แบบเสนอผลงาน เพื่อเข้ารับรางวัลโครงการ “ ตามรอยเกียรติยศครูผู้มีอุดมการณ์และจิตวิญญาณครู”

Page 1

แบบเสนอผลงาน เพือ่ เข้ ารับรางวัลโครงการ “ ตามรอยเกียรติยศครู ผ้ มู ีอุดมการณ์และจิตวิญญาณครู ” ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2557 ------------------------------------------1. ชื่อ นางชไมพร นามสกุล ใบเรื อง 2. เกิด วันที่ 7 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2505 อายุ 51 ปี 3. วุฒิการศึกษาสู งสุ ด การศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.) จากสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยศรี นครริ นทรวิโรฒิ 4. วัน เดือน ปี เริ่มบรรจุ 1 กุมภาพันธ์ 2531 ตาแหน่ง อาจารย์ โรงเรี ยนบ้านหนองตาเยา อาเภอ ละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ อายุราชการ 25 ปี 5. ตาแหน่ งปัจจุบัน ครู โรงเรี ยนวัดทางขึ้น วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย 6. สถานศึกษาที่ทางาน โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ตาบล ท่าขึ้น อาเภอท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช รหัสไปรษณี ย ์ 80160 โทรศัพท์ 075-348668 (มือถือ) 085-7924269. 7. สั งกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4 กรม/ส่วนราชการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 8. ที่อยู่ที่ติดต่ อได้ สะดวก บ้านเลขที่ 189/3 หมู่ที่ 12 ตาบลท่าขึ้น อาเภอ ท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช รหัสไปรษณี ย ์ 80160 โทร. 085-7924269 9. ประวัติการศึกษาและอบรม 9.1 ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2519 คุณวุฒิที่ได้รับ ป. 7 จากสถาบัน โรงเรี ยนวัดเทวดาราม พ.ศ. 2522 คุณวุฒิที่ได้รับ ม.ศ. 3 จากสถาบัน โรงเรี ยนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา พ.ศ.2524 คุณวุฒิที่ได้รับ ม.ศ. 5 จากสถาบัน โรงเรี ยนจันทร์ประดิษฐารามวิทยาคม พ.ศ. 2530 คุณวุฒิที่ได้รับ กศ.บ. สาขาวิชา ภาษาไทย จากสถาบัน มหาวิทยาลัยศรี นครริ นทรวิโรฒิ


2 9.2 การฝึ กอบรม พ.ศ. 2555 คุณวุฒิที่ได้รับ การพัฒนาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ก่อนแต่งตั้งให้มี หรื อเลื่อนวิทยฐานะชานาญการพิเศษ จากสถาบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2555 คุณวุฒิที่ได้รับ แนวทางการพัฒนาการสอนเขียนเรื่ องราว ตามโครงการพัฒนาการเรี ยน การสอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 จากสถาบัน สพป.นครศรี ธรรมราช เขต 4 พ.ศ. 2555 คุณวุฒิที่ได้รับ พัฒนาคุณภาพด้วยระบบ e-Training UTQ รายวิชา ภาษาไทย จากสถาบัน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2555 คุณวุฒิที่ได้รับ พัฒนาคุณภาพด้วยระบบ e-TrainingUTQ รายวิชา วัดผลประเมินผล จากสถาบัน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2555 คุณวุฒิที่ได้รับ พัฒนาคุณภาพด้วยระบบ e-Training UTQ รายวิชาโครงงาน จากสถาบัน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2555 คุณวุฒิที่ได้รับ พัฒนาคุณภาพด้วยระบบe-Training รายวิชาเลือกทัว่ ไป จากสถาบัน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2555 คุณวุฒิที่ได้รับ อบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง เพลงบอก ศาสตร์-ศิลป์ ที่ควรรู ้และบทบาท ของครู ผสู ้ ่งเสริ ม ครั้งที่ 3 ในวันที่ 20 - 21 มกราคม 2555 จากสถาบัน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พ.ศ. 2554 คุณวุฒิที่ได้รับ อบรมหลักสูตรครู วชิ าภาษาไทยบูรณาการ ระดับประถมศึกษา ตามโครงการพัฒนาครู ท้งั ระบบ วันที่ 8-10 สิงหาคม 2554 จากสถาบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรี ธรรมราช พ.ศ. 2554 คุณวุฒิที่ได้รับ การประเมินทักษะการใช้ชีวติ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 วันที่ 24 สิงหาคม 2554 จากสถาบัน สพป.นครศรี ธรรมราช เขต 4 พ.ศ. 2554 คุณวุฒิที่ได้รับ อบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง การเขียนรายงานผลการปฏิบตั ิงานใน สถานศึกษา 2551 ตามโครงการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา วันที่ 25-26 มิถุนายน 2554 จากสถาบัน สพป.นครศรี ธรรมราช เขต 4 พ.ศ. 2554 คุณวุฒิที่ได้รับ อบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง การวิจยั ในชั้นเรี ยนและกระบวนการวิจยั ทางการศึกษา ตามโครงการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา วันที่ 15 พฤษภาคม 2554 จากสถาบัน สพป.นครศรี ธรรมราช เขต 4


3 พ.ศ. 2554 คุณวุฒิที่ได้รับ อบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง การพัฒนาสื่อและพัฒนานวัตกรรม ทางการศึกษา ตามโครงการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา วันที่ 9 - 10 เมษายน 2554 จากสถาบัน สพป.นครศรี ธรรมราช เขต 4 พ.ศ. 2554 คุณวุฒิที่ได้รับ อบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง เพลงบอก ศาสตร์-ศิลป์ ที่ควรรู ้และบทบาท ของครู ผสู ้ ่งเสริ ม ครั้งที่ 2 ในวันที่ 20 - 21 มกราคม 2554 จากสถาบัน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พ.ศ. 2553 คุณวุฒิที่ได้รับ เสริ มสร้างคุณธรรม จริ ยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู จากสถาบัน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4 พ.ศ. 2553 คุณวุฒิที่ได้รับ พัฒนาคุณภาพด้วยระบบ e-Training ทัศนศิลป์ จากสถาบัน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2552 คุณวุฒิที่ได้รับ อบรมเชิงปฏิบตั ิการ พัฒนาทักษะ ความสามารถและประสบการณ์ ในการอ่านบทร้อยกรอง “อ่านบทร้อยกรองทานองเสนาะ ” ในวันที่ 4 - 5 มีนาคม 2552 จากสถาบัน สพป.นครศรี ธรรมราช เขต 4 พ.ศ. 2552 คุณวุฒิที่ได้รับ อบรมครู เรื่ อง การวัด - ประเมินผลการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน ในวันที่ 8 - 9 ธันวาคม 2552 จากสถาบัน สทศ. พ.ศ. 2552 คุณวุฒิที่ได้รับ พัฒนาข้าราชการครู เพือ่ ให้มีหรื อเลื่อนวิทยฐานะ จากสถาบัน กระทรวงศึกษาธิการ 10. ประวัติการรับราชการ หรือการปฏิบัติงาน 10.1 พ.ศ. 2531 ตาแหน่ง อาจารย์ 1 โรงเรี ยนบ้านหนองตาเยา อาเภอ ลหานทราย จังหวัด บุรีรัมย์ 10.2 พ.ศ. 2537 ตาแหน่ง อาจารย์ 1 โรงเรี ยนบ้านควนสวรรค์ อาเภอ ฉวาง จังหวัด นครศรี ธรรมราช 10.3 พ.ศ. 2542 ตาแหน่ง อาจารย์ 2 โรงเรี ยนโรงเรี ยนบ้านพังปริ ง อาเภอ ท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช 10.4 พ.ศ. 2547 ตาแหน่ง ครู โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง วิทยฐานะชานาญการ โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง อาเภอ ท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช 10.5 พ.ศ. 2552 ตาแหน่ง ครู โรงเรี ยนวัดทางขึ้น วิทยฐานะชานาญการ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น อาเภอ ท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช 10.6 พ.ศ. 2555 ตาแหน่ง ครู โรงเรี ยนวัดทางขึ้น วิทยฐานะชานาญการพิเศษ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น อาเภอ ท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช


4 11. หน้ าที่การงานและผลงาน(อดีต-ปัจจุบัน)ที่แสดงให้ เห็นถึงการปฏิบัติหน้ าที่ในพืน้ ที่ที่มีชุมชนและ สั งคมที่มีความแตกต่ างทางภาษาและวัฒนธรรม มีปัญหาภัยทางสั งคมหรือมั่นคงประเทศ มีความเสี่ ยง ต่ อการปฏิบัติ - ที่ต้งั ของสถานศึกษา และการคมนาคม ลาดับ ที่ 1

2 3

2

โรงเรี ยน ที่ปฏิบตั ิงาน บ้านหนองตาเยา อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ บ้านควนสวรรค์ อาเภอฉวาง จังหวัด นครศรี ธรรมราช บ้านพังปริ ง อาเภอท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช วัดทางขึ้น อาเภอท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช

ตาแหน่ง

จานวน ปี ที่ปฏิบตั ิ

ระยะทางจาก โรงเรี ยนถึง จังหวัด

ความยากลาบาก/ อุปสรรค การทางาน

อาจารย์ 1

6

80

พื้นที่เสียงภัย สงคราม

อาจารย์ 1

5

80

พืน้ ที่ทุรกันดาร

ครู ชานาญการ

10

55

นักเรี ยนนับถือ ศาสนาอิสลาม ทุกคน

ครู ชานาญการ พิเศษ

4

35

นักเรี ยนนับถือ ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 65

ปี พ.ศ. 2531 ข้าพเจ้าได้บรรจุแต่งตั้งให้ปฏิบตั ิหน้าที่ ณ โรงเรี ยนบ้านหนองตาเยา อ.ละหาน ทราย จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งเป็ นโรงเรี ยนที่ต้งั อยูใ่ นถิ่นทุรกันดาร ห่างไกลจากจังหวัดบุรีรัมย์ ประมาณ 80 กิโลเมตร การเดินทางจากตัวอาเภอไปโรงเรี ยนมีรถเที่ยวเช้าเที่ยวเดียวเท่านั้น และในขณะนั้นมีภยั สงครามขึ้นบริ เวณชายแดนไทย-กัมพูชา สร้างความหวาดกลัวให้กบั ข้าราชการครู เป็ นอย่างยิง่ แต่ดว้ ย ความเป็ นครู ทาให้ขา้ พเจ้าและเพือ่ นครู ทุกคนยังคงปฏิบตั ิหน้าที่ตามปกติ รอฟังข่าวคราวจากทางหน่วย ทหารที่ปฏิบตั ิราชการประจาพื้นที่วา่ ให้นานักเรี ยนลงหลบภัยในหลุมหลบภัยเมื่อใด หรื อวันใดที่มีเสียง ระเบิดดังขึ้น ทั้งครู และนักเรี ยนจะต้องอยูส่ งบ พร้อมที่หลบภัย ทาให้ทราบถึงความเสียสละของครู ที่ ปฏิบตั ิหน้าที่ในพื้นที่เช่นนั้น


5 ปี พ.ศ. 2537 ข้าพเจ้าได้ยา้ ยมาปฏิบตั ิหน้าที่ ณ โรงเรี ยนบ้านควนสวรรค์ อ.ฉวาง จังหวัด นครศรี ธรรมราช ซึ่งเป็ นโรงเรี ยนที่ต้งั อยูใ่ นเชิงเขา และทุรกันดารเช่นกัน ห่างไกลจากจังหวัด ประมาณ 60 กิโลเมตร ใช้เวลาในการเดินทาง 2 ชัว่ โมง ปี พ.ศ. 2542 ข้าพเจ้าย้ายมาทาการสอนที่ โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง ซึ่งเป็ นโรงเรี ยนที่อยูใ่ นสภาพ สังคมชุมชนมุสลิม นักเรี ยนนับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 100 ก่อให้เกิดปั ญหาต่าง ๆ เช่น ด้านภาษา เนื่องจากนักเรี ยนจะต้องเรี ยน 2 ภาษา คือ ภาษาอาหรับ และ ภาษาไทย ซึ่งนักเรี ยนจะเรี ยนภาษา อาหรับในทุกตอนเย็น และวันเสาร์-อาทิตย์ เด็กจึงไม่มีเวลาการบ้าน จึงมีความอ่อนด้อยด้านภาษาและ การสื่อสาร ส่งผลต่อการเรี ยนในวิชาอื่น ๆ นับว่าเป็ นปั ญหาของครู ผสู ้ อนเป็ นอย่างยิง่ แต่ขา้ พเจ้าก็ไม่ ย่อท้อ ด้วยจิตแห่งความเป็ นครู จึงตั้งใจ พยายาม มุ่งมัน่ ในการทางานมากขึ้นเป็ นสองเท่า เพือ่ พัฒนา ผูเ้ รี ยนให้มีความรู ้ความสามารถทุกด้านเช่นโรงเรี ยนในพืน้ ที่อื่น ๆ กระทัง่ ปี พ.ศ. 2552 ข้าพเจ้าย้ายมาทาการสอนที่ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ซึ่งเป็ นโรงเรี ยนที่อยูใ่ น สภาพสังคมชุมชนมุสลิม นักเรี ยนนับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 65 ก่อให้เกิดปั ญหาต่าง ๆ นับว่าเป็ น ปั ญหาของครู ผสู ้ อนเป็ นเช่นกัน - ความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรม สั งคม ศาสนา โรงเรี ยนวัดทางขึ้น เป็ นโรงเรี ยนที่อยูใ่ นสภาพสังคมที่แตกต่าง ไม่วา่ จะด้านภาษา ด้านสังคม ความเป็ นอยู่ และศาสนาที่นกั เรี ยนนับถือ ดังนี้ -ด้านภาษา นักเรี ยนโรงเรี ยนวัดทางขึ้นใช้ภาษาที่ต่างกัน กล่าวคือ นักเ อยูร่ ะหว่างหมู่บา้ น ตะเคียนดา เป็ นชุมชนมุสลิม และบ้านบ่อนนท์ เป็ นชุมชนชาวพุทธ ก่อให้เกิดปั ญหาต่าง ๆ ได้แก่ นักเรี ยน นับถือศาสนาอิสลามจะต้องเรี ยน 2 ภาษา คือ ภาษาอาหรับ และ ภาษาไทย ซึ่งนักเรี ยนจะ เรี ยนภาษาอาหรับในทุกตอนเย็น และวันเสาร์-อาทิตย์ เด็กจึงไม่มีเวลาการบ้านภาษาไทยที่คุณครู มอบหมาย ส่งผลให้นกั เรี ยนกลุ่มนี้อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ อ่านไม่คล่อง เขียนไม่คล่อง ข้าพเจ้า จึงได้ พยายามศึกษา ค้นคว้าองค์ความรู ้ต่าง ๆ ทั้งในหลักวิชา และความรู ้เพิม่ เติมอยูต่ ลอดเวลา เพือ่ ใช้ในการ พัฒนาสื่อ นวัตกรรมที่หลากหลายรู ปแบบ ที่สามารถพัฒนานักเรี ยนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล และมีความรู ้ความสามารถเท่าเทียมกัน ช่วยให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ไปพร้อมๆกันได้ และเกิดความภาคภูมิใจใน ตนเอง ด้านสังคม นักเรี ยนโรงเรี ยนวัดทางขึ้น มาจากครอบครัวที่มีความแตกต่างกันด้านสังคม นักเรี ยนอยูใ่ นสภาพสังคมที่ยากจนร้อยละ 100 บิดามารดาส่วนใหญ่ทางานประมง แม่คา้ และรับจ้าง ต้องออกไปขายของในตลาดตั้งแต่เช้า ปล่อยทิ้งให้นกั เรี ยนรับผิดชอบตนเอง ไม่ได้รับการเอาใจใส่ ไม่ ว่าการแต่งกาย ความสะอาดของร่ างกาย และไม่ได้ทาการบ้าน ซึ่งเป็ นหน้าที่ของครู ผสู ้ อนที่ ช่วยเหลือ นักเรี ยนต่อจากผูป้ กครอง เพือ่ ให้นกั เรี ยนมีความพร้อมที่เรี ยนรู ้ ทาให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่าง บ้านและโรงเรี ยน


6 - สภาพผูเ้ รี ยน สภาพผูเ้ รี ยนโรงเรี ยนวัดทางขึ้น ส่วนใหญ่มาจากครอบครัวยากจน หรื อนักเรี ยนมีฐานะ ยากจนร้อยละ 100 บิดามารดา จึงต้องขวนขวายในการทามาหากิน ไม่มีเวลาดูแลลูก เอาใจใส่ต่อการ เรี ยนของลูก ด้านการศึกษาของลูกจึงเป็ นหน้าที่ของครู เพียงฝ่ ายเดียว ซึ่งครู จะต้องมีความ พยายามใน การหาแนวทางที่จะพัฒนา ฝึ กฝนนักเรี ยนให้มีคุณภาพ และมีสมั ฤทธิ์ทางการเรี ยนเป็ นตามเป้ าหมายที่ วางไว้ถึงแม้จะยากเพียงใด - ปัญหา/อุปสรรคและวิธีการแก้ ปัญหา/อุปสรรคที่เกิดและอื่น ๆ จากปั ญหาต่าง ๆข้างต้น ทาให้ขา้ พเจ้าตระหนักในการปฏิบตั ิหน้าที่มากยิง่ ขึ้น เพือ่ ที่จะพัฒนา นักเรี ยนโรงเรี ยนวัดทางขึ้นให้บรรลุเป้ าหมายของหลักสูตร แม้วา่ จะมีความยากลาบากเพียงใด ก็ไม่ยอ่ ท้อที่จะพัฒนานักเรี ยนต่อไป แนวทางในการแก้ปัญหามีดงั นี้ 1.ปัญหาด้ านภาษา -ด้ านการเรียนการสอน จากสภาพปั ญหาด้านภาษาของผูเ้ รี ยน ทาให้การเรี ยนการสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนต่า ข้าพ เจ้าแก้ปัญหาโดยจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนอย่างเต็มความรู ้เต็ม ความสามารถ มุ่งมัน่ พัฒนาการเรี ยนการสอนอย่างมีระบบ มีการเตรี ยมการสอน อย่างสมบูรณ์ โดยเริ่ ม จากการศึกษาวิเคราะห์หลักสูตร จัดทาโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรี ยนรู ้ จัดทาแผนจัดการเรี ยนรู ้ สร้าง-ผลิตและใช้สื่อ นวัตกรรมการสอน รวมทั้งใช้การวัดและประเมินที่หลากหลาย เช่น การวัดผล ประเมินผลตามสภาพจริ ง และดาเนินการจัดการเรี ยนรู ้เน้น ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญโดยใช้วธิ ีการสอนหลาย รู ปแบบ เช่น การเรี ยนแบบร่ วมแรงร่ วมใจ ใช้วธิ ีสอนแบบความคิดรวบยอด สอนแบบการเรี ยนรู ้ จาก ห้องสมุด รวมทั้งใช้กระบวนการต่าง ๆ ช่วยให้นกั เรี ยนสร้างความคิดรวบยอดจากการสังเกต จาแนก ประเภทและจัดหมวดหมู่ได้เป็ นอย่างดี เมื่อเสร็จสิ้นการเรี ยนการสอน ข้าพเจ้าพยายาม ศึกษา วิเคราะห์หาสาเหตุปัญหาของการจัด กิจกรรมการเรี ยนการสอน เช่น ปั ญหาการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ อ่านไม่คล่อง เขียนไม่คล่อง ขาด ทักษะการคิดวิเคราะห์ อ่านจับใจความไม่เป็ น จากนั้นจึง หาแนวทางแก้ปัญหา หลาย ๆ แนวทาง เพือ่ แก้ปัญหาให้เป็ นสาเร็จ โดยใช้กิจกรรมต่าง ๆ เช่น กิจกรรมซ่ อม-เสริม เพิ่มผลสั มฤทธิ์ กิจกรรมเขียน ตามคาบอก กิจกรรมเรียนรู้ ด้วยแบบฝึ ก กิจกรรมเพื่อนช่ วยเพื่อน พี่ช่วยน้ อง เก่ งช่ วยอ่ อน ช่วยให้ ผูเ้ รี ยนทุกคนประสบความสาเร็จในการเรี ยน เกิดการเรี ยนรู ้ ที่คงที่ และนาความรู ้ไปประยุกต์ใช้ในชีวติ จริ ง รวมทั้งปลูกฝัง สอดแทรก คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สงั คม คาดหวัง เพือ่ ให้นกั เรี ยน มี ความรู ้ ความสามารถรอบด้าน เป็ นคนที่สมบูรณ์ มีความสมดุลทั้งด้าน ร่ างกายจิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม สามารถพัฒนาตนเองและร่ วมมือกับผูอ้ ื่นได้อย่าง สร้างสรรค์ มีความคิดที่เป็ นเหตุเป็ นผลที่พฒั นาชีวติ ได้


7 2. ปัญหาด้ านความเป็ นอยู่ นักเรี ยนส่วน ใหญ่ ของโรงเรี ยนวัดทางขึ้นมาจากครอบครัวที่ ยากจน มีปัญหาพ่อแม่เสียชีวติ พ่อแม่หย่าร้างกัน พ่อแม่ตอ้ งไปประกอบอาชีพที่ ต่างถิ่น ทาให้เด็กต้อง อาศัยอยูก่ บั ญาติ ส่งผลให้เด็กขาดที่พ่งึ ด้านจิตใจ ทาให้มีพฤติกรรมที่เบี่ยงเบน วาจาก้าวร้าว คบเพือ่ น ชายก่อนวัยสมควร หันไปสนใจ เกมคอมพิวเตอร์ จึงเป็ นหน้าที่ของครู ที่จะต้องสอดส่องความ พฤติกรรม คอยดูแล เอาใจใส่ ให้กาลังใจ ให้ความสาคัญ และให้ความช่วยเหลือต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม โดยใช้กิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ กิจกรรมเยี่ยมบ้ าน ข้าพเจ้าจะออกเยีย่ มบ้านนักเรี ยนทุกภาคเรี ยน เพือ่ ทราบปั ญหาของ นักเรี ยน เช่น ปั ญหายากจน ปั ญหาติดเกม ปั ญหาการเรี ยน ปั ญหาพฤติกรรมก้าวร้าว เมื่อทราบปั ญหา ชัดเจนเป็ นรายบุคคลแล้ว ก็ให้ความช่วยเหลือแก้ปัญหาเป็ นราย ๆ ไป เช่น นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนดี แต่ ยากจน จะทาการเสนอชื่อเพือ่ รับทุนการศึกษา กิจกรรมแนะแนว เป็ นการให้คาปรึ กษา และช่วยเหลือแก้ปัญหาเป็ นรายบุคคล ไม่วา่ จะเป็ น ปั ญหาด้านใด ซึ่งช่วยให้นกั เรี ยนมีความเข้มแข็ง รู ้สึกมัน่ ใจในตนเอง สามารถใช้ชีวติ ในสังคมได้อย่าง มีความสุข 12. กระบวนการวิธีการ และผลงานเด่ นที่ได้ รับยอมรับเป็ นรู ปธรรมที่แสดงถึงการเป็ นบุคคลผู้ที่เป็ นที่ ศรัทธา ยกย่ องและยอมรับของนักเรียน เพื่อนครู และสั งคมว่ าเป็ นต้ นแบบของผู้มีจิตวิญญาณแห่ งความ เป็ นครู และสร้ างค่านิยมให้ สังคมยอมรับ - การได้ รับเชิญหรือแต่ งตั้งให้ เป็ นคณะกรรมการหรือเข้ าร่ วมในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สั งคม องค์กรครู และองค์กรทางการศึกษาอื่น 1. เป็ นคณะกรรมการประเมินผลการประเมินการปฏิบตั ิงานของพนักงานธุรการ โรงเรี ยนวัด ทางขึ้น 2. เป็ นคณะกรรมการประเมินผลการประเมินการปฏิบตั ิงานของครู พเี่ ลี้ยง โรงเรี ยนวัดทางขึ้น 3. เป็ นคณะกรรมการประเมินผลการประเมินข้าราชการครู เพือ่ เลื่อนวิทยฐานะชานาญการ พิเศษ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น 4. เป็ น คณะกรรมการ ตัดสินการประกวดซุม้ หมู่บา้ น ในงานของดีท่าขึ้น สังกัด อบต.ท่าขึ้น อาเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช ปี 2555-2556 5. เป็ น คณะกรรมการ กากับห้องสอบ ในการทดสอบระดับ O-NET อาเภอท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช ทุกปี 6. เป็ น คณะกรรมการตัดสินผลงานนักเรี ยน โครงการนันทนาการสร้างสรรค์คุณภาพชีวต อาเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช ปี 2553-2554


8 7. เป็ น คณะกรรมการตัดสินผลงานนักเรี ยน ในงานมหกรรมเขตสี่วชิ าการ สานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4 พ.ศ. 2549-2554 8. คณะกรรมการตัดสินผลงานนักเรี ยน ในงานแข่งขันทักษะวิชาการ เครื อข่ายพัฒนาคุณภาพ ท่าศาลา 2 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4 ทุกปี 9. เป็ นคณะกรรมการตัดสินผลงานนักเรี ยน ในงานเทศกาลเดือนสิบ สานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 1 พ.ศ. 2552-2555 10. เป็ นคณะกรรมการ คณะทางานโครงการ กิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรี ยนวัดทางขึ้น - การเป็ นวิทยากร หรือคณะทางานในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ หรือมาตรฐานตาแหน่ ง หรือ มาตรฐานวิทยฐานะ 1. เป็ นวิทยากรด้านภาษาไทย กิจกรรมพัฒนาทักษะศิลปะ ในงานเทศกาลเดือนสิบ 2. เป็ นวิทยากร ค่ายศิลปะ โรงเรี ยนวัดเขาขุนพนม วันที่ 21 มกราคม2555 3. เป็ นวิทยากรกิจกรรมอ่านทานองเสนาะ โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4 พ.ศ. 2553 4. เป็ นวิทยากร ครู พเี่ ลี้ยงนักศึกษาฝึ กสอน ณ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ปี 2553 5. เป็ นวิทยากร หรื อครู พเี่ ลี้ยงให้คาปรึ กษาการทาผลงานทางวิชาการให้กบั ข้าราชการครู ที่เข้า พัฒนา(เยียวยา)เพือ่ เลื่อนวิทยฐานะชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ณ สพป.นศ. 4 ระหว่าง เดือนสิงหาคม – กันยายน 2556 -กระบวนการที่เป็ นแบบอย่ างที่ดีจนเป็ นทีศรัทธา ยกย่ อง ยอมรับของนักเรียน เพื่อนครู และสั งคมว่ า เป็ นต้ นแบบของผู้มีจิตวิญญาณครู และสร้ างค่านิยมให้ สังคมยอมรับ 1. การปฏิบัติงานด้ านการสอน ข้าพเจ้าการปฏิบตั ิการสอน เป็ นแบบอย่างของผูม้ ีวญ ิ ญาณแห่งความเป็ นครู มีความมุ่งมัน่ ใน การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนตามแนวทางการปฏิรูปการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ โดยจัด กิจกรรมการเรียนการสอนเน้ นผลถาวรที่เกิดแก่ ผู้เรียน ด้วยการศึกษาเทคนิค วิธีการสอนต่าง ๆ ให้เข้าใจ อย่างละเอียด จึงจะเลือกมาใช้ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพผูเ้ รี ยน ให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรม การเรี ยนรู ้ให้มากที่สุด มีความพยายามในการฝึ กทักษะทั้ง 4 ทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน ให้ผเู ้ รี ยนมี ความสามารถที่โดดเด่น สามารถในการใช้ภาษาในการสื่อสารได้ดี ดาเนินการสอนให้นกั เรี ยนเป็ น ผูก้ ระทาด้วยตนเองที่สอดคล้องกับความสามารถและความสนใจของผูเ้ รี ยน มุ่งผลสัมฤทธิ์ ผลผลิตที่มี คุณภาพ รวมทั้งพยายามใฝ่ เรี ยนรู ้ ศึกษาค้นคว้าข้อมูลข่าวสาร และข้อมูลทางวิชาการ เพือ่ พัฒนาตนเอง อยูเ่ สมอ และปรับปรุ งการเรี ยนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล มีความกระตือรื อร้นใน


9 การศึกษาหาสาเหตุปัญหาของการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน หาแนวทางแก้ปัญหาให้สาเร็จ เพือ่ ให้ ผูเ้ รี ยนประสบความสาเร็จในการเรี ยน ทาให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ที่คงที่ และนาความรู ้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวติ จริ ง รวมทั้งปลูกฝัง สอดแทรกคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่ สังคมคาดหวัง เพือ่ ให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความสามารถรอบด้าน มีความสมดุลทั้งด้านร่ างกายจิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม สามารถพัฒนาตนเองและร่ วมมือกับผูอ้ ื่นได้อย่างสร้างสรรค์ มีความคิด ที่เป็ นเหตุเป็ นผลที่พฒั นาชีวติ ได้ ตลอดจนนักเรี ยนมีผลงานภาษาไทยเป็ นที่ยอมรับของเพือ่ นร่ วมงาน ผูป้ กครอง และชุมชน ผลแห่ งความสาเร็จ ข้าพเจ้า ได้รับรางวัลเกียรติยศและได้รับการยกย่องเป็ นแบบอย่างที่ดีในการพัฒน าวิชาชีพด้วย ความศรัทธา 2. การผลิตสื่ อ-นวัตกรรมการเรียนการสอน ข้าพเจ้าได้พยายามศึกษา ค้นคว้าองค์ความรู ้ต่าง ๆ ทั้งในหลักวิชา และความรู ้เพิม่ เติมอยู่ ตลอดเวลา เพือ่ ใช้ในการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมที่หลากหลายรู ปแบบ ที่สามารถสนองความต้องการของ นักเรี ยนตามความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยนาสื่อ นวัตกรรมที่ผลิตขึ้นมาใช้กิจกรรมการเรี ยนสอนให้ สอดคล้องสาระการเรี ยนรู ้ ตัวชี้วดั และ กิจกรรม การเรี ยนรู ้ และนามาใช้ในการวิจยั ชั้นเรี ยให้ น สอดคล้อง กับสภาพปั ญหาของผูเ้ รี ยน เพือ่ ให้นกั เรี ยนมีความสนุกสนานในการเรี ยน และเรี ยนรู ้ร่วมกันอย่างมี ความสุข อันจะส่งผลให้นกั เรี ยนทุกคนมีผลการเรี ยนรู ้เป็ นไปตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และเป้ าหมายของ หลักสูตร ซึ่งการพัฒนาสื่อ - นวัตกรรมที่ใช้ในการกิจกรรมการเรี ยนการสอนอย่างต่อเนื่อง และสามารถ เป็ นแบบอย่างแก่ผอู ้ ื่นได้ มีดงั ต่อไปนี้ - ใบความรู ้สาระที่ 1 - 4 ใช้สอนนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3, 5 - 6 - ใบความรู ้สาระที่ 4 เล่ม 1 - 2 ใช้สอนนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 - 6 - เอกสารประกอบการสอนเรื่ อง การเขียนโครงงาน ใช้สอน ชั้นประถมศึกษาปี ที่5 – 6 - เอกสารประกอบการสอน เรื่ อง สานวนคนนคร ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 - 6 - เอกสารประกอบการสอน เรื่ อง เพลงร้องเรื อ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 - 6 - แบบฝึ กทักษะภาษาไทย เล่ม 1 ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 - แบบฝึ กทักษะภาษาไทย เล่ม 2 ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 - แบบฝึ กทักษะการเขียน เล่ม 1 ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 - แบบฝึ กทักษะการเขียนเรื่ อง เล่ม 2 ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 - การเขียนเรื่ องจากภาพ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 - แบบฝึ กเสริ มความรู ้ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 - แบบฝึ กทักษะภาษาไทย ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 - การเขียนเรื่ องจากภาพ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6


10 - แบบฝึ กเสริ มความรู ้ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 - แบบฝึ กทักษะภาษาไทย เล่ม 1 สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 - แบบฝึ กทักษะภาษาไทย เล่ม 2 สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 - แบบฝึ กคัดลายมือ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3, 5 – 6 - แบบฝึ กจับใจความสาคัญ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3, 5 – 6 - แบบฝึ กการเขียนตามคาบอก ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 – 6 - บทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ใช้สอนนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 จานวน 4 เล่ม ดังนี้ คือ เล่ม 1 คาประสม เล่ม 2 คา ซ้อน เล่ม 3 คาซ้ า และ เล่ม 4 คาสมาส - หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น จานวน 6 เล่ม ดังนี้ เล่ม 1 ถ้อยคาเรี ยงเสียงเพลงบอก เล่ม 2 ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกโท่ เล่ม 3 ไม้พน้ื ถิ่นเมืองคอน ลูกพลา เล่ม 4 ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ดอกนมแมว เล่ม 5 ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน มังเร เล่ม 6 ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกรกช้าง 13. กระบวนการ วิธีการ และผลงานดีเด่ นที่บ่งบอกถึงการทุ่มเท เสี ยสละ ช่ วยเหลือดูแล นักเรียนอย่ างต่ อเนื่อง จนเกิดผลเป็ นที่ประจักษ์ โดยนักเรียนที่อยู่ในความรับผิดชอบส่ วนใหญ่ มีผล การประเมินมาตรฐานในเกณฑ์ ดี หรือมีพัฒนาการสู งขึน้ ตามลาดับ - กระบวนการและวิธีการที่บ่งบอกถึงความเป็ นผู้ที่ท่ มุ เท เสี ยสละ ช่ วยเหลือดูแลนักเรียน อย่ างต่ อเนื่อง จนเกิดผลงานประจักษ์ ข้าพเจ้าเป็ นผูท้ ี่ทุ่มเท เสียสละ ช่วยเหลือดูแลนักเรี ยนอย่างต่อเนื่อง จนเกิดผลงานประจักษ์ โดยการจัดการเรี ยนการสอนที่เป็ นเลิศ ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ 1. “ กิจกรรมซ่ อม เสริม เพิ่มผลสั มฤทธิ์ ” เป็ น กิจกรรมซ่อม – เสริ มภาษาไทยชั้น ป. 3 - 5 – 6 เป็ นกิจกรรมเด่นที่ขา้ พเจ้าจัดขึ้น นอกเหนือจากการสอนปกติ เพือ่ แก้ไขข้อบกพร่ องแก่นกั เรี ยนที่เรี ยนช้า หรื อต้องการความช่วยเหลือ และเสริ มทักษะให้กบั นักเรี ยนได้พฒั นาเต็มความสามารถ โดยวิเคราะห์ปัญหาจากบันทึกผลการสอนแต่ ละครั้ง ว่านักเรี ยนยังมีขอ้ บกพร่ อง หรื อไม่ผา่ นการประเมินตัวชี้วดั ใด แล้วนาข้อบกพร่ องของนักเรี ยน มาวินิจฉัยหาสาเหตุ ว่ามีสาเหตุจากอะไร จึงจัดกิจกรรมซ่อม เสริ มให้ตรงกับข้อบกพร่ องของนักเรี ยน


11 สาหรับนักเรี ยนที่ผา่ นผลการประเมินตัวชี้วดั ครู วเิ คราะห์เด็กเป็ นรายบุคคล ว่าควรเสริ มทักษะ ภาษาไทยให้กบั นักเรี ยน เพือ่ นักเรี ยนพัฒนาเต็มความสามารถ และส่งเสริ มให้มีความเป็ นเลิศ ขอบข่ ายกิจกรรมซ่ อม – เสริม เพือ่ ให้นกั เรี ยนได้พฒั นาภาษาไทยเต็มศักยภาพ จึงกาหนดขอบข่ายกิจกรรม ดังนี้ - กิจกรรมเรี ยนรู ้ดว้ ยแบบฝึ ก โดยใช้แบบฝึ กต่าง ๆ ที่ผลิตขึ้น - กิจกรรมเขียนตามคาบอก - กิจกรรมเก่งช่วยอ่อน กิจกรรมเพือ่ นช่วยเพือ่ น กิจกรรมคู่หู - กิจกรรมอ่านหนังสือนอกเวลา - กิจกรรมหนังสือเล่มเล็ก - กิจกรรมพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ขอบข่ ายเวลาในการดาเนินกิจกรรมซ่ อม – เสริม 1.วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.00 - 08.30 น. 2.วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 14.30 - 15.30 น. 3.วันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 09.00 - 11.30 น. โดยมีหนังสือแจ้งให้ผปู ้ กครองทราบ 2. กิจกรรมวิจัยชั้นเรียน ข้าพเจ้าพยายามศึกษา ค้นคว้า ใฝ่ หาความรู ้ ด้านภาษาไทยเพิม่ เติมอยูเ่ ป็ นนิตย์ มีผลงานการ ผลิตสื่อการสอนต่าง ๆ เพือ่ ใช้ประกอบการสอนวิชาภาษาไทยทุกสาระ ส่งผลให้การเรี ยนการสอน ภาษาไทยเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็ นที่ประจักษ์ มีการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค และหา แนวทางในการแก้ปัญหา โดยการจัดทาวิจยั ชั้นเรี ยน ซึ่งผลงานดีเด่น ดังนี้ 2.1. รายงานวิจัย คือ รายงานการใช้ บทเรียนสาเร็จรู ป เรื่อง การสร้ างคาตามหลักเกณฑ์ ทาง ภาษา กลุ่มสาระการเรียนภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 จากศึกษาวิเคราะห์สภาพและปั ญหาของผูเ้ รี ยนนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทาให้พบว่า นักเรี ยนไม่สามารถเข้าใจการสร้างคาทางหลักเกณฑ์ทางภาษา ซึ่งเป็ นเรื่ องที่ยากของสาระที่ 4 หลักการ ใช้ภาษาไทย ส่งผลให้นกั เรี ยนไม่ผา่ นผลการเรี ยนรู ้ที่คาดหวัง และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนไม่เป็ นที่ พอใจ จึงเลือกใช้บทเรี ยนสาเร็จรู ปในการแก้ปัญหาในครั้งนี้ โดยสร้างและพัฒนาบทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยน ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3จานวน 4 เล่ม เล่ม 1 คาประสม เล่ม 2 คาซ้อน เล่ม 3 คาซ้ า ละเล่ม 4 คาสมาส การศึกษาครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์ 1) เพือ่ พัฒนาบทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคา ตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2) เพือ่ เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนก่อนและหลังใช้บทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 3) เพือ่


12 ศึกษาดัชนีประสิทธิผลของบทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการ เรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 4) เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อบทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มประชากร คือ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2551 โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4 จานวน 25 คน เครื่ องมือที่ ใช้ในการศึกษาคือ 1) บทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 จานวน 4 เล่ม 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรี ยนเรื่ อง การสร้าง คาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 3 เป็ นแบบปรนัย ชนิด เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 50 ข้อ 3) แบบสอบถามสารวจความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อบทเรี ยน สาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 เป็ นแบบมาตราประมาณค่า 5 ระดับ จานวน 1 ฉบับวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยการหาประสิทธิภาพใช้เกณฑ์ มาตรฐาน 80/80 , คานวณหาค่า t–test , หาค่าดัชนีประสิทธิผล , ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่ า 1) บทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 มีประสิทธิภาพ 86.04 / 82.73 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ต้งั ไว้ 2) นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน หลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา สูงกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ดัชนีประสิทธิผลของบทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 มีค่าดัชนีประสิทธิผล เท่ากับ 0.5212 หมายถึง ผูเ้ รี ยนมี ความก้าวหน้าทางการเรี ยน หลังจากเรี ยนรู ้ดว้ ยบทเรี ยนสาเร็จรู ป ร้อยละ 52.12 4) นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 มีความพึงพอใจต่อการเรี ยนรู ้ดว้ ยบทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การ สร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษาอยูใ่ นระดับมาก โดยมีคะแนนเฉลี่ย ( X ) เท่ากับ 4.39 และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน( S .D. ) เท่ากับ 0.52 2.2. รายงานวิจัย คือ รายงานการใช้ หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนวัดทางขึน้ จากสภาพและปั ญหาจัดกิจกรรมการการเรี ยนการสอนภาษาไทย ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 6 พบว่า สาระที่ 5 เพลงพื้นบ้านนครศรี ธรรมราช “เพลงบอก” ขาดสื่อการเรี ยนการสอนที่มีความ สมบูรณ์ มีเพียงเอกสารความรู ้ในนิตยสาร หรื อในอินเทอร์เน็ตเท่านั้นที่นามาใช้ประกอบการเรี ยนการ สอน ทาให้นกั เรี ยนไม่ประสบผลสาเร็จในการเรี ยนเรื่ องนี้ ประกอบนักเรี ยนยังขาดทักษะการอ่านการ เขียน ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนไม่เป็ นที่น่าพอใจ ครู ผสู ้ อนจึงวิเคราะห์ปัญหา และเลือกแนวทางที่ดี ที่สุด คือสร้างหนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น


13 การศึกษาครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์ 1) เพือ่ สร้างและหาประสิทธิภาพของหนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัด ทางขึ้น ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80 / 80 2) เพือ่ เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อน และหลังเรี ยนโดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติมชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6โรงเรี ยนวัดทางขึ้น และ 3)เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการ เรี ยนโดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 6โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น อาเภอท่า ศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4 ภาค เรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2554 จานวน 25 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ 1) หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยน วัด ทางขึ้น จานวน 6 เล่ม 2) แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน แบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 50 ข้อ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยน แบบมาตราส่วนประมาณค่า ชนิด 5 ระดับ จานวน 10 ข้และ อ 4) แผนการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการ เรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัด ทางขึ้น หน่วยการเรี ยนรูที้ ่ 10 อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ ด้วยเพลงบอก จานวน20 แผน รวม 20 ชัว่ โมง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ (t – test แบบ Dependent) ผลการศึกษาพบว่า 1. หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80 / 80 ความสัมพันธ์ระหว่าง (E1/E2) เท่ากับ 83.67 / 81.28ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ต้งั ไว้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังการเรี ยนโดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอก ใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น สูงกว่าก่อน เรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ความพึงพอใจของนักเรี ยนต่อการเรี ยนโดยใช้ หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอก ใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ในภาพรวม อยูใ่ นระดับมากโดยมีค่าเฉลี่ย ( X ) เท่ากับ 4.49 และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.57


14 - กระบวนการวิธีการจัดระบบดูแลช่ วยเหลือนักเรียน ข้าพเจ้ามีกระบวนการวิธีการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนอย่างระบบ ดังนี้ ด้านการจัดการเรี ยนรู ้ ได้รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รี ยนได้อย่างมีระบบ เมื่อ เสร็จสิ้นการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน จะบันทึกผลการสอนทุกครั้ง เพือ่ รายงานผลการสอน และนา ปั ญหาอุปสรรค มาวิเคราะห์หาสาเหตุ โดยการแนะนา ให้คาปรึ กษา และทาวิจยั ชั้นเรี ยน ซึ่งได้รับ รางวัลการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนแบบง่าย ระดับดี จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งรายงานผลการ พัฒนาคุณภาพของผูเ้ รี ยนให้ผปู ้ กครองทราบ ภาคเรี ยนละ 1 ครั้ง เพือ่ ร่ วมกันช่วยเหลือนักเรี ยนให้ ประสบผลสาเร็จ นอกจากนี้ ข้าพเจ้าพยายามศึกษา ค้นคว้าองค์ความรู ้ต่าง ๆ ทั้งในหลักวิชา และความรู ้ เพิม่ เติมอยูต่ ลอดเวลา เพือ่ ใช้ในการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมที่หลากหลายรู ปแบบ ที่สามารถสนองความ ต้องการของผูเ้ รี ยนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยนาสื่อ นวัตกรรมที่ผลิตขึ้น มาใช้ช่วยเหลือ นักเรี ยน แก้ปัญหาการเรี ยนสอน ให้สอดคล้องสาระการเรี ยนรู ้ ตัวชี้วดั และกิจกรรม การเรี ยนรู ้ โดยนา นวัตกรรมที่สร้างขึ้นมาใช้ในการวิจยั ในชั้นเรี ยนให้สอดคล้องกับสภาพปั ญหาของนักเรี ยน เช่น เด็ก พิเศษเรี ยนร่ วม ก็พยายามใช้วชิ าภาษาไทยพัฒนาสมอง เพือ่ ให้นกั เรี ยนมีความสนุกสนานในการเรี ยน และเรี ยนรู ้ร่วมกันอย่างมีความสุข อันจะส่งผลให้ผเู ้ รี ยน ทุกคนมีผลการเรี ยนรู ้เป็ นไปตามมาตรฐานการ เรี ยนรู ้และเป้ าหมายของหลักสูตร รวมทั้งให้ความช่วยเหลือนักเรี ยนได้รับความรู ้ท้งั ในเวลาเรี ยนและ นอกเวลาเรี ยน อุทิศเวลาให้กบั ทางราชการ โดยการฝึ กฝนภาษาไทยในทุกตอนเย็น และสอนพิเศษ เพิม่ เติมในวันเสาร์และวันอาทิตย์ เพือ่ ให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน สูงขึ้นโดยมิได้เรี ยกร้องเอาประโยชน์อามิสสินจ้างใด ๆ จากผูเ้ รี ยน ทาให้ส่งผลดีและสร้างชื่อเสียงแก่ นักเรี ยน ตนเอง คณะครู โรงเรี ยน ผูป้ กครอง ชุมชนและเขตพื้นที่การศึกษาโดยรวม จนได้นกั เรี ยนรับ รางวัลเกียรติยศ จากกลุ่มโรงเรี ยนและรางวัลจากเขตพื้นที่การศึกษามากมาย -ผลงานของนักเรียน จากการปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความมุ่งมัน่ ตลอดมา ส่งผลสาเร็จทาให้ศิษย์มีความรู ้ความเข้าใจใน วิชาภาษาไทยและมีทกั ษะ สามารถนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ในการดารงชีวติ อยูใ่ นสังคม ดังนี้ 1. ศิษย์ที่สอนได้รับความรู ้ และมีความสามารถใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องทั้งการพูด การอ่าน และการเขียน จะเห็นได้จากเมื่อส่งนักเรี ยนเข้าร่ วมการแข่งขันแข่งขันวิชาการ นักเรี ยนจะมีโอกาส ได้รับรางวัลต่าง ๆ ในระดับกลุ่มเครื อข่าย และระดับเขตพื้นที่การศึกษา ดังเช่น ปี การศึกษา 2552 นักเรียนได้ รับรางวัล ดังนี้ - ชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมอ่านทานองเสนาะ ช่วงชั้นที่ 2 (สพป.นศ.4) - ชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ช่วงชั้นที่ 1 (สพป.นศ.4) - รองชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมคัดลายมือ ช่วงชั้นที่ 1 (เครื อข่าย) - รองชนะเลิศรางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมร้องเพลงกล่อม เด็ก ช่วงชั้นที่2 (เครื อข่าย)


15 - รองชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญเงิน ท่องอาขยาน ช่วงชั้นที่ 2 (เครื อข่าย) ปี การศึกษา 2553 นักเรียนได้ รับรางวัล ดังนี้ - รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. 1 - 3 (เครื อข่าย) - รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. 4- 6 (สพป.นศ.4) - รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมคัดลายมือ (เครื อข่าย) - รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมเขียนเรี ยงความ (เครื อข่าย) ปี การศึกษา 2554 นักเรียนได้ รับรางวัลจากเขตพืน้ ที่ ดังนี้ - รางวัลรองชนะเลิศ การแต่งบทร้อยกรอง ตามโครงการพระผูท้ รงเป็ นครู แห่งแผ่นดิน - รางวัลชมเชย การเขียนเรื่ องจากภาพ ตามโครงการพระผูท้ รงเป็ นครู แห่งแผ่นดิน - รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. 1 – 3 (เครื อข่าย) - รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. 4 – 6 (เครื อข่าย) - รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมคัดลายมือ (เครื อข่าย) - รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมเขียนเรี ยงความ(เครื อข่าย) ปี การศึกษา 2555 นักเรียนได้ รับรางวัลจากเครือข่ ายท่ าศาลา 2 ดังนี้ - รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.1-3 - รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป. 4-6 - รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมการแข่งขันการอ่าน ระดับชั้น ป. 4-6 - รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมแข่งขันเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้น ป. 1-3 - รางวัลระดับเหรี ยญทองแดง กิจกรรมแข่งขันเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้น ป. 4-6 - รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมการแข่งขัน “รวมศิลป์ สร้างสรรค์” ระดับชั้น ป. 4-6 - รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมการแข่งขันศิลป์ สร้างสรรค์ระดับชั้น ป. 4-6 2. ศิษย์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเป็ นที่น่าพอใจ ในแต่ละปี ครู ผสู ้ อนตั้งเป้ าหมายที่จะพัฒนา โดยตั้งเป้ าหมายสูงขึ้น ร้อยละ 5 จากนั้นให้นกั เรี ยนกาหนดเป้ าหมายเป็ นรายบุคคล และเมื่อสิ้นปี การศึกษา นาผลการประเมินมาเปรี ยบเทียบ เพือ่ ทราบความก้าวหน้าทางการเรี ยน หาผลบวกผลต่าง และ หาแนวทางในการพัฒนาในปี ต่อไป ซึ่งในปี การศึกษา 2553 – 255 5 นักเรี ยนทุกชั้นที่รับผิดชอบมี สัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงกว่าเป้ าหมายที่ต้งั ไว้ ส่วนผลการประเมินระดับชาติ( O-NET) ปี การศึกษา 25532555 มีผลการประเมินเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยร้อยละของระดับจังหวัด ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ ระดับประเทศ ซึ่งเป็ นที่น่าพอใจ และสร้างความภาคภูมิใจที่สะท้อนให้ความมานะพยายามในการจัด กิจกรรมการเรี ยนการสอนตลอดเรื่ อยมา


16 3. ศิษย์สามารถวิเคราะห์วจิ ารณ์สภาพปั ญหาภาษาไทยที่พบเห็นในชีวติ ประจาวันได้อย่าง ถูกต้องและช่วยเสริ มสร้างแบบอย่างภาษาไทยที่ดีงามแก่สงั คม โดยการฝึ กฝนให้นกั เรี ยนรู ้จกั วิเคราะห์ วิจารณ์ปัญหาภาษาไทยจากข่าวในหนังสือพิมพ์ รายการโทรทัศน์ อยูเ่ สมอ และร่ วมกันแสดงความ คิดเห็นถึงปั ญหานั้น ๆ ชี้ให้เห็นถึงที่มาของปั ญหาภาษาไทย พร้อมทั้งเสนอแนะ ให้ความรู ้ ในสิ่งที่ ถูกต้อง และสอนให้ผเู ้ รี ยนรู ้เท่าทันสื่อและเหตุการณ์ 4. ผลการสอนเป็ นแบบอย่างที่ดีที่เพือ่ นร่ วมงานในสาขาอื่น ๆ สามารถนาไปดัดแปลงให้เป็ น ประโยชน์ต่อการเรี ยนการสอนของตนเองได้ เช่น 4. 1 ด้านการผลิตสื่อ นวัตกรรม มีการผลิตอย่างต่อเนื่อง และมีการจัดเก็บเป็ นระบบ ที่ สามารถเป็ นแบบอย่างและเผยแพร่ ได้ 4. 2 ด้านการจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ โดยมีกระบวนการจัดทาแผนที่ถูกต้อง ทาให้ แผนการจัดการเรี ยนรู ้มีคุณภาพ มีความสมบูรณ์ครบถ้วน ที่สามารถให้เพือ่ นร่ วมงานนาไปเป็ น แบบอย่างได้ 4. 3 ด้านผลการสอน ด้วยความตั้งใจจริ งในการปฏิบตั ิหน้าที่ตามอุดมการณ์แห่งความเป็ น ครู ดว้ ยดีตลอดมา ส่งผลให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ ความสามารถในการใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องและถูกหลัก ภาษา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงขึ้น รวมทั้งสามารถนาความรู ้ดา้ นภาษาไทยที่สอนไปประยุกต์ใช้ เรี ยนรู ้ในสาระการเรี ยนรู ้ต่าง ๆได้อย่างเต็มตามศักยภาพ และได้รับรางวัลในการแข่งขัน จึงทาให้ผลการ สอน สามารถเป็ นแบบอย่างที่ดีได้ -ผลการประเมินด้ านมาตรฐานผู้เรียน ข้าพเจ้าปฏิบตั ิงานตามหน้าที่และอุดมการณ์แห่งวิชาชีพครู ได้อย่างดีเยีย่ ม เป็ นที่ประจักษ์ โดย มีความตั้งใจ มุ่งมัน่ ที่จะปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยอุดมการณ์แห่งวิชาชีพครู ตลอด 25 ปี อย่างมีมานะอุตสาหะ ไม่ยอ่ ท้อ ระลึกเสมอว่า นักเรี ยนทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า นัก เรี ยนมี ความสาคัญที่สุด จึงจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม ศักยภาพ ทาให้นกั เรี ยนมีความรู ้คู่คุณธรรม ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนกาหนดเป้ าหมายเป็ นรายบุคคล เพือ่ พัฒนา ตนเอง และเมื่อสิ้นปี การศึกษา นาผลการประเมินมาเปรี ยบเทียบหาความก้าวหน้าทาง การเรี ยน และหา แนวทางในการพัฒนาในปี ต่อไป ในส่วนของข้าพเจ้าได้ อุทิศเวลาให้กบั งานสอนภาษาไทย ด้วยจิตใจ มุ่งมัน่ ปฏิบตั ินอกเหนือจากเวลาราชการ สอนซ่อมและสอนเสริ มนักเรี ยนในวันเสาร์ วันอาทิตย์ จน เกิดผลดีแก่นกั เรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน สูงกว่าเป้ าหมายของโรงเรี ยน และส่วนผลการทดสอบ ระดับชาติ (O-NET) ในปี การศึกษา 2553-2555 มีผลการประเมินสูงกว่าค่าเฉลี่ยร้อยละของระดับจังหวัด ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับประเทศ ซึ่งถือว่าเป็ นผลสาเร็จที่ภูมิใจ ส่วนการประเมินผูเ้ รี ยนตามมาตรฐานเรี ยนของสมศ. รอบที่ 3 มีผลการประเมินดังนี้


17 มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่

1 2 3 4 5

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

ดีมาก ดีมาก ดี ดี พอใช้

14. กระบวนการ วิธีการใช้ หลักธรรมาภิบาลในการทางานร่ วมกิจกรรมอื่นที่ ส่ งผลและเกิดประโยชน์ ต่อ นักเรียน สั งคม และประเทศชาติ ข้าพเจ้า ร่ วมมือกับผูอ้ ื่น ทั้งในและนอกสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ เมื่อได้รับมอบหมายงาน ใด ๆ จะ พยายามสร้างคุณลักษณะของการเป็ นสมาชิกที่ดี มีส่วนร่ วมในการทางานทุกงาน เพือ่ ประโยชน์ขององค์กร ยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่นโดยร่ วมประชุม ศึกษา และดาเนินการเรื่ องนั้น ๆ เพือ่ ให้งานสาเร็จลุล่วงตามจุดหมายที่วางไว้ มีการสรุ ปผลการทางาน ประเมิน และรายงาน ผลการทางาน ร่ วมกัน เพือ่ นาเสนอปั ญหา อุปสรรค และช่วยคิดหาแนวทางพัฒนางานนั้นให้เป็ นผลสาเร็จ ยิง่ ขึ้นไป อีก ทั้งในกิจกรรมทุกกิจกรรมของโรงเรี ยนจะได้รับการแต่งตั้งหรื อมอบหมายจากผูบ้ งั คับบัญชา จะสามารถ ปฏิสมั พันธ์ที่ดีกบั ผูร้ ่ วมงานทุกคนได้ จึงทาให้ผลงานสาเร็จอย่างดียงิ่ เช่น การแข่งขันกีฬาระดับกลุ่ม เครื อข่าย ระดับอาเภอ ด้านชุมชน ข้าพเจ้า ให้ความร่ วมมือต่อชุมชนเพือ่ ยังประโยชน์ให้แก่ทอ้ งถิ่นอย่างดียงิ่ เช่น กิจกรรมที่ทอ้ งถิ่นจัดขึ้นในฐานะสมาชิกของชุมชน ไม่วา่ กิจกรรมใด ๆ ที่ชุมชนขอความร่ วมมือ เพือ่ ให้ เกิดความเจริ ญก้าวหน้า สามัคคีในชุมชน จะให้ความ ร่ วมมือ สนับสนุน ช่วยเหลือท้องถิ่นในกิจกรรม ที่ทอ้ งถิ่นจัดขึ้นตามกาลังความสามารถทุกครั้ง เช่น การช่วยเหลืองานต่าง ๆ ของเพือ่ นบ้าการแข่ น งขันกีฬา ระหว่างชุมชน การร่ วมทาบุญของชุมชน รวมทั้งร่ วมกิจกรรม พัฒนาชุมชน เช่น ร่ วมแห่หมฺ รับใน ประเพณี สารทเดือนสิบ ร่ วมงานประเพณี แห่ผา้ ขึ้นธาตุ ร่ วมเป็ นกรรมการตัดสินงานของหมู่บา้ น อบต. จัดขึ้น นอกจากนี้ยงั ให้ความร่ วมมือประสานงานกับหน่วยงานอื่น ร่ วมมือประสานกับบุคลากรทุกฝ่ าย ทุกระดับ ทั้งหน่วยงานเดียวกันและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อันก่อให้เกิดผลดี เช่น เป็ นคณะกรรมตัดสิน งานประดิษฐ์ของนักเรี ยน ตามโครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของอาเภอท่าศาลา เป็ นวิทยากรกิจกรรม พัฒนาทักษะศิลปะ ในงานเทศกลาเดือนสิบ ของจังหวัดนครศรี ธรรมราช

15. รางวัลที่เคยได้ รับ ข้าพเจ้า ได้รับรางวัลเกียรติยศและได้รับการยกย่องเป็ นแบบอย่างที่ดีในการพัฒนาวิชาชีพด้วย จิตวิญญาณแห่งความเป็ นครู ดังนี้


18 ปี พ.ศ.

2555 15.1 รางวัล ครู ภาษาไทยดีเด่ น รางวัลเข็มเชิดชู เกียรติจารึกพระนามาภิไธยย่ อ สธ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 25 55 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ คุรุสภา 15.2 รางวัล รางวัลครู ผู้สอนดีเด่ น กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยดีเด่ น ปี ทีไ่ ด้รบั พ.ศ. 25 55 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ คุรุสภา 15.3 รางวัลครู คุณภาพดีเด่ น กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ปี ทีไ่ ด้รบั พ.ศ. 25 55 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สพป.นครศรีธรรมราช เขต 4 15.4 รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมแข่ งขันท่ องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป. 1-3 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 2555 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา 2 15.5 รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมแข่ งขันท่ องอาขยาน ทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.4-6 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 25 55 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา 2 15.6 รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญเงิน กิจกรรมการแข่ งขันการอ่ าน ระดับชั้น ป.4-6 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 25 55 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา 2 5.7 รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญเงิน กิจกรรมแข่ งขันเรียงความและ คัดลายมือ ระดับชั้น ป.1-3 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 2555 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา 2

15.8 รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญทองแดง กิจกรรมแข่ งขัน เรียงความและคัดลายมือ ระดับชั้น ป.4-6 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 2555


19 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา 2 15.9 รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมการแข่ งขัน “รวมศิลป์ สร้ างสรรค์” ระดับชั้น ป.4-6 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 2555 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา 2 ปี พ.ศ. 2554 15.10 รางวัล หนึ่งแสนครู ดี ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 2554 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ คุรุสภา 15.11 รางวัล ดาวแห่ งความดี ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 2554 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ นิตยสารคนสร้ างชาติ 15.12 เกียรติบัตร เสนอผลงานการสอนวิชาภาษาไทยเพื่อได้ รับคัดสรร รางวัลครู ภาษาไทยดีเด่ น ประจาปี การศึกษา 2554 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 2554 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ คุรุสภา 15.13 รางวัลอผู้สอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญเงิน กิจกรรมสร้ างสรรค์ภาพ ด้ วยการปะติด ป.4-6 ระดับภาคใต้ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 2554 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (สพฐ) 15.14 รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมสร้ างสรรค์ภาพ ด้ วยการปะติด ชั้น ป.4-6 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 2554 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สพป.นครศรีธรรมราช เขต 4 15.15 รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมการแข่ งขันโครงงาน อาชีพ ชั้น ป.4-6 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 2554 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สพป.นครศรีธรรมราช เขต 4 15.16 รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมแข่ งขันท่ องอาขยาน ทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.1-3 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 25 54


20 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา 2 15.17 รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมแข่ งขันท่ องอาขยาน ทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.4-6 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 2554 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา 2 ปี พ.ศ. 2553 15.18 รางวัล เกียรติบัตรเหรียญทอง ครู ผู้ฝึกสอน การแปรรู ปอาหาร ชั้น ป.4-6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ปี การศึกษา 2553 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 2553 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (สพฐ) 15.19 รางวัล รางวัลผลงานวิจัยชั้นเรียน ระดับดี ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 2553 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สพป.นครศรีธรรมราช เขต 4 15.20 รางวัล ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องบทอาขยาน ชั้น ป.4-6 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 2553 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สพป.นครศรีธรรมราช เขต 4 15.21 รางวัล ผู้ฝึกสอนเด็กได้ รางวัลระดับทอง กิจกรรมท่ องบทอาขยาน ชั้น ป.4-6 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 2553 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา 2 15.22 รางวัล ผู้ฝึกสอนเด็กได้ รางวัลระดับเหรียญเงิน กิจกรรมเขียนเรียงความชั้น ป.4-6 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 2553 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา 2 15.23 รางวัล ผู้ฝึกสอนเด็กได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมท่ องอาขยาน ชั้น ป.1 - 3 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 25 52 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สพป.นครศรีธรรมราช เขต 4 15.24 รางวัล ผู้ฝึกสอนเด็กได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมท่ องอาขยาน ชั้น ป.1 - 3 ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 25 52 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา 2 15.25 รางวัล ครู ดีศรีจรรยาบรรณ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 25 51


21 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สพท.นครศรีธรรมราช เขต 4 15.26 รางวัล ครู ผู้สอนภาษาไทย ระดับดีเยี่ยม ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 25 49 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สพท.นครศรีธรรมราช เขต 4 15.27รางวัล บุคคลดีเด่น ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 25 45 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สปอ.ท่ าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 15.28 รางวัล ครู วิทยาศาสตร์ ดีเด่ น ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 25 40 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สปอ.ฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช 15.29 รางวัล ครู สอนกลุ่ม สปช.ดีเด่ น ปี ที่ได้รับ พ.ศ. 25 39 ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สปอ.ฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ขอรับรองว่าข้อความข้างต้นนี้เป็ นความจริ ง

ลงชื่อ....................................................(ผูเ้ สนอขอรับรางวัล) (นางชไมพร ใบเรื อง) ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น

ลงชื่อ....................................................(ผูร้ ับรอง) (............................................................) ผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.