แบบเสนอช่ือ ครูสอนดี

Page 1

ข้ าพเจ้ า นายจาเนียร พรหมแก้ ว หมายเลขบัตรประชาชน ในฐานะ ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ร่ วมกับครู ผูป้ กครองและนักเรี ยนสถานศึกษา ขอเสนอชื่อครู เพือ่ รับการคัดเลือกเป็ นครู สอนดี ซึ่งเป็ นไปตามสัดส่วนที่กาหนด ดังรายชื่อตามลาดับต่อไปนี้ ๑. นางชไมพร ใบเรื อง ครู คศ. ๓ โรงเรี ยนวัด ทางขึ้น รายละเอียดดังเอกสารที่แนบ ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ครู ผไู ้ ด้รับการเสนอชื่อมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด และข้อมูลในแบบเสนอชื่อและ เอกสารประกอบการเสนอชื่อเป็ นความจริ งทุกประการ

(ลงนาม)...........................................ผูเ้ สนอชื่อ (นายจาเนียร พรหมแก้ว) ๑๙

/สิงหาคม /๒๕๕๖


ส่วนที่ ๒ ประวัติและผลงานของผูไ้ ด้รับการเสนอชื่อ(ผูไ้ ด้รับการเสนอชื่อเป็ นผูก้ รอกรายละเอียด) ๑.ชื่อ – สกุล ผูส้ มัคร ภาษาไทย นางชไมพร ใบเรื อง ภาษาอังกฤษ Mrs.CHAMAIRUENG BAIRUENG หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชน ๓๘๐๐๘๐๐๕๑๘๒๖๕ ๒ วันเดือน ปี เกิด ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ ๓ มีความรู ้ความเชี่ยวชาญในการจัดการเรี ยนการสอนในเรื่ อง การจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ และการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการเรี ยนการสอนที่สอดคล้องกับสภาพผูเ้ รี ยน ๔. สถานที่ทางาน กรณี เด็กที่สอนอยูใ่ นสถานศึกษา สถานที่ทางาน โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ตั้งอยูเ่ ลขที่ - ถนน - หมู่ ๑ ตาบล ท่าขึ้น อาเภอ ท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช รหัสไปรษณี ย ์ ๘๐๑๖๐ สังกัด ( ) สพฐ. ( ) สช. ( ) อปท. ( ) อื่น ๆ ๕.ที่อยูท่ ี่สามารถติดต่อได้ เลขที่ ๑๘๙/๓ หมู่ที่ ๑๒ ตาบล ท่าขึ้น อาเภอ ท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช รหัสไปรษณี ย๘์ ๐๑๖๐ ๖.บุคคลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือติดต่อได้ ๑. นางทัศวลี วงศ์สวัสดิ์ เกี่ยวข้องเป็ น พีส่ าว โทร ๐๘๑ ๒. นายมนูญ ใบเรื อง เกี่ยวข้องเป็ น สามี

- ๙๗๐ - ๗๑๐๔ โทร ๐๘๑ - ๐๘๔ - ๔๙๘๐

๗.ประวัติทางการศึกษา ระดับ ปริ ญญาตรี

ชื่อปริญญา(สาขาวิชา) การศึกษาบัณฑิต สาขา ภาษาไทย

สถานศึกษาและปี ที่สาเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ปี ๒๕๓๐


๘. ประวัติการปฏิบตั ิหน้าที่ครู  ครู ที่สอนเด็กในสถานศึกษา ใบประกอบวิชาชีพครู เลขที่ ๕๒๒๐๐๖๐๓๗๒๘๘๐๕ ระยะเวลา(ปี ) วิชาและระดับชั้นที่สอน ภาระกิจกอื่นทีไ่ ด้ รับมอบหมาย ๒๕ ปี ๑.กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ๑. ครู ประจาชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔-๖ ๒.หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ๒.แนะแนว โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ๓. ชมรมอาเซียน ๓.หัวหน้างานบุคลากร ๔.รับผิดชอบโครงการพัฒนาครู และบุคลากร ๕. รับผิดชอบองค์ประกอบที่ ๑๐ ๖.ส่งเสริ มความสามารถพิเศษทางด้านภาษาไทย ๗.พัฒนาสื่อและนวัตกรรมการเรี ยนการสอน ๘. ครู เวรประจาวันจันทร์ ๙. ครู เวรอาหารกลางวันวันจันทร์ ๑๐. เป็ นคณะกรรมการ คณะทางานกิจกรรม โครงการต่าง ๆ ในโรงเรี ยน ๙. ประสบการณ์สอนเด็กด้ อยโอกาส กลุ่มเด็กด้ อยโอกาส เด็กพิการ เด็กที่มีความบกพร่ อง ทางร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่ อสาร การเรียนรู้

จานวน(คน) ระยะเวลา (ปี ) ๑ ๒ -

โปรดอธิบายผลที่ประจักษ์ ตลอดระยะเวลาที่ทาสอนวิชาภาษาไทย ข้าพเจ้าจะให้สาคัญนักเรี ยนอย่างเสมอหน้า และทา การวิเคราะห์ผเู้ รี ยน คัดกรองนักเรี ยน เพื่อหา แนวทางพัฒนาเด็กที่บกพร่ องเรี ยนรู้ดา้ นการอ่าน การเขียน โดยเทคนิคที่หลากหลาย เช่น แบบฝึ ก อ่าน-เขียน ใช้นิทานต่าง ๆ กิจกรรมเก่งช่วยอ่อน เพื่อนช่วยเพื่อน ซึ่งเป็ นไปตามความแตกต่างของ เด็ก เริ่ มจากสิ่ งที่ง่ายไปหายาก เพื่อเด็กจะค่อย ๆ พัฒนาให้อ่านออกเขียนได้และมีความสุ ข รักที่จะ มาโรงเรี ยน และเรี ยนร่ วมกับผูอ้ ื่นได้


กลุ่มเด็กด้ อยโอกาส

จานวน(คน) ระยะเวลา (ปี )

เด็กยากจน

๖๒

๒๕

เด็กเร่ ร่อน เด็กถูกทอดทิ้ง

-

-

เด็กกาพร้า

๑๗

๒๕

-

-

-

-

-

-

นักเรี ยน ป.๔-๖ จานวน ๖๒ คน

๒๕

เด็กไร้สัญชาติ เด็กได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์ เด็กในศาลพินิจและคุมครองเด็ก และเยาวชน เด็กถูกบังคับให้ขายแรงงาน เด็กที่อยู่ในธุ รกิจบริ การทางเพศ เด็กต้องหาคดี เด็กตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร เด็กติดยาเสพติด

เด็กที่ขาดโอกาสทางการศึกษา

โปรดอธิบายผลที่ประจักษ์ หลังจากได้ออกเยีย่ มบ้านนักเรี ยนทุกคน ทาให้ ทราบว่า นักเรี ยนคนใดบ้างที่ยากจน จากนั้นหา แนวทางในการช่วยเหลือด้วยการระบบช่วยเหลือ ดูแลนักเรี ยนเป็ นราย ๆ ไ ป เช่น ให้ทุนการศึกษา มอบเสื้ อผ้า ให้ทุนทรัพย์ของตนเองตามความ เหมาะสม พร้อมทั้งให้กาลังใจ ส่ งผลให้เด็กมี ความสึ กว่าไม่ต่าต้อย หรื อด้อยโอกาส และพัฒนา ตนเองให้เข้ากับเพื่อนๆ และอยูใ่ นสังคมได้ดี -

ข้าพเจ้าให้การเอาใจใส่ ดูแลด้านจิตใจของเด็กเป็ น พิเศษ เพื่อไม่ให้เด็กมีพฤติกรรมที่เบี่ยงเบน เช่น คบเพื่อนดื้อรั้น เพื่อนต่างเพศ มีอาการซึมเศร้า เงียบเหงา โดยใช้การแนะแนว ให้คาปรึ กษา และ ส่ งเสริ มให้เข้าร่ วมกิจกรรมต่าง ๆ ส่ งเสริ มการเป็ น ผูน้ า ส่ งผลให้เด็กมีความมัน่ ใจ กล้าเผชิญสิ่ งต่าง ๆ มีความพร้อมที่จะเรี ยนรู้ในชั้นเรี ยนและมีผลการ เรี ยนดียงิ่ ขึ้น

พัฒนานักเรี ยนให้ประสบผลสาเร็ จทางการเรี ยน ด้วยการเตรี ยมการสอนที่ดี ดาเนินการสอนที่เน้น นักเรี ยนเป็ นสาคัญ ส่ งผลให้นกั เรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสูงกว่าเป้ าหมายที่วางไว้ และมีผลการ ทดสอบระดับชาติ O-NET สูงกว่าระดับเขตพื้นที่ ระดับจังหวัด และระดับประเทศ


ส่วนที่ ๓ แนวคิดสาคัญของผูไ้ ด้รับการเสนอชื่อ (ผูไ้ ด้รับการเสนอชื่อเป็ นผูก้ รอกรายละเอียด) ๑.แนวทางการจัดการเรี ยนรู้/การสอน โปรดอธิบายให้เห็นว่า ในช่วง ๓ ปี ล่าสุ ดที่ผา่ นมา (ปี การศึกษา ๒๕๕๓-๒๕๕๕) ท่านได้มีการพัฒนาสาระและ กระบวนการเรี ยนรู้อย่างไร และนาไปใช้ในการพัฒนาศิษย์อย่างไร จัดการเรี ยนรู้ให้มีประสิ ทธิภาพยิง่ ๆขึ้นได้อย่างไร กระตุน้ ความสนใจให้เด็กรักเรี ยนรู้อย่างไร ตลอดจนเปิ ดโอกาสให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สังคม และชุมชนเข้ามา มีส่วนร่ วมในกระบวนการจัดการเรี ยนรู้อย่างไร (โปรดแนบหลักฐานเชิงปะจักษ์ถา้ มี)

๑. แนวทางจัดกระบวนการเรียนรู้ /การสอน ข้าพเจ้าปฏิบตั ิการสอน ณ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น เป็ นโรงเรี ยนที่ต้งั อยูเ่ ลียบชายฝั่งทะเลตะวันออก ประชากรนับถือศาสนาที่แตกต่างกัน คือ ประชากร นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ ๖๕ ประชากรนับถือพุทธ ร้อยละ ๓๕ ซึ่งยังเป็ นปั ญหาในการเรี ยนการสอน และการพัฒนาเด็กสู่เป้ าหมายของหลักสูตร อันสืบเนื่องจาก ในแต่ละวันหลังเลิกเรี ยนนักเรี ยนจะต้องรี บเร่ งที่จะไปเรี ยนศาสนา จึงขาดการทบทวนบทเรี ยน การทาการบ้าน ทาแบบฝึ กหัด นักเรี ยนร้อยละ ๗๐ ที่ไม่ทาการบ้าน ทาให้นกั เรี ยนขาดโอกาสที่จะฝึ กฝนต่อจากโรงเรี ยน การ จัด เรี ยนการสอนจึงไม่ประผลสาเร็จ โดยเฉพาะข้าพเจ้าในฐานะผูร้ ับผิดชอบกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย จึงจาเป็ นอย่างยิง่ คิดหาวิธีการ รู ปแบบการสอนต่าง ๆ ที่จะจูงใจให้นกั เรี ยนสนใจการเรี ยน และมีความสามารถ ในการใช้ภาษาไทยมากยิง่ ขึ้น โดยการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนอย่างเต็มความรู ้เต็มความสามารถ มุ่งมัน่ พัฒนาการเรี ยนการสอนอย่างมีระบบ มีการเตรี ยมการสอน

อย่างสมบูรณ์ โดยเริ่ มจากการศึกษาวิเคราะห์

หลักสูตร จัดทาโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรี ยนรู ้ จัดทาแผนจัดการเรี ยนรู ้ สร้าง-ผลิตและใช้สื่อ นวัตกรรม การสอน ซึ่งมีวธิ ีการดาเนินการดัง นี้ ๑. ศึกษาวิเคราะห์เด็กรายบุคคล เพือ่ จัดกลุ่มนักเรี ยน เป็ น ๓ กลุ่ม คือ เก่ง ปานกลาง อ่อน กลุ่มเก่ง ได้แก่ นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนดี อ่านคล่อง เขียนคล่อง กลุ่มปานกลาง ได้แก่ นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนปานกลาง ไม่คล่อง เขียนไม่คล่อง กลุ่มอ่อน ได้แก่ นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนควรปรับปรุ ง อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ และนักเรี ยนที่บกพร่ องการเรี ยนรู ้


๒. นาผลการวิเคราะห์ผเู ้ รี ยน มาใช้ในการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ให้สอดคล้องกับผูเ้ รี ยน ๓. ดาเนินการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ โดยใช้วธิ ีการสอนที่หลากหลายและเปิ ดโอกาสให้ ผูเ้ รี ยนเป็ นผูป้ ฏิบตั ิ ผูก้ ระทา และสามารถสรุ ปองค์ความรู ้เองได้ เพือ่ ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้อย่างมีความสุข และมีความสามารถในการเรี ยนสู่เป้ าหมายของหลักสูตร เช่น - การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน เพือ่ ปลูกฝังให้ นักเรี ยนรักและภาคภูมิใจในถิ่นบ้านเกิด ร่ วมอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นนั้น เช่น การสอนเพลงบอก โดย ข้าพเจ้าได้เชิญวิทยากรเพลงบอกมนตรี เสียงมนุษย์กบ มาสอนการว่าเพลงบอก - การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน แบบบูรณาการภายในสาระ การเรี ยนรู ้ เพือ่ มีความ หลากหลายในชัว่ โมงสอน - การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดย ใช้การสอนแบบโครงงาน เพือ่ ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ ตามตามความสนใจและตามความต้องการ ส่งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ - การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดย ใช้กระบวนการกลุ่ม เพลง เกม การแสดงบทบาท สมมุติ เพือ่ นช่วยเพือ่ น เก่งช่วยอ่อน และจิ๊กซอ เพือ่ มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนร่ วมกัน คิดอภิปรายแสดงความคิดเห็น ร่ วมกันแก้ปัญหา และเรี ยนรู ้อยูร่ ่ วมกัน การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้แบบเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง โดยให้นกั เรี ยนแสวงหาความรู ้ สืบค้นข้อมูล จากแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต ห้องสมุด ชุมชน และปราชญ์ชาวบ้าน ตลอดจนร่ วม อภิปราย แสดงความคิดเห็น และส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้สู่ความเป็ นสากล เป็ นพลโลก บนพื้นฐานของความ เป็ นไทย - การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้การสอนแบบพหุปัญญา ส่งเสริ ม สนับสนุนให้ผเู ้ รี ยน มีความเก่งหลายด้าน ได้แก่ ด้านจานวน ภาษา มิติสมั พันธ์ ดนตรี จงั หวะ การเคลื่อนไหว เข้าใจธรรมชาติ เข้าใจตนเอง และเข้าใจผูอ้ ื่นได้เป็ นอย่างดี มุ่งพัฒนาด้านสมองทั้งสองซีกของผูเ้ รี ยนให้เจริ ญเติบโตไปพร้อม ๆ กันทั้งในด้านตรรกะและความคิดสร้างสรรค์ ๔. มีการวัดผลประเมินผลที่หลากหลาย เช่น การวัดผลประเมินตามสภาพจริ ง โดยกาหนดภาระงาน ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล เก่ง ปานกลาง อ่อน ซึ่งเด็กที่เก่งจะให้ภาระงานที่มากกว่า ส่วนเด็กอ่อนจะ มอบหมายงานน้อยลง โดยเฉพาะเด็กที่บกพร่ องการเรี ยนรู ้ ฝึ กฝนโดยการสร้างแบบฝึ กต่าง ๆ มาพัฒนาให้มี ความสามารถพร้อมที่จะเรี ยนไปด้วยกัน นอกจากนี้ยงั เปิ ดโอกาส ให้เพือ่ น ผูป้ กครองมีส่วนร่ วมในการวัดผล ประเมินผล


๕. เมื่อเสร็จสิ้นการเรี ยนการสอน ข้าพเจ้าพยายาม ศึกษา วิเคราะห์ หาสาเหตุปัญหาของการจัดกิจกรรม การเรี ยนการสอน เช่น ปั ญหาการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ อ่านไม่คล่องเขียนไม่คล่อง ขาดทักษะการคิด วิเคราะห์ อ่านจับใจความไม่เป็ น จากนั้นจึงหาแนวทางแก้ปัญหาหลาย ๆ แนวทาง เพือ่ แก้ปัญหาให้เป็ น สาเร็จ โดยเฉพาะนักเรี ยนที่บกพร่ องการเรี ยนรู ้ จะเอาใจใสฝึ กฝนดูแลเป็ นพิเศษ เพือ่ ช่วย ให้ผเู ้ รี ยน ทุกคนประสบ ความสาเร็จในการเรี ยน เกิดการเรี ยนรู ้ ที่คงที่ และนาความรู ้ไปประยุกต์ใช้ในชีวติ จริ ง รวมทั้งปลูกฝัง สอดแทรกคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สงั คมคาดหวัง ช่วยให้นกั เรี ยน มี ความรู ้ความสามารถรอบด้าน เป็ นคนที่สมบูรณ์ ที่มี ความสมดุลทั้งด้านร่ างกายจิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และ สังคม สามารถพัฒนาตนเองและร่ วมมือกับผูอ้ ื่นได้อย่างสร้างสรรค์ โดยจัดกิจกรรรมต่าง ๆ เพือ่ พัฒนาและ ช่วยเหลือนักเรี ยนทุกกลุ่ม ดังนี้ ๑. กิจกรรมซ่ อม - เสริม เพิ่มผลสั มฤทธิ์ กิจกรรมซ่อม – เสริ ม เพิม่ ผลสัมฤทธิ์ เป็ นกิจกรรมเด่นที่ขา้ พเจ้าจัดขึ้นนอกเหนือจากการสอนปกติ เพือ่ แก้ไขข้อบกพร่ องแก่นกั เรี ยนทุกคน ได้แก่ นักเรี ยนที่บกพร่ องการเรี ยนรู ้ เรี ยนช้า ต้องการความช่วยเหลือ หรื อไม่ผา่ นการประเมินตัวชี้วดั จะจัดกิจกรรม เสริ มทักษะให้กบั นักเรี ยนได้พฒั นาเต็ม ศักยภาพ โดยวิเคราะห์ ปั ญหาจากบันทึกผลการสอนแต่ละครั้งว่า นักเรี ยนยังมีขอ้ บกพร่ อง หรื อไม่ผา่ นการประเมินตัวชี้วดั ใด แล้วนา ข้อบกพร่ องของนักเรี ยนมาวินิจฉัยหาสาเหตุ ว่ามีสาเหตุจากอะไร จึงจัดกิจกรรมซ่อมให้ตรงกับข้อบกพร่ อง ของนักเรี ยน ส่วนนักเรี ยนที่ผา่ นผลการประเมินตัวชี้วดั ครู วเิ คราะห์เด็กเป็ นรายบุคคล เช่นกัน ว่าควรเสริ ม ทักษะภาษาไทยด้วยกิจกรรมใดให้เหมาะกับนักเรี ยน เพือ่ ให้นกั เรี ยนสามารถพัฒนา และมีความเป็ นเลิศได้ ขอบข่ ายกิจกรรมซ่ อม – เสริม เพือ่ ให้นกั เรี ยนได้พฒั นาภาษาไทยเต็มศักยภาพ จึงกาหนดขอบข่ายกิจกรรม ดังนี้ - กิจกรรมเรี ยนรู ้ดว้ ยแบบฝึ ก โดยใช้แบบฝึ กต่าง ๆ ที่ครู ผลิตขึ้น - กิจกรรมเขียนตามคาบอก - กิจกรรมเก่งช่วยอ่อน กิจกรรมเพือ่ นช่วยเพือ่ น กิจกรรมพีส่ อนน้อง - กิจกรรมอ่านหนังสือนอกเวลา - กิจกรรมจัดทาหนังสือเล่มเล็ก - กิจกรรมพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ขอบข่ ายเวลาในการดาเนินกิจกรรมซ่ อม – เสริม ๑.วันจันทร์-ศุกร์ เวลา ๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐ น. ๒.วันจันทร์-ศุกร์ เวลา ๑๔.๓๐ - ๑๕.๓๐ น. ๓.วันเสาร์-อาทิตย์ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๓๐ น. โดยมีหนังสือแจ้งให้ผปู ้ กครองทราบ


๒. กิจกรรมเยี่ยมบ้ าน ข้าพเจ้าจะออกเยีย่ มบ้านนักเรี ยนทุกภาคเรี ยน เพือ่ ทราบปั ญหาของนักเรี ยน เช่น ปั ญหายากจน ปั ญหาติดเกม ปั ญหาการเรี ยน ปั ญหาพฤติกรรมก้าวร้าว เมื่อทราบปั ญหาชัดเจนเป็ น รายบุคคลแล้ว จะดาเนินร่ วมกับผูป้ กครองให้ช่วยเหลือ แก้ปัญหาให้เด็กมีโอกาสพัฒนาและมีความพร้อมมาก ยิง่ ขึ้น เช่น นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนดี แต่ยากจน จะทาการเสนอชื่อเพือ่ รับทุนการศึกษา ๓. กิจกรรมแนะแนว เป็ นการให้คาปรึ กษา ช่วยเหลือ และแก้ปัญหาเป็ นรายบุคคล ไม่วา่ จะเป็ น ปั ญหาด้านการเรี ยน ด้านพฤติกรรมเบี่ยงเบน ข้าพเจ้าจะพยายามใช้วธิ ีการที่นุ่มนวล ซึ่งจะช่วยให้ นักเรี ยนมี ความเข้มแข็ง รู ้สึกมัน่ ใจในตนเอง สามารถใช้ชีวติ ในสังคมได้เช่นผูอ้ ื่น ๔. กิจกรรมวิจัยชั้นเรียน เป็ นการแก้ปัญหาที่เกิดจากการจัดการเรี ยนสอนวิธีหนึ่ง ซึ่งได้ วิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค ที่เกิดขึ้น ระหว่างจัดการเรี ยนรู ้ จากนั้นจึงพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการสอนมาใช้ประกอบการสอน และใช้กระบวนการวิจยั ในการแก้ปัญหา ส่งผลให้นกั เรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเพิม่ ขึ้น ซึ่งผลงานวิจยั ที่ดีเด่น ดังนี้ รายงานวิจัย คือ รายงานการใช้ หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนภาษาไทย สาหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรียนวัดทางขึน้ จากสภาพและปั ญหาจัดกิจกรรมการการเรี ยนการสอนภาษาไทย ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ พบว่า สาระที่ ๕ เพลงพื้นบ้านนครศรี ธรรมราช “เพลงบอก ” ขาดสื่อการเรี ยนการสอนที่มีความสมบูรณ์ มี เพียงเอกสารความรู ้ในนิตยสาร หรื อในอินเทอร์เน็ตเท่านั้นที่นามาใช้ประกอบการเรี ยนการสอน ทาให้นกั เรี ยน ไม่ประสบผลสาเร็จในการเรี ยนเรื่ องนี้ ประกอบนักเรี ยนยังขาดทักษะการอ่านการเขียน ทาให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนไม่เป็ นที่น่าพอใจ ครู ผสู ้ อนจึงวิเคราะห์ปัญหา และเลือกแนวทางที่ดีที่สุด คือสร้างหนังสืออ่าน เพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น การศึกษาครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์ ๑) เพือ่ สร้างและหาประสิทธิภาพของหนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ๘๐ / ๘๐ ๒) เพือ่ เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนและหลังเรี ยนโดยใช้ หนังสืออ่านเพิม่ เติมชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น และ ๓)เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยนโดยใช้ หนังสือ อ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี โรงเรี ที่ ๖ยนวัดทางขึ้น ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น อาเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต ๔ ภาคเรี ยนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๔ จานวน ๒๕ คน เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ ๑) หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้ บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น จานวน ๖ เล่ม


๒) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน แบบปรนัย ชนิด ๔ ตัวเลือก จานวน ๕๐๓)ข้อ แบบสอบถามความพึง พอใจของนักเรี ยน แบบมาตราส่วนประมาณค่า ชนิด ๕ ระดับ จานวน ๑๐และ ข้อ ๔) แผนการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้ หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น หน่วยการเรี ยนรูที่ ้ ๑๐ อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก จานวน๒๐ แผน รวม ๒๐ ชัว่ โมง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ ( t – test แบบ Dependent) ผลการศึกษาพบว่า ๑. หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ๘๐ / ๘๐ ความสัมพันธ์ระหว่าง (E๑/E๒) เท่ากับ ๘๓.๖๗ / ๘๑.๒๘ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ต้งั ไว้ ๒. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังการเรี ยนโดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ ด้วยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น สูงกว่าก่อนเรี ยนอย่าง มีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๑ ๓. ความพึงพอใจของนักเรี ยนต่อการเรี ยนโดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้ บอกใบ้ดว้ ย เพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ในภาพรวมอยูใ่ นระดับ มากโดยมีค่าเฉลี่ย ( X ) เท่ากับ ๔.๔๙ และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ ๐.๕๗ ๒. การพัฒนาตนเอง ข้าพเจ้าเป็ นแบบอย่างแห่งการพัฒนาตนเอง โดยอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน ใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยนและ แสวงหา ความรู ้ เพือ่ พัฒนาศักยภาพตนเองสู่มืออาชีพ ตลอดจนเข้าร่ วมแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ เผยแพร่ ผลงานการสอนในงาน มหกรรมทางวิชาการ (สพป.นศ.๔) เผยแพร่ ผลงานวิชาการผ่านทางระบบรับ-ส่งหนังสือ และระบบ อินเทอร์เน็ต www.krubannok.com ซึ่งการอบรม สัมมนา มีดงั นี้ พ.ศ. 2555 คุณวุฒิที่ได้รับ การพัฒนาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ก่อนแต่งตั้งให้มี หรื อเลื่อนวิทยฐานะชานาญการพิเศษ จากสถาบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2555 คุณวุฒิที่ได้รับ แนวทางการพัฒนาการสอนเขียนเรื่ องราว ตามโครงการพัฒนาการเรี ยน การสอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 จากสถาบัน สพป.นครศรี ธรรมราช เขต 4 พ.ศ. 2555 คุณวุฒิที่ได้รับ พัฒนาคุณภาพด้วยระบบ e-Training UTQ รายวิชา ภาษาไทย จากสถาบัน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


๑๐

พ.ศ. 2555 คุณวุฒิที่ได้รับ พัฒนาคุณภาพด้วยระบบ e-TrainingUTQ รายวิชา วัดผลประเมินผล จากสถาบัน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2555 คุณวุฒิที่ได้รับ พัฒนาคุณภาพด้วยระบบ e-Training UTQ รายวิชาโครงงาน จากสถาบัน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2555 คุณวุฒิที่ได้รับ พัฒนาคุณภาพด้วยระบบe-Training รายวิชาเลือกทัว่ ไป จากสถาบัน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2555 คุณวุฒิที่ได้รับ อบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง เพลงบอก ศาสตร์-ศิลป์ ที่ควรรู ้และบทบาท ของครู ผสู ้ ่งเสริ ม ครั้งที่ 3 ในวันที่ 20 - 21 มกราคม 2555 จากสถาบัน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พ.ศ. 2554 คุณวุฒิที่ได้รับ อบรมหลักสูตรครู วชิ าภาษาไทยบูรณาการ ระดับประถมศึกษา ตามโครงการพัฒนาครู ท้งั ระบบ วันที่ 8-10 สิงหาคม 2554 จากสถาบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรี ธรรมราช พ.ศ. 2554 คุณวุฒิที่ได้รับ การประเมินทักษะการใช้ชีวติ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 วันที่ 24 สิงหาคม 2554 จากสถาบัน สพป.นครศรี ธรรมราช เขต 4 พ.ศ. 2554 คุณวุฒิที่ได้รับ อบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง การเขียนรายงานผลการปฏิบตั ิงานใน สถานศึกษา 2551 ตามโครงการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา วันที่ 25-26 มิถุนายน 2554 จากสถาบัน สพป.นครศรี ธรรมราช เขต 4 พ.ศ. 2554 คุณวุฒิที่ได้รับ อบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง การวิจยั ในชั้นเรี ยนและกระบวนการวิจยั ทางการศึกษา ตามโครงการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา วันที่ 15 พฤษภาคม 2554 จากสถาบัน สพป.นครศรี ธรรมราช เขต 4 พ.ศ. 2554 คุณวุฒิที่ได้รับ อบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง การพัฒนาสื่อและพัฒนานวัตกรรม ทางการศึกษา ตามโครงการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา วันที่ 9 - 10 เมษายน 2554 จากสถาบัน สพป.นครศรี ธรรมราช เขต 4 พ.ศ. 2554 คุณวุฒิที่ได้รับ อบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง เพลงบอก ศาสตร์-ศิลป์ ที่ควรรู ้และบทบาท ของครู ผสู ้ ่งเสริ ม ครั้งที่ 2 ในวันที่ 20 - 21 มกราคม 2554 จากสถาบัน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พ.ศ. 2553 คุณวุฒิที่ได้รับ เสริ มสร้างคุณธรรม จริ ยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู จากสถาบัน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4


๑๑

พ.ศ. 2553 คุณวุฒิที่ได้รับ พัฒนาคุณภาพด้วยระบบ e-Training ทัศนศิลป์ จากสถาบัน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ๓. พัฒนาสื่ อ นวัตกรรมการเรียนการสอน ข้าพเจ้าได้พยายามศึกษา ค้นคว้าองค์ความรู ้ต่าง ๆ ทั้งในหลักวิชา และความรู ้เพิม่ เติมอยูต่ ลอดเวลา เพือ่ ใช้ในการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมที่หลากหลายรู ปแบบ ที่สามารถสนองความต้องการของนักเรี ยนตามความ แตกต่างระหว่างบุคคลโดยนาสื่อ นวัตกรรมที่ผลิตขึ้นมาใช้กิจกรรมการเรี ยนสอนให้สอดคล้องสาระการเรี ยนรู ้ ตัวชี้วดั และกิจกรรม การเรี ยนรู ้ และนามาใช้ในการวิจยั ชั้นเรีให้ ยนสอดคล้องกับสภาพปั ญหาของผูเ้ รี ยน อันจะ ส่งผลให้นกั เรี ยนทุกคนมีผลการเรี ยนรู ้เป็ นไปตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และเป้ าหมายของหลักสูตร ซึ่งการพัฒนา สื่อ - นวัตกรรมที่ใช้ในการกิจกรรมการเรี ยนการสอนอย่างต่อเนื่อง และสามารถเป็ นแบบอย่างแก่ผอู ้ ื่นได้ ดังนี้ - ใบความรู ้สาระที่ ๑ - ๔ ใช้สอนนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓, ๕ - ๖ - ใบความรู ้สาระที่ ๔ เล่ม ๑ - ๒ ใช้สอนนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ - ๖ - เอกสารประกอบการสอนเรื่ อง การเขียนโครงงาน ใช้สอน ชั้นประถมศึกษาปี ที่๕ – ๖ - เอกสารประกอบการสอน เรื่ อง สานวนคนนคร ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ - ๖ - เอกสารประกอบการสอน เรื่ อง เพลงร้องเรื อ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ - ๖ - แบบฝึ กทักษะภาษาไทย เล่ม ๑ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ - แบบฝึ กทักษะภาษาไทย เล่ม ๒ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ - แบบฝึ กทักษะการเขียน เล่ม ๑ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ - แบบฝึ กทักษะการเขียนเรื่ อง เล่ม ๒ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ - การเขียนเรื่ องจากภาพ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ - แบบฝึ กเสริ มความรู ้ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ - แบบฝึ กทักษะภาษาไทย ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ - การเขียนเรื่ องจากภาพ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ - แบบฝึ กเสริ มความรู ้ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ - แบบฝึ กทักษะภาษาไทย เล่ม ๑ สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ - แบบฝึ กทักษะภาษาไทย เล่ม ๒ สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ - แบบฝึ กคัดลายมือ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓, ๕ – ๖ - แบบฝึ กจับใจความสาคัญ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓, ๕ – ๖ - แบบฝึ กการเขียนตามคาบอก ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ – ๖


๑๒

- บทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ใช้สอนนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ จานวน ๔ เล่ม ดังนี้ คือ เล่ม ๑ คาประสม เล่ม ๒ คา ซ้อน เล่ม ๓ คาซ้ า และ เล่ม ๔ คาสมาส - หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น จานวน ๖ เล่ม ดังนี้ เล่ม ๑ ถ้อยคาเรี ยงเสียงเพลงบอก เล่ม ๒ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกโท่ เล่ม ๓ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกพลา เล่ม ๔ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ดอกนมแมว เล่ม ๕ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน มังเร เล่ม ๖ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกรกช้าง ๔. การอุทิศตน อุทิศเวลาในการปฏิบตั ิหน้าที่ ข้าพเจ้าดาเนินการสอนซ่อม-เสริ มนักเรี ยนเพิม่ เติมอย่างต่อเนื่อง เพือ่ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนในตอนเช้า และตอนเย็นหลังเลิกเรี ยน โดยใช้ กิจกรรมซ่อม-เสริ มเพิม่ ผลสัมฤทธิ์ ๕. การส่งเสริ มนักเรี ยนสู่ความเป็ นเลิศ ข้าพเจ้าจะนานักเรี ยนเข้าร่ วมกิจกรรมทุกครั้งที่มีโอกาส ให้นกั เรี ยนได้ แสดงรู ้ความสามารถตนเอง เพือ่ สร้างความภาคภูมิใจแก่ตน ผลแห่ งความสาเร็จ ตลอดระยะเวลา ๒๔ ปี ข้าพเจ้ามีความตั้งใจ มุ่งมัน่ ในการปฏิบตั ิหน้าที่ และพัฒนาตน พัฒนาศิษย์ จนได้รับรางวัลเกียรติยศและได้รับการยกย่องเป็ นแบบอย่างที่ดีในการพัฒนาวิชาชีพด้วยจิตวิญญาณแห่งความ เป็ นครู ดังนี้ ๑. รางวัล ครู ภาษาไทยดีเด่ น รางวัลเข็มเชิดชู เกียรติจารึกพระนามาภิไธยย่ อ สธ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๕ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ คุรุสภา ๒. รางวัล รางวัลครู ผู้สอนดีเด่ น กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยดีเด่ น ปี ทีไ่ ด้รบั พ.ศ. ๒๕๕๕ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ คุรุสภา


๑๓

๓. รางวัลครู คุณภาพดีเด่ น กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ปี ทีไ่ ด้รบั พ.ศ. ๒๕๕๕ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สพป.นครศรีธรรมราช เขต ๔ ๔. รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมแข่ งขันท่ องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.๑-๓ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๕ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา ๒ ๕. รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมแข่ งขันท่ องอาขยาน ทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.๔-๖ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๕ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา ๒ ๖. รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญเงิน กิจกรรมการแข่ งขันการอ่ าน ระดับชั้น ป.๔-๖ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๕ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา ๒ ๗. รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญเงิน กิจกรรมแข่ งขันเรียงความและ คัดลายมือ ระดับชั้น ป.๑-๓ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๕ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา ๒ ๘. รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญทองแดง กิจกรรมแข่ งขัน เรียงความและคัดลายมือ ระดับชั้น ป.๔-๖ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๕ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา ๒ ๙. รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมการแข่ งขัน “รวมศิลป์ สร้ างสรรค์” ระดับชั้น ป.๔-๖ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๕ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา ๒


๑๔

๑๐. รางวัล หนึ่งแสนครู ดี ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๔ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ คุรุสภา ๑๑. รางวัล ดาวแห่ งความดี ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๔ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ นิตยสารคนสร้ างชาติ ๑๒. เกียรติบัตร เสนอผลงานการสอนวิชาภาษาไทยเพื่อได้ รับคัดสรร รางวัลครู ภาษาไทยดีเด่ น ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๔ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๔ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ คุรุสภา ๑๓. รางวัลอผู้สอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญเงิน กิจกรรมสร้ างสรรค์ภาพ ด้ วยการปะติด ป.๔-๖ ระดับภาคใต้ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๔ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (สพฐ) ๑๔. รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมสร้ างสรรค์ภาพ ด้ วยการปะติด ชั้น ป.๔-๖ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๔ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สพป.นครศรีธรรมราช เขต ๔ ๑๕. รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมการแข่ งขันโครงงาน อาชีพ ชั้น ป.๔-๖ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๔ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สพป.นครศรีธรรมราช เขต ๔ ๑๖. รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมแข่ งขันท่ องอาขยาน ทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.๑-๓ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๔ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา ๒


๑๕

๑๗. รางวัล ผู้ฝึกสอนนักเรียนได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมแข่ งขันท่ องอาขยาน ทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.๔-๖ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๔ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา ๒ ๑๘. รางวัล เกียรติบัตรเหรียญทอง ครู ผู้ฝึกสอน การแปรรู ปอาหาร ชั้น ป.๔-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ปี การศึกษา ๒๕๕๓ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๓ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (สพฐ) ๑๙. รางวัล รางวัลผลงานวิจัยชั้นเรียน ระดับดี ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๓ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สพป.นครศรีธรรมราช เขต ๔ ๒๐. รางวัล ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องบทอาขยาน ชั้น ป.๔-๖ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๓ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สพป.นครศรีธรรมราช เขต ๔ ๒๑. รางวัล ผู้ฝึกสอนเด็กได้ รางวัลระดับทอง กิจกรรมท่ องบทอาขยาน ชั้น ป.๔-๖ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๓ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา ๒ ๒๒. รางวัล ผู้ฝึกสอนเด็กได้ รางวัลระดับเหรียญเงิน กิจกรรมเขียนเรียงความชั้น ป.๔-๖ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๓ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา ๒ ๒๓. รางวัล ผู้ฝึกสอนเด็กได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมท่ องอาขยาน ชั้น ป.๑ - ๓ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๒ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สพป.นครศรีธรรมราช เขต ๔ ๒๔. รางวัล ผู้ฝึกสอนเด็กได้ รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมท่ องอาขยาน ชั้น ป.๑ - ๓ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๒ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพท่ าศาลา ๒


๑๖

๒๕. รางวัล ครู ดีศรีจรรยาบรรณ ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๕๑ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สพท.นครศรีธรรมราช เขต ๔ ๒๖. รางวัล ครู ผู้สอนภาษาไทย ระดับดีเยี่ยม ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๔๙ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สพท.นครศรีธรรมราช เขต ๔ ๒๗.รางวัล บุคคลดีเด่น ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๔๕ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สปอ.ท่ าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ๒๘. รางวัล ครู วิทยาศาสตร์ ดีเด่ น ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๔๐ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สปอ.ฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ๒๙. รางวัล ครู สอนกลุ่ม สปช.ดีเด่ น ปี ที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๓๙ ชื่อหน่วยงานที่มอบให้ สปอ.ฉวาง จังหวัดนครศรี ธรรมราช

ข้าพเจ้าการปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนการสอนตามแนวทางการปฏิรูปการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้ นผลถาวรที่เกิดแก่ ผู้เรียน ด้วยการศึกษาเทคนิค วิธีการสอนต่าง ๆให้เข้าใจ อย่างละเอียด จึง จะตัดสิน เลือก กิจกรรมการเรี ยนรู ้ มาใช้ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพผูเ้ รี ยน โดยให้ ความสาคัญแก่ผเู ้ รี ยนทุกกลุ่มอย่างเสมอภาค ไม่วา่ จะเป็ นกลุ่มเก่ง ปานกลาง อ่อน หรื อบกพร่ องการเรี ยนรู ้ จะส่งเสริ มให้ ผูเ้ รี ยนเป็ นผูก้ ระทาด้วยตนเอง และมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้มากที่สุด มุ่งผลสัมฤทธิ์ ผลผลิตที่มีคุณภาพ ตั้งใจฝึ กฝนทักษะทั้ง ๔ ทักษะ ได้แก่ ฟัง พูด อ่าน เขียน ตามกลุ่มผูเ้ รี ยนที่วเิ คราะห์ และตาม ความแตกต่างระหว่างบุคคล เพือ่ ให้ผเู ้ รี ยนมีความสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้ดี รวมทั้งพยายามใฝ่ เรี ยนรู ้ ศึกษาค้นคว้าข้อมูลข่าวสาร และข้อมูลทางวิชาการ เพือ่ ปรับปรุ งการเรี ยนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล และมีความกระตือรื อร้นในการศึกษาหาสาเหตุปัญหาของการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน


๑๗

หาแนวทางแก้ปัญหาให้สาเร็จ เพือ่ ให้ผเู ้ รี ยนทุกกลุ่มประสบความสาเร็จในการเรี ยน รวมทั้งปลูกฝัง สอดแทรก คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้เกิดแกผูเ้ รี ยน ช่วยให้ผเู ้ รี ยนสามารถพัฒนาตนเอง และร่ วมมือกับผูอ้ ื่นได้อย่างสร้างสรรค์ มีความคิดที่เป็ นเหตุเป็ นผลที่ นาไปใช้ในการ พัฒนาชีวติ ได้ ส่งผลให้ นักเรี ยนมีผลงานภาษาไทยเป็ นที่ยอมรับ ดังนี้ ๑ . ศิษย์ ที่สอนได้ รับความรู้ และมีความสามารถใช้ ภาษาไทยได้ ถูกต้ อง จะเห็นได้จากเมื่อส่งนักเรี ยน เข้าร่ วมการแข่งขันแข่งขันวิชาการ นักเรี ยนจะมีโอกาสได้รับรางวัลต่าง ๆ ในระดับกลุ่มเครื อข่าย และระดับเขต พื้นที่การศึกษา ดังเช่น ปี การศึกษา ๒๕๕๒ นักเรียนได้ รับรางวัล ดังนี้ - ชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมอ่านทานองเสนาะ ช่วงชั้นที่ ๒ (สพป.นศ.๔) - ชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ช่วงชั้นที่ ๑ (สพป.นศ.๔) - รองชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมคัดลายมือ ช่วงชั้นที่ ๑ (เครื อข่าย) - รองชนะเลิศรางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมร้องเพลงกล่อม เด็ก ช่วงชั้นที่๒ (เครื อข่าย) - รองชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญเงิน ท่องอาขยาน ช่วงชั้นที่ ๒ (เครื อข่าย) ปี การศึกษา ๒๕๕๓ นักเรียนได้ รับรางวัล ดังนี้ - รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. ๑ - ๓ (เครื อข่าย) - รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. ๔- ๖ (สพป.นศ.๔) - รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมคัดลายมือ (เครื อข่าย) - รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมเขียนเรี ยงความ (เครื อข่าย) ปี การศึกษา ๒๕๕๔ นักเรียนได้ รับรางวัลจากเขตพืน้ ที่ ดังนี้ - รางวัลรองชนะเลิศ การแต่งบทร้อยกรอง ตามโครงการพระผูท้ รงเป็ นครู แห่งแผ่นดิน - รางวัลชมเชย การเขียนเรื่ องจากภาพ ตามโครงการพระผูท้ รงเป็ นครู แห่งแผ่นดิน - รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. ๑ – ๓ (เครื อข่าย) - รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. ๔ – ๖ (เครื อข่าย) - รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมคัดลายมือ (เครื อข่าย) - รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมเขียนเรี ยงความ(เครื อข่าย) ปี การศึกษา ๒๕๕๕ นักเรียนได้ รับรางวัลจากเครือข่ ายท่ าศาลา ๒ ดังนี้ - รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.๑-๓ - รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.๔-๖ - รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมการแข่งขันการอ่าน ระดับชั้น ป.๔-๖


๑๘

- รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมแข่งขันเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้น ป.๑-๓ - รางวัลระดับเหรี ยญทองแดง กิจกรรมแข่งขันเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้น ป.๔-๖ - รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมการแข่งขัน “รวมศิลป์ สร้างสรรค์” ระดับชั้น ป.๔-๖ - รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมการแข่งขันศิลป์ สร้างสรรค์ระดับชั้น ป.๔-๖ ๒. ศิษย์ มีผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนเป็ นที่น่าพอใจ ในแต่ละปี ครู ผสู ้ อนตั้งเป้ าหมายที่จะพัฒนา โดย ตั้งเป้ าหมายสูงขึ้น ร้อยละ ๕ จากนั้นให้นกั เรี ยนกาหนดเป้ าหมายเป็ นรายบุคคล และเมื่อสิ้นปี การศึกษา นาผล การประเมินมาเปรี ยบเทียบ เพือ่ ทราบความก้าวหน้าทางการเรี ยน และเป็ นแนวทางในการพัฒนาในปี ต่อไป ซึ่ง ในปี การศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ,๕,๖ ที่รับผิดชอบมีสมั ฤทธิ์ทางการเรี ยนสูง กว่าเป้ าหมายที่ต้งั ไว้ ส่วนผลการประเมินระดับชาติ( O-NET) ของนักเรี ยน ชั้นประถมศึกษาปี่ ๓ ,๕,๖ ปี การศึกษา ๒๕๕๓-๒๕๕๕ มีผลการประเมินเฉลี่ย สู งกว่ าค่าเฉลี่ยร้ อยละของระดับจังหวัด ระดับเขตพืน้ ที่ การศึกษา และระดับประเทศ ซึ่งเป็ นที่น่าพอใจ สะท้อนให้ความมานะพยายามในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการ สอนตลอดเรื่ อยมา ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่ขา้ พเจ้ากรอกเป็ นความจริ งทุกประการ และยอมรับว่าหากมีการตรวจพบ ข้อความหรื อหลักฐานอันเป็ นเท็จจะไม่ได้รับการพิจารณาคัดเลือก

(ลงนาม)...........................................ผู ้

ได้รับการเสนอชื่อ

(นางชไมพร ใบเรื อง) ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ๑๙ /สิงหาคม/๒๕๕๖


๑๙

ส่วนที่ ๔ ข้อมูลสนับสนุนการเสนอชื่อ “ครู สอนดี” (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลสนับสนุนเป็ นผูก้ รอกรายละเอียด) ๔.๑ ข้ อมูลสนับสนุนจากผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้บริหารองค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นเสนอชื่อ ข้าพเจ้า – นามสกุล นายจาเนียร พรหมแก้ ว หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชน ตาแหน่ง ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ที่อยูท่ ี่สามารถติดต่อได้ เลขที่ ..... หมู่ที่ ......... ตาบล ท่าศาลา อาเภอ นครศรี ธรรมราช จังหวัดนครศรี ธรรมราช รหัสไปรษณี ย ์ ๘๐๑๖๐ เบอร์โทร มือถือ กรณี มีความเกี่ยวข้องอื่นกับผูไ้ ด้รับการเสนอชื่อ โปรดระบุ................-................... และได้รู้จกั ผูไ้ ด้รับการเสนอ ชื่อมาเป็ นระยะเวลา ๓ ปี ขอให้ขอ้ มูลว่า (นาย/ นาง /นางสาว) ชไมพร ใบเรือง เป็ นครู สอนดี โดยผูไ้ ด้รับการ เสนอชื่อได้แสดงบทบาท ความประพฤติ ความทุ่มเท เสียสละ เป็ นผูจ้ ดั กระบวนการเรี ยนรู ้ได้ดี มีผลการสอน ที่ทาให้ลูกศิษย์ประสบผลสาเร็จความก้าวหน้าทางการศึกษา หน้าที่การงาน การดาเนินชีวติ เป็ นที่ยอมรับของ ลูกศิษย์ เพือ่ นครู และชุมชน เหมาะสมที่จะได้รับการยกย่องให้เป็ น “ครู สอนดี” ดังนี้ (โปรดแนบหลักฐานเชิง ประจักษ์ถา้ มี) ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลข้างต้นเป็ นความจริ งทุกประการ (ลงนาม)........................................... (นายจาเนียร พรหมแก้ว) ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนวัดทางขึ้น ๑๙

/สิงหาคม/๒๕๕๖


๒๐

๔.๒ ข้ อมูลสนับสนุนจากเพื่อนร่ วมงาน ข้าพเจ้า – นามสกุล นายวีระศักดิ์ บุญไกร หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชน ........................................................................................................................ ที่อยูท่ ี่สามารถติดต่อได้ เลขที่...................หมู่ที่...........ตาบล......................อาเภอ..................จังหวัด................... รหัสไปรษณี ย.์ .............. เบอร์โทร..........................มือถือ.......................................... กรณี มีความเกี่ยวข้องอื่นกับผูไ้ ด้รับการเสนอชื่อ โปรดระบุ................-................... และได้รู้จกั ผูไ้ ด้รับการเสนอ ชื่อมาเป็ นระยะเวลา ............ ปี ขอให้ขอ้ มูลว่า(นาย/ นาง/นางสาว) ชไมพร ใบเรือง เป็ นครู สอนดี โดยผูไ้ ด้รับ การเสนอชื่อได้แสดงบทบาท ความประพฤติ ความทุ่มเท เสียสละ เป็ นผูจ้ ดั กระบวนการเรี ยนรู ้ได้ดี มีผลการ สอนที่ทาให้ลูกศิษย์ประสบผลสาเร็จความก้าวหน้าทางการศึกษา หน้าที่การงาน การดาเนินชีวติ เป็ นที่ยอมรับ ของลูกศิษย์ เพือ่ นครู และชุมชน เหมาะสมที่จะได้รับการยกย่องให้เป็ น “ครู สอนดี ” ดังนี้ (โปรดแนบ หลักฐานเชิงประจักษ์ถา้ มี) ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลข้างต้นเป็ นความจริ งทุกประการ (ลงนาม)........................................... (นายวิระศักดิ์ บุญไกร) ๑๙

ตาแหน่ง ครู โรงเรี ยนวัดทางขึ้น /สิงหาคม/๒๕๕๖


๒๑

๔.๓ ข้ อมูลสนับสนุนจากตัวแทนผู้ปกครองนักเรียน ข้าพเจ้า – นามสกุล หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชน ........................................................................................................................ ที่อยูท่ ี่สามารถติดต่อได้ เลขที่...................หมู่ที่...........ตาบล......................อาเภอ..................จังหวัด................... รหัสไปรษณี ย.์ .............. เบอร์โทร..........................มือถือ.......................................... กรณี มีความเกี่ยวข้องอื่นกับผูไ้ ด้รับการเสนอชื่อ โปรดระบุ................-................... และได้รู้จกั ผูไ้ ด้รับการเสนอ ชื่อมาเป็ นระยะเวลา ............ ปี ขอให้ขอ้ มูลว่า (นาย/นาง/นางสาว) ชไมพร ใบเรือง เป็ นครู สอนดี โดยผูไ้ ด้รับ การเสนอชื่อได้แสดงบทบาท ความประพฤติ ความทุ่มเท เสียสละ เป็ นผูจ้ ดั กระบวนการเรี ยนรู ้ได้ดี มีผลการ สอนที่ทาให้ลูกศิษย์ประสบผลสาเร็จความก้าวหน้าทางการศึกษา หน้าที่การงาน การดาเนินชีวติ เป็ นที่ยอมรับ ของลูกศิษย์ เพือ่ นครู และชุมชน เหมาะสมที่จะได้รับการยกย่องให้เป็ น

“ครู สอนดี ” ดังนี้ (โปรดแนบ

หลักฐานเชิงประจักษ์ถา้ มี) ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลข้างต้นเป็ นความจริ งทุกประการ

(ลงนาม)........................................... (......................................................) ๑๙

/สิงหาคม/๒๕๕๖


๒๒

๔.๔ ข้ อมูลสนับสนุนจากตัวแทนนักเรียน ข้าพเจ้า – นามสกุล หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชน ........................................................................................................................ ที่อยูท่ ี่สามารถติดต่อได้ เลขที่...................หมู่ที่...........ตาบล......................อาเภอ..................จังหวัด................... รหัสไปรษณี ย.์ .............. เบอร์โทร..........................มือถือ.......................................... เป็ นผูแ้ ทนนักเรี ยนที่เรี ยนกับผูเ้ รี ยนที่ได้รับการเสนอชื่อ โดยเรี ยนอยู่ ชั้น ............................. และรู ้จกั ผูไ้ ด้รับ การเสนอชื่อมาเป็ นเวลา ............................ปี ขอให้ขอ้ มูลว่า คุณครู ชไมพร ใบเรือง เป็ นครู สอนดีโดยข้าพเจ้า ประทับใจวิธีการสอน และการดาเนินชีวติ หรื อเป็ นแรงบันดาลใจในการพัฒนาตนเองให้เจริ ญก้าวหน้าดังนี้ (โปรดเขียนเล่ารายละเอียด) ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลข้างต้นเป็ นความจริ งทุกประการ ลงนาม)........................................... (......................................................) ๑๙

/สิงหาคม/๒๕๕๖


๒๓

๔.๕ ข้ อมูลสนับสนุนจากตัวแทนศิษย์ เก่ า ข้าพเจ้า – นามสกุล หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชน ........................................................................................................................ ที่อยูท่ ี่สามารถติดต่อได้ เลขที่...................หมู่ที่...........ตาบล......................อาเภอ..................จังหวัด................... รหัสไปรษณี ย.์ .............. เบอร์โทร..........................มือถือ.......................................... เป็ นผูแ้ ทนนักเรี ยนที่เรี ยนกับผูเ้ รี ยนที่ได้รับการเสนอชื่อ โดยเรี ยนอยู่ ชั้น ............................. และรู ้จกั ผูไ้ ด้รับ การเสนอชื่อมาเป็ นเวลา ............................ปี ขอให้ขอ้ มูลว่า คุณครู ชไมพร ใบเรือง เป็ นครู สอนดีโดยข้าพเจ้า ประทับใจวิธีการสอน และการดาเนินชีวติ หรื อเป็ นแรงบันดาลใจในการพัฒนาตนเองให้เจริ ญก้าวหน้าดังนี้ (โปรดเขียนเล่ารายละเอียด) ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลข้างต้นเป็ นความจริ งทุกประการ ลงนาม)........................................... (......................................................) ๑๙

/สิงหาคม/๒๕๕๖


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.