05chapter 3

Page 1

บทที 3 วิธีดําเนินการศึกษา การศึ กษาผลการใช้หนังสื ออ่ านเพิ มเติ ม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ิ นใต้บอกใบ้ด้วยเพลงบอก กลุ่ มสาระ การเรี ยนรู ้ ภาษาไทย สําหรับนักเรี ยนชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น อําเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช ในครั)งนี) ผูศ้ ึกษาได้กาํ หนดสาระการดําเนินการศึกษาตามขั)นตอน ดังนี) 1. ประชากรที ใช้ศึกษา 2. เครื องมือที ใช้ในการศึกษา 3. การสร้างและการหาคุณภาพเครื องมือ 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. การวิเคราะห์ขอ้ มูล 6. สถิติที ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ประชากรทีใ ช้ ศึกษา ประชากรที ใช้ศึกษาครั)งนี) ได้แก่ นักเรี ยนชั)นประถมศึ กษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น อํา เภอท่ า ศาลา จัง หวัด นครศรี ธ รรมราช สั ง กัด สํ า นัก งานเขตพื) น ที ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา นครศรี ธรรมราช เขต 4 ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2553 จํานวน 25 คน

เครื องมือทีใ ช้ ในการศึกษา การศึ กษาผลการใช้ ห นั ง สื อ อ่ า นเพิ ม เติ ม ชุ ด อนุ รั ก ษ์ ถ ิ น ใต้บ อกใบ้ด้ว ยเพลงบอก กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั)นประถมศึ กษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น มี เครื องมื อที ใช้ใน การดําเนินการดังต่อไปนี) 1. หนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุด อนุรักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น จํานวน 6 เล่ม คือ เล่ม 1 ถ้อยคําเรี ยงเสี ยงเพลงบอก เล่ม 2 ไม้พ)ืนถิ นเมื องคอน ลูกโท่ เล่ม 3 ไม้พ)ืนถิ นเมื องคอน ลูกพลา เล่ ม 4 ไม้พ)ืนถิ นเมืองคอน ดอกนมแมว เล่ม 5 ไม้พ)ืนถิ นเมืองคอน มังเร และเล่ม 6 ไม้พ)ืนถิ นเมืองคอน ลูกรกช้าง ซึ งใน หนังสื ออ่านเพิ มเติมแต่ละเล่ม กําหนดให้นกั เรี ยนทําใบกิจกรรม ๗ กิจกรรมและแบบทดสอบย่อย ๑ ชุด มีคะแนนรวมทั)งหมด 559 คะแนน จําแนกได้ดงั นี)


69 1.1 เล่ม 1 ถ้อยคําเรี ยงเสี ยงเพลงบอก 96 คะแนน 1.2 เล่ม 2 ไม้พ)ืนถิ นเมืองคอน ลูกโท่ 91 คะแนน 1.3 เล่ม 3 ไม้พ)ืนถิ นเมืองคอน ลูกพลา 91 คะแนน 1.4 เล่ม 4 ไม้พ)ืนถิ นเมืองคอน ดอกนมแมว 91 คะแนน 1.5 เล่ม 5 ไม้พ)ืนถิ นเมืองคอน มังเร 91 คะแนน 1.6 เล่ม 6 ไม้พ)ืนถิ นเมืองคอน ลูกรกช้าง 99 คะแนน 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ? ทางการเรี ยน แบบปรนัยชนิ ด 4 ตัวเลื อก จํานวน 50 ข้อ คะแนน 50 คะแนน จํานวน 1 ฉบับ 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที มีต่อการเรี ยนโดยใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ิ นใต้บอกใบ้ด้วยเพลงบอก กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั)นประถมศึ กษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น มีลกั ษณะเป็ นแบบมาตราส่ วนประมาณค่า (rating scale) ชนิ ด 5 ระดับ จํานวน 10 ข้อ จํานวน 1 ฉบับ 4. แผนการจัดการเรี ยนรู ้ หน่วยการเรี ยนรู ้ที 10 อนุรักษ์ถิ นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก จํานวน 20 แผน รวมเวลาทั)งหมด 20 ชั วโมง ประกอบด้วย แผนการจัดการเรี ยนรู ้ เล่ม ๑ และแผนการ จัดการเรี ยนรู ้เล่ม ๒

การสร้ างและการหาคุณภาพเครื องมือ ผูศ้ ึ กษาได้กาํ หนดขั)นตอนในการสร้ างเครื องมื อที ใช้ในการทดลอง และได้ดาํ เนิ นการ ตามลําดับดังนี) 1. การสร้ างหนังสื ออ่ านเพิม เติม หนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ิ นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 ผูศ้ ึกษาได้วางแผนการสร้างตามขั)นตอนดังนี) 1.1 ศึ กษาเอกสารหลักสู ตรต่าง ๆ ได้แก่ หลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั)นพื)นฐาน พุ ท ธศัก ราช 2551 แนวทางการจัด การเรี ย นรู ้ แนวปฏิ บ ตั ิ ก ารวัด และประเมิ น ผลการเรี ย นรู ้ แนวทางการพัฒ นาการวัดและประเมิ น คุ ณ ลัก ษณะอันพึ ง ประสงค์ ตามหลัก สู ต รแกนกลาง การศึกษา ขั)นพื)นฐาน พุทธศักราช 2551 และคู่มือจัดการเรี ยนรู ้ภาษาไทย 1.2 วิเคราะห์สาระการเรี ยนรู ้ ตัวชี)วดั และ เลือกสาระที จะนํามาพัฒนาเป็ น คือ สาระที 5 วรรณคดีและวรรณกรรม เพลงพื)นบ้าน หน่วยการเรี ยนรู ้ที 10 อนุรักษ์ถิ นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก 1.3 กํา หนดขอบข่ า ยในการสร้ า งหนัง สื ออ่ า นเพิ ม เติ ม ได้แก่ กํา หนดจุ ดประสงค์ กําหนดเนื) อหา กําหนดชื อเรื อง กําหนดโครงสร้ างเนื) อหา และกําหนดแนวการเขี ยนโดยศึ กษา


70 ค้นคว้าเนื)อหาจากหนังสื อ วารสาร เอกสาร อินเตอร์ เน็ต และศึกษาจากภูมิปัญญาท้องถิ น ซึ งผูศ้ ึกษา ได้แบ่งเป็ นเนื)อหาย่อย ๆ เพื อกําหนดขอบข่ายเนื)อหาที จะนําไปเขียนเนื)อเรื องในแต่ละเล่ม ทั)ง 6 เล่ม 1.4 ศึกษารายละเอียดในการสร้ างหนังสื ออ่านเพิ มเติม ได้แก่ ศึกษาทฤษฎี และแนว การเขียนหนังสื ออ่านเพิ มเติ มของนักวิชาการต่าง ๆ รวมทั)งศึกษางานวิจยั ที เกี ยวข้องกับการสร้ าง หนังสื ออ่านเพิ มเติม เพื อใช้เป็ นแนวทางในการสร้างหนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ ด้วยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น 1.5 สร้างหนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุด อนุรักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น ที ครอบคลุมทั)งเนื) อหาและตัวชี) วดั ที กาํ หนด และเรี ยงลําดับจากตัวชี)วดั ง่ายไปหายากโดยสร้างหนังสื ออ่านเพิ มเติมตามแนวการเขียนหนังสื ออ่าน เพิ มเติมของจินตนา ใบกาซู ยี (2538 : 52-65) และการเขียนหนังสื ออ่านเพิ มเติม จากหนังสื อนวัตกรรม การศึกษา ชุ ด การเขียนหนังสื ออ่านเพิ มเติม ของ ถวัลย์ มาศจรัส (2548 : 1 - 48) ซึ งกําหนดรู ปแบบเป็ น ประเภทร้อยแก้ว หรื อความเรี ยง โดยใช้ตวั ละครในการดําเนิ นเรื อง ใน เล่ม1 และส่ วนเล่ม 2 – 6 กําหนดรู ปแบบเป็ นบทร้ อยกรอง ประเภทกลอนเพลงบอก ภาพประกอบนั)นใช้ภาพวาด และมี ภาพถ่ ายประกอบเพียงเล็กน้อยเพื อเสริ มความชัดเจนของเรื อง วางภาพประกอบทั)งด้านบนและ ด้านล่างของตัวหนังสื อ ใช้ตวั อักษร 22 พอยท์ และ 24 พอยท์ และมีส่วนต่าง ๆ ของหนังสื ออ่านเพิ มเติม คือ หน้าปก ใบรองปก ปกใน คํานํา สารบัญ เนื) อเรื อง คํายากที ควรรู ้ ภาษาถิ นใต้ ใบกิ จกรรม แบบทดสอบ เฉลยแบบทดสอบ บรรณานุ กรม และผูใ้ ห้ขอ้ มูล จํานวน 6 เล่ ม ใช้เวลา 20 ชัว โมง ดังตารางที 1 ต่อไปนี) ตารางที 1 แสดงเนื)อหาของหนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุด อนุรักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น แผนการจัดการเรี ยนรู ้ และจํานวนชัว โมง หนังสื ออ่ านเพิม เติม (จํานวน 6 เล่ ม) เล่มที 1 เล่มที 2 เล่มที 3 เล่มที 4 เล่มที 5 เล่มที 6

แผนการจัดการเรี ยนรู้ จํานวนชั วโมง หน่ วยการเรียนรู้ ที 10 ( 20 ชั วโมง) ถ้อยคําเรี ยงเสี ยงเพลงบอก 4 แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที 1-4 ไม้พ)ืนถิ นเมืองคอน ลูกโท่ 3 แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที 5-7 ไม้พ)ืนถิ นเมืองคอน ลูกพลา 3 แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที 8-10 ไม้พ)ืนถิ นเมืองคอน ดอกนมแมว แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที 11-13 3 ไม้พ)ืนถิ นเมืองคอน มังเร 3 แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที 14-16 4 ไม้พ)ืนถิ นเมืองคอน ลูกรกช้าง แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที 17-20 เรื อง / เนือ0 หา


71 1.6 นําหนังสื ออ่านเพิ มเติมที สร้ างขึ)น ไปให้ผูเ้ ชี ยวชาญ ชุ ดที 1 จํานวน 3 ท่าน (ภาคผนวก ก หน้า 109) เพื อประเมินคุ ณภาพหนังสื อในด้านรู ปเล่มและการพิมพ์ ภาพประกอบ เนื)อเรื อง การใช้ภาษา และ คุณค่าและประโยชน์ที จะได้รับ ซึ งผูเ้ ชี ยวชาญประกอบด้วย ดังนี) 1.6.1 นางทัศวลี วงศ์สวัสดิ? ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชํานาญการพิเศษ โรงเรี ยน อนุบาลตรัง อําเภอเมือง จังหวัดตรัง สํานักงานเขตพื)นที การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ซึ งเป็ น ผูเ้ ชี ยวชาญด้านการสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย 1.6.2 นางเยาวภาณี พงศ์ก ระทุ ง ตํา แหน่ ง ครู วิ ท ยฐานะ ชํา นาญการพิ เ ศษ โรงเรี ยนวัดจันทร์ อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรี ธรรมราช สํานักงานเขตพื)นที การศึกษาประถม นครศรี ธรรมราช เขต 1 ซึ งเป็ นผูเ้ ชี ยวชาญด้านการสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย 1.6.3 นางวัฒนา เดียวกี ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชํานาญการพิเศษ โรงเรี ยนวัด ทางขึ) น อํา เภอท่ า ศาลา จัง หวัดนครศรี ธ รรมราช สํา นัก งานเขตพื)นที ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา นครศรี ธรรมราช เขต 4 ซึ งเป็ นผูเ้ ชี ยวชาญด้านการสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย การประเมิ น คุ ณ ภาพหนัง สื อ ใช้เ กณฑ์ ข องลิ เ คิ ร์ ต (Likert) เป็ นแบบมาตราส่ ว น ประมาณค่า (Rating Scale) (สมบูรณ์ สุ ริยวงศ์, สมจิตรา เรื องศรี และ เพ็ญศรี เศรษฐวงศ์, 2544 : 116) ชนิด 5 ระดับ คือ ระดับ 1 หมายถึง ระดับน้อยที สุด ระดับ 2 หมายถึง ระดับน้อย ระดับ 3 หมายถึง ระดับปานกลาง ระดับ 4 หมายถึง ระดับมาก ระดับ 5 หมายถึง ระดับมากที สุด การแปลความหมายค่าเฉลี ยเป็ น 5 ระดับ (สมบูรณ์ สุ ริยวงศ์, สมจิตรา เรื องศรี และ เพ็ญศรี เศรษฐวงศ์, 2544 : 116) ดังนี) 1.00 - 1.50 หมายถึง ระดับน้อยที สุด 1.51 - 2.50 หมายถึง ระดับน้อย 2.51 - 3.50 หมายถึง ระดับปานกลาง 3.51 - 4.50 หมายถึง ระดับมาก 4.51 - 5.00 หมายถึง ระดับมากที สุด 1.7 นําคะแนนการประเมินคุณภาพหนังสื ออ่านเพิ มเติมมาแปลผลเทียบกับเกณฑ์ของ สมบูรณ์ สุ ริยวงศ์, สมจิตรา เรื องศรี และ เพ็ญศรี เศรษฐวงศ์ (2544 : 116) ปรากฏว่า ได้ค่าเฉลี ย เท่ากับ 4.46 ซึ งอยูใ่ นระดับมาก (ภาคผนวก ข หน้า 113) ผูเ้ ชี ยวชาญเสนอแนะให้ปรับปรุ งเกี ยวกับ


72 การใช้ภาษาในเนื)อเรื องให้เข้าใจง่าย ตรงประเด็น แก้ไขใบกิจกรรมให้สอดคล้องกับตัวชี) วดั และ ให้มีความยากง่ายเหมาะสมกับนักเรี ยน 1.8 นําหนังสื ออ่า นเพิ ม เติ ม มาปรั บปรุ งตามคํา แนะนําของผูเ้ ชี ยวชาญ แล้วนํา ไป ทดลองหาประสิ ทธิ ภาพขั)นตอนที 1 ในรู ปแบบทดลองรายบุคคล 1 : 1 จํานวน 3 คน (เก่ง อ่อน ปานกลาง) ใช้กบั นักเรี ยนชั)นประถมศึกษาปี ที 6 ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2552 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น อําเภอ ท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช ที ไม่ใช่กลุ่มประชากร โดยชี) แจงวัตถุประสงค์และวิธีการปฏิบตั ิ กิ จกรรมให้นักเรี ยนทราบ แล้วให้นักเรี ยนศึ ก ษาหนังสื ออ่านเพิ มเติ มและคอยดู แลอย่างใกล้ชิ ด จน กระทัง ปฏิบตั ิครบทุกกิจกรรม ปรากฏว่ามีค่าประสิ ทธิ ภาพ (E1 / E2) เท่ากับ 62.55 / 60.00 (ภาคผนวก ข หน้า 114) แล้วนําข้อบกพร่ องมาปรับปรุ งแก้ไขเกี ยวกับกิจกรรมที ให้นกั เรี ยนทํา ซึ งมีกิจกรรมมาก เกินไป และยากเกินไป ปรับให้มีความเหมาะสมกับระยะเวลาในการจัดกิจกรรม 1.9 นําหนังสื ออ่านเพิ มเติ มที ได้ปรั บปรุ งแก้ไขแล้ว ไปทดลองหาประสิ ทธิ ภาพ ขั)นตอนที 2 ในรู ปแบบทดลองกลุ่มย่อย 1 : 10 จํานวน 10 คน (เก่ง อ่อน ปานกลาง) ใช้กบั นักเรี ยน ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2552 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น อําเภอท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธ รรมราช ที ไ ม่ ใ ช่ ก ลุ่ ม ประชากร โดยชี) แจงวัตถุ ป ระสงค์และวิธี ก ารปฏิ บ ตั ิ กิ จกรรมให้ นักเรี ยนทราบ แล้วให้นักเรี ยนศึ กษาหนังสื ออ่านเพิ มเติ ม และคอยดู แลอย่า งใกล้ชิด จนกระทัง ปฏิ บตั ิครบทุกกิจกรรม ปรากฏว่า มีค่าประสิ ทธิ ภาพ (E1/E2) เท่ากับ 73.08 / 70.40 (ภาคผนวก ข หน้า 115) นําข้อบกพร่ องมาปรับปรุ งแก้ไขเกี ยวกับการใช้ภาษาในข้อคําถามในใบกิ จกรรมและ แบบทดสอบย่อย 1.10 นําหนังสื ออ่านเพิ มเติมที ปรับปรุ งแก้ไขตามข้อเสนอแนะแล้ว ไปทดลองหา ประสิ ทธิ ภาพในรู ปแบบทดลองภาคสนาม 1 : 30 โดยใช้กบั นักเรี ยน จํานวน 30 คน (เก่ง อ่อน ปานกลาง) ที ไม่ใช่กลุ่มประชากร คือ นักเรี ยนชั)นประถมศึกษาปี ที 6 ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2552 โรงเรี ยน วัดทางขึ)น จํานวน 15 คนและโรงเรี ยนวัดดอนใคร ซึ งเป็ นโรงเรี ยนในเครื อข่ายเดียวกัน จํานวน 15 คน เพื อ ศึ ก ษาดู ค วามเหมาะสมของเนื) อ หา กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ การวัด และประเมิ น ผลและ ระยะเวลาการใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม ปรากฏว่ามีค่าประสิ ทธิ ภาพ (E1 / E2) เท่ากับ 83.48 / 81.53 (ภาคผนวก ข หน้า 117) แล้วนํามาปรับปรุ งแก้ไขเพียงเล็กน้อยเกี ยวกับการพิมพ์ และการเว้นวรรค 1.11 จัดทําหนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ิ นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขื)น ฉบับสมบูรณ์ เพื อนําไปใช้กบั นักเรี ยน ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2553 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น อําเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช จํานวน 25 คน ซึ งเป็ นกลุ่ มประชากร แล้วหาค่าประสิ ทธิ ภาพ (E1/E2) เทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที ต) งั ไว้ 80/80 ต่อไป


73 2. การสร้ างแบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ8ทางการเรียน การสร้ างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ? ทางการเรี ยน กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 ผูศ้ ึกษาได้ดาํ เนินการสร้างตามขั)นตอน ดังนี) 2.1 ศึ กษาเอกสารประกอบหลักสู ตรกลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ตามหลักสู ตร แกนกลางการศึกษาขั)นพื)นฐานพุทธศักราช 2551 วิธีการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริ ง วิธีวดั ผล ประเมินผล และวิธีการประเมินคุ ณลักษณะอันพึงประสงค์ และเอกสารงานวิจยั ต่าง ๆ ที เกี ยวข้อง กับการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ?ทางการเรี ยน 2.2 วิเคราะห์สาระการเรี ยนรู ้ และตัวชี) วดั เพื อกําหนดจํานวนข้อสอบให้ครอบคลุ ม และตรงตัวชี)วดั ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ?ทางการเรี ยน 2.4 ศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบจากหนังสื อวิจยั ชั)นเรี ยน : หลักการและเทคนิ คปฏิบตั ิ ของพิสณุ ฟองศรี (2550 : 135-157 ) 2.5 สร้ า งแบบทดสอบวัดผลสัม ฤทธิ? ทางการเรี ย น เพื อใช้ใ นการประเมิ นความรู ้ ความเข้าใจ ความสามารถ และทักษะทางภาษา โดยใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ ด้วยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น เป็ นแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก ให้ครอบคลุมเนื)อหา จํานวน 60 ข้อ 2.3 สร้ างตารางวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ? ทางการเรี ยน เพื อประเมินค่า ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ?ทางการเรี ยนของผูเ้ ชี ยวชาญ 2.4 นํา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ? ทางการเรี ยนที ส ร้ างขึ)น ไปเสนอให้ผูเ้ ชี ยวชาญ ชุดที 2 (ภาคผนวก ก หน้า 110) จํานวน 3 ท่าน ซึ งประกอบด้วย 2.4 .1 นายสุ ภาพ ดวงมุสิก ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชํานาญการพิเศษ โรงเรี ยน วัดดอนใคร อําเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช สํานักงานเขตพื)นที การศึกษาประถมศึกษา นครศรี ธรรมราช เขต 4 ซึ งเป็ นผูเ้ ชี ยวชาญด้านการวัดผลประเมินผล 2.4 .2 นางสาวมณฑาทิพย์ ไชยมงคล ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชํานาญการพิเศษ โรงเรี ยนบ้านนา อําเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรี ธรรมราช สํานักงานเขตพื)นที การศึกษาประถมศึกษา นครศรี ธรรมราช เขต 2 ซึ งเป็ นผูเ้ ชี ยวชาญด้านการวัดผลประเมินผล 2.4 .3 นางเยาวภาณี พงศ์ก ระทุ ง ตํา แหน่ ง ครู วิท ยฐานะ ชํา นาญการพิ เศษ โรงเรี ยนวัดจันทร์ อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรี ธรรมราช สํานักงานเขตพื)นที การศึกษาประถมศึกษา นครศรี ธรรมราช เขต 1 ซึ งเป็ นผูเ้ ชี ยวชาญด้านการสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย เพื อประเมิ นค่ าดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) ระหว่างแบบทดสอบกับตัวชี) ว ดั โดยใช้สู ตร (พิ สณุ ฟองศรี , 2550 : 178-179) แล้วนํามาหาค่าดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) โดยกําหนดค่าดัชนี ความสอดคล้อง


74 (IOC) ตั)ง แต่ .50 ขึ) น ไป ปรากฏว่า ได้ค่ า ดัช นี ค วามสอดคล้อ ง (IOC) เฉลี ย ตั)ง แต่ 0.66 - 1.00 (ภาคผนวก ค หน้า 119) แล้วนํามาปรับปรุ งแก้ไขเพิ มเติมเกี ยวกับการใช้ภาษาในข้อคําถามที จะวัด ความเข้า ใจการอ่ า น ให้ ค รอบคลุ ม ความสามารถการอ่ า นของนัก เรี ย นตามข้อ เสนอแนะของ ผูเ้ ชี ยวชาญ 2.5 คัดเลื อกแบบทดสอบวัดผลสั ม ฤทธิ? ทางการเรี ย นที มี ค่ าดัช นี ค วามสอดคล้อง (IOC) ตั)งแต่ .50 ขึ)นไป และมีความครอบคลุ มเนื) อหาตามตัวชี) วดั จํานวน 50 ข้อไปทดลองใช้กบั นักเรี ยนชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง และโรงเรี ยนวัดดอนใคร อําเภอท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2552 จํานวน 30 คนที ไม่ใช่ กลุ่มประชากรและอยูใ่ น กลุ่ มเครื อข่ายเดี ยวกัน แล้วนํามาหาค่าความยากง่ าย (p) ของแบบทดสอบ โดยคํานวณจากสู ตร (พิสณุ ฟองศรี , 2550 : 183-184) เกณฑ์ที ใช้ในการคัดเลื อกแบบทดสอบที มีความยากง่าย (p) อยู่ระหว่าง .20-.80 และหาค่าอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบที มีค่าเฉลี ยตั)งแต่ .20 ขึ)นไป ปรากฏว่า มีค่าความยากง่ าย (p) เฉลี ยตั)งแต่ .66 - .80 และค่าอํานาจจําแนก (r) เฉลี ยตั)งแต่ .40-80 (ภาคผนวก ค หน้า 122 - 124) จากนั)นนํามาหาคุ ณภาพของแบบทดสอบโดยการตรวจให้คะแนน คือ ตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิดหรื อไม่ตอบให้ 0 คะแนน แล้วหาค่าความเชื อมัน โดยใช้สูตรค่า KR-20 ของคูเดอร์ ริ ชาร์ ดสัน (พิสณุ ฟองศรี , 2550 :180) ปรากฏว่ามีค่าความเชื อมัน เท่ากับ 0.82 (ภาคผนวก ค หน้า 125 - 129) 2.6 จัดทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ?ทางการเรี ยนฉบับสมบูรณ์ จํานวน 50 ข้อ พร้อม แบบเฉลย (ภาคผนวก ฉ หน้า 138 ) เพื อนําไปใช้กบั นักเรี ยนชั)นประถมศึกษาปี ที 6 ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึ กษา 2553 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น อําเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช จํานวน 25 คน ซึ งเป็ นกลุ่มประชากร แล้วเปรี ยบเทียบผลการทดลองต่อไป 3. การสร้ างแบบสอบถามความพึงพอใจ การสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนชั)นประถมศึกษาปี ที 6 ที มีต่อการเรี ยน โดยใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น ผูศ้ ึกษาได้ดาํ เนินการตามขั)นตอน ดังนี) 3.1 ศึกษาข้อมูลเบื)องต้นในการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที มีต่อ การเรี ยนโดยใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม และศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามจากหนังสื อวิจยั ชั)นเรี ยน : หลักการและเทคนิ คปฏิบตั ิของพิสณุ ฟองศรี (2550 : 139-140) รวมทั)งศึกษางานวิจยั และตัวอย่าง แบบสอบถามความพึงพอใจของผูว้ จิ ยั อื น ๆ


75 3.2 สร้ างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที มี ต่อการเรี ยนโดยใช้หนังสื อ อ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น จํานวน 15 ข้อ ต้องการใช้จริ ง 10 ข้อ จํานวน 1 ฉบับ ซึ งเป็ นแบบมาตราส่ วน ประมาณค่า (Rating Scale) ชนิ ด 5 ระดับ (สมบูรณ์ สุ ริยวงศ์, สมจิตรา เรื องศรี และ เพ็ญศรี เศรษฐวงศ์ (2544 : 116) โดยกําหนดช่วงความรู ้สึกเป็ น 5 ระดับ คือ ความพึงพอใจมากที สุด ความพึงพอใจมาก ความพึงพอใจปานกลาง ความพึงพอใจน้อย และความพึงพอใจน้อยที สุด 3.3 สร้างตารางวิเคราะห์แบบสอบถามเพื อการประเมินคุณภาพของผูเ้ ชี ยวชาญ 3.4 นํา แบบสอบถามที ส ร้ า งขึ) นไปเสนอให้ ผู ้เ ชี ย วชาญชุ ด ที 2 จํา นวน 3 ท่ า น (ภาคผนวก ก หน้า 110 ) ประเมิ นค่าดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) ของแบบสอบถาม โดยการพิจารณา ความคิดเห็ นของผูเ้ ชี ยวชาญ ใช้เกณฑ์ของสมบูรณ์ สุ ริยวงศ์, สมจิ ตรา เรื องศรี และ เพ็ญศรี เศรษฐวงศ์ (2544 : 116) โดยกําหนดค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ในแต่ละข้อตั)งแต่ 0.50 ขึ)นไป 3.5 ผลการประเมินค่าดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) ของแบบสอบถามจากผูเ้ ชี ยวชาญ มีค่าเฉลี ยตั)งแต่ 0.66 - 1.00 ภาคผนวก ง หน้า 131) ปรับปรุ งการใช้ภาษาในข้อคําถามให้ตรงประเด็น เข้าใจง่ายและเหมาะสมกับระดับชั)นของผูต้ อบแบบสอบถามตามข้อเสนอแนะของผูเ้ ชี ยวชาญ 3.6 นําแบบสอบถามที ไ ด้ปรั บ ปรุ งแล้ว ไปทดสอบหาค่าความเชื อมัน โดยทดลอง กับนักเรี ยนชั)นประถมศึ กษาปี ที 6 โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง และโรงเรี ยนวัดดอนใคร อําเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2552 ที ไม่ใช่กลุ่มประชากร จํานวน 30 คน 3.7 คํานวณหาค่าความเชื อมัน ของแบบสอบถามโดยใช้สูตรการหาค่าสัมประสิ ทธิ? แอลฟา (α-Coefficient) ของครอนบัค (Cronbach) (พิสณุ ฟองศรี ,2550 : 181 ) ปรากฏว่า ได้ค่า ความเชื อมัน เท่ากับ 0.87 (ภาคผนวก ง หน้า 133) 3.8 จัดพิ มพ์แบบสอบถามความพึ ง พอใจฉบับ สมบู รณ์ จํา นวน 10 ข้อ เพื อใช้ใ น การสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนชั)นประถมศึ กษาปี ที 6 ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึ กษา 2553 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น อําเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช จํานวน 25 คน ซึ งเป็ นกลุ่มประชากร แล้วแปลผลเทียบกับเกณฑ์ต่อไป (ภาคผนวก ฉ หน้า 145) 4. การสร้ างและหาคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ 4.1 ศึ ก ษาหลัก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั)น พื) น ฐาน พุ ท ธศัก ราช 2551 เกี ย วกับ หลักการ จุดหมาย โครงสร้ าง สาระการเรี ยนรู ้ มาตรฐานการเรี ยนรู ้ ตัวชี) วดั การจัดการเรี ยนรู ้ สื อการเรี ยนการสอน การวัดและประเมินผล และศึกษาจากเอกสารประกอบหลักสู ตรต่าง ๆ ได้แก่ แนวทางการจัดการเรี ยนรู ้ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั)นพื)นฐาน พุทธศักราช 2551 (สํานัก


76 วิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2553 : 1-112) แนวปฏิบตั ิการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ตาม หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั)นพื)นฐาน พุทธศักราช 2551 (สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2553 : 1-200) และแนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสู ตร แกนกลางการศึกษาขั)นพื)นฐาน พุทธศักราช 2551 (สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2553 : 1-152) 4.2 ศึ ก ษาตัว ชี) วัด และสาระการเรี ย นรู ้ ภ าษาไทย (สํ า นัก วิ ช าการและมาตรฐาน การศึกษา, 2551 : 1-70) และหลักสู ตรสถานศึกษาของโรงเรี ยนวัดทางขึ)น กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย (โรงเรี ยนวัดทางขึ)น, 2553 : 1-69) เพื อวิเคราะห์หลักสู ตร มาตรฐานการเรี ยนรู ้ ตัวชี) วดั ของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทยเกี ยวกับความรู ้ ทักษะ กระบวนการ และค่านิ ยมคุ ณธรรมและ จริ ยธรรม 4.3 ศึ กษาวิธีจดั กิ จกรรมการเรี ยนรู ้ รู ปแบบ เทคนิ คการสอนจากคู่มื อครู แนวการจัด การเรี ยนรู ้ภาษาไทย และเอกสารต่าง ๆ เพื อใช้ประกอบการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ 4.4 วิเคราะห์ความสัมพันธ์โครงสร้ างของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ เช่ น สาระสําคัญ มาตรฐานการเรี ยนรู ้ ตัวชี)วดั จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ สาระการเรี ยนรู ้ กิจกรรมการเรี ยนรู ้ สื อการ เรี ยนการสอน การวัดและประเมินผล 4.5 เขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ หน่ วยการเรี ยนรู ้ ที 10 ประกอบด้วย มาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี) วดั สาระสําคัญ จุ ดประสงค์การเรี ยนรู ้ สาระการเรี ยนรู ้ กระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ โดยมี ขั)นตอน คื อ ขั)นนําเข้ากระบวนการเรี ยนรู ้ ขั)นการจัดกระบวนการเรี ยนการสอน ขั)นสรุ ปกระบวนการ เรี ยนรู ้ สื อและแหล่งเรี ยนรู ้ และการวัดและการประเมินผล จํานวน 20 แผน ใช้เวลาสอนแผนละ 1 ชัว โมง จํานวน 20 ชัว โมง 4.6 สร้างแบบประเมินคุณภาพแผนการจัดการเรี ยนรู ้สําหรับผูเ้ ชี ยวชาญประเมินโดย อ้ า งอิ ง จากเอกสารประเมิ น คุ ณ ภาพแผนการจัด การเรี ยนรู ้ สื อการเรี ยนรู ้ ข องสํ า นั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั)นพื)นฐาน ใช้เกณฑ์ของลิเคิร์ต (Likert) เป็ นแบบมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) (สมบูรณ์ สุ ริยวงศ์, สมจิตรา เรื องศรี และ เพ็ญศรี เศรษฐวงศ์, 2544 : 116) ชนิ ด 5 ระดับ 4.7 นําแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที สร้างขึ)นไปให้ผเู ้ ชี ยวชาญ ชุ ดที 1 (ภาคผนวก ก หน้า 109) เพื อประเมินคุณภาพ 4.8 นําคะแนนที ได้จากการประเมินคุณภาพแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ของผูเ้ ชี ยวชาญมา หาค่าเฉลี ยเทียบกับเกณฑ์ และแปลความหมายค่าเฉลี ยเป็ น 5 ระดับ (สมบูรณ์ สุ ริยวงศ์, สมจิตรา เรื องศรี เพ็ญศรี เศรษฐวงศ์, 2544 : 116) โดยกําหนดเกณฑ์ ค่ าเฉลี ยความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ใช้คะแนนเฉลี ยรายข้อ ถ้าแต่ละข้อคํานวณค่าเฉลี ยตั)งแต่ 3.50 ขึ)นไป ถือว่าใช้ได้ ถ้าคะแนนข้อใด


77 ตํ ากว่า นี) ต้องพิจารณาถึ งเหตุ ผลเป็ นรายข้อ ผลการแปลความหมายจาก การประเมิ นคุ ณภาพ แผนการจัด การเรี ยนรู ้ ข องผู ้เ ชี ย วชาญ มี ค่ า เฉลี ย เท่ า กับ 4.48 (ภาคผนวก จ หน้ า 135-136) หมายความว่า แผนการจัดการเรี ยนรู ้มีความเหมาะสมในระดับมาก 4.9 นําแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที ผเู ้ ชี ยวชาญเสนอแนะมาปรับปรุ ง ดังนี) 4.9.1 แก้ไ ขกิ จกรรมที ใ ช้ใ นกระบวนการจัดการเรี ย นรู ้ เพื อส่ ง เสริ ม นักเรี ย น พัฒนาทั)งด้านความรู ้ ทักษะ กระบวนการและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4.9.2 ปรั บปรุ งการใช้คาํ การใช้ภาษาที ไม่ชัดเจน วกวน ให้เข้าใจง่ ายและตรง ประเด็นขึ)น เพื อให้เหมาะสมที จะใช้กบั ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 4.9.3 ปรับปรุ งเกณฑ์การให้คะแนนในการวัดและประเมินผลให้เหมาะสม และ ปรับปรุ งเวลาที ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ 4.10 จัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ฉบับสมบูรณ์ จํานวน 20 แผน รวม 20 ชั วโมง เพื อนําไปใช้กบั นักเรี ยนชั)นประถมศึกษาปี ที 6 ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2553 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น อําเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช จํานวน 25 คน

การเก็บรวบรวมข้ อมูล ผูศ้ ึกษาดําเนินการโดยใช้แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pre – test , Post- test Design ดังรายละเอียดต่อไปนี) 1. แบบแผนการทดลอง ผูศ้ ึกษาใช้แบบแผนการทดลอง ดังตารางที 2 ตารางที 2 แสดงแบบแผนการทดลองใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุด อนุรักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ ด้วยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น Group R

Pre – test O1

Treatment X

Post – test O2


78 แทน กลุ่มประชากร แทน การวัดผลสัมฤทธิ?ทางการเรี ยนก่อนการทดลองใช้หนังสื อ อ่านเพิ มเติม X แทน การทดลองใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม O2 แทน การวัดผลสัมฤทธิ?ทางการเรี ยนหลังการทดลองใช้หนังสื อ อ่านเพิ มเติม ที มา : ดัดแปลงจาก พิสณุ ฟองศรี (2550 : 180)

R O1

2. วิธีการดําเนินการทดลอง ในการศึกษาครั)งนี) เป็ นการทดลองใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ ด้วยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น กับนักเรี ยน กลุ่มทดลอง จํานวน 25 คน โดยผูศ้ ึกษาได้ทาํ การทดลองด้วยตนเอง ในปี การศึกษา 2553 ภาคเรี ยนที 2 จํานวน 20 ชัว โมง ตามขั)นตอน ดังนี) 2.1 เริ มดําเนิ นการทดลอง โดยการให้ความรู ้ ความเข้าใจในรู ปแบบการเรี ยน และ วิธี ก ารใช้ห นัง สื อ อ่ า นเพิ ม เติ ม ชุ ด อนุ รั ก ษ์ถ ิ น ใต้บ อกใบ้ด้วยเพลงบอก กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น 2.2 ทําการทดสอบก่อนเรี ยน (Pre-test ) ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ? ทางการเรี ยน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 จํานวน 50 ข้อ ใช้เวลา 50 นาที 2.3 ดําเนิ นการสอนตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ หน่วยการเรี ยนรู ้ ที 10 อนุ รักษ์ถิ นใต้ บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก โดยใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่ม สาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น ที ผศู ้ ึกษาสร้างขึ)น ในระหว่าง วันที 7 - 22 กุมภาพันธ์ 2554 2.4 เก็บรวบรวมข้อมูลขณะดําเนิ นการสอนตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ ได้แก่ สังเกต กระบวนการทํางาน สังเกตพฤติกรรมรายบุคคลในขณะปฏิ บตั ิกิจกรรม ตรวจผลงานและทดสอบย่อย ท้ายเล่มทุกเล่ม 2.5 เมื อดํา เนิ นการสอนเสร็ จสิ) นแล้ว จึ งทดสอบหลังเรี ยน(Post-test) ด้วยแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ? ทางการเรี ยน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 ฉบับเดิม จํานวน 50 ข้อ ใช้เวลา 50 นาที ตรวจผลการสอบและเก็บคะแนนของแต่ละคน เพื อนําไปวิเคราะห์ทางสถิติ 2.6 นําคะแนนที นกั เรี ยนทําใบกิจกรรมและทดสอบย่อยระหว่างเรี ยน และแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ? ทางการเรี ยนมาวิเคราะห์ เพื อหาประสิ ทธิ ภาพของหนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์


79 ถิ นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั)นประถมศึ กษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น (E1/ E2) 2.7. นําคะแนนจากการทดสอบก่อนเรี ยน ( Pre -Test) และคะแนนจากการทดสอบ หลังเรี ยน (Post–Test) มาวิเคราะห์เพื อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ? ทางการเรี ยนที เรี ยนโดยใช้หนังสื อ อ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษา ปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น 2.8 ให้ นัก เรี ย นทํา แบบสอบถามความพึ ง พอใจของนัก เรี ย นที มี ต่ อการเรี ย นโดย หนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ิ นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั)น ประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น 2.9 นําคะแนนที นกั เรี ยนทําแบบสอบถามความพึงพอใจที มีต่อหนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ิ นใต้บอกใบ้ด้วยเพลงบอก กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั)นประถมศึ กษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น มาวิเคราะห์ทางสถิติ

การวิเคราะห์ ข้อมูล ผูศ้ ึกษาได้ดาํ เนินการวิเคราะห์ตามลําดับขั)นตอน ดังนี) 1. วิเคราะห์ความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ?ทางการเรี ยน 2. วิเคราะห์หาความยากง่าย (P) และหาค่าอํานาจจําแนกของข้อสอบ (r) โดยใช้สูตร (พิสณุ ฟองศรี ,2550 : 183 -184) 3. วิเคราะห์ หาความเชื อมัน ของแบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ? ทางการเรี ยน โดยใช้สู ตรคู เดอร์ ริ ชาร์ ดสัน จากสู ตร KR - 20 (พิสณุ ฟองศรี , 2550 : 180-181) 4. หาประสิ ท ธิ ภาพของหนัง สื ออ่ า นเพิ ม เติ ม ชุ ด อนุ รัก ษ์ถ ิ นใต้บ อกใบ้ด้วยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น โดยใช้สูตร E1/E2 5. เปรี ยบเที ยบผลสัมฤทธิ? ทางการเรี ยนของนักเรี ยนก่ อนและหลังเรี ยนโดยใช้หนังสื อ อ่านเพิ มเติม ชุด อนุรักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ)น โดยการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ (t - test แบบ Dependent) 6. ศึ ก ษาความพึ ง พอใจของนัก เรี ย นที มี ต่ อ การเรี ย นโดยใช้ห นัง สื อ อ่ า นเพิ ม เติ ม ชุ ด อนุรักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั)นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยน วัดทางขึ)น โดยการหาค่าเฉลี ย ( X ) และค่าเบี ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) แล้วแปลผลเทียบกับเกณฑ์


80

สถิติทใี ช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล 1. สถิติที ใช้หาประสิ ทธิ ภาพของหนังสื ออ่านเพิ มเติม ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 โดยใช้สูตร E 1 /E 2 (พิสณุ ฟองศรี , 2550 : 185-186) ∑X N × 100 สู ตร E 1 = A เมื อ

เมื อ

E1 ∑X A N

แทน ประสิ ทธิ ภาพของกระบวนการ แทน ผลรวมของคะแนนที ได้จากการวัดระหว่างเรี ยน แทน คะแนนเต็มจากการวัดระหว่างเรี ยน แทน จํานวนผูเ้ รี ยน ∑Y สู ตร E2 = N × 100 B E2 แทน ประสิ ทธิ ภาพของผลลัพธ์ ∑ Y แทน ผลรวมของคะแนนที ได้จากการทดสอบหลังเรี ยน B แทน คะแนนเต็มของการทดสอบหลังเรี ยน N แทน จํานวนผูเ้ รี ยน 2. สถิติที ใช้ในการหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ?ทางการเรี ยน 2.1 การหาค่าความเที ยงตรง (Validity) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ?ทางการ เรี ยน โดยใช้สูตรความสอดคล้อง IOC (พิสณุ ฟองศรี , 2550 : 178-179) R IOC = ∑ N

เมื อ

IOC

∑R N

แทน ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบแต่ละข้อ กับจุดประสงค์ แทน ผลรวมคะแนนของผูเ้ ชี ยวชาญทั)งหมด แทน จํานวนผูเ้ ชี ยวชาญทั)งหมด


81 2.2 การหาค่าความยากง่าย (difficulty) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ? ทางการเรี ยน ใช้สูตร P โดยคํานวณจากสู ตร (พิสณุ ฟองศรี , 2550 :183) ค่าความยากง่าย(p) =

จํานวนผูต้ อบถูก จํานวนผูส้ อบทั)งหมด

2.3 การหาค่ า อํา นาจจํา แนก(discrimination)ของแบบทดสอบวัด ผลสั ม ฤทธิ? ทางการเรี ยน โดยใช้สูตร r (พิสณุ ฟองศรี ,2550 : 183 -184) ค่าอํานาจจําแนก (r) =

จํานวนคนกลุ่มสู งตอบถูก – จํานวนคนกลุ่มตํ าตอบถูก จํานวนคนกลุ่มสู งหรื อกลุ่มตํ า

2.4 การหาความเชื อมัน (reliability) ของ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ? ทางการเรี ยน โดยใช้สูตรคูเดอร์ ริ ชาร์ ดสัน จากสู ตร KR - 20 (พิสณุ ฟองศรี , 2550 : 180-181) KR − 20 =

เมื อ

K N p q Sx

2

แทน แทน แทน แทน แทน

K  Σpq  1 −  K − 1  Sx 2 

จํานวนข้อสอบ จํานวนผูส้ อบ สัดส่ วนของคนที ตอบถูก สัดส่ วนของคนที ตอบผิด ความแปรปรวนของคะแนนที สอบได้


82 2.5 สถิติที ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี ยก่อนเรี ยน และหลังเรี ยนโดยใช้ t – test แบบ Dependent Sample (พิสณุ ฟองศรี ,2550 : 174) ใช้สูตร t =

∑D N∑ D − (∑ D ) N −1 2

2

เมื อ D คือ ผลต่างระหว่างข้อมูลแต่ละคู่ Σ D คือ ผลรวมทั)งหมดของผลต่างระหว่างข้อมูลแต่ละคู่ 2 Σ D คือ ผลรวมทั)งหมดของผลต่างระหว่างข้อมูลแต่ละคู่ ยกกําลังสอง N คือ จํานวนประชากร 3. การวิเคราะห์หาความเชื อมัน ของแบบสอบถามความพึงพอใจ คํานวณโดยใช้ค่าสัมประ สิ ทธ์แอลฟา (α-Coefficient)ใช้สูตรครอนบัค (Cronbach) (พิสณุ ฟองศรี ,2550 : 181) α=

เมื อ

2 k  ∑S i  1 −   k − 1  st2 

α k

∑S S 2t

2

i

แทน แทน แทน แทน

สัมประสิ ทธิ?ของความเชื อมัน ของแบบสอบถาม จํานวนข้อของเครื องมือ ความแปรปรวนของข้อมูลแต่ละข้อ ความแปรปรวนของข้อมูลที ได้


83 4. สถิติพ)ืนฐาน 4.1. หาค่าเฉลี ย ( X ) (พิสณุ ฟองศรี , 2550 : 163) X

เมื อ

X

∑X N

X =∑ N

แทน คะแนนเฉลี ย แทน ผลรวมของข้อมูลทั)งหมด แทน จํานวนข้อมูลทั)งหมด

4.2. ค่าเบี ยงเบนมาตรฐานของคะแนน โดยใช้สูตร (พิสณุ ฟองศรี ,2550:165 -166) N ∑ X 2 − (∑ X )

2

S.D. = เมื อ S.D.

N(N − 1)

แทน ค่าเบี ยงเบนมาตรฐาน ∑ X 2 แทน ผลรวมของกําลังสองของคะแนนนักเรี ยนแต่ละคน ในกลุ่มตัวอย่าง (∑ X )2 แทน กําลังสองของผลรวมของคะแนนนักเรี ยนแต่ละคน ในกลุ่มตัวอย่าง N แทน จํานวนนักเรี ยนในกลุ่มประชากร

4.3 ค่าร้อยละ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.