บทที 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ กีย วข้ อง
ในการศึกษาครั งนี ผูศ้ ึกษาได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที เกี ยวข้อง ดังนี
1. หลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย 2. การอ่าน 3. หนังสื ออ่านเพิ มเติม 4. เอกสารเกี ยวกับเพลงบอก 5. การหาประสิ ทธิ ภาพของหนังสื อ 6. ความพึงพอใจ 7. งานวิจยั ที เกี ยวข้อง
หลักสู ตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย สํานัก วิชาการและมาตรฐานการศึ กษา สํานักงานคณะกรรมการการศึ กษาขั นพื นฐาน กระทรวงศึกษาธิ การ (2551 : 1 - 15) ได้สรุ ปแนวทางการจัดของการจัดการเรี ยนรู ้ ตามหลักสู ตร แกนกลางการศึกษาขั นพื นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทยไว้ ดังนี
ทําไมต้ องเรียนภาษาไทย ภาษาไทยเป็ นเอกลัก ษณ์ ข องชาติ เป็ นสมบัติ ท างวัฒนธรรม อัน ก่ อ ให้ เกิ ดความเป็ น เอกภาพ และเสริ มสร้ างบุคลิ กภาพของคนในชาติให้มีความเป็ นไทย เป็ นเครื องมือในการติดต่อ สื อสารเพื อสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์ที ดีต่อกัน ทําให้สามารถประกอบกิจธุ ระการงาน และ ดํารงชี วิตร่ วมกันในสังคมประชาธิ ปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็ นเครื องมือในการแสวงหาความรู ้ ประสบการณ์ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื อพัฒนาความรู ้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้ างสรรค์ให้ทนั ต่อการเปลี ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนําไปใช้ในการพัฒนาอาชี พให้มีความมัน คงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี ยงั เป็ นสื อ แสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุ นทรี ยภาพ เป็ นสมบัติล าํ ค่าควรแก่ การเรี ยนรู ้ อนุรักษ์ และสื บสานให้คงอยูค่ ู่ชาติไทยตลอดไป
12 เรียนรู้ อะไรในภาษาไทย 1. ภาษาไทยเป็ นทักษะที ตอ้ งฝึ กฝนจนเกิดความชํานาญในการใช้ภาษาเพื อการสื อสาร การ เรี ยนรู ้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและเพื อนําไปใช้ในชีวติ จริ ง 2. การอ่าน การอ่านออกเสี ยงคํา ประโยค การอ่านบทร้ อยแก้ว คําประพันธ์ชนิ ดต่าง ๆ การอ่านในใจเพื อสร้ างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู ้จากสิ งที อ่านเพื อนําไป ปรับใช้ในชีวติ ประจําวัน 3. การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื อสารโดยใช้ถอ้ ยคําและรู ปแบบต่างๆ ของการเขียน ซึ งรวมถึงการเขียนเรี ยงความ ย่อความ รายงานชนิ ดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห์วจิ ารณ์ และเขียนเชิงสร้างสรรค์ 4. การฟั ง การดู และการพูด การฟั งและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู ้สึก พูดลําดับเรื องราวต่าง ๆ อย่างเป็ นเหตุเป็ นผล การพูดในโอกาสต่าง ๆ ทั งเป็ นทางการ และไม่เป็ นทางการ และการพูดเพื อโน้มน้าวใจ 5. หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้อง เหมาะสม กับโอกาสและบุคคล การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่าง ๆ และอิทธิ พลของภาษาต่างประเทศใน ภาษาไทย 6. วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื อศึกษาข้อมูลแนวความคิด คุณค่าของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรี ยนรู ้และทําความเข้าใจบทเห่ บทร้องเล่นของ เด็ ก เพลงพื น บ้า นที เ ป็ นภู มิ ปั ญ ญาที มี คุ ณ ค่ า ของไทย ซึ งได้ถ่ ายทอดความรู ้ สึ กนึ กคิ ด ค่ านิ ยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษาเพื อให้เกิดความซาบซึ ง และภูมิใจในบรรพบุรุษที ได้ส งั สมสื บทอดมาจนถึงปั จจุบนั คุณภาพผู้เรียนเมื อจบชั* นประถมศึกษาปี ที 6 1. อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็ นทํานองเสนาะได้ถูกต้อง อธิ บายความหมาย โดยตรงและความหมายโดยนัยของคํา ประโยค ข้อความ สํานวนโวหาร จากเรื องที อ่าน เข้าใจ คําแนะนํา คําอธิ บายในคู่มือต่าง ๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริ ง รวมทั งจับใจความสําคัญของ เรื อ งที อ่ า น และนํา ความรู ้ ค วามคิ ด จากเรื องที อ่า นไปตัด สิ น ใจแก้ปั ญหาในการดํา เนิ น ชี วิ ต ได้ มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่านและเห็นคุณค่าสิ งที อ่าน 2. มีทกั ษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ งบรรทัด เขียนสะกดคํา แต่งประโยค และเขียนข้อความ ตลอดจนเขียนสื อสารโดยใช้ถอ้ ยคําชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพ โครงเรื องและ แผนภาพความคิ ด เพื อพัฒนางานเขี ย น เขี ย นเรี ย งความ ย่อความ จดหมายส่ วนตัว กรอกแบบ
13 รายการต่าง ๆ เขียนแสดงความรู ้ สึกและความคิดเห็ น เขียนเรื องตามจินตนาการ อย่างสร้ างสรรค์ และมีมารยาทในการเขียน 3. พูดแสดงความรู ้ ความคิ ดเกี ยวกับเรื องที ฟังและดู เล่ าเรื องย่อหรื อสรุ ปจากเรื องที ฟัง ตั งคําถาม ตอบคําถามจากเรื องที ฟังและดู รวมทั งประเมินความน่าเชื อถือจากการฟั งและดูโฆษณา อย่างมีเหตุผล พูดตามลําดับขั นตอนเรื องต่าง ๆ อย่างชัดเจน พูดรายงานหรื อประเด็นค้นคว้าจาก การฟัง การดู การสนทนาและพูดโน้มน้าวได้อย่างมีเหตุผล รวมทั งมีมารยาทในการดูและพูด 4. สะกดคําและเข้าใจความหมายของคํา สํานวน คําพังเพยและสุ ภาษิต รู ้และเข้าใจชนิ ด และหน้าที ของคําในประโยค ชนิ ดของประโยคและคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คาํ ราชาศัพท์ และคําสุ ภาพได้อย่างเหมาะสม แต่งประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสี กลอนสุ ภาพ และ กาพย์ยานี 11 เข้าใจและเห็ นคุณค่าวรรณคดี และวรรณกรรมที อ่าน เล่านิ ทานพื นบ้าน ร้องเพลง พื นบ้านของท้องถิ น นําข้อคิดเห็นจากเรื องที อ่านไปประยุกต์ใช้ในชี วิตจริ ง และท่องจําบทอาขยาน ตามที กาํ หนดได้ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ภาษาไทย สาระที 1 การอ่ าน มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื อนําไปใช้ตดั สิ นใจแก้ปัญหา ในการดําเนินชีวติ และมีนิสัยรักการอ่าน สาระที 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใช้ก ระบวนการการเขี ยนสื อสาร เขี ย นเรี ยงความ ย่อความและเขี ย น เรื องราวในรู ปแบบต่ าง ๆ เขี ย นรายงานข้อมูล สารสนเทศ และรายงานการศึ ก ษาค้นคว้าอย่า งมี ประสิ ทธิ ภาพ สาระที 3 การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด และความรู ้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ สาระที 4 หลักการใช้ ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษามีปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ สาระที 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และนํามาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริ ง
14 การจัดการเรียนรู้ การจัด การเรี ย นรู ้ เ ป็ นกระบวนการสํ า คัญในการนํา หลัก สู ต รสู่ ก ารปฏิ บ ัติ หลัก สู ต ร แกนกลางการศึ ก ษาขั น พื น ฐาน เป็ นหลัก สู ตรที มี ม าตรฐานการเรี ย นรู ้ สมรรถนะสํา คัญและ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน เป็ นเป้ าหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน ในการพัฒ นาผู ้เ รี ย นให้ มี คุ ณ สมบัติ ต ามเป้ าหมายหลัก สู ต ร ผูส้ อนพยายามคัด สรร กระบวนการเรี ยนรู ้จดั การเรี ยนรู ้ โดยช่วยให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ผา่ นสาระที กาํ หนดไว้ในหลักสู ตร 8 กลุ่ม สาระการเรี ยนรู ้ รวมทั งปลูกฝังเสริ มสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่าง ๆ อันเป็ น สมรรถนะสําคัญให้ผเู ้ รี ยนบรรลุตามเป้ าหมาย ดังนี (กระทรวงศึกษาธิ การ, 2551 : 16 - 20) 1. หลักการจัดการเรี ยนรู ้ การจัดการเรี ยนรู ้เพื อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ ความสามารถตามมาตรฐาน การเรี ยนรู ้ สมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามที กาํ หนดไว้ในหลักสู ตรแกนกลาง การศึกษาขั นพื นฐานโดยยึดหลักว่า ผูเ้ รี ยนมีความสําคัญที สุด เชื อว่าทุกคนมี ความสามารถเรี ยนรู ้ และพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ที เกิดกับผูเ้ รี ยน กระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ตอ้ งส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็ม ตามศัก ยภาพ คํา นึ ง ถึ ง ความแตกต่ า งระหว่า งบุ ค คลและ พัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความสําคัญทั งความรู ้ และคุณธรรม 2. กระบวนการเรี ยนรู ้ การจัดการเรี ยนรู ้ ที เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ผูเ้ รี ยนจะต้องอาศัย กระบวนการเรี ย นรู ้ ที หลากหลาย เป็ นเครื องมื อ ที จะนํา พาตนเองไปสู่ เป้ าหมายของหลัก สู ต ร กระบวนการเรี ยนรู ้ที จาํ เป็ นสําหรับผูเ้ รี ยน อาทิ กระบวนการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ กระบวนการ สร้างความรู ้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรี ยนรู ้ จากประสบการณ์จริ ง กระบวนการปฏิ บตั ิ ลงมือทําจริ ง กระบวนการจัดการ กระบวน การวิจยั กระบวนการเรี ยนรู ้ การเรี ยนรู ้ ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิ สัย กระบวนการ เหล่านี เป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนรู ้ที ผูเ้ รี ยนควรได้รับการฝึ กฝนพัฒนา เพราะจะสามารถช่วย ให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ได้ดี บรรลุเป้ าหมายของหลักสู ตร ดังนั นผูส้ อนจึงจําเป็ นต้องศึกษาทําความเข้าใจ ในกระบวนการเรี ย นรู ้ ต่ า ง ๆ เพื อ ให้ ส ามารถเลื อ กใช้ใ นการจัด กระบวนการเรี ย นรู ้ ไ ด้อ ย่า งมี ประสิ ทธิ ภาพ 3. การออกแบบการจัด การเรี ย นรู ้ ผูส้ อนต้องศึ ก ษาหลัก สู ต รสถานศึ ก ษาให้เข้าใจถึ ง มาตรฐานการเรี ยนรู ้ ตัวชี วดั สมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยน คุ ณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระ การเรี ยนรู ้ที เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน แล้วจึงพิจารณาออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้โดยเลือกใช้วิธีสอนและ เทคนิคการสอน สื อ แหล่งเรี ยนรู ้ การวัดและประเมินผล เพื อให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาเต็มตามศักยภาพ และบรรลุตามเป้ าหมายที กาํ หนด
15 4. บทบาทของผูส้ อนและผูเ้ รี ยน การจัดการเรี ยนรู ้ เพื อให้ผเู ้ รี ยนมีคุณภาพตามเป้ าหมาย ของหลักสู ตร ทั งผูส้ อนและผูเ้ รี ยนควรมีบทบาท ดังนี
4.1 บทบาทของผูส้ อน 4.1.1 ศึ กษาวิ เคราะห์ ผูเ้ รี ย นเป็ นรายบุ คคล แล้วนําข้อมู ลที ได้มาใช้ในการวางแผน การจัดการเรี ยนรู ้ที ทา้ ทายความสามารถของผูเ้ รี ยน 4.1.2 กํา หนดเป้ าหมายที ต้อ งการให้เกิ ดขึ นกับ ผูเ้ รี ย น ด้า นความรู ้ แ ละทัก ษะ กระบวนการที เป็ นความคิดรวบยอด หลักการ และความสัมพันธ์ รวมทั งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4.1.3 ออกแบบการเรี ยนรู ้ และจัดการเรี ยนรู ้ที ตอบสนองความแตกต่างระหว่าง บุคคลและพัฒนาการทางสมอง เพื อนําผูเ้ รี ยนไปสู่ เป้ าหมาย 4.1.4 จัดบรรยากาศที เอื อต่อการเรี ยนรู ้ และดูแลช่วยเหลือผูเ้ รี ยนให้เกิดการเรี ยนรู ้ 4.1.5 จัดเตรี ยมและเลื อกใช้สื อให้เหมาะสมกับกิ จกรรม นําภูมิ ปัญญาท้องถิ น เทคโนโลยีที เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน 4.1.6 ประเมิ นความก้าวหน้าของผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการที หลากหลายเหมาะสมกับ ธรรมชาติของวิชาและระดับพัฒนาการของผูเ้ รี ยน 4.1.7 วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่ อมเสริ มและพัฒนาผูเ้ รี ยน รวมทั ง ปรับปรุ งการจัดการเรี ยนการสอนของตนเอง 4.2 บทบาทของผูเ้ รี ยน 4.2.1 กําหนดเป้ าหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรี ยนรู ้ของตนเอง 4.2.2 เสาะแสวงหาความรู ้ เข้าถึงแหล่งการเรี ยนรู ้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ขอ้ ความรู ้ ตั งคําถาม คิดหาคําตอบหรื อหาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ 4.2.3 ลงมือปฏิบตั ิจริ ง สรุ ปสิ งที ได้เรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง และนําความรู ้ไปประยุกต์ใช้ใน สถานการณ์ต่างๆ 4.2.4 มีปฏิสัมพันธ์ ทํางาน ทํากิจกรรมร่ วมกับกลุ่มและครู 4.2.5 ประเมินและพัฒนากระบวนการเรี ยนรู ้ของตนเองอย่างต่อเนื อง สื อการเรียนรู้ สื อการเรี ยนรู ้ เป็ นเครื องมือส่ งเสริ มสนับสนุ นการจัดการกระบวนการเรี ยนรู ้ ให้ผูเ้ รี ยน เข้า ถึ ง ความรู ้ ทัก ษะกระบวนการ และคุ ณ ลัก ษณะตามมาตรฐานของหลัก สู ต รได้ อ ย่ า งมี ประสิ ทธิ ภาพ สื อการเรี ยนรู ้มีหลากหลายประเภททั งสื อธรรมชาติ สื อสิ งพิมพ์ สื อเทคโนโลยี และ เครื อข่ายการเรี ยนรู ้ ต่าง ๆ ที มีในท้องถิ น การเลื อกใช้สื อควรเลื อกให้มีความเหมาะสมกับระดับ พัฒนาการ และลีลาการเรี ยนรู ้ที หลากหลายของผูเ้ รี ยน
16 การจัดหาสื อการเรี ยนรู ้ ผูเ้ รี ยนและผูส้ อนสามารถจัดทําและพัฒนาขึ นเองหรื อปรับปรุ ง เลื อกใช้อย่า งมี คุ ณ ภาพจากสื อ ต่ า ง ๆ ที มี อ ยู่ร อบตัว เพื อ นํา มาใช้ป ระกอบในการจัด การเรี ย นรู ้ ที สามารถส่ งเสริ มและสื อสารให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื อพัฒนาให้ผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ อย่างแท้จริ ง สถานศึกษา เขตพื นที การศึกษา หน่ วยงานที เกี ยวข้อง และผูม้ ีหน้าที จดั การศึกษาขั นพื นฐาน ควรดําเนินการดังนี
1. จัดให้มีแหล่งการเรี ยนรู ้ ศูนย์สื อการเรี ยนรู ้ ระบบสารสนเทศการเรี ยนรู ้ และเครื อข่าย การเรี ยนรู ้ ที มีประสิ ทธิ ภาพ ทั งในสถานศึ กษาและในชุ มชน เพื อการศึ กษาค้นคว้าและการแลก เปลี ยนประสบการณ์การเรี ยนรู ้ระหว่างสถานศึกษา ท้องถิ น ชุมชน สังคมโลก 2. จัดทําและจัดหาสื อการเรี ยนรู ้ สําหรับการศึกษาค้นคว้าของผูเ้ รี ยน เสริ มความรู ้ ให้ผูส้ อน รวมทั งจัดหาสิ งที มีอยูใ่ นท้องถิ นมาประยุกต์ใช้เป็ นสื อการเรี ยนรู ้ 3. เลือกและใช้สื อการเรี ยนรู ้ที มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กับวิธีการเรี ยนรู ้ ธรรมชาติของสาระการเรี ยนรู ้ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผูเ้ รี ยน 4. ประเมินคุณภาพของสื อการเรี ยนรู ้ที เลือกใช้อย่างเป็ นระบบ 5. ศึกษาค้นคว้า วิจยั เพื อพัฒนาสื อการเรี ยนรู ้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรี ยนรู ้ ของ ผูเ้ รี ยน 6. จัดให้มีการกํากับ ติดตาม ประเมินคุ ณภาพ และประสิ ทธิ ภาพเกี ยวกับสื อและการใช้ สื อการเรี ยนรู ้ เป็ นระยะ ๆ และสมํ าเสมอ ในการจัดทํา การเลื อกใช้ และการประเมิ นคุ ณภาพสื อ การเรี ยนรู ้ ที ใช้ในสถานศึกษาควรคํานึ งถึ งหลักการสําคัญของสื อการเรี ยนรู ้ เช่ น ความสอดคล้อง กับ หลักสู ตร วัตถุ ประสงค์ การเรี ยนรู ้ การออกแบบกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ การจัดประสบการณ์ ให้ ผู ้เรี ยน เนื อหามีความถูกต้อง และทันสมัยไม่กระทบความมัน คงของชาติ ไม่ขดั ต่อศีลธรรม มีการใช้ภาษา ที ถูกต้อง รู ปแบบการนําเสนอที เข้าใจง่ายและน่าสนใจ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมิ นผลการเรี ยนรู ้ ข องผูเ้ รี ย นต้องอาศัย อยู่บนพื นฐานสองประการ คื อ การประเมิ นเพื อพัฒนาผูเ้ รี ยน และเพื อตัดสิ นผลการเรี ยน ในการพัฒนาคุ ณภาพการเรี ยนรู ้ ของ ผูเ้ รี ยนให้ประสบผลสําเร็ จนั น ผูเ้ รี ยนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี วดั เพื อให้บรรลุ ตามมาตรฐานการเรี ย นรู ้ สะท้อนสมรรถนะสํา คัญ และคุ ณ ลัก ษณะอันพึ ง ประสงค์ข องผูเ้ รี ย น การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ แบ่งออกเป็ น 4 ระดับ ดังนี
1. การประเมิ นระดับชั นเรี ยน เป็ นการวัดและประเมิ นที อยู่ในกระบวนจัดการเรี ยนรู ้ ผูส้ อนดําเนิ นการเป็ นปกติ และสมํ าเสมอ ในการจัดการเรี ยนการสอนใช้เทคนิ คประเมิ นอย่างหลากหลาย
17 เช่น ซักถาม สังเกต ตรวจการบ้าน ฯลฯ การประเมินระดับชั นเรี ยนเป็ นการตรวจสอบถึงความก้าวหน้า ในการเรี ยนรู ้ และเป็ นข้อมูลให้ผสู ้ อนใช้ปรับปรุ งการเรี ยนการสอน 2. การประเมิ นระดับ สถานศึ ก ษา เป็ นการตรวจสอบผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยนเป็ นรายปี / รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนา ผูเ้ รี ย น และเป็ นการประเมิ นเกี ย วกับ การจัด การศึ ก ษาของสถานศึ ก ษาว่า ส่ ง ผลต่ อ การเรี ย นรู ้ ของผูเ้ รี ยนตามเป้ าหมายหรื อไม่ รวมทั งสามารถนําผลไปเปรี ย บเที ยบกับเกณฑ์ระดับ ชาติ และ เขตการศึกษา เพื อปรับปรุ งนโยบาย หลักสู ตร 3. การประเมินระดับเขตพื นที เป็ นการประเมินคุณภาพผูเ้ รี ยนในระดับเขตพื นที การศึกษา ตามมาตรฐานการเรี ย นรู ้ ตามหลัก สู ตรแกนกลางการศึ ก ษาขั น พื น ฐาน เพื อ การพัฒ นาคุ ณ ภาพ การศึกษาของเขตพื นที การศึกษา 4. การประเมินระดับชาติ เป็ นการประเมินคุ ณภาพผูเ้ รี ยน สถานศึ กษาต้องจัดให้ผูเ้ รี ยน ทุ ก คนในชั น ประถมศึ กษาปี ที 3 ชั นประถมศึ กษาปี ที 6 ชั นมัธยมศึ กษาปี ที 3 และชั นมัธยมศึ กษาปี ที 6 เข้ารับการประเมิ น ผลจากการประเมินใช้เป็ นข้อมูลเทียบเคียงคุ ณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ เพื อนําไปใช้วางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา การวัด และประเมิ นผล ทั ง 4 ระดับ ได้แก่ การประเมิ น ระดับ ชั น เรี ย น การประเมิ น สถานศึ ก ษา การประเมิ นระดับ เขตพื นที และการประเมิ นระดับ ชาติ เป็ นการทดสอบผลจาก การเรี ย นรู ้ ข องผูเ้ รี ย นจากการจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอนของครู เพื อนําผลที ไ ด้ไปปรั บ ปรุ ง กระบวนการเรี ยนการสอน พัฒนาการเรี ยน ปรับปรุ งนโยบาย และหลักสู ตรต่อไป จากความสําคัญของภาษาไทย และแนวทางการจัดการเรี ยนรู ้ ในกลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั นพื นฐาน พุทธศักราช 2551ชั นประถมศึกษาปี ที 6 สรุ ปได้ว่า เป็ นการวางพื นฐานการเรี ยนให้กบั ผูเ้ รี ยนในเรื องการอ่าน การเขียน สามารถนําความรู ้ ทักษะที ได้จากการอ่านและการเขียนไปใช้ในการวิเคราะห์ ส ิ งต่างๆ ที พบเห็ นในชี วิต ประจําวัน มีมารยาทในการอ่าน การเขียน รวมถึ งการพูด การแสดงความคิดเห็ นอย่างถูกต้องเหมาะสมและ สามารถเข้า ใจเรื อ งราวต่ า ง ๆ ได้อ ย่ า งถู ก ต้อ ง ทั ง นี การจัด ทํา และพัฒ นาสื อ การเรี ย นรู ้ จึ ง มี ความสําคัญต่อการพัฒนาความรู ้ความคิดของผูเ้ รี ยน การมีสื อที เหมาะสมกับสภาพของผูเ้ รี ยนและ ท้องถิ น จะช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาอย่างรอบด้าน สําหรั บเนื อหาที นาํ มาใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้ และพัฒนาการอ่านของนักเรี ยนในครั งนี
ผูศ้ ึกษาได้นาํ ภูมิปัญญาท้องถิ นที เป็ นเพลงบอก ซึ งเป็ นการใช้ภาษาถิ นภาคใต้ และนําพันธุ์ไม้ใน ท้องถิ นที กาํ ลังจะสู ญพันธุ์ มาจัดทําเป็ นหนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก โดยใช้ลกั ษณะคําประพันธ์ประเภทร้อยแก้ว จํานวน 1 เล่ม และประเภทร้อยกรอง กลอนเพลงบอก
18 จํานวน 5 เล่ม รวมทั งหมด 6 เล่ม คือ เล่มที 1 ถ้อยคําเรี ยงเสี ยงเพลงบอก เล่มที 2 ไม้พ ืนถิ นเมือง คอน ลูกโท่ เล่มที 3 ไม้พ ืนถิ นเมืองคอน ลูกพลา เล่มที 4 ไม้พ ืนถิ นเมืองคอน ดอกนมแมว เล่มที 5 ไม้พ ืนถิ นเมื องคอน มังเร และเล่ มที 6 ไม้พ ืนถิ นเมื องคอน ลู กรกช้าง เพื อนํามาใช้ประกอบในการจัด การเรี ยนรู ้ หน่วยการเรี ยนรู ้ที 10 อนุ รักษ์ถิ นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก และพัฒนาการอ่านการเขียน ของนักเรี ยนให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ต่อไป
การอ่าน ในการสร้างหนังสื อเพิ มเติม ชุด อนุรักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ น ผูศ้ ึกษาได้ศึกษาแนวคิ ดเกี ยวกับการอ่าน ดังต่อไปนี
ความหมายของการอ่ าน นักการศึกษาได้กล่าวถึงความหมายของการอ่านไว้ ดังนี
กัลป์ ยานี นันทะศรี (2542 : 15) กล่าวว่า การอ่านเป็ นคําพูดที ถูกบันทึกเก็บไว้ เมื อเราพูด เราต้องใช้คาํ ศัพท์เพื อสื อความคิดของเรา และในเวลาเดียวกันเราจะต้องรับรู ้ดว้ ยว่าจะต้องเรี ยงคําพูด นั นอย่างไรจึงจะได้รับผลตามความมุ่งหมาย ลักษณา ชิ ณวงศ์ (2542 : 10) ได้กล่าวถึ งความหมายของการอ่าน ในทํานองเดี ยวกันว่า เป็ นกระบวนการที มีองค์ประกอบ 3 ประการนัน คือ ความคิดเห็ นของผูเ้ ขียน ตัวหนังสื อที ผูเ้ ขียน เขียนและความคิดของผูอ้ ่าน ซึ งหมายถึ งว่า การอ่านมีความสัมพันธ์เกี ยวเนื องกับกระบวนการคิด อันสื บเนื องไปถึงความเข้าใจของผูอ้ ่านในที สุด บัญชา อึ ง สกุ ล (2545 : 68) กล่ า วว่า การอ่ า นเป็ นกระบวนการแปลความหมายของ ตัวอักษรหรื อสัญลักษณ์ ที มีการจดบันทึกไว้ กระบวนการในการอ่านเป็ นกระบวนการที ทบั ซ้อน เมื อเด็กเปล่งเสี ยงตัวอักษร หรื อสัญลักษณ์ ออกมาเป็ นคําพูด ถ้าหากไม่เข้าใจคําพูดนั นจัดว่าไม่ใช่ การอ่านที สมบูรณ์ เป็ นเพียงส่ วนหนึ งของการอ่าน บัณ ฑิ ต ฉัตรวิ โรจน์ (2549 : 3) กล่ า วว่า การอ่ า น คื อ กระบวนการแปลความหมาย สัญลักษณ์ทางภาษา โดยผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์ตามความรู ้ และประสบการณ์เดิมของผูอ้ ่าน และตี ความเพื อให้เกิ ดความเข้า ใจความหมายของเรื องที อ่า นตามความต้องการของผูเ้ ขี ย นที ต งั วัตถุประสงค์ไว้ เบรส (Bress, 1907 : 127 - 135 ; อ้างถึ งใน ลักษณา ชิ ณวงศ์, 2542 : 10 ) ได้ให้คาํ จํากัดความ และข้อคิ ดเห็ นเกี ย วกับ แนวคิ ด ของการอ่ า นไว้ว่า การอ่ า น หมายถึ ง การเข้า ใจความหมายของ ตัวอักษรต่าง ๆ ที นาํ มารวมกันเป็ นกระบวนการทางความคิดอย่างแท้จริ ง การอ่านจะต้องมีการปรับปรุ ง
19 อยู่เสมอ นอกจากนั น การอ่านยังเป็ นเครื องมือช่ วยถ่ายทอดความคิดข้อเท็จจริ ง ความรู ้ สึกต่าง ๆ จากจิตใจและวิญญาณของผูเ้ ขียนไปสู่ ผอู ้ ่านได้อย่างแม่นยําและด้วยความเข้าใจ ดังนั น จึงสรุ ปได้ว่า การอ่านคือ กระบวนการทําความเข้าใจ การแปลความหมายคําหรื อ ข้อความ ที ผเู ้ ขียนถ่ายทอดความรู ้ ความคิด ข้อเท็จจริ งมาสู่ ผอู ้ ่าน เป็ นการเพิ มพูนความรู ้แก่ผอู ้ ่าน และผูอ้ ่านสามารถที จะถ่ายทอดใจความของเรื องที อ่าน ให้ผูอ้ ื นรับรู ้ ได้โดยวิธีต่าง ๆ จึ งจะถื อว่า การอ่านนั นมีประสิ ทธิ ผล ความสํ าคัญของการอ่ าน การอ่ า น เป็ นทัก ษะที สํ า คัญ ทํา ให้ บุ ค คลได้พ ฒ ั นาสติ ปั ญ ญา แสวงหาความรู ้ แ ละมี ประสบการณ์เพื อนําไปใช้ในชีวติ ประจําวันได้เป็ นอย่างดี เปลื อง ณ นคร (2542 : 36) กล่าวว่า หนังสื อเป็ นขุมทรัพย์อนั ประเสริ ฐ ซึ งเราอาจจะขุด เอามาเป็ นประโยชน์ได้โดยเสี ยค่าแรงและค่าใช้จ่ายน้อยที สุด แต่มีคนเป็ นอันมากไม่สามารถพบ โชคลาภจากขุมทรัพย์แห่ งนี เพราะขาดเครื องมือสําคัญคือ การอ่าน คนเราอ่านหนังสื อกันทุกคน การอ่านเป็ นส่ วนหนึ งของชีวติ กรมวิชาการ (2544 : 9) ได้สรุ ปว่า หลักสู ตรการศึกษาขั นพื นฐาน พุทธศักราช 2544 ได้ส่งเสริ ม การอ่าน ซึ งเป็ นทักษะหนึ งในการเรี ยนภาษา การจัดการเรี ยนการสอนภาษาไทยมุ่งเน้นการพัฒนา การอ่านโดยใช้สื อและวิธีการที หลากหลาย หนังสื ออ่านเพิ มเติม หนังสื อเสริ มประสบการณ์ หรื อ หนังสื ออ่านนอกเวลาเป็ นสื อและแหล่ งการเรี ยนรู ้ ที สําคัญอย่างหนึ ง โดยถื อว่ากิ จกรรมการอ่าน หนัง สื อ นอกเวลาเป็ นส่ ว นหนึ งของการเรี ยนตามหลักสู ตร กรมวิ ชาการพิ จารณาเห็ นว่า การส่ งเสริ ม ให้โรงเรี ย นมี หนัง สื ออ่ า นนอกเวลาที หลากหลายมากยิ ง ขึ น การพัฒนาการเรี ย นการสอนและ พัฒนาการเรี ยนรู ้โดยใช้การอ่านเป็ นเครื องมือ จะทําให้ผอู ้ ่านมีนิสัยรักการอ่าน และมีประสิ ทธิ ภาพ ทางการอ่านสู งขึ น ดังนั น จึงสรุ ปได้ว่า การอ่านมีความสําคัญต่อการพัฒนาการเรี ยนรู ้ ของทุก ๆ คน เพราะ เป็ นพื นฐานสําคัญในการแสวงหาความรู ้ ผูท้ ี อ่านหนังสื ออย่างสมํ าเสมอจะมี ความรู ้ ความเข้าใจ ทั งในเรื องราวต่ าง ๆ สามารถคิ ด วิ เคราะห์ การพู ดสื อสารออกมาอย่างถู กต้อง บุ คคลที มี ความสามารถ ในการอ่านสู งจะมีวสิ ัยทัศน์และสามารถนําข้อมูลต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างกว้างขวาง ซึ งจะเป็ น ประโยชน์ต่อการพัฒนาด้านต่าง ๆ ได้ต่อไป
20 จุดมุ่งหมายของการอ่ าน ในการอ่านหนังสื อของบุคคลต่างย่อมมีจุดมุ่งหมายของการอ่านแตกต่างกันไป มีนกั การศึกษา ได้สรุ ปจุดมุ่งหมายของการอ่าน ไว้ดงั นี
ประคอง สุ ทธสาร (2534 : 5) ได้กล่าวถึง จุดมุ่งหมายในการสอนอ่าน ระดับประถมศึกษาไว้ ดังนี
1. เพื อให้เข้าใจการสะกดคําต่าง ๆ ที ได้จากการอ่าน 2. เพื อศึกษาความหมายของคํา 3. เพื อแปลความต่าง ๆ ได้ถูกต้อง 4. เพื อฝึ กการออกเสี ยงให้ถูกต้อง 5. เพื อฝึ กการใช้สายตาเพื อให้สามารถอ่านได้เร็ ว 6. เพื อศึกษาแนวคิดว่าผูเ้ ขียนมีจุดมุ่งหมายอะไรและจะได้อะไรจากการอ่าน 7. เพื อทําหรื อปฏิบตั ิตามข้อเขียนนั น ๆ 8. เพื อหาคําตอบจากเรื องที อ่าน 9. เพื อตีความหมาย 10. อ่านเพื อให้ได้คิด 11. เพื อสรุ ปเรื องราวต่าง ๆ จากที ได้อ่านไปแล้ว 12. เพื อประเมินผลว่าตนเอง อ่านได้ดีหรื อไม่เพียงใด 13. อ่านเพื อหาข้อเท็จจริ ง เช่น วัน เดือน ปี พ.ศ. ชื อบุคคล เป็ นต้น 14. เพื อให้เห็นคุณค่าของการอ่าน 15. เพื อสร้างอารมณ์ไปในทางที ดี เช่น บทเพลง กลอน นิทาน คติเตือนใจ 16. เพื อส่ งเสริ มการอ่านแบบไตร่ ตรอง มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช (2537 : 128 - 129) ได้แบ่งประเภทจุดมุ่งหมายของการสอนอ่าน ตามแนวคิดของเบนจามิน เอส บลูม (Benjamin s. Bloom) สรุ ปได้ คือ จุดมุ่งหมายทางด้านความรู ้ และจุดมุ่งหมายทางด้านจิตพิสัย ว่าจุดมุ่งหมายด้านความรู ้ แบ่งออกเป็ น 6 ขั น เรี ยงลําดับจากขั นตํ าสุ ด ไปหาขั นสู งสุ ด ดังนี
1. รู ้ - จํา เป็ นขั นที อ่านแล้ว จํารู ปร่ างคํา ความหมายและเหตุการณ์ หรื อตัวละครสําคัญได้ 2. เข้าใจ เป็ นขั นที บอกลําดับเหตุการณ์ของเรื อง ย่อเรื อง และแนวคิดของเรื องได้ 3. ประยุกต์ใช้ เป็ นขั นที นาํ เหตุการณ์ความรู ้ และแนวคิดจากเรื องไปใช้ประโยชน์ หรื อ แก้ปัญหาชีวติ ประจําวันได้
21 4. วิเคราะห์ เป็ นขั นที แยกองค์ป ระกอบย่อยของเรื อง และบอกคุ ณ ลักษณะพิ เศษของ ตัวละครได้ 5. สังเคราะห์ เป็ นขั นนําเรื องที อ่านไปสร้ างเป็ นสถานการณ์ ใหม่ หรื อเปรี ยบเทียบกับ สถานการณ์อื น ๆ รวมไปถึงการเปรี ยบเทียบกับสํานวนไทย สุ ภาษิตตลอดจนคําเปรี ยบเทียบต่าง ๆ ได้ 6. ประเมินค่า เป็ นขั นพิจารณาหาเหตุผล ข้อเท็จจริ ง คุ ณค่าที ปรากฏในเรื องประโยชน์ ที ได้รับตลอดจนความเที ยงตรงของผูเ้ ขียนที มีต่อตัวละคร จุดมุ่งหมายในขั นที 1 – 3 เป็ นขั นพื นฐาน (Basic Goals) ซึ งจะเน้นในระดับประถมศึกษา เพื อให้นกั เรี ยนมีพ ืนฐานที มน ั คงในการอ่าน ส่ วนขั นที 4 – 6 เป็ นขั นสู ง(Ultimate Goals)จะเน้นใน ระดับมัธยมมุ่งพัฒนาการคิดวิจารณญาณ ดัง นั น จึ ง สามารถสรุ ป ได้ว่ า จุ ด มุ่ ง หมายในการอ่ า น มี จุ ด มุ่ ง หมายแตกต่ า งกัน ไป แต่ มีจุดมุ่ง หมายที สํา คัญ คื อ เพื อให้ผูเ้ รี ย นมี ความสามารถในการออกเสี ยงที ถู กต้อง เข้าใจความหมาย เรื องราวที อ่าน สามารถตีความสรุ ปความ จับใจความสําคัญของเรื องที อ่านและนําความรู ้ขอ้ เท็จจริ ง ที ได้จากการอ่านไปเป็ นพื นฐานในการศึกษาหาความรู ้ที สูงขึ นและนําไปใช้ในชีวติ ประจําวันได้ องค์ ประกอบของการอ่ าน มีนกั การศึกษาได้สรุ ปองค์ประกอบของการอ่าน ไว้ดงั นี
เรวดี หิ รัญ (2540 : 150) กล่าวว่า องค์ประกอบของการอ่านที จะทําการวัดได้อย่างน่าเชื อถื อ มีดงั นี
1. ความรู ้เกี ยวกับคําโดยทัว ไป หมายถึง ความรู ้เกี ยวกับคํา ได้แก่ ความกว้างความลึกและ ขอบเขตของคําศัพท์ ซึ งอาจกล่ าวได้ว่า ความรู ้ เกี ยวกับคําอย่างกว้างขวางหรื อ ความชํานาญใน การใช้คาํ เป็ นสิ ง สํ า คัญ ประการแรกที จ ะนํา ไปสู่ ก ารบรรลุ ถึ ง ความสามารถระดับ สู ง ของทัก ษะการอ่ า น ทุกชนิด 2. ความเข้า ใจเรื อ งราวที ป รากฏอย่า งชัด เจน ซึ งรวมทัก ษะอื น ๆ ด้ว ยเช่ น กัน การรู ้ ตําแหน่งของข้อความที กล่าวถึ งอย่างเจาะจง การเข้าใจความหมายตามตัวอักษรและความสามารถ ในการติดตามเรื องราวที อ่านตามลําดับ 3. ความเข้าใจความหมายแฝงรวมถึ งความมีเหตุผลในการอ่าน ความสามารถในการให้ ข้อ คิ ด เห็ น เกี ย วกับ การอ่ า น ตลอดจนสามารถเดาเหตุ ก ารณ์ ที เ กี ย วกับ ผลที ต ามมา การเข้า ใจ ความหมายของคําจากเนื อเรื อง เข้าใจการจัดลําดับของเรื องที อ่าน ทราบถึ งความคิ ดสําคัญและ การจัด ลํา ดับ ของความคิ ด เข้า ใจความหมายแฝงของข้อ ความที อ่ า นโดยการได้ข ้อ สรุ ป หรื อ หลักเกณฑ์จากเรื องที อ่าน อย่างไรก็ดี ทักษะนี มีความสัมพันธ์กบั ทักษะในการเข้าใจ ความหมาย
22 ที ปรากฏชัดเจน เพราะการที จะได้ความหมายจากเรื องที อ่านนั น ผูอ้ ่านจะต้องเข้าใจความหมายตาม ตัวอักษรหรื อความหมายที ปรากฏ ให้เห็นอย่างชัดเจนก่อน 4. ความซาบซึ ง หมายถึ ง ความสามารถในการทราบถึ งความตั งใจหรื อจุดมุ่งหมายของ ผูเ้ ขียน การทราบถึงอารมณ์หรื อแนวรสของเรื อง ความสามารถในการเข้าใจกลไกวรรณคดีที ทาํ ให้ ผูเ้ ขียนบรรลุถึงจุดหมาย เรวดี ชโลธรสุ ทธิ (2542 : 13) ได้ส รุ ป องค์ ป ระกอบของการอ่ า นว่ า ประกอบด้ว ย ความสามารถพื นฐานที จะเข้าใจความหมายของภาษา ได้แก่ ความหมายของคํา กลุ่มคํา ประโยค อนุเฉท และความสัมพันธ์ระหว่างอนุเฉท ความสามารถดังกล่าวแสดงออกมาในลักษณะพฤติกรรม บ่งชี ได้แก่ 1. ความสามารถในการบอกเรื องราวส่ วนใหญ่ที อ่านได้ 2. สามารถอธิ บายใจความสําคัญของเรื องได้ 3. สามารถตีความเหตุการณ์ในเรื องได้ 4. สรุ ปความเห็นเกี ยวกับเรื องที อ่านได้ 5. ใช้วจิ ารณญาณไตร่ ตรองและประเมินข้อเท็จจริ งในเรื องที อ่านได้ ดัง นั น จึ ง สามารถสรุ ป ได้ว่า องค์ป ระกอบของการอ่ า นเกี ย วข้องกับ ความสนใจและ แรงจู ง ใจที ท าํ ให้รู้ สึ ก อยากอ่ า น จุ ด ประสงค์ข องการอ่ า น ว่า อ่ า นเพื อ จุ ดมุ่ ง หมายอะไร ความรู ้ ความสามารถในการอ่ า นของผู ้อ่ า นขึ นอยู่ ก ั บ ศัก ยภาพของแต่ ล ะบุ ค คลที มี ไ ม่ เ หมื อ นกั น ซึ งความสามารถในการอ่านนี ส่งผลมาจากพื นฐานหรื อความรู ้ เดิ มของผูอ้ ่านนัน เอง ความเข้าใจ ความหมายคํา และเข้าใจโครงสร้ าง หรื อองค์ประกอบของประโยค ตลอดจนความหมายแฝงหรื อ ความคิดหลักในเรื องที อ่าน ลําดับขั*นตอนการอ่ าน พัฒนาการทางร่ างกายมีผลต่อพัฒนาการทางการอ่านของนักเรี ยน เพราะการอ่านเกี ยวข้อง กับความพร้ อมทางสมองที จะแปลความ สั ญลัก ษณ์ ต่าง ๆ นอกจากนั น การอ่า นยัง เกี ย วข้องกับ อวัยวะหลายอย่างเช่น ตา หู ปาก ด้วยเหตุน ีลาํ ดับขั นพัฒนาในการอ่าน จึงจําเป็ นต้องไปตามลําดับ ขั นของพัฒนาการทางร่ างกาย ครู จึงควรศึกษาให้เข้าใจถึงขั นการเจริ ญเติบโตของนักเรี ยนแต่ละวัย ทั งนี เพราะแต่ละขั นของการพัฒนานั น ความสนใจ ทักษะและเจตคติของนักเรี ยนจะเปลี ยนแปลงไป ดังนั น ครู จึงควรศึกษาลําดับขั นในการพัฒนาความคิดและลําดับขั นการพัฒนาการอ่านควบคู่กนั ไป สุ นนั ทา มัน เศรษวิทย์ (2542 : 10 - 13) ได้สรุ ปขั นพัฒนาความคิดของเด็กในวัยต่าง ๆ และลําดับขั นการพัฒนาการอ่าน มีดงั นี
1. ขั นที 1 Sensory Motor Period การพัฒนาระยะ 0 - 2 ปี สนใจสิ งรอบตัวและสนใจตัวเอง
23 2. ขั นที 2 Preparation Thought Period ในขั นนี จะแบ่งการพัฒนาออกเป็ น 2 ชั น คือ ขั น แรกอายุ 2 - 3 ปี เป็ นระยะที จ ัด เตรี ย มความคิ ด เด็ ก จะยึ ด ตัว เองเป็ นศู น ย์ก ลางไม่ ย อมรั บ ฟั ง ความคิดเห็นของคนอื น ขั นที 2 อายุ 4 - 6 ปี เด็กจะจัดกลุ่มและแยกแยะได้ 3. ขั นที 3 Period of ConcreteOperation การพัฒนาในระยะนี เริ มตั งแต่ 7 - 11 ปี เด็กสามารถ สร้างแนวคิดให้มีความสัมพันธ์กบั รู ปธรรมได้ รู ้จกั ใช้ความคิดเพื อหาเหตุผล 4. ขั นที 4 Period of FormalOperation การพัฒนาระยะนี เริ มตั งแต่อายุ 11 - 15 ปี สามารถ เข้าใจกฎเกณฑ์ทางสังคม สร้างแนวคิดให้สัมพันธ์กบั นามธรรมใช้เหตุผล ช่วยในการตัดสิ นปั ญหา รู ้จกั การแปลความ ตีความ หรื อพิสูจน์หาความจริ ง สําหรับลําดับขั นตอนการพัฒนาการอ่าน จะเป็ นไปตามลําดับขั นพัฒนาการทางร่ างกาย ซึ ง แต่ ล ะขั น เด็ ก จะสนใจแตกต่ า งไปตามช่ ว งอายุ ผลของการศึ ก ษาจะเป็ นประโยชน์ ต่ อ ครู ในการนําไปจัดกิ จกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและพัฒนาการทางร่ างกายของเด็ก ลําดับขั น การพัฒนาการอ่านแบ่งได้เป็ น 6 ขั น ดังนี
1. ขั นก่อนการอ่าน ขั นนี เริ มจากวัยทารกจนกระทัง ถึ งวัยก่อนเข้าโรงเรี ยนอนุ บาล เป็ นขั น การเตรี ย มตัวที จะพัฒนาในขั นต่ อไป การเตรี ย มเด็ ก ควรเน้นกิ จกรรมที จ ะช่ วยพัฒนาเด็ ก ให้ มี ระเบี ยบ กฎเกณฑ์ การอ่ า นจึ งเป็ นกิ จกรรมหนึ งที จะช่ วยส่ ง เสริ ม การเจริ ญเติ บ โตให้เด็ก สร้ า ง ประสบการณ์ภาษาโดยการแนะนําให้รู้จกั คําใหม่ การให้เด็กดูภาพ เด็กจะเลียนแบบสิ งรอบตัวจึงต้อง จัดสภาพแวดล้อมที ดีให้ 2. ขั นเริ มต้นอ่าน เริ มตั งแต่ช นั อนุบาล - ชั นประถมศึกษาปี ที 2 เด็กจะคุน้ เคยกับคําง่าย ๆ โดยปกติการสอนอ่านอย่างเป็ นทางการจะทําในขั นนี ครู อาจให้เด็กเล่าเรื องจากสิ งที ได้ฟังหรื ออ่าน หนังสื อที มีภาพประกอบ กิจกรรมการอ่านควรเริ มพร้อมกับการเขียน 3. ขั นเริ มต้นอ่ านอย่างอิ ส ระ เริ มตั ง แต่ช ันประถมศึ กษาปี ที 1- ชั นประถมศึ กษาปี ที 3 ครู ตอ้ งพิจารณาว่าเด็กมีความพร้ อมที จะอ่านอย่างอิสระได้ดว้ ยตนเองแล้วหรื อยัง ครู ควรแนะนํา ให้นักเรี ยนรู ้ จกั คํายากในเรื องจนเข้าใจก่ อนจะอ่ านเรื อง เรื องที อ่านควรมี ความสั นยาวเหมาะสมกับวัย เช่ น ชั นประถมศึกษาปี ที 1 ควรมีความยาว 100 คํา และในขั นต่อไปอาจเพิ มขึ นเป็ น 200 และ 300 ตามลําดับ 4. ขั นถ่ายโยงความรู ้ เริ มตั งแต่ช นั ประถมศึกษาปี ที 2 ถึ งชั นประถมศึกษาปี ที 4 เด็กต้องการ คําแนะนําในการเลื อกหนังสื อให้เหมาะสมกับวัยและความสนใจ กระบวนการอ่านเป็ นการอ่าน เพื อจับใจความสําคัญ และทําความเข้าใจเรื องที อ่าน ต่อจากนั นจึ งศึ กษาความหมายของคําในภายหลัง ในชั นนี เด็กจะนําคําที รู้จกั ไปใช้กบั การเรี ยนวิชาอื น และแสวงหาความรู ้ดว้ ยตนเอง
24 5. ขั นวุฒิภาวะระดับกลาง เริ มตั งแต่ช ันประถมศึ กษาปี ที 4 - ชั นประถมศึ กษาปี ที 6 เด็กจะมี ทักษะในการอ่านมากขึ น ครู ควรเริ มสอนการอ่านวิจารณญาณ เด็กจะอ่านหนังสื อประเภทต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง ทักษะการอ่านที ควรสอนในระดับนี คือ การอ่านเพื อจับใจความสําคัญของเรื อง 6. ขั นวุฒิภาวะระดับสู ง เริ มตั งแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นขึ นไป เด็กจะมีรสนิ ยมใน การเลือกอ่านหนังสื อที แตกต่างกัน นอกจากนั นจะมีความสนใจ มีเจตคติเข้ามาเกี ยวข้องในการอ่าน การอ่านระดับนี เป็ นการอ่านระดับสู ง ผูอ้ ่านต้องมีเทคนิค มีวธิ ี การอ่าน ลําดับขั นในการพัฒนาการอ่านทั ง 6 ขั นนี จะพัฒนาต่อเนื องกันและสอดคล้องกับลําดับขั น ของพัฒนาการทางร่ างกาย หากพัฒนาการทางร่ างกายของเด็กไม่เป็ นไปตามปกติ ก็จะส่ งผลต่อ การพัฒนาการในการอ่านที ผดิ ปกติไปด้วย ความสามารถในการอ่ าน นพดล บัวสาย (2545 : 13; อ้างอิงจาก Bond and Tinker, 1967 : 235) กล่าวว่า ความสามารถ ในการอ่านขึ นอยูก่ บั พื นฐานดังต่อไปนี
1. การเข้าใจความหมายของคํา (World Meaning) การเข้าใจความหมายของคําเป็ นทักษะ พื นฐานของการอ่าน ถ้าหากนักเรี ยนเรี ยนรู ้ความหมายของคําไม่เพียงพอ นักเรี ยนจะไม่สามารถ เข้าใจประโยค (Sentence) อนุเฉท (Paragraph) และทําให้ไม่สามารถที จะอ่านหรื อพูดได้ 2. การเข้าใจความหมายของกลุ่มคํา (Though Units) นักเรี ยนจะเข้าใจความหมายของ ประโยคได้ก็ต่อเมื อ นักเรี ยนรู ้จกั อ่านเป็ นกลุ่มคํา การอ่านทีละคําทําให้ไม่เข้าใจเรื องที อ่าน 3. การเข้าประโยค (Sentence Comprehension) นักเรี ยนเข้าใจความหมายเป็ นรายคําและ เป็ นกลุ่มคําแล้ว นักเรี ยนจะต้องเห็ นความสัมพันธ์ ระหว่างคําและความสัมพันธ์ ระหว่างกลุ่ มคํา ในประโยคด้วย นัก เรี ย นไม่ ส ามารถมองเห็ นความสั ม พันธ์ ระหว่า งคํา และระหว่า งกลุ่ ม คํา ใน ประโยคจะไม่เข้าใจเรื องที อ่าน 4. การเข้าใจอนุ เฉท (Paragraph Comprehension) นักเรี ยนเข้าใจอนุ เฉทได้ก็ต่อเมื อนักเรี ยน มองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างประโยคในอนุเฉท การเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างประโยคค่อนข้าง ยาก แต่ถา้ ขาดความสามารถทางด้านนี นกั เรี ยนจะไม่สามารถเข้าใจเรื องที อ่าน 5. การเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างอนุ เฉท (Comprehension Of Larger Units) นักเรี ยนจะเข้าใจ เรื องที ย ากขึ นได้ก็ต่อเมื อนักเรี ย นสามารถจัดลําดับความคิ ดของเรื องที อ่า นได้และต้องมองเห็ น ความสัมพันธ์ระหว่างอนุเฉทด้วย ดังนั น จึงสรุ ปได้วา่ ความสามารถในการอ่านนั นประกอบด้วยความสามารถในการสรุ ป ความหมายของคํา ความหมายของประโยค เข้าใจความหมายและความสัม พันธ์ ข องประโยค
25 สามารถตี ค วาม แปลความ ขยายความ จับ ใจความ และมี วิจ ารณญาณในการอ่ า นได้อ ย่า งมี ประสิ ทธิ ภาพ การทดสอบทักษะการอ่ าน การอ่านเป็ นกระบวนการทางความคิด การจินตนาการ การหาเหตุผลการแก้ปัญหา และ การประเมินทักษะที อ่านนั นใช้แบบทดสอบต่าง ๆ ดังนี (สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา แห่งชาติ, 2545 : 74 - 75) 1. แบบเลือกตอบ 2. แบบตอบคําถามสั น 3. การถ่ ายโอนข้อมูลที ได้จากการอ่านในรู ป แบบต่ างๆ เช่ น การเติ มคําหรื อข้อมูลใน แผนภูมิ แผนผังตาราง เป็ นต้น 4. การจดบันทึกข้อความ 5. การเติมคําที เว้นว่าง โดยใช้ขอ้ มูลจากบทอ่าน ทักษะการอ่าน มีระดับขั นความสามารถดังต่อไปนี คือ 1. ระดับกลไก สามารถบอกได้วา่ กลุ่มคํา หรื อประโยคที ให้มาเหมือนกันหรื อต่างกัน 2. ระดับความรู ้ ได้แก่ 2.1 สามารถเลือกภาพที มีความหมายตรงคําที ขีดเส้นใต้ประโยคได้ 2.2 สามารถเลือกประโยคที มีขอ้ ความตรงกับข้อมูลที แสดงไว้ในแผนที แผนภูมิและ กราฟได้ 2.3 สามารถเลือกคําที ความหมายกับภาพที กาํ หนดให้ได้ 3. ระดับถ่ายโอน 3.1 สามารถเลือกคําที เหมาะสมเติมลงในช่องว่างของข้อความที ให้มาได้ 3.2 สามารถเลือกคํา หรื อวลีที มีความหมายเหมือนคําที ขีดเส้นใต้ในประโยคได้ 3.3 สามารถเลื อกข้อความที มีความหมายคล้ายคลึ งหรื อใกล้เคียงกับประโยคหรื อวลี ที ขีดเส้นใต้ได้ 3.4 สามารถเลือกคําหรื อข้อความที อา้ งอิงโดยคําที ขีดเส้นใต้ในข้อความกําหนดให้ได้ 4. ระดับการสื อสาร 4.1 สามารถอ่านข้อความที ไม่เคยเห็นมาก่อน แล้วตอบคําถามเกี ยวกับเรื องที อ่านได้ 4.2 สามารถอ่านข้อความแล้วเลือกคําหรื อวลีที เป็ นหัวเรื อง (topic) ได้ 4.3 สามารถอ่านข้อความแล้วเลือกประโยคที เป็ นใจความสําคัญ (Main idea) ได้
26 4.4 สามารถอ่ า นข้อ ความแล้ว เลื อ กประโยคที เ ป็ นใจความต่ อ เนื อ งสั ม พัน ธ์ ก ับ ข้อความนั นได้ 4.5 สามารถเลือกประโยคที นาํ มาเติมในบทสนทนาได้ถูกต้อง 5. ระดับวิเคราะห์วจิ ารณ์ 5.1 สามารถอ่านประโยค บทสนทนาหรื อข้อความแล้วตอบคําถามเกี ยวกับอารมณ์ หรื อความ คิดของตัวละครได้ 5.2 สามารถอ่ า นประโยค บทสนทนา หรื อข้อ ความแล้ ว ตอบคํา ถามเกี ย วกับ สถานการณ์หรื อแสดงความคิดเห็นเกี ยวกับสถานการณ์หรื อบุคคลในเรื องที อ่านได้ 5.3 สามารถอ่านข้อความแล้วตอบคําถามเกี ยวกับวัตถุประสงค์และความคิดเห็นของ ผูเ้ รี ยนได้ ดังนั นจึงสรุ ปได้วา่ การทดสอบความสามารถในการอ่านเพื อความเข้าใจมีหลายลักษณะ เช่น ลักษณะรู ปแบบโคลซ การเติมคําที เหมาะสมลงในช่องว่าง ซึ งผูท้ ี จะสามารถเติมคําได้ถูกต้อง จะต้องเป็ นผูท้ ี อ่านข้อความได้อย่างเข้าใจ ลักษณะข้อสอบแบบปรนัย เช่น แบบเลือกตอบ แบบถูกผิด แบบเติมคํา และแบบถามตอบ และลักษณะแบบปฏิบตั ิจริ ง อ่านแล้วปฏิบตั ิได้ถูกต้อง ในการศึกษาวิจยั ครั งนี ผูศ้ ึกษาเลือกใช้รูปแบบการทดสอบแบบเลือกตอบ หรื อแบบปรนัย 4 ตัวเลือก เพื อนํามาสร้างแบบทดสอบความสามารถในการอ่าน การจับใจความสําคัญของนักเรี ยน เพื อความเข้าใจ เพราะสามารถใช้วดั ความเข้าใจในทั ง 3 ระดับได้ดี ทั งนี ในการให้น าํ หนักคะแนนใน ทักษะต่าง ๆ ที ตอ้ งการวัด ผูอ้ อกข้อสอบจะต้องคํานึ งถึ งเหตุ ผลหรื อประเด็นพิจารณาต่าง ๆ ใน การกําหนดจํานวนข้อ ดังนี (กังวล เทียนกัณฑ์เทศน์, 2540 : 41- 42) 1. นํ าหนักที กาํ หนดให้ในแต่ละหัวข้อว่าจะออกข้อสอบมากน้อยเพียงไร คํานวณได้จาก นํ าหนักของหัวเรื องนั น คํานวณได้จากชัว โมง หรื อคาบที ใช้สอนหัวข้อนั นเทียบกับเวลาทั งหมด 2. พิจารณานํ าหนักพฤติกรรมที จะวัดนํ าหนักที กาํ หนดขึ นสําหรับพฤติกรรมนี เป็ นนํ าหนัก ที ผอู ้ อกข้อสอบต้องกําหนดขึ นเอง ทั งนี โดยอาศัยการพิจารณาตัดสิ นใจจากธรรมชาติ เนื อหาวิชา และวัตถุ ประสงค์ของการสอนระบุ ว่าให้เกิ ดพฤติ กรรมด้านใดบ้าง รวบรวม และหาร้ อยละของ แต่ ล ะชนิ ด ของพฤติ ก รรมที มุ่ ง ให้เ กิ ด และเขี ย นกํา กับ ไว้ใ นแต่ ล ะพฤติ ก รรม ซึ งสอดคล้องกับ ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ (2539 : 81) ที กล่าวว่า การกําหนดจํานวนข้อสอบขึ นอยู่กบั ผูส้ อน เป็ นประการสําคัญโดยวิเคราะห์ว่าเรื องใดให้ความสําคัญมากหรื อต้องการเน้นพฤติกรรมใด ก็ให้ออก ข้อสอบในเรื องนั นมากกว่าเรื องอื น
27 ดังนั นการทดสอบความสามารถในการอ่านให้สามารถวัดได้น นั ครู ผสู ้ อนสามารถจัดทํา แบบทดสอบได้หลายลัก ษณะ เช่ น แบบเลื อกตอบ แบบถู ก ผิด แบบเติ มคํา และแบบถามตอบ เป็ นต้น ทั งนี แบบทดสอบนั นจะต้องมีความครอบคลุมเนื อหาสาระหรื อวัตถุประสงค์ที จะทําการวัด หรื อพฤติกรรมที ตอ้ งการวัดอย่างแท้จริ ง ซึ งผูศ้ ึกษาได้จดั ทําแบบทดสอบวัดความสามารถนักเรี ยน ไว้ในหนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ น หลายลักษณะด้วยกัน ได้แก่ แบบเลือกตอบ แบบเติมคํา และแบบถามตอบโดยครอบคลุมเนื อหาสาระและตัวชี วดั
หนังสื ออ่านเพิม เติม ความหมายของหนังสื ออ่ านเพิม เติม หนังสื ออ่านเพิ มเติมหรื อเรี ยกอีกอย่างหนึ งว่า หนังสื ออ่านประกอบมีผใู ้ ห้ความหมายของ หนังสื อเพิ มเติมไว้ ดังนี
สมพร จารุ นฎั (2540 ก : 3) ได้ให้คาํ จํากัดความหนังสื ออ่านเพิ มเติมว่า คือ หนังสื อที มี สาระอิงหลักสู ตร สําหรับให้นกั เรี ยนอ่านเพื อศึกษาหาความรู ้เพิ มเติมด้วยตนเองตามความเหมาะสม ของวัย และความสามารถในการอ่ า นของแต่ ล ะบุ ค คล หนัง สื อ ประเภทนี เคยเรี ย กว่า หนัง สื อ อ่านประกอบ จินตนา ใบกาซู ยี (2542 : 6) ได้ให้ความหมายหนังสื ออ่านเพิ มเติ มหรื อหนังสื ออ่าน ประกอบไว้ คือหนังสื อที มีสาระอิงหลักสู ตรสําหรับให้นกั เรี ยนอ่าน เพื อศึ กษาหาความรู ้ เพิ มเติ ม ด้วยตนเองตามความเหมาะสมของวัย และความสามารถในการอ่านของแต่ละบุคคล ถวัลย์ มาศจรัส (2548 : 20) กล่าวว่า หนังสื ออ่านเพิ มเติมไม่ใช่หนังสื อแบบเรี ยนที บงั คับใช้ แต่ถื อเป็ นสื อการเรี ย นการสอนชนิ ดหนึ งที จดั ทําขึ น เพื อช่ วยขยายประสบการณ์ การเรี ยนรู ้ ของ ผูเ้ รี ยนให้กว้างขึ น ดัง นั น จึ ง สรุ ป ได้ว่า หนัง สื อ อ่ า นเพิ ม เติ ม หมายถึ ง หนัง สื อที มี เ นื อหาสอดคล้องกับ หลักสู ตรตอนใดตอนหนึ ง เนื อหาเจาะลึกในความรู ้เฉพาะวิชา โดยเพิ มเติมให้กว้างขวางและลึกซึ ง มากขึ นกว่าเดิม ใช้ในการเรี ยนการสอนสําหรับให้นกั เรี ยนอ่านเพื อศึกษาหาความรู ้เพิ มเติม ช่วยขยาย ประสบการณ์ ก ารเรี ยนรู ้ ของผู ้เรี ยนให้ กว้างขึ น และเลื อกอ่ านได้ตามความสนใจและตามกําลัง สติปัญญาของตนเอง
28 ความสํ าคัญของหนังสื ออ่ านเพิม เติม หนังสื ออ่านเพิ มเติมมีความสําคัญต่อเด็กและผูอ้ ่าน โดยมีผสู ้ รุ ปไว้ ดังนี
จารุ ณี ยอดกัณหา (2540:26) ได้กล่าวถึง ความสําคัญของหนังสื ออ่านเพิ มเติมว่า หนังสื อ อ่านเพิ มเติม จะช่ วยเพิ มเติมความรู ้ และประสบการณ์ ต่าง ๆ ที หนังสื อแบบเรี ยนไม่มี ช่ วยให้เกิ ด ความเพลิ ด เพลิ นและสนุ กสนานแก่ ผูอ้ ่ าน เป็ นการเสริ มความรู ้ มากขึ นอย่างกว้างขวาง เป็ นการช่ วยให้ นักเรี ยนที เรี ยนอ่อนให้ได้ความรู ้ เพิ มขึ น และทําให้เด็กที เรี ยนเก่งมีความรู ้ มากขึ น เป็ นการพัฒนา การอ่านตามความสามารถของเด็กแต่ละคน และยังเป็ นการชดเชยความรู ้สึกต่าง ๆ ในส่ วนที เด็กขาด ได้ดว้ ย พร้อมทั งยังเป็ นการให้อิสระแก่ผอู ้ ่านในการที จะเลือกหนังสื อไว้อ่านตามความสามารถและ ความเหมาะสมของตนเอง ซึ งจะเป็ นการเพิ มคุณค่าแก่ตวั นักเรี ยนเองด้วย ให้มีความคิดคํานึ งมากขึ น มี จิ นตนาการมากขึ น อยากรู ้ อยากเห็ นเกี ยวกับเรื องราว ธรรมชาติ ของคน นก สั ตว์ รวมถึ งสิ งแวดล้อม และเหตุการณ์ต่าง ๆ กรมวิชาการ (2545 : 42 ) ได้กล่าวถึงสําคัญของหนังสื ออ่านเพิ มเติม ไว้ดงั นี
1. ส่ งเสริ มความรู ้ เนื องจากหนังสื ออ่านเพิ มเติ มและหนังสื ออ้างอิง ควรมี เนื อหา ที เกี ยวกับความรู ้ ทักษะ ความคิดรวบยอด หลักการ ซึ งจะเป็ นประโยชน์แก่ผอู ้ ่านในการดํารงชี วิต การศึกษาหาความรู ้ รวมทั งก่อให้เกิดความเจริ ญงอกงามและพัฒนาการในด้านต่าง ๆ 2. ส่ ง เสริ มสติ ปัญญา กล่ า วคื อ เปิ ดโอกาสให้ผูอ้ ่ า นได้พ ฒ ั นาทัก ษะในการสัง เกต ตี ค วามเปรี ยบเที ยบ ใช้เหตุ และผล จํา แนกแจกแจง วิเคราะห์ สั งเคราะห์ ประเมิ นค่ า ตลอดจน สามารถนําความรู ้และทักษะเหล่านี ไปใช้ให้เป็ นประโยชน์ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ 3. ส่ งเสริ มเจตคติ ที เหมาะสมในการนําความรู ้ น นั ไปใช้ตามแนวทางที พึงประสงค์ เป็ นประโยชน์แก่ตน และแก่ส่วนรวม 4. ส่ งเสริ มความเข้าใจ กล่าวคือ ใช้ภาษาที ถูกต้องเหมาะสมแก่ความรู ้ และประสบการณ์ ทางด้านการใช้ภาษาของผูอ้ ่าน เสนอเนื อหาตามลําดับขั นตอนของความรู ้ (Content Structure) และ ตามพัฒนาการทางสติ ปัญญาของผูอ้ ่าน ให้ตวั อย่างที เหมาะสมตลอดจนใช้เทคนิ ควิธีหรื อเครื อง ส่ งเสริ ม ความเข้าใจอื น ๆ (Organization Aids) 5. ส่ งเสริ มการศึกษาหาความรู ้ดว้ ยตนเอง ดังนั นจึงสรุ ปได้วา่ หนังสื ออ่านเพิ มเติม มีความสําคัญต่อการพัฒนาคุณภาพของผูอ้ ่าน ให้สามารถเรี ยนรู ้เรื องต่าง ๆ ที ไม่มีในแบบเรี ยน ส่ งเสริ มให้ผอู ้ ่านพัฒนาทางด้านสติปัญญา มีเจตคติ ที ดีในการเรี ยนรู ้ มีความเข้าใจทางด้านภาษาและเรื องราวที อ่าน และสามารถเรี ยนรู ้ได้ดว้ ยตนเอง
29 จุดมุ่งหมายของหนังสื ออ่ านเพิม เติม หนังสื ออ่านเพิ มเติม เป็ นหนังสื อสําหรับเด็กประเภทหนึ ง ซึ งมีจุดมุ่งหมาย ดังนี
จินตนา ใบกาซูยี (2542 : 8 - 9) กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของหนังสื ออ่านเพิ มเติม ไว้ดงั ต่อไปนี
1. ช่วยให้เด็กได้รับความบันเทิง สนุ กสนานเพลิ ดเพลิ น สนองความต้องการของวัยเด็ก เช่น การ์ ตูน เด็กเล็กจะชื นชอบการ์ ตูนมากโดยเฉพาะการ์ ตูนตลกและการ์ ตูนนิทาน 2. ช่วยสร้างความคิดคํานึง และความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก 3. ช่ วยพัฒนาการเรี ย นรู ้ ด้า นภาษาของเด็ กให้เจริ ญงอกงาม เด็กยิ งอ่ านมากยิ งมี ความ แตกฉานในด้านภาษาโดยเฉพาะในเรื องคํา ประโยค และข้อความเป็ นอย่างมาก หนังสื อบางเล่ม ที ใช้ภาษาไพเราะสละสลวย จัดเป็ นสื อการเรี ยนของเด็กได้ดีทีเดียว โดยเฉพาะหนังสื อประเภทกวี คําประพันธ์ร้อยกรอง หรื อคําคล้องจองประเภทง่าย ๆ เด็กจดจําคําและเรื องราวได้ง่าย 4. ช่ ว ยปลู ก ฝั ง คุ ณ ธรรม เจตคติ และแบบอย่า งอัน น่ า พึ ง ปรารถนาให้ บ ัง เกิ ด แก่ เ ด็ ก คุณธรรมที แทรกแอบแฝงอยูใ่ นเนื อหา เรื องราวที สนุ กสนาน มีส่วนปลูกฝังสร้างเสริ มนิ สัยที ดีให้ บังเกิดแก่เด็กผูอ้ ่าน 5. ช่ วยให้เด็กรู ้ จกั การอ่านหนังสื อ อ่านหนังสื อเป็ น อ่านหนังสื อเก่ง และเกิ ดนิ สัยรักการอ่าน ให้อยูต่ ลอดชีวติ ซึ งอํานวยประโยชน์ต่อเด็กมากในแง่ที รู้จกั ใช้การอ่านเป็ นเครื องมือแสวงหาความรู ้ 6. ช่ วยทดแทนความรู ้ สึ กที เด็ ก ขาดหายไป เช่ น ขาดความรั ก รู ้ สึ ก ว้า เหว่ มี ป มด้อย หนังสื อที มีเนื อหาเกี ยวกับเรื องเหล่านี จะช่วยปลอบประโลมจิตใจของเด็ก และเป็ นเพื อนกับเด็กได้ ดีทีเดียว 7. ช่วยให้เด็กได้มีหนังสื อที มีสาระเหมาะสมกับวัย เป็ นการป้ องกันไม่ให้เด็กหันไปอ่าน และสนใจเรื องของผูใ้ หญ่เร็ วกว่าวัย อันจะเป็ นสิ งชักนําให้เด็กประพฤติตนในสิ งที ไม่สมควร ดังนั น จึงสรุ ปได้วา่ จุดมุ่งหมายที สําคัญของการจัดทําหนังสื ออ่านเพิ มเติมสําหรับเด็ก คื อ ใช้ป ระกอบการสอนเรื อ งใดเรื องหนึ ง ส่ ง เสริ ม การอ่ า นและปลู ก ฝั ง นิ สั ย รั ก การอ่ า น และ เสริ มสร้างนิ สัยรักการค้นคว้า เพื อพัฒนาการเรี ยนรู ้ทางด้านภาษาของเด็ก ช่วยให้เด็กรู ้จกั การอ่าน หนังสื อ ช่วยทดแทนความรู ้ สึกที เด็กขาดหายไป ให้รู้จกั การเลือกใช้หรื อจดจําเรื องราวต่าง ๆ เป็ นแหล่ง ในการศึกษาค้นคว้า หาความรู ้และประสบการณ์ และสามารถนําไปใช้ในชีวติ ประจําวันได้ รู ปแบบของการเขียนหนังสื ออ่ านเพิม เติม ในการเขียนหนังสื ออ่านเพิ มเติม จําเป็ นจะต้องอาศัยรู ปแบบที เหมาะสม เพื อให้หนังสื อ อ่านเพิ มเติม มีสาระและเรื องราวที ถูกต้อง มีผเู ้ สนอรู ปแบบการเขียนไว้ ดังนี
30 สมพร จารุ นฎั (2540 ข : 8 - 9) ได้กล่าวถึง รู ปแบบของการเขียนหนังสื ออ่านเพิ มเติมว่า อาจจัดทําได้หลายรู ปแบบ ขึ นอยูก่ บั ความสันทัด ชัดเจนของผูเ้ ขียน จุดมุ่งหมายและธรรมชาติของ เนื อหาสาระของหนังสื อ ตลอดจนวัยและประสบการณ์ของผูอ้ ่าน อาจจําแนกรู ปแบบของการเขียน ในที น ีได้เสนอรู ปแบบของหนังสื ออ่านเพิ มเติมเป็ น 3 รู ปแบบ ได้แก่ 1. รู ปแบบความเรี ยง (Exposition) รู ปแบบความเรี ยง สามารถจําแนกแยกประเภทย่อย ออกไปอีกหลายรู ปแบบ เช่น การเขียนอธิ บาย บรรยาย อภิปราย สื บค้น การแก้ปัญหาวิเคราะห์ พรรณนา เป็ นต้น 2. รู ปแบบนิทาน(Native) 3. รู ปแบบนิยาย (Fiction) 4. รู ปแบบคําประพันธ์ (Poetry) ส่ วนใหญ่หนังสื อที มุ่งเสนอความรู ้และความคิดรวบยอด หลักการ มักจะนําเสนอเนื อหา รู ปแบบอธิ บายมากกว่ารู ปแบบอื น ถวัลย์ มาศจรัส (2548 : 79 - 80) กล่าวว่า การเขียนหนังสื อเพิ มเติมนั น นิ ยมเขียนในรู ปสารคดี ที มีองค์ประกอบหรื อรู ปแบบ ดังต่อไปนี
1. เนื อหา ในส่ วนนี จะต้องมาจากเรื องจริ งที ยึดหลักมุ่งแสดงข้อมูล ให้ความรู ้ แก่ผูอ้ ่าน สาระของเรื องราวสามารถตรวจสอบได้ มีแง่คิดต่อผูอ้ ่านประเด็นใดประเด็นหนึ ง 2. ภาษาสารคดี จะใช้ภาษาที เป็ นแบบแผน มีหลักในการเขียน สามารถตรวจสอบได้คือ เป็ นคําสุ ภาพ ไม่มีการตัดทอนรู ปประโยค ภาษาไม่แสดงออกถึงความรุ นแรง หลีกเลี ยงภาษาที เป็ น โวหารยืดเยื อ เป็ นกลาง ไม่ตลกขบขัน มีความเคร่ งคัด และรักษามาตรฐานของภาษา 3. ภาพประกอบ ถื อเป็ นหลักของงานเขี ยนประเภทของสารคดี เพราะภาพถ่ายจะช่ วย เสริ มเนื อหาให้ชัดเจนยิ ง ขึ นและยัง ช่ วยให้ผูอ้ ่า นมี ค วามรู ้ สึก ว่า ไปรั บรู ้ เรื องราวดัง กล่ าวนั นด้วย ตนเอง ภาพประกอบควรมีลกั ษณะดังนี
3.1 เสริ มให้เนื อหาเด่นชัดยิง ขึ น 3.2 ภาพกับเนื อหาเป็ นเรื องเดียวกัน 3.3 เป็ นภาพถ่ายเรื องราวจากแหล่งข้อมูลโดยตรง 4. มีคาํ บรรยายภาพที ถูกต้องชัดเจน 5. ขนาดของภาพที เหมาะสมคือ 5.1 เด็กเล็ก (อนุบาล – ป.2) ควรมีขนาด 3 ใน 4 ของหน้า 5.2 เด็กโต (ป.3 – ป.4) ควรมีขนาด 1 ใน 2 ของหน้า 5.3 เด็กวัยรุ่ นตอนต้น (ป.5 – ป.6) ควรมีขนาด 1 ใน 4 ของหน้า
31 สรุ ปได้ว่า การสร้ างหนังสื ออ่านเพิ มเติม สามารถเขียนได้ในรู ปของความเรี ยง นิ ทาน นิ ยาย คําประพันธ์โดยมี เนื อหา ภาพประกอบ คําบรรยาย ซึ งสามารถจัดทําขึ น เพื อใช้ส่งเสริ ม การเรี ยนการสอนโดยเน้นเนื อหาสาระความรู ้ ข้อเท็จจริ งเป็ นหลักสําคัญ ซึ งต้องศึกษาทําความเข้าใจ และวิเคราะห์องค์ประกอบรวมถึงโครงสร้าง เพื อเป็ นแนวทางในการสร้างหนังสื อให้มีรายละเอียด และมี ค วามสัม พันธ์ ต่อเนื องกัน ตั ง แต่ บทนําเรื อง ส่ วนเนื อหาและการสรุ ป เรื อง ทั ง นี เพื อบรรลุ จุดมุ่งหมายสําคัญให้เด็กได้ความรู ้เกี ยวกับวิชาการในเรื องนั น ๆ อย่างเหมาะสมกับวัย ดังนั น การสร้างหนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ น ที ผศู ้ ึกษาสร้างขึ น เป็ นหนังสื อที เสนอความรู ้ เกี ยวกับประวัติความเป็ นมาของเพลงบอก ลักษณะและพันธุ์ไม้ในท้องถิ นซึ งกําลังจะ สู ญพันธุ์ และมีแง่คิดให้นกั เรี ยนอนุ รักษ์เพลงบอกและไม้พ ืนถิ นเมืองคอน โดยใช้รูปแบบการเขียน ได้แก่ รู ปแบบความเรี ยงหรื อร้ อยแก้วที มีตวั ละครในการดําเนิ นเรื อง และใช้รูปแบบคําประพันธ์ กลอนเพลงบอก มีภาพประกอบเป็ นทั งภาพวาดและภาพถ่าย เพื อเสนอความชัดเจนของเนื อเรื อง ขั*นตอนการสร้ างหนังสื ออ่ านเพิม เติม จินตนา ใบกาซูยี (2538 : 52 - 65) กล่าวถึงขั นตอนการเขียนหนังสื ออ่านเพิ มเติมไว้ดงั นี
1. กําหนดจุดประสงค์ การเขียนใด ๆ ผูเ้ ขียนต้องตั งจุดประสงค์เพื อต้องการว่า จะเขียน อะไร ต้องการให้ผูอ้ ่ านได้รับความรู ้ ความคิ ด ทักษะและคุ ณ ประโยชน์ อย่า งไร การกําหนด จุดประสงค์ไว้ก่อนการเขียน เป็ นการกําหนดทิศทางไม่ให้เขียนหลงทาง หรื อเบี ยงเบนไปจากสิ งที ต้องการจะเขียนในเบื องต้น จุดประสงค์จึงเป็ นเสมือนเครื องกํากับผูเ้ ขียนอีกทางหนึ ง 2. กํา หนดระดับ ผูอ้ ่ า นกลุ่ ม เป้ าหมาย ผูเ้ ขี ยนต้องรู ้ ว่า ผูอ้ ่ านของตนคื อใคร มี คุ ณสมบัติ มีวยั วุฒิ ระดับสติปัญญา ความรู ้ และประสบการณ์ เดิมขนาดไหน โดยเฉพาะอย่างยิ งในกรณี ที จะ เขี ย นหนัง สื ออ่ า นเพิ ม เติ ม ที ต้องการใช้ป ระกอบการเรี ย นการสอน คุ ณ สมบัติข องผูใ้ ช้หนัง สื อ จะต้องนํามาเป็ นองค์ประกอบที สาํ คัญในการวางแผนการเขียนและกําหนดขอบเขตการเขียนของตน โดยทัว ไปแล้วการแบ่งกลุ่มผูอ้ ่านสามารถแบ่งได้ ดังนี
2.1 กลุ่มนักวิชาการ ครู อาจารย์และปั ญญาชนมีความสามารถในการอ่านได้สูงมาก 2.2 กลุ่มเด็กและเยาวชน ทั งที อยูใ่ นระบบโรงเรี ยนและนอกโรงเรี ยน 2.3 กลุ่มผูใ้ หญ่ หมายถึง ผูท้ ี มีอายุเกิน 25 ปี ขึ นไป ประกอบอาชีพเลี ยงตนเองได้ 3. กําหนดเนื อหาหรื อหัวเรื อง การกําหนดเนื อหาหรื อหัวเรื อง ให้เขียนในสิ งที ตนเองรู ้แจ้ง และเชี ยวชาญอย่างแท้จริ ง พึงหลี กเลี ยงการเขี ยนในสิ งที ตนยังไม่ชาํ นาญ เพราะอาจเกิ ดปั ญหา จนการเขี ย นต้องหยุ ดชะงัก ลงได้ แหล่ ง ที ค ดั เลื อกเนื อหาสํ า หรั บ นํา มาใช้ใ นการเขี ย น ได้แ ก่
32 หลักสู ตรสถานศึกษา สิ งแวดล้อมในสังคม และสภาพท้องถิ น ความสนใจและความต้องการของ เด็กตามวัย 4. กําหนดชื อเรื อง ผูเ้ ขียนควรกําหนดชื อเรื องหนังสื อที ตนจะเขียนไว้ก่อนล่วงหน้า ทั งนี
เพราะการกําหนดชื อเรื องนั นเกี ยวพันโยงไปถึงหัวข้อเรื องที จะเขียน และขอบข่ายเนื อหาที กาํ หนด ไว้ในโครงสร้าง หลักสําคัญ คือ ชื อเรื องควรสอดคล้องกับหัวเรื องและโครงสร้างเนื อหา เพื อว่าเมื อ ผูอ้ ่านเห็นชื อเรื องก็สามารถคาดคะเนได้วา่ เนื อหาภายในเป็ นเรื องอะไร 5. กําหนดโครงสร้างเนื อหา โครงสร้างเนื อหา คือ การกําหนดขอบเขตเนื อหาของหนังสื อ ที จะเขียนให้มีระบบตามลําดับความคิดหรื อตามวัตถุประสงค์ของการเขียนหลักการและทฤษฎีหรื อ ความรู ้ ใ นสาขาวิช านั น ๆ ที เขี ย นต้องการนําเสนอให้ผูอ้ ่ านนั น จะต้องมี การจัดระบบเนื อหาไว้ อย่างรัดกุม เพื อจะได้ครอบคลุ มขอบข่ายเนื อหาที จะเขียนทั งหมดตามวัตถุประสงค์ที วางเอาไว้ใน การกําหนดโครงสร้างเนื อหาของหนังสื อที จะเขียน จะต้องคํานึ งถึงโครงสร้ างทางวิชาการเป็ นรากฐาน สําคัญที สุด ศาสตร์ ความรู ้ สาขาใดมักจะมี โครงสร้ า งเนื อหาเฉพาะตัว ถ้าผูเ้ ขี ยนเสนอสาระไป ตามลําดับขั นตอนอย่างเหมาะสม ก็จะช่วยให้ผอู ้ ่านเกิดการเรี ยนรู ้และเข้าใจในสิ งที อ่านได้ง่าย 6. กํา หนดแนวการเขี ยน แนวการเขี ยนหรื อบางที เรี ยกว่าท่ วงทํานองการเขี ยน โวหาร หรื อ การเสนอเนื อหาของการเขียนข้อความต่าง ๆ นั น หมายถึง วิธีการเรี ยบเรี ยงข้อความให้สอดคล้อง กับเนื อหา จนผูอ้ ่านสามารถอ่านและเข้าใจได้ถึงสาระที ผูเ้ ขี ยนต้องการจะสื อในข้อความนั น ๆ การเลื อกแนวการเขียนให้เหมาะสมกับเนื อหาข้อความ จึงเป็ นเรื องสําคัญเพราะส่ งผลกระทบและ มีอิทธิ พลต่อความเข้าใจเรื องที อ่าน หรื อความรู ้และความคิดของผูอ้ ่านเป็ นอันมาก แนวการเขียนหนังสื ออ่านเพิ มเติม อาจใช้แนวการเขียนประเภทร้ อยแก้ว เพราะหนังสื อ ประเภทนี มุ่ ง ให้ ผูเ้ รี ย นได้เนื อหาสาระ ความรู ้ และความคิ ดในวิ ชาการต่ าง ๆโดยใช้ประกอบการเรี ยน การสอนของครู ในชั นหรื อใช้คน้ คว้าทํารายงาน การเขียนประเภทร้ อยแก้วแบ่งออกเป็ นการเขียน สารคดี วิธีเรี ยบเรี ยงที สาํ คัญและนิยมใช้กนั อย่างกว้างขวาง ดังนี
6.1 การบรรยาย คือ การเล่าเรื อง ซึ งได้พบเห็นอย่างถี ถว้ น อาจมีตวั บุคคล หรื อตัวละคร มีพฤติกรรมและเหตุการณ์ หรื อปรากฏการณ์ที เกิดขึ นเป็ นเนื อเรื องดําเนิ นไป นิ ยมใช้เขียนในนิ ทาน นิยาย เรื องเล่า รายงาน 6.2 การพรรณนา คือ การให้รายละเอียดเกี ยวกับสิ งใดสิ งหนึ งที ได้พบเห็ นมาโดยไม่มี เนื อเรื อง นิยมใช้การเขียนในการพรรณนาความงามของธรรมชาติ สถานที ความดีของบุคคล 6.3 การอธิ บาย คือ การชี แจงสั งสอนอธิ บายและพิสูจน์ให้เกิ ดความเข้าใจเหมาะสม กับข้อเขียนที ตอ้ งการให้ความรู ้แก่ผอู ้ ่าน เหตุผลหรื อการใช้ตวั อย่าง
33 6.4 การเปรี ยบเทียบ คือ การเทียบเคียงเพื อให้ขอ้ ความที มีอยูน่ นั มีความหมายกระจ่างขึ น โดยการยกอีกตัวอย่างหนึ งมาเทียบให้เห็นความแตกต่างหรื อความเหมือน 6.5 เรื องเล่า ใช้ลกั ษณะการบรรยายเล่าเรื อง และมีการพูดคุ ยสนทนาเพื อให้เรื อง ดําเนินไปมีการใช้สรรพนามผูอ้ ่านกับผูเ้ ขียน 6.6 จดหมายหรื อบันทึกเหตุการณ์ การเขียนแบบจดหมายหรื อบันทึก เป็ นรู ปแบบ ที เขียนได้ง่าย เนื อหาใช้ส ิ งที ผูเ้ ขี ยนมีประสบการณ์ ในทํานองเล่ าเรื องที ได้พบได้เห็ นมา เนื อหา ไม่จาํ เป็ นต้องเรี ยบเรี ยงลําดับ แต่เป็ นไปตามเรื องที ผเู ้ ขียนมีประสบการณ์มา 6.7 สาระบันเทิง แนวการเขียนแบบนี คือการผสมผสานระหว่างการเขียนแบบสารคดี และบันเทิงคดีเข้าไว้ดว้ ยกัน โดยให้มีลกั ษณะการเขียนแบบบันเทิงคดี มีการสมมุติตวั ละครมีฉาก และการใช้ก ลวิธี การเขี ย นแบบเรื องสั น เพื อให้เรื องสนุ ก สนานชวนอ่า น โดยยัง มี เนื อหาที เป็ น ความรู ้ สาระความคิดแก่ผอู ้ ่านอย่างเต็มที 7. การทํารู ปเล่ม หมายถึง ลักษณะรู ปร่ างและขนาดกระดาษและขนาดตัวหนังสื อตัวพิมพ์ ลักษณะและขนาดของรู ปเล่ม ควรมีขนาดพอเหมาะหยิบถือได้สะดวก ความหนาของหนังสื อขึ นอยู่ กับระดับอายุของผูอ้ ่าน หนังสื อที มีเนื อเรื องยาวมากควรแบ่งออกเป็ นหลายเล่ม โดยจบเป็ นตอนๆ แต่ละตอนจบในตัวเอง ขนาดรู ปเล่มถือเอาความกะทัดรัดเปิ ดอ่านง่ายเป็ นเกณฑ์ ดังนี
7.1 ขนาด 8 หน้ายก หมายถึง หนังสื อที มีขนาด18.5×26 ซม.หนังสื อขนาดนี 8 หน้า เท่ากับ 1 ยก หนังสื อ 1 เล่มอาจจะมี 1 ยก 2 ยก 3 ยก ตามความหนาของหนังสื อ ถ้ามี 80 หน้า ก็หมายความว่า หนังสื อนั นเป็ นหนังสื อขนาด 8 หน้ายก เล่มหนังสื อมีจาํ นวนทั งหมด 10 ยก เป็ นต้น 7.2 ขนาด 16 หน้ายก หมายถึง หนังสื อที มีขนาด 13 × 18.5 ซม.หนังสื อขนาดนี 16 หน้า เท่ากับ 1 ยก หนังสื อ 1 เล่ม อาจจะมี 5 ยก 10 ยก เช่ น ถ้ามี 168 หน้า ก็หมายความว่า หนังสื อนั นเป็ นหนังสื อขนาด 16 หน้ายก เล่มหนังสื อมีจาํ นวนทั งหมด 10.5 ยก เป็ นต้น 7.3 ขนาด 16 หน้ายกพิเศษ หมายถึ ง หนังสื อที ตอ้ งการรู ปเล่มที อยูร่ ะหว่างหนังสื อ ขนาด 8 หน้ายก และ 16 หน้ายก จึงทําให้มีขนาดพิเศษออกไป หนังสื อ 16 หน้ายกพิเศษนี จะมี ขนาด 14.8 × 21 ซม. นับ 16 หน้ายกพิเศษเท่ากับ 1 ยก 8. การจัดรู ปเล่มหนังสื อ การจัดรู ปเล่มหนังสื อ หนังสื อที ดีสําหรับเด็กควรมีคุณภาพ ในเรื องเนื อหา การจัดหน้าและรู ปเล่ม การเขียนเรื อง คุณภาพทางศิลปะและการจัดพิมพ์ การจัด เล่มหนังสื อมีส ิ งที ควรคํานึง เพื อให้ไดหนังสื อที เหมาะสมสําหรับเด็ก ดังนี
8.1 ลักษณะภายนอกทัว ไปของหนังสื อ 8.1.1 ขนาดหนังสื อสําหรับเด็กมักถือเอาตามความสะดวกควรยึดหลักที ว่าเด็ก สามารถหยิบถือ กางเปิ ดได้สะดวกตามวัยของเด็ก ขนาดของหนังสื อไม่ควรให้เล็กกว่า 7×5 นิ ว
34 8.1.2 รู ปเล่ม ส่ วนมากมี 2 แบบ คือแบบแนวตั งและรู ปเล่มแบบแนวนอนหรื อมี รู ปร่ างที แปลกเข้ากับเนื อหาภายใน เช่น เนื อหาภายในเป็ นเรื องเกี ยวกับกระต่าย รู ปเล่มจะมีลกั ษณะ เป็ นตัวกระต่ายด้วย 8.1.3 การเย็บเล่ม วัสดุที ใช้เย็บเล่มต้องทนทานและเย็บด้วยความประณี ต 8.2 ส่ วนต่าง ๆ ของหนังสื อ 8.2.1 หน้าปก ภาพประกอบสอดคล้องกับเนื อเรื อง ควรใช้สีสันสะดุดตา บนปก มีชื อหนังสื อ ชื อผูแ้ ต่ง ชื อผูว้ าดภาพประกอบ ตัวโตชัดเจน เป็ นภาพที ดึงดูดความสนใจ ชักจูงใจ ให้อยากเปิ ดอ่าน บางเล่มอาจมีปกหุ ม้ ซึ งมีลกั ษณะคล้ายกับปก ปกอาจเป็ นปกอ่อนหรื อปกแข็งก็ได้ 8.2.2 ปกด้านใน ส่ วนหลังของหน้าปก ส่ วนใหญ่จะปล่อยว่าง ถ้ามีรายละเอียดก็เป็ น รายละเอียดเกี ยวกับการพิมพ์ 8.2.3 ใบรองปก คือ หน้าต่อจากปกมีเพียงชื อเรื องซึ งพิมพ์อยูด่ า้ นบน 8.2.4 ด้านหลังของใบรองปก ส่ วนใหญ่เว้นว่างไว้ หรื ออาจจะใส่ ชื อชุ ดหนังสื อ เล่มอื น ๆ ที ผแู ้ ต่งเรื องนี เขียนไว้ 8.2.5 ปกใน มักอยูด่ า้ นขวามือ การจัดปกในแบ่งออกเป็ น 3 ตอน ตอนแรกมี ชื อ เรื องและชื อรอง ตอนที สองมีชื อผูแ้ ต่ง ผูจ้ ดั ทํา ผูร้ วบรวม และตอนที สามเป็ นเรื องของการจัดพิมพ์ 8.2.6 รองปกใน เป็ นส่ วนหลังของปกใน อาจใช้เป็ นหน้าคําอุทิศหรื อบุคคลที อุปการะ ในการแต่ง 8.2.7 หน้าคํานําหรื อคําชี แจง เป็ นหน้าแสดงวัตถุประสงค์ของหนังสื อ ประวัติ และความเป็ นมา หรื อชี แจงการใช้หนังสื อ 8.2.8 หน้าสารบัญอาจอยูซ่ า้ ยมือหรื อขวามือแต่ให้ต่อจากหน้าคํานํา 8.3 ส่ วนเนื อหาหรื อเนื อในของเล่ม ส่ วนที ตอ้ งพิจารณา ได้แก่ 8.3.1 สี ของตัวอักษร หนังสื อส่ วนมากมักพิมพ์ตวั อักษรลงบนพื นสี ขาว เพราะ ต้นทุนในการพิมพ์ต าํ กว่าพิมพ์ลงบนกระดาษสี สี ของอักษรในหนังสื อมักเป็ นสี ดาํ 8.3.2 ขนาดของตัวอักษร ผูจ้ ดั ทําหนังสื อควรพิจารณาเลือกใช้ตวั อักษรที เหมาะ แก่ วยั เด็ ก เด็ ก ประถมศึ ก ษาควรใช้ตวั อัก ษรขนาด 24 พ้อยท์ ควรพิ ม พ์ใ ห้ ชัดเจน ไม่ เลอะเทอะ มีการเว้นวรรค เพื อให้ดูสวยงาม และไม่น่าเบื อ 8.3.3 การวางหน้าหนังสื อหรื อการจัดหน้า จัดภาพและคําบรรยายให้เหมาะสม สามารถจัดได้ 4 วิธี ดังนี
1) ภาพอยู่คนละหน้ากับคําบรรยาย ซึ งจะอยู่ในลักษณะหน้าคู่ อาจอยู่ด้าน ขวามือตามหลักความสนใจของคนที มองด้านขวามือก่อนเสมอ แต่การจัดภาพแบบนี จะไม่เป็ นผลดี
35 กับเด็ก เพราะปกติเด็กสนใจภาพมากกว่าตัวหนังสื ออยูแ่ ล้ว หากเอาตัวหนังสื อไว้ทางซ้ายจะทําให้ เด็กลดความสนใจตัวหนังสื อลงไปอีก เพื อให้เกิดความสมดุลควรเอาภาพไว้ทางซ้ายมือบ้าง 2) ภาพวางไว้หน้าเดียวกับคําบรรยาย อาจวางไว้ดา้ นบนหนังสื อด้านล่างปน กันไปก็ได้ 3) ภาพและคําบรรยายอยู่หน้าเดี ยวกันวางไว้ ทั งด้านบนและด้านล่างและ กระจายไปทัว หน้ากระดาษตามที วา่ ง 4) ภาพและคําบรรยายกระจายติดต่อกันทั งสองหน้าคู่ ทําให้มองเห็นชัดเจน ซึ งมักจะเป็ นภาพใหญ่ ๆ แต่ตอ้ งเย็บกระดาษกลางเล่มให้หน้ากระดาษติดกันอย่างเรี ยบร้ อยแนบ สนิท ภาพและคําบรรยายจะต่อเนื องกันได้สนิทดูแล้วเป็ นภาพเดียวกัน 5) สี แบบ และขนาดของภาพ ภาพมีความสําคัญพอ ๆ กับเนื อเรื อง เพราะภาพ ช่วยให้เกิ ดความเพลิดเพลิน ความกระจ่างแจ้ง ความสวยสดงดงาม และเป็ นประสบการณ์ แก่เด็ก อย่างหนึ ง สี ของภาพควรสมจริ งเพราะจะทําให้เด็กเรี ยนรู ้ไปด้วย ภาพมีท งั ภาพวาดและภาพถ่ายเด็ก ระดับกลาง (6-10 ขวบ) ชอบภาพสี ธรรมชาติ ควรพิจารณาการใช้ภาพให้เหมาะสมกับเรื อง ไม่ควร เรี ยงตัวหนังสื อทับภาพ ซึ งจะทําให้ผูอ้ ่านเสี ยความรู ้ สึกในการชื นชม ภาพประกอบเนื อเรื องนั นๆ ควรจัดภาพและเนื อเรื องไว้อย่างละครึ งหน้า นักเรี ยนทุกระดับชั นประถมชอบภาพขนาดโตเต็มหน้า 6) คุ ณภาพของกระดาษควรเป็ นกระดาษสี หนามัน แข็งแรงทนทานต่ อ การหยิบถือของเด็ก 8.4 ส่ วนหลัง ประกอบด้วยสิ งเหล่านี จัดเรี ยงตามลําดับ คือ 8.4.1 หน้ากิจกรรมหรื อคําอธิ บายศัพท์ที เป็ นรู ปภาพ ทําให้เด็กเข้าใจเนื อเรื องดี ขึ นในส่ วนนี อาจประกอบด้วยบรรณานุกรม ดัชนี และภาคผนวก 8.4.2 รองปกใน(ปกหลัง) อาจเว้นว่างเปล่า แต่ปัจจุบนั นิ ยมมีภาพประกอบ ซึ งถื อ ว่าเป็ นส่ วนหนึ ง ของหน้ า ปก เพื อ เร้ า ความสนใจ การออกแบบปกหน้าและปกหลังนิ ยมให้ เป็ น แผ่นเดียวกัน ดังนั น สรุ ปได้วา่ ในการสร้างหนังสื ออ่านเพิ มเติมที ดี มีคุณค่าสําหรับเด็กนั น ควรมีโครง เรื องเหมาะสม สนองความต้องการและความสนใจของเด็ก ใช้ภาษาเข้าใจง่าย มีรูปภาพ ตัวอักษร ตลอดจนรู ป เล่ ม และชื อเรื องที ดึง ดู ดความสนใจ น่ า อ่า นชวนติ ดตาม ตลอดจนจู งใจให้เด็ก รั ก การอ่ า นยิ ง ขึ น โดยมี ห ลัก การสํ า คัญ ที จ ะต้อ งพิ จ ารณาเป็ นสี ข นั ตอน ทั ง นี เพื อ ให้ ค รอบคลุ ม รายละเอียดในการสร้ างหนังสื อให้เกิดคุณภาพและสนองจุดมุ่งหมายที กาํ หนดไว้เกิดประโยชน์ต่อ ผูอ้ ่ าน ได้เนื อหาสาระเพิ มเติ ม ส่ งเสริ มการค้นคว้า และการเรี ยนรู ้ เชิ งวิ ชาการ รวมทั งเป็ นสื อการพัฒนา การเรี ยนการสอนของครู และนักเรี ยนด้วย
36 สําหรับหนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุด อนุรักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ น ผูศ้ ึกษาเขียนตามแนวการเขียนหนังสื ออ่าน เพิ มเติมของจินตนา ใบกาซู ยี (2538: 52-65) และถวัลย์ มาศจรัส (2548 : 79 – 80) ซึ งมีรายละเอียด ในการสร้าง คือ มีรูปเล่มเป็ นแนวตั ง ใช้รูปประเภทร้อยแก้วหรื อความเรี ยง เป็ นบทสนทนาของตัว ละคร และรู ปแบบประเภทร้อยกรอง หรื อ คําประพันธ์ ประเภทกลอนเพลงบอก มีท งั ภาพวาด และ ภาพถ่ า ยประกอบ วางภาพประกอบไว้หน้า เดี ย วกับ คํา บรรยาย ซึ ง วางภาพไว้ท งั ด้า นบนและ ด้านล่างของตัวหนังสื อ ใช้ตวั อักษร 22 และ 24 พอยท์ มีส่วนต่าง ๆ ของหนังสื อ คือ หน้าปก ใบรองปก ปกใน คํา นํา สารบัญ เนื อ เรื อง คํา ยากที ค วรรู ้ คํา ภาษาถิ น ใต้ ใบกิ จ กรรม แบบทดสอบ บรรณานุกรม และผูใ้ ห้ขอ้ มูล การประเมินคุณค่ าหนังสื ออ่ านเพิม เติม หนังสื ออ่านเพิ มเติม โดยปกติจะให้ความรู ้เช่ นเดียวกับหนังสื อเรี ยน ดังนั น หลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินหนังสื ออ่านเพิ มเติม ได้มีนกั การศึกษาให้แนวคิดในการตรวจประเมินคุณภาพ หนังสื อไว้ ซึ งสามารถใช้เป็ นแนวทางในการนําไปปรับใช้ได้ ดังนี
พัฒนา จันทนา (2545 : 25) ได้สรุ ปแนวการประเมินไว้ว่า เกณฑ์ในการประเมิ นจะใช้ หลักการกว้าง ๆ เป็ น 2 ลักษณะ คือ 1. การประเมินคุณลักษณะรู ปแบบ 1.1 การวิเคราะห์ลกั ษณะรู ปแบบ 1.2 การวิเคราะห์คุณภาพหนังสื อ 1.3 การวิเคราะห์คุณภาพของผูแ้ ต่งหนังสื อ 2. การประเมินคุณค่าทางวิชาการ ได้แก่ 2.1 การประเมินเนื อหาวิชาโดยทัว ไป เช่น จํานวนเรื องในเล่ม สัดส่ วนของเรื องและ ความเหมาะสมกับระดับชั นเรี ยน เป็ นต้น 2.2 การประเมินเนื อหาที ตรงกับจุดมุ่งหมายของหลักสู ตร โดยประเมินถึ งเนื อความ ในเนื อเรื อง ซึ งจะทําให้ผเู ้ รี ยนมีพฤติกรรมตามจุดมุ่งหมายที หลักสู ตรกําหนดไว้ ศัก ดิ{ ศรี ปาณะกุ ล (2539 : 195 - 198) ได้กล่ าวถึ ง เกณฑ์ ในการประเมิ นหนังสื ออ่ านเพิ มเติ มไว้ 2 ลักษณะ ดังนี
1. ใช้เกณฑ์เดียวกับเกณฑ์ประเมินแบบเรี ยน ซึ งแบ่งเป็ นหัวข้อใหญ่ ๆ ดังนี
1.1 คุณภาพในการจัดทํารู ปเล่ม 1.2 หลักการเรี ยนการสอนเฉพาะวิชา
37 1.3 หลักจิตวิทยาแห่งการเรี ยนรู ้ 1.4 ความสอดคล้องกับหลักสู ตร 2. เกณฑ์การประเมิ นหนังสื ออ่านประกอบ ซึ งส่ วนใหญ่ที ใช้กนั อยู่ จะแบ่งออกเป็ น 10 หัวข้อ ดังนี
2.1 ผูแ้ ต่ง 2.1.1 เป็ นผูม้ ีความรู ้ ความเชี ยวชาญในเรื องที แต่งเป็ นอย่างดี 2.1.2 ได้มีการค้นคว้าประกอบการแต่งหนังสื ออย่างพอเพียง 2.1.3 เข้าใจความต้องการ ความสนใจและความสามารถของผูอ้ ่านโดยทัว ไป 2.1.4 เกี ยวข้องกับวงการศึกษา และมีประสบการณ์ในการแต่งหนังสื อ 2.2 ปี ที แต่งและพิมพ์ พิจารณาใน 2 ประเด็น คือ 2.2.1 เป็ นหนัง สื อใหม่ พิ ม พ์หรื อแต่ งในระยะที ผ่า นมาไม่ นานเกิ นกว่า 10 ปี ซึ งจะให้ขอ้ เท็จจริ งที ถูกต้อง ทันสมัย ควรแก่การเชื อถือยิง กว่าหนังสื อ เก่าที แต่งมานานแล้ว 2.2.3 เป็ นหนังสื อเก่าที แต่ง หรื อพิมพ์มานานแล้ว แต่ไม่มีผลกระทบกระเทือน ถึ งเนื อหาและกลับทํา ให้ได้ข ้อเท็จจริ ง ที ถู กต้องที สุด เช่ น เรื องประเพณี เก่ าแก่ หรื อวัฒนธรรม ดั งเดิม เป็ นต้น 2.3 เนื อหาสาระ 2.3.1 มีแก่นสาร สาระ และเหตุผลเป็ นที น่าเชื อถือ 2.3.2 ให้ความรู ้และข้อค้นพบใหม่ที ทนั สมัย รวมทั งชวนให้ติดตามอ่านต่อไป 2.3.3 สอดคล้องกับหลักสู ตรและแบบเรี ยน 2.3.4 ให้รายละเอียดที ลึกซึ ง แจ่มแจ้งและสมบูรณ์ 2.3.5 ขยายประสบการณ์ของผูอ้ ่าน และส่ งเสริ มแนวคิดที กว้างขวางยิง ขึ น 2.4 ภาษา 2.4.1 ใช้ภาษาที เข้าใจง่าย สื อความหมายได้ตรงและชัดเจน 2.4.2 เป็ นภาษาสุ ภาพ กะทัดรัด และถูกต้องตามหลักภาษา 2.4.3 เรี ยบเรี ยงได้เหมาะสม ชวนอ่านไม่น่าเบื อ 2.4.4 ใช้ถอ้ ยคํา อ่านแล้วส่ งเสริ มให้เกิดสุ นทรี ยะทางด้านการใช้ภาษา 2.4.5 มีคาํ อธิ บายศัพท์ประกอบด้วยเมื อจําเป็ น 2.5 การจัดเรื อง 2.5.1 ลําดับเนื อเรื องในแต่ละบทเชื อมโยงกันดี 2.5.2 ลําดับเรื องจากง่ายไปยากและจัดตามลําดับประสบการณ์ที ผอู ้ ่านควรได้รับ
38 2.5.3 เมื อเนื อเรื องไม่เรี ยงลําดับ สามารถตัดตอนได้โดยไม่ขาดช่วง 2.5.4 มีความกลมกลืนใกล้เคียงกับหลักสู ตร 2.5.5 ส่ งเสริ มเพิ มพูนความรู ้ ความเข้าใจขึ นโดยลําดับ ไม่ขดั แย้งหรื อหักล้างกัน 2.6 ความน่าอ่าน 2.6.1 ตัวอักษรขนาดพอเหมาะ มีหลายลักษณะให้สังเกตได้ง่าย ช่องไฟมีจงั หวะ ให้อ่านได้สะดวก 2.6.2 ตัวพิมพ์ชดั เจน ไม่เลอะเลือนอยูบ่ นกระดาษที มีคุณภาพดี 2.6.3 ภาพประกอบหรื อแผนภูมิเหมาะสมกับความจําเป็ น พร้ อมทั งมีคาํ อธิ บาย ชัดเจน 2.6.4 ราคาพอประมาณ ไม่แพงเกินกว่าจะซื อหาเมื อเทียบกับคุณภาพ 2.6.5 มีลกั ษณะดึงดูดและน่าเชื อถือ 2.7 เครื องช่วยประกอบ 2.7.1 มีเครื องช่วยในการอ่าน ได้แก่ แผนที แผนภูมิ แผนผัง และภาพประเภทต่าง ๆ 2.7.2 มีบทนํา สารบัญ และหัวเรื องที ชดั เจน 2.7.3 มีดชั นีตน้ เรื อง และภาคผนวก 2.7.4 มีเชิงอรรถและบรรณานุกรมท้ายเล่ม แนะนําหนังสื อเพื ออ่านเพิ มเติม 2.7.5 มี บทสรุ ปและข้อเสนอแนะอันจะเป็ นประโยชน์ในแง่ เสริ มสร้ างความรู ้ เช่น แบบฝึ กหัด โครงงาน กิจกรรมต่าง ๆ 2.8 ความทนทาน 2.8.1 รู ปเล่มกะทัดรัด ไม่หนา หนัก เล่มใหญ่หรื อกว้างเกินไปทําให้ใช้ไม่ถนัด 2.8.2 การเข้าเล่มและเข้าปกแข็ง ถาวร 2.8.3 กระดาษที พิมพ์เป็ นกระดาษดี ไม่ขาดหรื อเปื อยง่าย 2.8.4 ปกแข็งเรี ยบร้อยและคงทน 2.8.5 หมึกพิมพ์ชดั เจน ไม่ซีดจางหรื อลบเลือนโดยง่าย 2.9 ค่านิยมของวิชา 2.9.1 แทรกคุณธรรมของความเป็ นพลเมืองดีไว้เสมอเมื อมีโอกาส 2.9.2 ให้แง่คิดและแนวทางเพื อปฏิบตั ิในชีวติ อย่างฉลาด 2.9.3 ส่ งเสริ มความเป็ นประชาธิ ปไตยในสังคม 2.9.4 เน้นให้ตระหนักในบทบาท ความรับผิดชอบของตนต่อสังคม 2.9.5 เกิดประโยชน์ต่อผูอ้ ่านส่ วนใหญ่ และเสริ มสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน
39 2.10 คุณค่าในด้านอื น ๆ 2.10.1 สร้างพื นฐานการใช้วจิ ารณญาณ หาเหตุผลอย่างรอบคอบ 2.10.2 ส่ งเสริ มให้เกิดความคิดริ เริ ม สร้างสรรค์ในทางที ดี 2.10.3 ช่วยให้เข้าใจสภาพชีวติ สังคมปั จจุบนั ดียง ิ ขึ น 2.10.4 สามารถวิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ ในสังคมได้ดว้ ยใจเป็ นธรรม 2.10.5 ปลูกฝังทัศนคติที ดีต่อการอ่าน และการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง อรอนงค์ โชคสกุล และศรี อมั พร ประทุมนันท์ (2544: 60-61) กล่าวว่า การที จะทราบว่า หนังสื อที จดั ทําขึ น จะมีคุณภาพหรื อไม่อย่างไร มีหลักเกณฑ์เพื อเป็ นแนวทางในการประเมินคุณค่า หนังสื อ ดังนี
1. รู ปเล่มได้แก่ ขนาด การเข้าเล่ม คุณภาพกระดาษ การจัดหน้า ปกหน้า ปกหลัง 2. ภาพประกอบได้แก่ ขนาด คุณภาพของกระดาษ ความเหมาะสมกับวัย ความชัดเจนของ ภาพ ความสอดคล้องกับเนื อเรื อง 3. เนื อเรื อง ได้แก่ โครงเรื อง แก่นของเรื อง ตัวละคร ฉาก การใช้ภาษา 4. คุณค่าการนําไปใช้ ได้แก่ พัฒนาพฤติกรรม พัฒนาความรู ้ พัฒนาด้านภาษา มีเป้ าหมาย ชัดเจน เหมาะสําหรับวัยของเด็ก ไม่ยดั เยียดความรู ้มากเกินไป ไม่มุ่งสั งสอนมากเกินไป 5. วิธีเขียน ได้แก่ เขียนให้น่าสนใจ น่าติดตาม สนุกสนานมีสาระ 6. ภาพประกอบ มีความสัมพันธ์กบั เนื อหา และสามารถสื อความหมายได้ดว้ ย 7. ความยาวของเนื อเรื องต้องเหมาะสมกับวัยของเด็ก เช่ น ระดับชั น ป.1-ป.2 ควรมีภาพ มากกว่าเนื อหาระดับชั น ป.3 -ป.6 เนื อหาเริ มมากขึ นตามลําดับ ระดับชั นมัธยมศึกษามีภาพบางหน้า ตามความเหมาะสม 8. ความหนาของรู ปเล่ม โดยเด็กเล็ก ๆ ขนาด 8 หน้ายก ความหนา 12 -24 หน้า และเด็ก ชั น ป.4 - ป.6 ขนาด 16 หน้ายก ความหนาตั งแต่ 32 - 200 หน้า ดังนั นจึงได้สรุ ปว่า หลักเกณฑ์การประเมินคุณค่าหนังสื ออ่านเพิ มเติม ซึ งใช้ในการประเมิน คุ ณภาพของหนังสื อแต่ละหลักเกณฑ์ มี การกําหนดรายละเอี ยดตามจุ ดมุ่งหมายของการประเมิ น แตกต่ า งกัน ไป ฉะนั น จํา เป็ นอย่า งยิ ง ที ผูป้ ระเมิ น ต้อ งมี ค วามรู ้ ค วามเข้า ใจเกี ย วกับ หลัก เกณฑ์ การประเมิ น เพื อความมีคุณภาพของหนังสื อและประโยชน์ในการนําไปพัฒนาหนังสื ออ่านของ ตนเองให้เกิดคุณค่าต่อการเรี ยนการสอนของครู และนักเรี ยนต่อไป สําหรับหนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุด อนุรักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ น ผูศ้ ึกษาได้ศึกษาหลักเกณฑ์การประเมินคุณค่า หนังสื อของนักวิชาการต่าง ๆ และเลือกใช้หลักเกณฑ์การประเมินคุณค่าหนังสื อ 5 หัวข้อ ได้แก่
40 ลักษณะรู ปเล่มและการพิมพ์ ภาพประกอบ เนื อเรื อง การใช้ภาษา คุณค่า และประโยชน์ที จะได้รับ เพื อให้หนังสื อมีคุณภาพ สามารถนําไปใช้จดั กิจกรรมการเรี ยนการสอนได้
เอกสารเกีย วกับเพลงบอก ประวัติความเป็ นมา สารานุ ก รมวัฒนธรรมภาคใต้ มูลนิ ธิทกั ษิ ณ คดี ศึ กษา มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ สงขลา (2529) ได้สรุ ปประวัติความเป็ นมาของเพลงบอกไว้วา่ เพลงบอกเป็ นเพลงพื นเมืองที นิยมเล่นแพร่ หลายที สุดในสมัยก่อน เมื อถึงหน้าสงกรานต์ ยังไม่มีปฏิทินบอกสงกรานต์แพร่ หลายอย่างปั จจุบนั จะมีแม่เพลงนํารายละเอียดเกี ยวกับสงกรานต์ ออกป่ าวประกาศแก่ ชาวบ้า นโดยร้ องเป็ นเพลงพื นบ้านและมี ลูก คู่รับ เป็ นทํา นองเฉพาะ จึ ง มี ชื อ เรี ยกว่า “เพลงบอก ” เพลงบอก เป็ นเพลงพื นบ้านที ได้รับความนิ ยมสู งสุ ด และมีการแพร่ กระจายทัว ทั ง 14 จังหวัดภาคใต้ ตลอดไปถึ งคนไทยในประเทศมาเลเซี ย ศิลปิ นที มีชื อเสี ยงส่ วนใหญ่อยู่ในจังหวัด นครศรี ธรรมราชและจังหวัดสงขลา ในสมัยก่อนเมื อถึงเทศกาลสงกรานต์จะมีนกั เลงกลอนชาวบ้าน เที ยวตระเวนไปแทบทุ กครั วเรื อน เพื อขับร้ องกลอนบอกสงกรานต์ตามคําทํานายของโหรหลวง เพลงชนิดนี จึงได้ชื อว่า “เพลงบอก” กลอนเพลงบอก ดัดแปลงมาจากเพลงพื นบ้านโบราณชนิ ดหนึ ง ซึ งเรี ยกว่า เพลงเห่ หรื อ เพลงฉะ บ้างก็เรี ยก เพลงแปดบท ซึ งพัฒนามาจาก “แปดบท” ต่อมาขุนประดิษฐ์เป็ นผูค้ ิดดัดแปลง จึงเรี ยกกันในครั งนั นว่า “เพลงบอกขุนประดิ ษฐ์” เพลงชนิ ดนี จะมีแม่เพลงว่าเป็ นแบบกลอนด้น ครั งละ 2 วรรค แล้วลูกคู่รับ กลอนแปดบทเฟื องฟูอยูท่ างนครศรี ธรรมราชประมาณ 150-200 ปี ที แล้ว และมีการดัดแปลงมาตามลําดับจนถึงรัชกาลที 5 พระรัตนธัชมุณี (ม่วง รัตนธัชเถร)ได้ปรับ รู ปแบบกลอนอีกครั งหนึ งและได้ใช้แต่งเรื อง “ศาลาโกหกหรื อสัจจศาลา” มอบให้ลูกเสื อมณฑล นครศรี ธรรมราช นําไปร้องในคราวชุ มนุ มลูกเสื อแห่ งชาติที กรุ งเทพมหานคร เมื อ พ.ศ. 2470 และ ได้จดั ระเบี ย บกฎเกณฑ์ก ลอนเพลงบอกขึ นใหม่โดยจะมี การรั บของลู ก คู่ และอาจแทรกวลี หรื อ ถ้อยคําระหว่างกลอนที แม่เพลงกําลังว่าอยู่ เพื อให้ลีลากลอนครึ กครื นสนุ กสนานและช่วยแก้ปัญหา การติดกลอนของแม่เพลงได้ วิธีการนี ของลูกคู่เรี ยกว่า “ทอยเพลงบอก”
41 การแสดงเพลงบอก การแสดงเพลงบอกจะใช้ท งั ผูช้ ายและผูห้ ญิ ง อย่า งน้อย 4-6 คน อาจจะน้อ ยกว่า หรื อ มากกว่านี ก็ได้ ประกอบด้วยแม่เพลงและลูกคู่ การแสดงจะแตกต่างกันไปตามโอกาส มีขนบนิ ยม ในการเล่น ดังนี
1. เล่นบอกสงกรานต์ เล่นได้ในช่วงตั งแต่ข ึน 3 คํ า เดือน 5 ถึงวันเถลิงศกโดยคณะเพลงบอก และผูน้ าํ ทางซึ งเป็ นคนในหมู่บา้ นออกว่าเพลงบอกไปตามบ้านต่าง ๆ ตั งแต่พลบคํ าจนสว่าง วิธีเล่ นเพลง เมื อคณะเพลงบอกถึ งเขตรั วบ้าน แม่เพลงจะขึ นบทไหว้ครู ไหว้นนทรี ซึ ง เป็ นเทวดารั กษาประตูบา้ น ไหว้พระภูมิและสิ งศักดิ{ สิ ทธิ{ ทั งหลาย เมื อก้าวเข้าสู่ ลานบ้านจะชม บ้านเรื อน ทรัพย์สินต่าง ๆ ฝ่ ายเจ้าบ้านจะเปิ ดประตูปูเสื อต้อนรับนอกตัวเรื อน หลังจากคณะเพลงบอก สนทนากับเจ้าบ้านชัว ครู่ ก็ร้องกลอนบอกเรื องราวของสงกรานต์ที โหรทํานายให้ทราบ เจ้าบ้าน อาจให้คณะเพลงบอกร้ องกลอนเล่ าตํานานสงกรานต์ หรื ออาจยกถาดข้าวขวัญจากยุง้ ข้าวมาให้ คณะเพลงบอกร้องบูชาแม่โพสพ เมื อเจ้าบ้านพอใจก็จะตกรางวัลให้ตามธรรมเนี ยม คณะเพลงบอก จะร้องเพลงอวยพรแล้วไปร้องบอกสงกรานต์บา้ นอื น ๆ ต่อไป 2. เล่นบอกข่าวคราวและโฆษณา เช่น งานบุญต่าง ๆ เพลงบอกจะร้องเชิ ญชวนทําบุญโดย จุดที เพลงบอกอยู่จะมี การรั บบริ จาค เมื อถึ งช่ วงเลื อกตั ง ทางราชการอาจจะหาเพลงบอกมาร้ องกลอน เชิ ญชวนชาวบ้านให้ไปใช้สิทธิ{ ลงคะแนนเลื อกตั ง ชี แนะให้เลื อกบุ คคลที มีคุณสมบัติเหมาะสม เป็ นต้น ทางด้านการโฆษณาเพื อผลทางธุ รกิจ ได้มีบริ ษทั ห้างร้านหลายแห่ งใช้เพลงบอกโฆษณา สิ นค้าทางวิทยุ และในงานสวนสนุก 3. เล่นประชัน คือ จัดเพลงบอก 2 คณะ ให้ร้องโต้กลอนสด การเล่นจะจัดให้เพลงบอกคู่ ประชันนัง ห่ างกันประมาณ 1 วา โดยมีประธานนัง กลาง แต่ละฝ่ ายจะมีแม่เพลง 1 คน และลูกคู่ 2-3 คน ไม่มีกรรมการเริ มโต้โดยผลัดกันไหว้ครู จากนั นฝ่ ายหนึ งร้ องนําเป็ นทํานองข่มสําทับ ฝ่ ายตรงกันข้าม เช่ น เรื องบุคลิ กลักษณะ ประวัติชีวิต ความรู ้ ความสามารถ การกล่าวข่มสําทับ จะใช้วธิ ี อุปมาหรื อไม่ก็ยกอุทาหรณ์ประกอบ ซึ งทั งสองฝ่ ายจะต้องรู ้ทนั กัน การโต้จะดําเนิ นไปจน อีกฝ่ ายเริ มจนปั ญญาจะยอมแพ้ หรื อยุติกนั ไปเอง หรื อไม่ก็ฟังเอาจากเสี ยงโห่ ของคนฟั ง ถ้าฝ่ ายใด คนฟังให้เสี ยงโห่จนสิ นเสี ยง ฝ่ ายนั นชนะ 4. ร้ องชา เป็ นการร้ องเพลงบอก เพื อการบวงสรวง การบูชาหรื อยกย่องชมเชย เช่ น ชา ขวัญข้าว ชาพระบรมธาตุ ชาปูชนี ยบุคคลและบุคคลสําคัญ การร้ องเพลงชาสิ งเร้ นลับ เพื อการบวงสรวง เช่น การชาขวัญข้าวจะต้องจัดเครื องเซ่นบวงสรวงด้วย ลําดับขั นตอนการในการร้องชาต้องถูกต้อง ตามธรรมเนียมที เคยปฏิบตั ิกนั มา
42 ปั จจุบนั นี การประชันเพลงบอกจะมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาว่า เพลงบอกจะดีหรื อไม่ คือการสังเกตที ฉันทลักษณ์ ว่าถูกต้องตามแบบของกลอนเพลงบอกหรื อไม่ นอกจากนี ยงั สังเกต จากการเลือกสรรคํามาใช้ ดูคาํ ศัพท์ สํานวนโวหาร ว่ามีความคมคาย กว้างแคบ หรื อใช้ได้เพียงไร การดูปัญญาความรอบรู ้และปฏิภาณไหวพริ บของแม่เพลง การนําเสนอความคิดเห็นที แยบคาย แปลกใหม่ ดูท่วงทํานองลีลาจังหวะ สุ ้มเสี ยงและการร้องรับของลูกคู่ประกอบ ฉันทลักษณ์ กลอนเพลงบอก เพลงบอกจะแต่งเป็ นบทกลอนมีฉนั ทลักษณ์เป็ นแบบฉบับของตนเอง มีจาํ นวนคําไม่ค่อย แน่นอนบางทีขาดบางทีเกินไปบ้างและสัมผัสก็ไม่เคร่ งครัดนัก ส่ วนมากกลอนหนึ งบทจะประกอบด้วย 4 วรรค สามวรรคแรกจะมีวรรคละ 6 คํา วรรคสุ ดท้ายจะมี 4 คํา และจะต้องมีลูกคู่คอยร้องรับ กลุ่มศิลปิ นเพลงบอก จากหลักฐานเอกสาร สามารถจัดกลุ่มศิลปิ นเพลงบอก ได้หา้ กลุ่ม ดังนี
1. กลุ่มที หนึ ง คือ ศิลปิ นเพลงบอกที เข้าสู่ วงการเพลงบอกช่ วงก่ อนเปลี ยนแปลงการปกครอง ถึ งช่ วงเปลี ยนแปลงการปกครอง คื อ พ.ศ.2475 เช่ น พระรั ตนธัชมุ นี เพลงบอกสงฆ์ปราชญ์ เพลงบอก ช่วย เสมาชัย เพลงบอกปานบอด เพลงบอกขุง้ (ขุนประดิษฐ์) และเพลงบอกเนตร ชลารัตน์ 2. กลุ่ ม ที ส อง ศิ ล ปิ นเพลงบอกที เข้า สู่ วงการเพลงบอกตั งแต่ พ.ศ.2475 - 2488 เช่ น เพลงบอกเผียน เหรี ยญทอง เพลงบอกสร้อย เสี ยงเสนาะ และเพลงบอกแมน อัศวิน 3. กลุ่มที สาม คือ ศิลปิ นเพลงบอกที เข้าสู่ วงการเพลงบอกตั งแต่ พ.ศ.2489 - 2500 ศิลปิ น กลุ่มนี เช่น เพลงบอกกระจ่างฉิ งทองคํา เพลงบอกมนตรี เ สี ยงมนุษย์กบ เพลงบอกศรี เขาขาว และ เพลงบอก(หญิง) เพียน 4. กลุ่มที สี คือ ศิลปิ นเพลงบอกที เข้าสู่ วงการเพลงบอกตั งแต่ พ.ศ.2501 - 2530 ศิลปิ น กลุ่มนี เช่น เพลงบอกสมบูรณ์ รัตนมาส เพลงบอกณรงค์ ชัยเจริ ญ เพลงบอกสุ รินทร์ เสี ยงเสนาะ เพลงบอกสมใจ ศรี อู่ทอง เพลงบอกเลี ยม เสี ยงใส และเพลงบอกวิลาศ ชูศิลป์ 5. กลุ่มที ห้า คื อ ศิ ลปิ นเพลงบอกที เข้าสู่ วงการเพลงบอก ตั งแต่ พ.ศ. 2531 - ปั จจุ บนั ศิลปิ นกลุ่มนี เช่ น เพลงบอกศรี เวียง แซ่ ภู่ เพลงบอกนิ กร เสี ยงเสนาะ เพลงบอกปรี ชา สุ ขจันทร์ และเพลงบอกจํานง วังจํานง ศิลปิ นทีม ีชื อเสี ยงในอดีต สําหรับศิลปิ นที มีชื อเสี ยงในอดีตและถือว่าเป็ นบรมครู ของเพลงบอก ในที น ีขอนําเสนอ ตัวอย่างเพลงบอกที ชื อเสี ยง ดังนี
43 1. เพลงบอกปาน ชี ช้าง (ปานบอด) เพลงบอกปาน ชี ช้า ง หรื อเรี ย กกันทัว ไปว่า “ปานบอด” เป็ นศิ ล ปิ นพื น เมื อ งชาว นครศรี ธรรมราช เป็ นเลิศทางเพลงบอกและหนังตะลุง เป็ นบุตรนายคง นางยกคล้าย ชาวบ้านดอน ตําบลเขาพังไกร อําเภอหัวไทร จังหวัดนครศรี ธรรมราช เป็ นคนพิการตาบอดทั ง 2 ข้าง มาแต่กาํ เนิ ด นอกจากนายปานจะมีชื อเสี ยงในการแสดงหนังตะลุงแล้ว อีกสิ งหนึ งที สร้างชื อให้เขา เป็ นที รู้จกั คือ เพลงบอก นายปานเริ มเล่นเพลงบอกตั งแต่วยั หนุ่ม ฝี ปากของนายปานมีเกร็ ดย่อยอีกมากมายล้วน แสดงให้เห็นความเป็ นอัจฉริ ยะทั งสิ น นายปานมีลูกศิษย์สืบทอดศิลปะการละเล่นเพลงบอกหลายคน นายปานได้ถึงแก่กรรมเนื องจากเป็ นไข้ หลังจากไปโต้เพลงบอก ณ วัดประดู่ จังหวัดปั ตตานี เมื อปี พ.ศ. 2499 รวมอายุได้ 66 ปี 2. เพลงบอกสร้ อย ดําแจ่ ม เพลงบอกสร้ อย ดํา แจ่ ม หรื อที ชาวบ้า นเรี ย กติ ดปากว่า เพลงบอกสร้ อย เสี ย งเสนาะ เกิดเมื อ พ.ศ. 2468 ที อาํ เภอเชี ยรใหญ่ จังหวัดนครศรี ธรรมราช จบการศึกษาชั นมัธยมศึกษาปี ที 3 โรงเรี ยนเบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรี ธรรมราช ท่านมีความสนใจ และเริ มหัดเพลงบอกครั งแรก เมื ออายุ 17 ปี โดยได้ไปเป็ นลูกศิษย์ของเพลงบอกปาน ชี ชา้ ง (ปานบอด) เพลงบอกสร้อยได้ฝึกฝน อย่างเอาจริ งเอาจังจนเกิดความชํานาญและยึดเป็ นอาชี พตั งแต่น นั มาจนถึงแก่กรรม ตลอดระยะเวลา ท่านได้ออกตระเวนว่าเพลงบอกอย่างสมํ าเสมอจนเป็ นที รู้จกั อย่างแพร่ หลายไปทัว ภาคใต้ ทั งยังได้ เคยเดิ นทางไปแสดงที กรุ งเทพมหานครและประเทศมาเลเซี ยด้วย เพลงบอกสร้ อยเป็ นผูท้ ี มีความ ตั งใจในการทํางานอย่างยิ ง ทุกครั งที ออกแสดงท่านจะเตรี ยมตัวค้นคว้าหาความรู ้ และข้อมูลที เกี ยวกับ เรื องที แสดงเป็ นอย่างดี จึงทําให้ผลงานของท่านมีคุณค่าสู ง มีลีลา และชั นเชิงเป็ นเยี ยม ทําให้ถูกใจ ผูช้ มและผูฟ้ ั งเสมอ จนมี ลูกศิ ษย์ที มีฝีมือมากมายและมีชื อเสี ยงเป็ นที รู้จกั เช่ น เพลงบอกสุ รินทร์ เสี ยงเสนาะ เพลงบอกเลี ยง เสี ยงเสนาะ เพลงบอกเพ่ง เสี ยงเสนาะ และเพลงบอกนิกร เสี ยงเสนาะ เพลงบอกสร้อย เสี ยงเสนาะได้รับการยกย่องให้เป็ นศิลปิ นแห่ งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (การแสดงพื นบ้าน - เพลงบอก) เมื อปี พ.ศ. 2538 นับเป็ นศิลปิ นเพลงบอกท่านแรกที ได้รับเกียรติยศ อันสําคัญยิง นี
ศิลปิ นเพลงบอกที มีชื อเสี ยงในปั จจุบนั นี มีหลายท่านด้วยกัน เช่นเพลงบอกสุ รินทร์ เสี ยงเสนาะ เพลงบอกสมใจ ศรี อู่ทอง เพลงบอกมนตรี เสี ยงมนุษย์กบ และเพลงบอกสร้อย (หญิง) วิธีการว่ า - การรับเพลงบอก ส่ วนวิ ธี ก ารว่า - การรั บ เพลงบอกนั นมี อ ยู่ว่า เมื อแม่ เพลงร้ อ งจบวรรคหนึ ง ให้ รับ ว่า เอ้ ว่า เห แทนสามคําหน้าของวรรค และต่อด้วยคําที สี ห้า หก ตามลําดับ เมื อแม่เพลงร้องเพลง
44 ทวนหรื อซํ าวรรคหนึ ง ให้รับว่า ทอย ฉา ช้า เหอ แทนสี คาํ หน้าของวรรคหนึ ง แล้วต่อด้วยคําที ห้า หก ตามลําดับ เมื อแม่เพลงร้องจบบท (ครบสี วรรค) ให้ทวน คือ รับวรรคสี วรรคสาม และวรรคสี ดังนั น จึ งสรุ ปได้ ว่ า เพลงบอก เป็ นเพลงพื นบ้ านที เป็ นภู มิ ปั ญญาท้องถิ นของจังหวัด นครศรี ธรรมราช ที มีประวัติความเป็ นมาที น่าภาคภูมิใจ สมควรที จะอนุ รักษ์และสื บทอดให้คงอยู่ และให้อนุชนรุ่ นหลังได้เรี ยนรู ้ความเป็ นท้องถิ นของภาคใต้ อันจะก่อให้เกิดความภาคภูมิใจ ผูศ้ ึกษาจึงได้นาํ แนวทางดังกล่าว มาจัดทําเป็ นหน่วยการเรี ยนรู ้ที 10 หน่วยอนุ รักษ์ถิ นใต้ บอกใบ้ด้วยเพลงบอก และสร้ า งหนัง สื ออ่ า นเพิ ม เติ ม ชุ ด อนุ รัก ษ์ถ ิ นใต้บ อกใบ้ด้วยเพลงบอก กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั นประถมศึ กษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ น โดยผูศ้ ึ กษาได้ศึกษา ค้นคว้าเพิ มเติมเกี ยวกับสิ งที มีในท้องถิ นนครศรี ธรรมราช และเป็ นสิ งมีคุณค่าสมควรที อนุ รักษ์ไว้ ว่ามีส ิ งใดบ้าง จึงได้คาํ ตอบว่า มีพนั ธุ์ไม้อยู่หลายชนิ ดที กาํ ลังจะสู ญพันธุ์ไป ผูศ้ ึกษาจึงค้นคว้าจาก หนังสื อ วารสาร และอินเตอร์ เน็ต รวมทั งสอบถามผูค้ นในท้องถิ น และร่ วมกับนักเรี ยนเลือกพันธุ์ไม้ 5 ชนิด ได้แก่ ลูกโท่ ลูกพลา ดอกนมแมว มังเร และลูกรกช้าง มาเขียนเรี ยงร้อยเป็ นกลอนเพลงบอก โดยใช้ก ลวิธี การบอกใบ้เกี ยวกับการอนุ รักษ์พ นั ธุ์ ไ ม้ใ นท้องถิ นนครศรี ธรรมราช ผ่านเป็ นหนังสื อ อ่านเพิ มเติม ชุด อนุรักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ น เพื อใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้ และพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนให้บรรลุเป้ าหมายตามที กําหนดไว้ต่อไป
การหาประสิ ทธิภาพของหนังสื อ การหาประสิ ทธิ ภาพของหนังสื ออ่านเพิ มเติม เป็ นสิ งที มีความสําคัญและมีความจําเป็ น เนื องจากหนังสื อที สร้างขึ น และนําไปใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้จะต้องเป็ นสื อหรื อนวัตกรรมที ดีและ ได้รับการพัฒนาประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ที กาํ หนดไว้ เพื อให้สามารถนําไปใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้ และพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพเช่นกัน ชัย ยงค์ พรหมวงศ์ (2539 : 493)ได้ก ล่ า วว่า การทดสอบหาประสิ ทธิ ภาพของสื อหรื อ นวัตกรรมที จดั สร้ างขึ น ตรงกับภาษาอังกฤษคําว่า Development testing หมายความว่า การตรวจสอบ พัฒนาการ เพื อให้งานดําเนิ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพนั น คือ การนําสื อการสอนไปทดลองใช้ (Try out) เพื อปรับปรุ งแก้ไขแล้วนําไปทดลองสอนจริ ง (Trial Run) และนําผลที ได้มาปรับปรุ งแก้ไขเสร็ จแล้ว จึงผลิตออกมาจํานวนมาก ซึ งมีข นั ตอนการดําเนินการ ดังนี
1. การทดสอบแบบเดี ยว (1 : 1) เป็ นการทดสอบกับผูเ้ รี ยน 1 - 3 คน โดยใช้เด็กอ่อน เด็กปานกลาง และเด็กเก่ง คํานวณหาประสิ ทธิ ภาพแล้วปรับปรุ งให้ดีข ึนโดยปกติคะแนนที ได้จากการทดสอบ
45 แบบเดี ยวนี จะมี คะแนนตํ ากว่าเกณฑ์มาก แต่ไม่ต้องวิตก เมื อปรั บปรุ งแล้วจะสู งมาก ก่ อนนําไปใช้ ทดสอบแบบกลุ่มเล็ก E1/E2 ที ได้จะมีค่า 60 / 60 2. การทดสอบแบบกลุ่ มเล็ก (1:10) เป็ นการทดสอบกับผูเ้ รี ยน 6 - 10 คนโดยใช้เด็กอ่อน เด็กปานกลาง และเด็ กเก่ งคํานวณหาประสิ ทธิ ภาพแล้วปรั บ ปรุ ง ในคราวนี คะแนนของผูเ้ รี ยนจะ สู งขึ นเกื อบเท่ากับเกณฑ์โดยเฉลี ย จะห่ างจากเกณฑ์ประมาณ 10 เปอร์ เซ็ นต์ นัน คือ ค่า E1/E2 ที ได้ จะมีค่า 70/70 3. การทดสอบภาคสนาม (1 : 100) เป็ นการทดสอบกับผูเ้ รี ยน 30 - 100 คน โดยใช้เด็กอ่อน เด็กปานกลาง และเด็กเก่ง คํานวณหาประสิ ทธิ ภาพแล้วปรับปรุ ง ผลลัพธ์ที ได้ควรใกล้เคียงกับเกณฑ์ที ต งั ไว้ หากตํ ากว่าเกณฑ์ไม่เกิน 2.5 เปอร์ เซ็นต์ก็ให้ยอมรับ หากแตกต่างกันมาก ผูส้ อนต้องกําหนดเกณฑ์ ประสิ ทธิ ภาพของสื อการสอนใหม่โดยยึดสภาพจริ งเป็ นเกณฑ์ เผชิญ กิจระการ (2544 : 50 - 51) กล่าวถึง เกณฑ์ในการหาประสิ ทธิ ภาพของสื อการเรี ยน การสอนว่า จะนิยมตั งเป็ นตัวเลข 3 ลักษณะ คือ 80 / 80, 85 / 85, 90 / 90 ทั งนี ขึ นอยูก่ บั ธรรมชาติ ของวิชาและเนื อหาที นํามาสร้ างสื อ ถ้าเป็ นวิชาที ค่อนข้า งยาก อาจตั งเกณฑ์ 80/80 หรื อ 85 / 85 สํ า หรั บ วิ ช าที มี เ นื อ หาค่ อ นข้า งง่ า ยอาจตั ง ไว้ที 90 / 90 เป็ นต้น นอกจากนั น ยัง ตั ง เกณฑ์ เ ป็ น ความคลาดเคลื อนไว้เท่ากับร้ อยละ 2.5 ซึ งหมายความว่า ถ้าเกณฑ์ที ต งั ไว้ 90/90 เมื อคํานวณแล้ว ได้ค่าที ถือว่าใช้ได้ คือ 87.5/87.5 เกณฑ์ประสิ ทธิ ภาพ (E1 / E2) มีความหมายแตกต่างกันหลายลักษณะ ในที น ีจะยกตัวอย่าง E1 / E2 = 80 / 80 ดังนี
1. เกณฑ์ 80 / 80 ในความหมายที 1 ตัวเลข 80 ตัวแรก (E1) คือ นักเรี ยนทั งหมดทําแบบฝึ กหัด ตอบคําถาม หรื อแบบทดสอบย่อยได้คะแนนเฉลี ยร้อยละ80 ถือเป็ นประสิ ทธิ ภาพของกระบวนการ ส่ วนตัวเลข 80 ตัวหลัง(E2) คือนักเรี ยนทั งหมดที ทาํ แบบทดสอบหลังเรี ยน (Post-test) ได้คะแนน เฉลี ยร้อยละ 80 ส่ วนการหาค่า E1 และ E2 ใช้สูตรดังนี
เมื อ
E1
∑X
A N
แทน ประสิ ทธิ ภาพของกระบวนการที จดั ไว้ แทน ผลรวมของคะแนนของนักเรี ยนที ได้จากการทําแบบฝึ กหัดหรื อ แบบทดสอบย่อย แทน คะแนนเต็มของแบบฝึ กหัด แทน จํานวนผูเ้ รี ยน
46
เมื อ
E2
แทน ประสิ ทธิ ภาพของผลลัพธ์ แทน ผลรวมของคะแนนของนักเรี ยนที ได้จากแบบทดสอบหลังเรี ยน ∑F N แทน จํานวนผูเ้ รี ยน B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรี ยน 2. เกณฑ์ 80 / 80 ในความหมายที 2 ตัวเลข 80 ตัวแรก (E1) คือ จํานวนนักเรี ยนร้อยละ 80 ทําแบบทดสอบหลังเรี ยน (Post-test) ได้คะแนนร้อยละ 80 ทุกคน ส่ วนตัวเลข 80 ตัวหลัง (E2) คือ นักเรี ยนทั งหมดทําแบบทดสอบหลังเรี ยนครั งนั น ได้คะแนนเฉลี ยร้อยละ 80 3. เกณฑ์ 80 / 80 ในความหมายที 3 ตัวเลข 80 ตัวแรก (E1) คือ จํานวนนักเรี ยนทั งหมด ทําแบบทดสอบหลังเรี ยน(Post-test) ได้คะแนนร้อยละ 80 ส่ วนตัวเลข 80 ตัวหลัง(E2) คือ คะแนน เฉลี ย ร้ อยละ 80 ที นัก เรี ย นทํา เพิ ม ขึ นจากแบบทดสอบหลัง เรี ย น โดยเที ย บกับ คะแนนที ท าํ ได้ ก่อนเรี ยน (Pre-test) 4. เกณฑ์ 80 / 80 ในความหมายที 4 ตัวเลข 80 ตัวแรก (E1) คือ นักเรี ยนทั งหมดทําแบบทดสอบ หลังเรี ยนได้คะแนนเฉลี ยร้อยละ 80 ส่ วนตัวเลข 80 ตัวหลัง (E2) คือ นักเรี ยนทั งหมดทําแบบทดสอบ หลังเรี ยนแต่ละข้อถูกมีจาํ นวนร้อยละ 80 (ถ้านักเรี ยนทําข้อสอบข้อใดถูก มีจาํ นวนนักเรี ยนไม่ถึง ร้อยละ 80 แสดงว่า สื อไม่มีประสิ ทธิ ภาพ และชี ให้เห็ นว่า จุดประสงค์ที ตรงกับข้อนั นมีความ บกพร่ อง ) กล่ าวโดยสรุ ปว่า เกณฑ์ในการหาประสิ ทธิ ภาพของสื อการเรี ยนการสอนจะนิ ยมตั งเป็ นตัวเลข 3 ลักษณะ คือ 80/80 85/85 และ 90/90 ทั งนี ข ึนอยูก่ บั ธรรมชาติของวิชาและเนื อหาที นาํ มาสร้าง สื อนั น ถ้าเป็ นวิชาที ค่อนข้างยากก็อาจตั งเกณฑ์ไว้ 80 / 80 หรื อ 85 /85 สําหรับวิชาที มีเนื อหาง่าย ก็อาจตั งเกณฑ์ไว้ที 90/90 เป็ นต้น ดัง นั นการหาประสิ ทธิ ภาพของหนังสื ออ่ านเพิ มเติ มหรื อนวัตกรรมที ใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้ จึงมีความจําเป็ นและมีความสําคัญอย่างยิ ง เพราะการจัดการเรี ยนการสอนด้วยสื อหรื อนวัตกรรมที ผ่ านการทดสอบหาประสิ ทธิ ภาพและมี คุ ณภาพตามเกณฑ์ ที ก ําหนด จะทําให้ คุ ณภาพการจัดการเรี ยน การสอน และคุณภาพของผูเ้ รี ยนสู งขึ น และมีคุณภาพอย่างแท้จริ ง สําหรับการหาประสิ ทธิ ภาพของหนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลง บอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ น ที ผศู ้ ึกษาสร้างขึ น สําหรับการจัดการเรี ยนการสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 6 ในครั งนี
47 ผูศ้ ึกษาได้กาํ หนดประสิ ทธิ ภาพของหนังสื ออ่านเพิ มเติมไว้ที 80/80 ในความหมายที 1 ตัวเลข 80 ตัวแรก (E1) คือ นักเรี ยนทั งหมดทําใบกิจกรรมและแบบทดสอบย่อยในระหว่างเรี ยนได้คะแนน เฉลี ยร้อยละ 80 ถือเป็ นประสิ ทธิ ภาพของกระบวนการ ส่ วนตัวเลข 80 ตัวหลัง(E2) คือนักเรี ยน ทั งหมดที ทาํ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ{ทางการเรี ยนหลังเรี ยน( Post-test) ได้คะแนนเฉลี ยร้อยละ 80 และดําเนินการพัฒนาตามขั นตอนจนมีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ที กาํ หนดไว้
ความพึงพอใจ ความหมายของความพึงพอใจ ความพึงพอใจเป็ นปั จจัยสําคัญประการหนึ งที มีผลต่อความสําเร็ จของการทํากิจกรรมใด ๆ เช่ น การเรี ยน การทํางาน สามารถทําให้บรรลุ เป้ าหมายที วางไว้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ ซึ งเป็ นผล มาจากการได้รับการตอบสนองต่อแรงจูงใจ หรื อความต้องการของแต่ละบุคคลในแนวทางที คน คนนั นอยากให้เป็ น การจัดกิจกรรมของหน่วยงานหรื อองค์กรต่าง ๆ ในปั จจุบนั นี เช่น การฝึ กอบรม การจัดทําโครงการ หรื อแม้แต่การประเมินความนิยมการให้บริ การของบริ ษทั ห้างร้าน ก็มกั ทํากันใน ลักษณะการสํารวจความพึงพอใจของลูกค้า สําหรับความหมายของความพึงพอใจ มีผทู ้ ี ศึกษาและ ให้ความหมายไว้ดงั ต่อไปนี
นิพนั ธ์ พิสุทธิ ภกั ดิ{ (2542 : 22) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง คุณภาพหรื อระดับความพึงพอใจ ของบุคคล ซึ งเป็ นผลจากความสนใจต่าง ๆ และทัศนคติของบุคคลต่องาน คชากฤช เหลี ยมไธสง (2546 : 50) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ทุกสิ งทุกอย่างที สามารถ ถอดความเครี ย ดของผูท้ ี ทาํ งานให้ลดน้อยลง ถ้าความเครี ยดมากจะทํา ให้เกิ ดความไม่พอใจใน การทํางาน และความเครี ยดนี มีผลมาจากความต้องการของมนุ ษย์ เมื อมนุ ษย์มีความต้องการมาก จะเกิดปฏิกิริยาเรี ยกร้องหาวิธีตอบสนองความต้องการนั น ๆ ความเครี ยดก็จะลดน้อยลงหรื อหมดไป ทําให้มีความพอใจมากขึ น ดังนั นจึ งสรุ ปได้ว่า ความพึงพอใจ คื อ ความรู ้ สึกชอบพอ พอใจ ยินดี และมีความสุ ข ซึ งความรู ้ สึกเช่ นนี จะเกิดขึ น เพราะการเข้าไปมีส่วนร่ วมปฏิ บตั ิกิจกรรมหรื อได้รับผลกระทบจาก การปฏิบตั ิกิจกรรมซึ งเมื อเข้าไปร่ วมกิจกรรมแล้วได้รับการตอบสนองความต้องการอย่างเพียงพอ สิ ทธิ โชค วรานุ สันติกูล (2546 : 126) สรุ ปความต้องการมนุ ษย์ตามหลักความต้องการ ของมาสโลว์ว่า มนุ ษย์มีความต้องการเกิ ดขึ นอยูเ่ สมอและความต้องการของมนุ ษย์ มีลกั ษณะเป็ น สากล คือคล้ายกันไปทุกวัฒนธรรม ความต้องการมีลกั ษณะเป็ นขั นตอนนัน คือ เมื อความต้องการ
48 ในระดับล่างๆ ได้รับการตอบสนองเพียงพอแล้ว บุคคลจึงจะเลื อนขึ นไปหาทางตอบสนองความต้องการ ในระดับที สูงขึ นไป ความต้องการทั งหมดของมนุษย์มี 5 ขั น ดังนี คือ 1. ความต้องการทางสรี ระ ได้แก่ ความต้องการทางสรี ระในเรื องการกิ น การอยู่ความสุ ข สบายกายทั งปวง 2. ความต้องการทางสวัสดิภาพ ได้แก่ ความปลอดภัย สิ งยึดเหนี ยวจิตใจ ความกล้า ความสู ญเสี ย ภัยอันตรายต่างๆ ความมัน คง และหลักประกันในการทํางาน 3. ความต้องการความรักและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เช่น ต้องการความสัมพันธ์ อันดีกบั เพื อน คนรัก พ่อแม่ และครอบครัว 4. ความต้องการนิยมนับถือตนเอง ต้องการการยอมรับและภูมใจในตนเองว่าเป็ นคน ที มีคุณค่าทางสังคม 5. ความต้องการพัฒนาการศัก ยภาพของตนเอง เป็ นความต้องการขึ นสู ง สุ ดของ มนุษย์ผซู ้ ึ งไม่ตอ้ งกังวลเรื องปากท้อง ความปลอดภัย ความรัก ความยอมรับในตนเองหรื อศักดิ{ศรี อี ก ต่ อ ไป มนุ ษ ย์จ ะพัฒ นาศัก ยภาพของตนเพราะอยากรู ้ อ ยากสร้ า งสรรค์ เ พราะใจรั ก ทํา งาน เพราะอยากทํา มี ค วามต้อ งการที จ ะพัฒ นาตนเองให้ ไ ปถึ ง ขี ด สุ ด ของศัก ยภาพที ต นเองมี อ ยู่ อย่างแท้จริ ง ดัง นั น จึ ง สามารถสรุ ป ได้ว่า ความพึ ง พอใจจะต้อ งมี ส ิ ง จู ง ใจเป็ นแรงขับ การสร้ า ง แรงจูงใจเป็ นสิ งจําเป็ นในการเรี ยน ผูเ้ รี ยนต้องมีแรงจูงใจให้อยากเรี ยน ซึ งผูส้ อนต้องพยายามสร้าง บรรยากาศสถานการณ์ เทคนิ ค การสอนที ดี ให้เขามี ส่วนร่ วมในการวางแผนตามความต้องการ เปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รี ยนได้มีปฏิ สัมพันธ์กนั มีการยกย่องชมเชยให้รางวัลให้ผูเ้ รี ยนได้เกิ ดความภาคภูมิใจใน ความสําเร็ จ ทําให้ผเู ้ รี ยนมีความพึงพอใจในการเรี ยน วิธีการสร้ างความพึงพอใจในการเรียนรู้ อารี พันธ์ ม ณี (2540 : 198 - 200) ได้ก ล่ า วว่า เนื อ งจากแรงจู ง ใจมี ผ ลต่ อพฤติ กรรม ความพึงพอใจในการเรี ยนรู ้ ของเด็ก ดังนั น ครู ควรส่ งเสริ มให้เด็กเกิ ดความพึงพอใจที ส่งผลดี ต่อ การเรี ยนรู ้ให้มากที สุด ซึ งครู ควรสร้างแรงจูงใจให้เกิดแก่เด็กในการเรี ยน ดังนี
1. การชมเชยและการตําหนิ ทั งการชมเชยและการตําหนิ จะมีผลต่อการเรี ยนรู ้ ของเด็กทั ง สองอย่าง 2. การทดสอบบ่อยครั ง คะแนนจากการสอบเป็ นสิ งที จูงใจมีความหมายต่อนักเรี ยน 3. การค้นคว้าหาความรู ้ดว้ ยตนเองด้วยการเสนอแนะและกําหนดหัวข้อที นกั เรี ยนสนใจ 4. วิธีการที แปลกและใหม่ เพื อเร้าความสนใจและแรงจูงใจมากขึ น
49 5. ตั งรางวัลสําหรับงานที มอบหมายเมื อทําสําเร็ จ 6. ยกตัวอย่างจากสิ งที เด็กคุน้ เคยและคาดไม่ถึง เพื อให้เข้าใจง่ายและรวดเร็ วยิง ขึ น 7. เชื อมโยงบทเรี ยนใหม่กบั สิ งที เคยเรี ยนรู ้มาก่อน ทําให้เกิดความชัดเจน 8. จัดเกมและการเล่นละคร ให้เด็กได้ปฏิบตั ิจริ ง เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน 9. ควรหาทางลดหรื อขจัดสถานการณ์ ที ทาํ ให้นกั เรี ยนไม่พึงปรารถนา เช่ น แสงสว่างไม่ เพียงพอ มีเสี ยงรบกวนไม่ได้ยินเสี ยงครู พูด บทเรี ยนยากเกิ นความสามารถ ตลอดจนจัดให้อยู่ใน กลุ่มนักเรี ยนที มีความสามารถแตกต่างจากเพื อน ๆ มากเกินไป จะเห็นได้ว่า แนวคิดพื นฐานดังกล่าว เมื อนํามาใช้ในการจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอน ผลตอบแทนภายในหรื อรางวัลภายใน เป็ นผลด้านความรู ้สึกของผูเ้ รี ยนที เกิ ดแก่ตวั ผูเ้ รี ยนเอง เช่ น ความรู ้ สึกต่อความสําเร็ จที เกิดขึ น เมื อสามารถเอาชนะความยุ่งยากต่าง ๆ และสามารถดําเนิ นงาน ภายใต้ความยุง่ ยากทั งหลายได้สาํ เร็ จ ทําให้เกิดความภาคภูมิใจ ความมัน ใจ ตลอดจนได้รับการยกย่อง จากบุคคลอื น ส่ วนผลตอบแทนภายนอกเป็ นรางวัลที อื นจัดหาให้มากกว่าที ตนเองให้ตนเอง เช่ น การได้รั บ คํา ยกย่ อ งชมเชยจากครู ผูส้ อน พ่ อ แม่ ผูป้ กครอง หรื อ แม้แ ต่ ก ารได้รั บ ผลสั ม ฤทธิ{ ทางการเรี ยนในระดับที น่าพอใจ สกิ นเนอร์ (Skinner, 197 : 1 - 63,96 – 120 ; อ้างถึงในพิทยา โพธิ{ ทอง, 2549 : 32 - 33) ได้กล่าวถึ ง วิธี ก ารสร้ า งความพึ ง พอใจในการเรี ย นไว้ว่า มี ก ารศึ ก ษาในด้า นความสั ม พันธ์ เ ชิ ง เหตุ และผล ระหว่างสภาพทางจิตใจกับผลการเรี ยนที น่าสนใจจุดหนึ ง คือ การสร้างความพึงพอใจในการเรี ยน ตั ง แต่ เริ ม ต้นให้เ ด็ ก ทุ ก คน โดยเห็ นว่า การปรั บ พฤติ ก รรมของคนไม่ อาจทํา ได้โ ดยเทคโนโลยี ทางกายภาพและชี วภาพเท่านั น แต่ตอ้ งอาศัยเทคโนโลยีของพฤติกรรม ซึ งหมายถึ งเสรี ภาพและ ความภาคภูมิใจ จุดหมายปลายทางที แท้จริ งของการศึกษา คือ การทําให้คนมีความเป็ นตัวของตัวเอง มีความรับผิดชอบต่อการกระทําของตนเอง เสรี ภาพ และความภาคภูมิเป็ นครรลองของการนําไปสู่ ความเป็ นคนดังกล่าว เสรี ภาพมีความหมายตรงกันข้ามกับการควบคุ ม แต่เสรี ภาพในความหมาย ของสกินเนอร์ ไม่ได้หมายถึงความเป็ นอิสระจากการควบคุม หรื อมีความเป็ นอิสระจากสิ งแวดล้อม แต่หมายถึงความเป็ นอิสระจากการควบคุมบางชนิ ดที มีลกั ษณะแข็งกร้าวนั น ไม่ได้หมายถึงการทําลาย หรื อ หนี จ ากสิ ง แวดล้อ ม แต่ เ ป็ นการวิ เ คราะห์ แ ละเปลี ย นหรื อปรั บ ปรุ งรู ป แบบใหม่ ใ ห้ แ ก่ สิ งแวดล้อมนั น โดยทําให้อาํ นาจการควบคุมอ่อนตัวลงจนบุคคลเกิดความรู ้สึกว่าตนมิได้ถูกควบคุม หรื อต้องแสดงพฤติกรรมใด ๆ ที เนื องมาจากความกดดันภายนอกบางอย่าง บุคคลควรได้รับการยกย่อง ยอมรับในผลสําเร็ จของการกระทํา การเป็ นที ยกย่องยอมรับเป็ นความภาคภูมิใจ ความภาคภูมิใจ เป็ นคุณค่าของมนุ ษย์ แต่การกระทําที ควรได้รับการยกย่องยอมรับมากเท่าไร จะต้องเป็ นการกระทํา ที ปลอดจากการบังคับหรื อสิ งควบคุ มใด ๆ มากเท่านั น นัน คือ สัดส่ วนและปริ มาณของการยกย่อง
50 ยอมรับที ให้แก่การกระทํา จะเป็ นสัดส่ วนกลับกับความเด่นหรื อความสําคัญของสาเหตุที จูงใจให้เขาทํา ดังคํากล่าวของ ฌอง ฌาค รุ สโซ ที แสดงความคิ ดเห็ นว่า ครู จงทําให้เด็กเกิ ดความเชื อว่าเขาอยู่ใน ความควบคุมของตัวเขาเองแม้วา่ ผูท้ ี ควบคุมที แท้จริ ง คือครู ไม่มีวิธีการใดดีไปกว่าการให้เขาแสดง ด้วยความรู ้สึกว่า เขามีอิสระ เสรี ภาพ ด้วยวิธีน ีคนจะมีกาํ ลังใจด้วยตนเองครู ควรปล่อยให้เด็กได้ทาํ เฉพาะในสิ งที เขาอยากทํา แต่เขาจะอยากทําเฉพาะสิ งที ครู ตอ้ งการให้เขาทําเท่านั น สิ งที สกินเนอร์ ต้องการเน้น คือ การปรับแก้พฤติกรรมของคน ต้องแก้ดว้ ยเทคโนโลยีพฤติกรรมเท่านั นจึงจะสําเร็ จ ส่ วนการจะใช้เทคโนโลยีของพฤติ กรรมกับใคร อย่างไร ด้วยวิธี ไหน ถื อเป็ นเรื องของการตัดสิ นใจ ที จะใช้ศาสตร์ ซึ งจะต้องใช้ภูมิปัญญาของผูใ้ ช้เท่านั น ดังนั น การที จะให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดความพึงพอใจในการเรี ยนได้น นั สิ งสําคัญที สุดประการหนึ ง คือ เสรี ภาพในการเรี ยน และให้ผเู ้ รี ยนมีอิสระในการเรี ยนด้วยตนเอง โดยไม่มีความรู ้ สึกว่าตนเอง ถูกบังคับอย่างแท้จริ ง นอกจากนั นครู ผูส้ อนจัดเตรี ยมกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ อย่างเหมาะสม รวมถึ ง การสร้างแรงจูงใจให้เกิ ดขึ นกับผูเ้ รี ยน เพื อให้ผูเ้ รี ยนมีความพึงพอใจ มีความสนใจ รักและอยาก เรี ยนรู ้ในสิ งที ครู สอน เพราะการเรี ยนจะประสบความสําเร็ จหรื อไม่เพียงใดนั นอยูท่ ี ความพึงพอใจ และตัวของผูเ้ รี ยนเป็ นหลักสําคัญนัน เอง
งานวิจัยทีเ กีย วข้ อง การจัดทํารายงานการใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติ ม ชุ ด อนุ รักษ์ถ ิ นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ น อําเภอท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช ครั งนี ผูศ้ ึกษาได้ศึกษางานวิจยั ที เกี ยวข้องกับการสร้างหนังสื ออ่านเพิ มเติม ดังนี
เนตรทราย บัลลังก์ปัทมา (2552 : บทคัดย่อ) ได้รายงานการใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติ ม ชุ ด แหล่งเรี ยนรู ้ คู่ชุมชนไร่ ขิง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 5 โรงเรี ยนวัดไร่ ขิง (สุ นทรอุทิศ) จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรี ยนชั นประถมศึกษาปี ที 5 / 6 โรงเรี ยนวัดไร่ ขิง (สุ นทรอุทิศ) อําเภอสามพราน สํานักงานเขตพื นที การศึกษานครปฐม เขต 2 ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2552 จํานวน 42 คน เครื องมือที ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย 1) หนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุ ด แหล่งเรี ยนรู ้คู่ชุมชนไร่ ขิง จํานวน 8 เรื อง 2) แผนการจัดการเรี ยนรู ้ เรื องแหล่งเรี ยนรู ้คู่ชุมชนไร่ ขิง จํานวน 8 แผน เวลา 16 ชัว โมง 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ{ ทางการเรี ยน แบบปรนัยชนิ ด 4 ตัว เลื อ ก จํา นวน 40 ข้อ และ 4) แบบสอบถามความพึ ง พอใจของนัก เรี ย น จํา นวน1 ฉบับ ผลการวิจยั พบว่า 1)หนังสื ออ่า นเพิ ม เติ ม ชุ ด แหล่ งเรี ย นรู ้ ชุมชนคู่ ไร่ ขิง กลุ่ ม สาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 5 โรงเรี ยนวัดไร่ ขิง มีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ 87.80 / 80.23 ซึ งสู งกว่า เกณฑ์มาตรฐานที ต งั ไว้ 80 / 80 2) ผลสัมฤทธิ{ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สําคัญ
51 ทางสถิ ติที ระดับ .01 และ3)นัก เรี ย นมี ค วามพึ ง พอใจต่ อการเรี ย นด้วยหนัง สื ออ่ า นเพิ ม เติ ม ชุ ด แหล่งเรี ยนรู ้คู่ชุมชนไร่ ขิง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 5 โรงเรี ยนวัดไร่ ขิง อยูใ่ นระดับความพึงพอใจมากที สุด เยาวลักษณ์ วัฒโย (2552 : บทคัดย่อ) ได้รายงานการใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม “ ชุ ดมรดก ถิ นทองไทยเมื องปั ตตานี ” เพื อพัฒนาคุ ณภาพการอ่านจับใจความที มีต่อผลสัมฤทธิ{ ทางการเรี ยน ของนักเรี ยนชั นประถมศึกษาปี ที 5 โรงเรี ยนเทศบาล 4 วัดนพวงศาราม สังกัดเทศบาลเมืองปั ตตานี มีวตั ถุประสงค์เพื อ 1) เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ{ทางการเรี ยนของนักเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนโดย ใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม “ ชุดมรดกถิ นทองไทยเมืองปั ตตานี ” เพื อพัฒนาคุณภาพการอ่านจับใจความ ชั นประถมศึ กษาปี ที 5 โรงเรี ยนเทศบาล 4 วัดนพวงศาราม สั งกัดเทศบาลเมื องปั ตตานี 2)หาประสิ ทธิ ภาพ ของหนังสื ออ่านเพิ มเติ ม “ชุ ดมรดกถิ นทองไทยเมืองปั ตตานี ” ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 และ 3) ศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรี ยนต่อการเรี ยนโดยใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม “ชุ ดมรดกถิ นทอง ไทยเมืองปั ตตานี” เพื อพัฒนาคุณภาพการอ่านจับใจความชั นประถมศึกษาปี ที 5 โรงเรี ยนเทศบาล 4 วัดนพวงศาราม สังกัดเทศบาลเมืองปั ตตานี ผลการวิจยั พบว่า 1) หนังสื ออ่านเพิ มเติม “ชุ ดมรดกถิ น ทองไทยเมื องปั ตตานี ” มี ค่ าประสิ ทธิ ภาพเท่ ากับ 81.81 / 83.67 ซึ งสู งกว่ามาตรฐาน 80/80 2) ผลสั มฤทธิ{ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนที เรี ยนโดยใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม “ชุ ดมรดกถิ นทองไทยเมืองปั ตตานี ” เพื อพัฒนา คุ ณภาพการอ่านจับใจความ ชั นประถมศึกษาปี ที 5 โรงเรี ยนเทศบาล 4 วัดนพวงศาราม สังกัด เทศบาลเมืองปั ตตานี หลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที ระดับ.01 และ 3) นักเรี ยน มีความพึงพอใจของนักเรี ยนต่อการเรี ยนโดยใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติ ม “ชุ ดมรดกถิ นทองไทยเมือง ปั ตตานี ” ชั นประถมศึ กษาปี ที 5โรงเรี ยนเทศบาล4 วัดนพวงศาราม สังกัดเทศบาลเมื องปั ตตานี เฉลี ยรวมอยูใ่ นระดับมากที สุด อุบล ละอําคา (2552 : บทคัดย่อ) ได้รายงานการพัฒนาหนังสื ออ่านเพิ มเติม กลุ่มสาระ การเรี ย นรู ้ ภาษาไทย ด้านการอ่าน คิ ดวิเคราะห์ และเขี ยนสื อความ เรื อง ขอนแก่ นเมื องน่ าอยู่ สําหรับนักเรี ยนชั นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนเทศบาลบ้านตูม กลุ่มตัวอย่างในการวิจยั ครั งนี คือ นักเรี ยนชั นประถมศึกษาปี ที 6/2 โรงเรี ยนเทศบาลบ้านตูม ภาคเรี ยนที 1 ปี การศึกษา 2552 จํานวน 43 คน ได้มาโดยการสุ่ มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื องมือที ใช้ในการวิจยั ประกอบด้วย 1) หนังสื ออ่านเพิ มเติม เรื อง ขอนแก่นเมืองน่ าอยู่ 2)แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ{ ทางการเรี ยนแบบ ปรนัย 4 ตัวเลื อก 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของผูเ้ รี ยน ผลการวิจยั พบว่า 1) ค่าประสิ ทธิ ภาพ ของหนัง สื ออ่ า นเพิ ม เติ ม กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภาษาไทย ด้า นการอ่ า น คิ ดวิเคราะห์ และเขี ย น สื อความ เรื อง ขอนแก่นเมืองน่าอยู่ สําหรับนักเรี ยนชั นประถมศึกษาปี ที 6โรงเรี ยนเทศบาลบ้านตูม เท่ากับ 81.01 / 82.09 2) ผลสัมฤทธิ{ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สําคัญที ระดับ.
52 01 และ3) นักเรี ยนมี ความพึงพอใจต่อการเรี ยนโดยใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติ ม กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื อความ เรื อง ขอนแก่นเมืองน่าอยู่ สําหรับนักเรี ยน ชั นประถม ศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนเทศบาลบ้านตูม ในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก จิราภรณ์ อามานนท์ (2553 : บทคัดย่อ) ได้รายงานการพัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้ กลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้ภาษาไทย โดยใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติมคําพื นฐาน ชุด บ้านไร่ หรรษา ชั นประถมศึกษาปี ที 1 โรงเรี ยนอนุบาลปะทิว (บางสนพิพิธราษฎร์ บาํ รุ ง) กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรี ยนชั นประถมศึกษาปี ที 1/2 โรงเรี ยนอนุบาลปะทิว (บางสนพิพิธราษฎร์ บาํ รุ ง) สํานักงานเขตพื นที การศึกษาประถมศึกษาชุ มพร เขต 1 ปี การศึกษา 2553 ที มีปัญหาด้านการอ่าน อ่านหนังสื อไม่ออก จําสระไม่ได้และสะกดคําไม่ได้ จํานวน 15 คน ได้มาโดยวิธีเลือกแบบเจาะจง เครื องมือที ใช้ในการศึกษาได้แก่ หนังสื ออ่านเพิ มเติม คําพื นฐาน ชุ ดบ้านไร่ หรรษา ชั นประถมศึกษาปี ที 1 จํานวน 7 เล่ม แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ{ ทางการเรี ยน แบบปรนัยชนิ ด 3 ตัวเลื อก จํานวน 30 ข้อ และแบบสอบถามความพึ งพอใจของ นักเรี ยน จํานวน 1 ฉบับ ผลการวิจยั พบว่า 1)หนังสื ออ่านเพิ มเติม คําพื นฐาน ชุ ด บ้านไร่ หรรษา ชั นประถม ศึกษาปี ที 1 มีประสิ ทธิ ภาพรวม 81.04 / 82.95 ซึ งสู งกว่าเกณฑ์ที กาํ หนด 80 / 80 2)ผลสัมฤทธิ{ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนชั นประถมศึกษาปี ที 1 ที เรี ยนโดยใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม คําพื นฐาน ชุ ด บ้านไร่ หรรษา ชั นประถมศึกษาปี ที 1 มีคะแนนหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ ที ระดับ .01 และ3)นักเรี ยนชั นประถมศึกษาปี ที 1 มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดย ใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม คําพื นฐาน ชุ ดบ้านไร่ หรรษา ชั นประถมศึกษาปี ที 1 ในภาพรวมระดับมาก มีค่าเฉลี ยเท่ากับ 4.35 และค่าเบี ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.68 เตือนใจ ทองเสี ยน (2553 : บทคัดย่อ) ได้รายงานการใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติมประกอบ การสอนสะกดคํา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั นประถมศึ กษาปี ที 6 โรงเรี ยนบ้านโพนค้อ จังหวัดศรี สะเกษ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรี ยนชั นประถมศึกษาปี ที 6 / 2 โรงเรี ยนบ้านโพนค้อ ภาคเรี ยนที 1 ปี การศึกษา 2553 จํานวน 21 คน ได้มาโดยการสุ่ มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื องมือที ใช้ในการศึกษา 1)หนังสื ออ่านเพิ มเติมประกอบการสอนสะกดคํา กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 6/2 จํานวน 15 เล่ม 2) แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน ประกอบหนังสื อ อ่ า นเพิ ม เติ ม แต่ ล ะเล่ ม จํา นวน 15 ชุ ด ชุ ด ละ10 ข้อ เป็ นแบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัว เลื อ ก 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ{ ทางการเรี ยนเรื อง การเขียนสะกดคําในภาษาไทย เป็ นแบบทดสอบ แบบปรนัย 4 ตัว เลื อ ก จํา นวน 30 ข้อ และ 4)แบบสอบถามความพึ ง พอใจ จํา นวน 1 ฉบับ ผลการวิจยั พบว่า 1)ประสิ ทธิ ภาพของหนังสื ออ่านเพิ มเติมประกอบการสอนสะกดคํา กลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 6 มีค่าเท่ากับ 84.33 / 82.31 2) ผลสัมฤทธิ{ ทางการเรี ยน หลัง เรี ย นด้วยหนัง สื อ อ่ า นเพิ ม เติ ม ประกอบการสอนสะกดคํา กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภาษาไทย
53 ชั นประถมศึ ก ษาปี ที 6 สู งกว่าก่ อนเรี ย นอย่า งมี นัยสําคัญทางสถิ ติที ระดับ .01 และ 3)นัก เรี ย น มี ค วามพึ งพอใจต่ อการเรี ยนโดยใช้หนังสื ออ่ านเพิ มเติ มประกอบการสอนสะกดคํา กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 6 ในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก วันเพ็ ญ นาวารั ตน์ (2553 : บทคัดย่ อ)ได้ รายงานการพัฒ นาทัก ษะการอ่ า นจับ ใจความ โดยใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดประดู่บางจาก (พ่วงอุ ทิศ) กรุ งเทพมหานคร กลุ่ มตัวอย่าง คื อ นักเรี ยนชั นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดประดู่บางจาก (พ่วงอุทิศ) ภาคเรี ยนที 1 ปี การศึกษา 2553 จํานวน 32 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื องมือที ใช้ในการวิจยั ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรี ยนรู ้ เรื อง การอ่านจับใจความ กลุ่ม สาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 6 จํานวน16 แผน ใช้เวลาสอนรวม 16 ชัว โมง 2) หนังสื ออ่านเพิ มเติม กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 6 จํานวน 8 เล่ม 3) แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ{ ทางการเรี ยน ชนิ ด จํานวน 30 ข้อ และ 4) แบบสอบถามควาพึงพอใจของนักเรี ยน จํานวน 1 ฉบับ ผลการวิจยั พบว่า 1) ประสิ ทธิ ภาพของหนังสื ออ่านเพิ มเติม กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั นประถมศึกษาปี ที 6 มีค่าเท่ากับ 84.45 / 84.49 2) ผลสัมฤทธิ{ ทางการเรี ยนของนักเรี ยน หลังการใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม สู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที ระดับ.01 3) ความพึงพอใจ ของนักเรี ยนชั นประถมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดประดู่บางจาก (พ่วงอุทิศ) ที มีต่อหนังสื ออ่านเพิ มเติม กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย โดยรวมอยูใ่ นระดับมากที สุด จากงานวิจยั ที เกี ยวข้องกับการสร้างหนังสื ออ่านเพิ มเติม สรุ ปได้วา่ หนังสื ออ่านเพิ มเติม มีความสําคัญและเป็ นสื อที สามารถส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และพัฒนาผลสัมฤทธิ{ ของนักเรี ยนได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ ทั งนี ในการจัดทําจะต้องอาศัยหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและเทคนิ ควิธีการที เหมาะสม รวมถึงการนําไปใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้ตามรู ปแบบ และวิธีการที ถูกต้อง นอกจากนี จากการศึกษา ดังกล่าว ยังจะช่วยให้การจัดทํารายงานการใช้หนังสื ออ่านเพิ มเติม ชุด อนุรักษ์ถ ินใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั นประถมศึ กษาปี ที 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ น ประสบความสํ า เร็ จ ตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมายที กาํ หนดไว้ต่อไป