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั'นประถมศึ กษาปี ที- 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ'น หมายถึ ง สื- อการสอนที-ผูศ้ ึกษาสร้ างขึ'น เพื-อใช้ประกอบในการจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอน หน่ วยการเรี ยนรู ้ ที- 10 อนุ รักษ์ถิ-นใต้บอกใบ้ ด้วยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ'น เนื' อหามี ลักษณะเป็ นคําประพันธ์ประเภทร้อยแก้ว จํานวน 1 เล่ม ได้แก่ เล่มที- 1 ถ้อยคําเรี ยงเสี ยงเพลงบอก และประเภทร้ อยกรอง กลอนเพลงบอก จํานวน 5 เล่ม ได้แก่ เล่มที- 2 ไม้พ'ืนถิ-นเมืองคอน ลูกโท่ เล่มที- 3 ไม้พ'ืนถิ- นเมืองคอน ลูกพลา เล่มที- 4 ไม้พ'ืนถิ- นเมืองคอน ดอกนมแมว เล่มที- 5 ไม้พ'ืนถิ- น เมืองคอน มังเร และเล่มที- 6 ไม้พ'ืนถิ-นเมืองคอน ลูกรกช้าง
9 2. เพลงบอก หมายถึง สื- อที-มีลกั ษณะเป็ นบทกลอน ใช้ภาษาถิ-นใต้ในการขับร้อง เพื-อใช้ บอกข่าว เรื- องราวและเหตุการณ์ ต่าง ๆ ในอดี ตของคนภาคใต้ มีลกั ษณะเฉพาะที-เป็ นฉันทลักษณ์ คือ กลอน 1 บท ประกอบด้วย 4 วรรค โดยสามวรรคแรกมีวรรคละ 6 คํา วรรคสุ ดท้ายจะมี 4 คํา เวลาร้องจะต้องมีลูกคู่ร้องรับอย่างน้อย 2 คน แต่ไม่เกิน 4 คน ร้องประกอบดนตรี คือ ฉิ- ง ซึ- งผูศ้ ึกษา นํามาใช้ในการจัดทําเป็ นหนังสื ออ่านเพิ-มเติม จํานวน 6 เล่ม 3. ไม้พ'ืนถิ-นเมืองคอน หมายถึง พันธุ์ไม้ที-มีในอดี ตในจังหวัดนครศรี ธรรมราช เป็ นพันธุ์ไม้ ที- กาํ ลังหมดไป ซึ- ง ผูศ้ ึ ก ษานํา มาใช้ในการสร้ างเป็ นหนังสื ออ่า นเพิ- มเติ ม จํานวน 5 ชนิ ด ได้แก่ ลูกโท่ ลูกพลา ดอกนมแมว มังเร และลูกรกช้าง 4. ผลสั ม ฤทธิM ทางการเรี ยน หมายถึ ง ผลจากการทําแบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิM ทางการเรี ยน หลังจากที- นัก เรี ย นได้เรี ยนโดยใช้หนัง สื ออ่ านเพิ- ม เติ ม ชุ ด อนุ รักษ์ถ-ิ นใต้บ อกใบ้ด้วยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ'น 5. เกณฑ์มาตรฐาน 80/80 หมายถึง เกณฑ์ประสิ ทธิ ภาพของหนังสื ออ่านเพิ-มเติม ชุ ด อนุรักษ์ถ-ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 โรงเรี ยน วัดทางขึ'น ผูศ้ ึกษากําหนดไว้ไม่นอ้ ยกว่า 80 / 80 ดังนี' 5.1 80 ตัวแรก หมายถึ ง ประสิ ทธิ ภาพของกระบวนการ (E1) ซึ- งเป็ นร้ อยละของคะแนน เฉลี- ยของนักเรี ยนทุกคนที-ได้จากการทําใบกิ จกรรมและแบบทดสอบย่อยระหว่างเรี ยนได้คะแนน เฉลี-ยร้อยละ 80 ของคะแนนเต็ม ถือเป็ นประสิ ทธิ ภาพของกระบวนการ 5.2 80 ตัวหลัง หมายถึ ง ประสิ ทธิ ภาพของผลลัพธ์ (E2) ซึ- งเป็ นร้อยละของคะแนน เฉลี- ยของนั กเรี ยนทุ กคนที- ได้ จากการทําแบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิM ทางการเรี ยนหลั งการเรี ยน (Post-test) โดยใช้หนังสื ออ่านเพิ-มเติม ชุด อนุรักษ์ถ-ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ'น ได้คะแนนเฉลี- ยอย่างน้อยร้ อยละ 80 ของ คะแนนเต็ม 6. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู ้สึกชอบหรื อพอใจของนักเรี ยนที-มีต่อการเรี ยนโดยใช้ หนัง สื อ หนัง สื ออ่ า นเพิ- ม เติ ม ชุ ด อนุ รัก ษ์ถ-ิ น ใต้บ อกใบ้ด้ว ยเพลงบอก กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภาษาไทย ชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ'น ซึ- งวัดได้จากการตอบแบบสอบถามที-ผศู ้ ึกษา สร้างขึ'น
10
ประโยชน์ ทคี าดว่ าจะได้ รับ 1. ได้หนังสื ออ่านเพิ-มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ-ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั'นประถมศึกษาปี ที- 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ'น ที-มีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ซึ- งจะสามารถนําไปใช้ในการจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอน เพื-อพัฒนาทักษะการอ่าน การเขี ยน ยกระดับผลสัมฤทธิMทางการเรี ยน 2. นั ก เรี ยนได้รั บ การพัฒ นาการอ่ า นการเขี ย น ส่ ง ผลให้ นัก เรี ย นมี ค วามรู ้ ทัก ษะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมีผลสัมฤทธิMทางการเรี ยนสู งขึ'น 2. เป็ นแนวทางสําหรั บครู ผูส้ อนในการสร้ างหนังสื ออ่านเพิ-มเติ มกลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื-น ๆ เพื-อนําไปใช้ในการพัฒนากระบวนการเรี ยนรู ้และพัฒนา ผลสัมฤทธิM ทางการเรี ยนของนักเรี ยนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 4. ส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนเห็นคุณค่าในการอนุรักษ์เพลงบอกและไม้พ'นื ถิ-นเมืองคอน รวมทั'ง มีความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ-น และมีความสํานึกรักบ้านเกิดของตนเอง