แบบประวัติ และผลงาน “ครูดใี นดวงใจ” ครั้งที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๕๘ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๔ ตอนที่ ๑ ข้ อมูลส่ วนตัว ๑. ๒.
ชื่อ นางชไมพร นามสกุล ใบเรื อง เกิดวันที่ ๗ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ อายุ ๕๒ ปี อายุราชการ ๒๗ ปี ๓. วุฒิการศึกษาสู งสุ ด การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) จากสถาบัน มหาวิทยาลัยกรุ งเทพธนบุรี ๔. ตาแหน่ งปัจจุบัน ครู โรงเรี ยนวัดทางขึ้น วิทยฐานะ ครู ชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ๕. สถานศึกษาที่ทางานปัจจุบัน โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ตาบล ท่าขึ้น อาเภอ ท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช รหัสไปรษณี ย ์ ๘๐๑๖๐ สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต ๔ กรม/ส่วนราชการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โทร. (บ้าน) - (โรงเรี ยน) - (มือถือ) ๐๘๕-๗๙๒๔๒๖๙ ๖. ที่อยู่ที่ติดต่ อได้ สะดวกที่สุด บ้านเลขที่ ๑๘๙/๓ หมู่ที่ ๑๒ ตาบลท่าขึ้น อาเภอ ท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช รหัสไปรษณี ย ์ ๘๐๑๖๐ โทร. ๐๘๕-๗๙๒๔๒๖๙
ตอนที่ ๒ พฤติกรรมและเหตุผลทีเ่ สนอให้ ได้ รับการสรรหาและคัดเลือกในโครงการ “ครูดใี นดวงใจ” ๒.๑ พฤติกรรมและผลทีแ่ สดงถึงการเป็ นบุคคลผู้เป็ นทีศ่ รัทธา ยกย่ อง ยอมรับของ นักเรียนและสั งคมว่ าเป็ นแบบอย่ างของผู้มจี ติ วิญญาณแห่ งความเป็ นครู ปี ที่เริ่ม พ.ศ. ๒๕๓๑ ข้าพเจ้าได้รับการบรรจุแต่งตั้งให้ปฏิบตั ิหน้าที่ ณ โรงเรี ยนบ้านหนองตา เยา อ.ละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งเป็ นโรงเรี ยนที่ต้งั อยูใ่ นถิ่นทุรกันดาร ห่างไกลจากจังหวัดบุรีรัมย์ ประมาณ ๘๐ กิโลเมตร การเดินทางจากตัวอาเภอไปโรงเรี ยนมีรถเที่ยวเช้าเที่ยวเดียวเท่านั้น ถนนเป็ น ถนนลูกรังสีแดง นักเรี ยนเป็ นนักเรี ยนที่ต่างวัฒนธรรม ต่างภาษา บางคนใช้ภาษาเขมร บางคนพูดภาษา ถิ่นอีสาน อีกทั้งในขณะนั้นมีภยั สงครามขึ้นบริ เวณชายแดนไทย-กัมพูชา สร้างความหวาดกลัวให้กบั ข้าราชการครู เป็ นอย่างยิง่ แต่ดว้ ยความเป็ นครู ทาให้ขา้ พเจ้าและเพือ่ นครู ทุกคนยังคงปฏิบตั ิหน้าที่ ตามปกติ รอฟังข่าวคราวจากทางหน่วยทหารที่ปฏิบตั ิราชการประจาพื้นที่วา่ ให้นานักเรี ยนลงหลบภัยใน หลุมหลบภัยเมื่อใด หรื อวันใดที่มีเสียงระเบิดดังขึ้น ทั้งครู และนักเรี ยนจะต้องอยูส่ งบ พร้อมที่หลบภัย
๒
ทาให้ทราบถึงความเสียสละของครู และความยุง่ ยากมากมายที่จะทาให้เด็กบรรลุเป้ าหมายของหลักสูตร แต่ไม่ก่อให้เกิดความย่อท้อในการปฏิบตั ิหน้าที่ในพื้นที่เช่นนั้นของข้าพเจ้า กลับเป็ นความภาคภูมิใจที่มี โอกาสให้สิ่งที่ดี ๆ ต่อนักเรี ยน และในช่วงการปฏิบตั ิหน้าที่นนั่ ด้วยความตั้งใจในการสอน ทาให้ ข้าพเจ้าได้รับเกียรติจากสปจ.บุรีรัมย์ มาถ่ายทาการบันทึกเทปการสอน วิชา สปช. เรื่ อง วันสาคัญทาง ศาสนา เพือ่ นาไปเผยแพร่ เป็ นตัวอย่างการสอนให้แก่ขา้ ราชการครู ส่งผลให้ขา้ พเจ้ามีความภูมิใจในความ เป็ นครู ดีเป็ นอย่างยิง่ และในขณะเดียวกันข้าพเจ้าก็ได้รับพระราชทานเหรี ยญราชการชายแดน ซึ่งเป็ น เกียรติสูงสุด เช่นกัน ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ข้าพเจ้าได้ยา้ ยมาปฏิบตั ิหน้าที่ ณ โรงเรี ยนบ้านควนสวรรค์ อ.ฉวาง จังหวัด นครศรี ธรรมราช ซึ่งเป็ นโรงเรี ยนที่ต้งั อยูบ่ นเนินเขา และทุรกันดารอีกเช่นกัน ห่างไกลจากจังหวัด ประมาณ ๖๐ กิโลเมตร ใช้เวลาในการเดินทาง ๒ ชัว่ โมง นักเรี ยนมีความพร้อมมากขึ้น ผูป้ กครองเอาใจ ใส่นกั เรี ยนดี ซึ่งการปฏิบตั ิหน้าที่ของข้าพเจ้าในโรงเรี ยนนี้ ข้าพเจ้ายังคงปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความมุ่งมัน่ ทุ่มเทเช่นเดิม ส่งผลทาให้การเรี ยนการสอนเป็ นไปอย่างมีคุณภาพ และเริ่ มเป็ นที่กล่าวขานให้กลุ่มของ เพือ่ นครู และมีผลการสอนเป็ นที่พงึ พอใจของผูป้ กครอง โดยเฉพาะวิชาศิลปะ ข้าพเจ้าเป็ นครู ฝึกสอน นักเรี ยน สามารถทาให้นกั เรี ยนได้รับรางวัลชนะเลิศ ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยนระดับภาคใต้ ครั้งที่ ๕๑ จังหวัดปั ตตานี และส่งผลให้ขา้ พเจ้าได้รับรางวัลครู วทิ ยาศาสตร์ดีเด่น ครู ผสู ้ อน สปช.ดีเด่น และ ห้องเรี ยนดีเด่น ซึ่งสิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงความตั้งใจจริ งในการปฏิบตั ิหน้าที่ครู ของข้าพเจ้า ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ข้าพเจ้าย้ายมาทาการสอนที่ โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง อาเภอท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช ซึ่งเป็ นโรงเรี ยนใกล้บา้ น สภาพสังคมเป็ นชุมชนมุสลิม นักเรี ยนทุกคนนับถือศาสนา อิสลาม โรงเรี ยนนี้ถึงแม้จะไม่ยงุ่ ยากในการเดินทางไปโรงเรี ยน แต่เป็ นโรงเรี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรี ยนต่า ยากต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน สืบเนื่องมาจากปั ญหาต่าง ๆ เช่น ปั ญหาด้านภาษา เนื่องจากนักเรี ยนจะต้องเรี ยนรู ้ ๒ ภาษา คือ ภาษาอาหรับ และ ภาษาไทย ซึ่งภาษาไทยนักเรี ยนเรี ยน เฉพาะในชัว่ โมงเรี ยนเท่านั้น เพราะนักเรี ยนจะเรี ยนภาษาอาหรับในทุกตอนเย็น และวันเสาร์-อาทิตย์ นักเรี ยนจึงไม่มีการฝึ กฝนขณะอยูท่ ี่บา้ น ส่งผลให้นกั เรี ยนมีความอ่อนด้อยด้านภาษาและการสื่อสาร และ ยังส่งผลต่อการเรี ยนในวิชาอื่น ๆ นับว่าเป็ นปั ญหาของครู ผสู ้ อนเป็ นอย่างยิง่ แต่ขา้ พเจ้าก็ไม่ยอ่ ท้อ ด้วย จิตแห่งความเป็ นครู จึงตั้งใจ พยายาม มุ่งมัน่ ในการพัฒนางาน พัฒนาตนเอง ศึกษา ค้นคว้าหาแนวทาง ต่าง ๆ มากขึ้นเป็ นสองเท่า เพือ่ จะพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความรู ้ความสามารถทุกด้าน ส่งผลให้เป็ นที่ยอมรับ ของเพือ่ นครู และได้รับรางวัลต่าง ๆ เช่น ครู ดีศรี จรรยาบรรณ ครู ภาษาไทยดีเยีย่ ม บุคลากรดีเด่น และ นักเรี ยนได้รับรางวัลต่าง ๆ เช่น รางวัลชนะเลิศคัดลายมือ และ การอ่านทานองเสนาะ กระทัง่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้าพเจ้าย้ายมาทาการสอนที่ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ซึ่งเป็ นโรงเรี ยนที่อยูใ่ น สภาพสังคมชุมชนมุสลิม นักเรี ยนนับถือศาสนาอิสลามร้อยละ ๗๐ ก่อให้เกิดปั ญหาต่าง ๆ เช่น ปั ญหา ด้านภาษา สังคม ปั ญหายากจน ปั ญหาครอบครัว
๓
ปั ญหาด้านภาษา นักเรี ยนโรงเรี ยนวัดทางขึ้นใช้ภาษาที่ตา่ งกัน กล่าวคือ นักเรี ยนอยูห่ มู่บา้ น ตะเคียนดา เป็ นชุมชนมุสลิม และบ้านบ่อนนท์เป็ นชุมชนชาวพุทธ ก่อให้เกิดปั ญหาได้แก่นกั เรี ยนนับถือ ศาสนาอิสลามจะต้องเรี ยน ๒ ภาษา คือ ภาษาอาหรับ และ ภาษาไทย ซึ่งนักเรี ยนจะเรี ยนภาษาอาหรับ ในทุกตอนเย็น และวันเสาร์-อาทิตย์ เด็กจึงไม่มีเวลาการบ้านที่คุณครู มอบหมาย หรื อไม่ทาการบ้านมา เลย ส่งผลให้นกั เรี ยนกลุ่มนี้อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ อ่านไม่คล่อง เขียนไม่คล่อง ข้าพเจ้าจึงได้พยายาม ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู ้ต่าง ๆ ทั้งในหลักวิชา และความรู ้เพิม่ เติมอยูต่ ลอดเวลา เพือ่ ใช้ในการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคนิคการสอนที่สามารถพัฒนานักเรี ยนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล และมีความรู ้ ความสามารถเท่าเทียมกัน ช่วยให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ไปพร้อมๆ กันได้ และเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง ด้าน สังคม นักเรี ยนโรงเรี ยนวัดทางขึ้นมาจากครอบครัวที่มีความแตกต่างกันด้านสังคม นักเรี ยนอยูใ่ นสภาพ สังคมที่ยากจนร้อยละ ๑๐๐ บิดามารดาส่วนใหญ่ทางานประมง แม่คา้ และรับจ้าง ต้องขวนขวายในการ ทามาหากิน ออกไปขายของในตลาดตั้งแต่เช้า ปล่อยทิ้งให้นกั เรี ยนรับผิดชอบตนเอง ไม่มีเวลาดูแลลูก เอาใจใส่ต่อการเรี ยนของลูก ไม่วา่ การแต่งกาย ความสะอาดของร่ างกาย และไม่ได้ทาการบ้าน ดังนั้น การศึกษาของลูกจึงเป็ นหน้าที่ของครู เพียงฝ่ ายเดียว ซึ่งข้าพเจ้าจะต้องมีความพยายามในการหาแนวทางที่ จะพัฒนา ฝึ กฝนนักเรี ยนให้มีคุณภาพ และมีสมั ฤทธิ์ทางการเรี ยนเป็ นตามเป้ าหมายที่วางไว้ถึงแม้จะยาก เพียงใด ๒.๑.๑ ครู มีความรักและเมตตาต่ อนักเรียน ข้าพเจ้ารัก เมตตาศิษย์ เสียสละ และอุทิศตนในการปฏิบตั ิงานในหน้าที่ความ รับผิดชอบอย่างเต็มกาลัง สร้างความเป็ นมิตรเป็ นที่พ่งึ พาและไว้วางใจของนักเรี ยนทุกคน ให้ความเป็ น กันเองกับนักเรี ยนโดยใช้คาพูดสุภาพเชิงบวกให้กาลังใจ พูดคุยซักถามความเป็ นอยูแ่ ละการเรี ยนของ นักเรี ยน รับฟังปั ญหา ให้คาปรึ กษา ช่วยเหลือ ช่วยแก้ปัญหาส่วนตัวและปั ญหาทางบ้านแก่นกั เรี ยนและ ผูป้ กครองนักเรี ยน สร้างความรัก ความอบอุ่นแก่นกั เรี ยนเพือ่ ความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างครู และนักเรี ยน ร่ วมกิจกรรมกับศิษย์อย่างเหมาะสม เพือ่ ให้ศิษย์และหรื อผูร้ ับบริ การได้รับการพัฒนาให้เป็ นคนดี มี ความสามารถตามศักยภาพ โดยจัดกิจกรรมที่หลากหลายตามสภาพความแตกต่างของศิษย์ และ จัด กิจกรรมร่ วมกันระหว่างครู ผูป้ กครองและชุมชน เพือ่ สัมพันธภาพในการสร้างความรู ้สึกที่ดีต่อ กัน เพือ่ ให้ศิษย์แต่ละประสบความสาเร็จ เป็ นระยะ ๆ อยูเ่ สมอ ตลอดจนชื่นชม เชิดชูเกียรติ ให้โอกาส แก่ศิษย์ และผูร้ ับบริ การที่มีผลงานดีเด่น ได้เสนอผลงานต่อสาธารณชน มุ่งหวังให้ศิษย์ทุกคนได้รับการ พัฒนาความสามารถตามศักยภาพ ความถนัดและความสนใจของแต่ละบุคคลโดยเสมอหน้า เป็ นที่ ประจักษ์
๔
๒.๑
.๒ การเป็ นแบบอย่ าง ข้าพเจ้าประพฤติ ปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ตัวอย่างแสดง ถึงพฤติกรรมที่เป็ นรู ปธรรม ดังนี้ ๑)ความมุ่งมัน่ อดทน ขยัน ข้าพเจ้าเป็ นผูท้ ี่มีความตั้งใจ มุ่งมัน่ ในอบรม สัง่ สอน ฝึ กฝน สร้างเสริ มความรู ้ ทักษะและนิสยั ที่ถูกต้องดีงามให้แก่ศิษย์ด้ วยความจริ งจัง ยึดมัน่ จรรยาบรรณ วิชาชีพครู ปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยความเต็มใจจนเป็ นผลความสาเร็จ มุ่งมัน่ คิดค้นวิธีการ จัดการเรี ยนการสอนที่มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการของนักเรี ยน และบริ บทของชุมชนตาม แนวทางปฏิรูป ข้าพเจ้ามี มีความอดทน อดกลั้นต่อความเหนื่อยยากต่อสถานการณ์ขณะปฏิบตั ิราชการ ไม่ ฉ้อราษฎร์บงั หลวง ไม่เคยคิดแสวงหาผลประโยชน์จากราชการ ๒)สุขภาพและการมีบุคลิกที่ดี ข้าพเจ้ากระทาตนเป็ นแบบอย่างที่ดีสอดคล้องกับคาสอน ของตน และวัฒนธรรมอันดีงาม ระมัดระวังในการกระทา และการพูดของตนเสมอ พูดจาสุภาพ และ สร้างสรรค์โดยคานึงถึงผลที่จะเกิดกับศิษย์ ปฏิบตั ิตนให้มีสุขภาพ บุคลิกที่ดี แสดงกิริยามารยาทสุภาพ เรี ยบร้อยอยูเ่ สมอ แต่งกายเหมาะสมกับบุคลิกของตนเอง ถูกต้องตามระเบียบประเพณี ที่งดงามของสังคม อย่างเรี ยบง่าย ควบคุมอารมณ์ได้ดี พูดชมเชย ให้กาลังใจศิษย์ดว้ ยความจริ งใจ และประพฤติปฏิบตั ิตาม คุณธรรมของศาสนา นาพุทธธรรมคาสอนมาพัฒนาตน พัฒนาจิต ๓)ความซื่อสัตย์สุจริ ต ข้าพเจ้าปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความซื่อสัตย์สุจริ ต เสียสละ ตั้งใจสอน ศิษย์อย่างเต็มความรู ้ เต็มความสามารถตลอดเวลา ไม่ฉอ้ ราษฎร์บงั หลวง มีความเอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ เสียสละ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม ๔)ความพอเพียง ประหยัด ข้าพเจ้าได้ยดึ หลักตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ ชีวติ การเป็ นอยูบ่ นพืน้ ฐานพอเพียง พอดี พอประมาณ รู ้จกั ใช้จ่าย ดารงตนตามอัตภาพ มีชีวติ อย่างเรี ยบ ง่ายตามขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรม ใช้จ่ายอย่างประหยัด ในสิ่งที่จาเป็ นต่อการดาเนินชีวติ รู ้จกั ประหยัด รู ้จกั อดออม ยอมรับในความดีที่มีอยู่ ที่เป็ นอยู่ เคารพสิทธิเสรี ภาพและความคิดเห็นของผูอ้ ื่น ไม่ ยึดติดความคิดของตนเป็ นใหญ่ และไม่ติดอบายมุขและสารเสพติด เช่น การพนัน เที่ยวกลางคืน สูบบุหรี่ ของมึนเมา ประพฤติตนใช้ชีวติ อย่างเรี ยบง่ายตามกรอบของสังคม ระเบียบ ประเพณี วัฒนธรรมและ ระเบียบวินยั ของราชการอย่างถูกต้องเหมาะสม ๒.๑.๓ ครู มีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็ นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู ๑) เป็ นสมาชิกขอององค์กร มีความรักในองค์การ ตั้งใจปฏิบตั ิหน้าที่ และช่วย สอดส่องดูแลองค์กร เพือ่ ช่วยแก้ไขได้เป็ นที่เรี ยบร้อย รวมทั้งร่ วมงานกับบุคลากรในองค์กรปฏิบตั ิหน้าที่ เพือ่ สร้างชื่อเสียงและความเจริ ญก้าวหน้าขององค์กรด้วยความสามัคคี และขยันขันแข็ง ทาให้ องค์กรมี ชื่อเสียงเป็ นที่ยอมรับ
๕
๒) การให้เกียรติ ยกย่อง ชื่นชม เมื่อเพือ่ นผูป้ ระกอบอาชีพประสบความสาเร็จใน วิชาชีพ ก็ช่วยยกย่องเชิดชู โดยการบอกเล่า ประชาสัมพันธ์ ให้การยกย่องสู่บุคคลทัว่ ไป และแสดง ความยินดีดว้ ยความจริ งใจ ตลอดจนให้ความร่ วมมือ แนะนา ปรึ กษาแก่เพือ่ นครู ตามโอกาส และความ เหมาะสม ๓) การรักษาชื่อเสียง มีความรักในองค์การ ตั้งใจปฏิบตั ิหน้าที่ และช่วยสอดส่องดูแล องค์กร เพือ่ ช่วยแก้ไขได้เป็ นที่เรี ยบร้อย รักษาความสามัคคีของหมู่คณะ ไม่ก่อให้เกิดการทะเล าะวิวาท มีความอดทนอดกลั้นในอารมณ์ที่จะส่งผลต่อความบาดหมาง จึงอยูร่ วมกับผูอ้ ื่นด้วยความสงบสุข ประชาสัมพันธ์และเข้าร่ วมกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพ ไม่วา่ เป็ นกิจกรรมในความรับผิดชอบหรื อไม่ ๒.๑.๔ ครู มีการช่ วยเหลือเกือ้ กูลเพื่อนครู และชุมชนในทางสร้ างสรรค์ ๑) ร่ วมมือกับผูอ้ ื่นใน สถานศึกษาอ ย่างสร้างสรรค์ เมื่อได้รับมอบหมายงานใด ๆจะ พยายามสร้างคุณลักษณะของการเป็ นสมาชิกที่ดี มีส่วนร่ วมในการทางานทุกงาน เพือ่ ประโยชน์ของ องค์กร วางตนเป็ นกลาง ใจกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น เห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็ นสาคัญ โดยร่ วมประชุม ศึกษา และดาเนินการเรื่ องนั้น ๆ เพือ่ ให้งานสาเร็จลุล่วงตามจุดหมายที่ วางไว้ มีการสรุ ปผล การทางาน ประเมินและรายงานผลการทางานร่ วมกัน เพือ่ นาเสนอปั ญหา อุปสรรค และช่วยคิดหา แนวทางพัฒนางานนั้นให้เป็ นผลสาเร็จยิง่ ขึ้นไป - หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย - หัวหน้างานบริ หารงานบุคคล - หัวหน้างานบริ หารงานธุรการ - หัวหน้าเวรประจาวันศุกร์ หัวหน้าเวรอาหารกลางวันวันศุกร์ - รับผิดชอบโครงการพัฒนาครู และบุคลากรโรงเรี ยนวัดทางขึ้น -เป็ นคณะกรรมการต่าง ๆ ในโรงเรี ยน เช่น เป็ นผูร้ ับผิดชอบกิจกรรมศึกษาดูงาน โครงการพัฒนาครู และบุคลากร, กรรมการพิจารณาความดีความชอบของข้าราชการครู , กรรมการ โครงการส่งเสริ มสุขภาพ , กรรมการวิชาการโรงเรี ยนวัดทางขึ้น , กรรมการประเมินการปฏิบตั ิงานของ ครู อตั รจ้าง ครู พเี่ ลี้ยง พนักงานธุรการ , คณะกรรมการฝึ กซ้อมกีฬา , คณะกรรมการตรวจกระดาษคาตอบ Pre O-NET , กรรมการตกแต่งต้นเทียนพรรษา ๒) ข้าพเจ้าร่ วมมือกับชุมชน โดยการร่ วมมือกับเพือ่ นครู ในการร่ วประสานงานให้ มมือ ความ ร่ วมมือต่อชุมชนเพือ่ ยังประโยชน์ให้แก่ชุมชนอย่างดียงิ่ เช่น กิจกรรมที่ชุมชนจัดขึ้นในฐานะสมาชิกของ ชุมชน ไม่วา่ กิจกรรมใด ๆ ที่ชุมชนขอความร่ วมมือ เพือ่ ให้เกิดความเจริ ญก้าวหน้า สามัคคีในชุมชน จะให้ ่บา้ น งขันกีฬาระหว่างชุมชน การร่ วมทาบุญ ความร่ วมมือทุกครั้ง เช่น การช่วยเหลืองานต่าง ๆ ของหมูการแข่ ของชุมชน และการพัฒนาชุมชน โดยร่ วมมือกับชุมชนในการนานักเรี ยนเข้าร่ วมพิธีทางศาสนาและ
๖
กิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน เช่น วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันพ่อแห่งชาติ วันแม่แห่งชาติ ร่ วมแห่ หมฺ รับในประเพณี สารทเดือนสิบ ร่ วมงานประเพณี แห่ผา้ ขึ้นธาตุ เป็ นต้น ตลอดจนมีส่วนร่ วมใน กิจกรรมที่องค์กรท้องถิ่นจัดขึ้น โดยร่ วมแสดงความคิดเห็นในการจัดกิจกรรมของท้องถิ่น ตามกาลัง ความสามารถ เช่น เป็ นกรรมการตัดสินงานของหมู่บา้ น อบต. เป็ นกรรมการในงานประเพณี และ วัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างสม่าเ สมอ อีกทั้งปรับตัวให้เข้ากับขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของ ท้องถิ่นได้อย่างดี สามารถที่จะปฏิบตั ิกิจกรรมตามแบบอย่างของท้องถิ่นได้ ทาให้เป็ นที่นบั ถือของบุคคล ทัว่ ไป เช่น การเข้าร่ วมงานประเพณี แต่งงาน งานศพ งานอุปสมบท ๓)ร่ วมมือกับองค์กรวิชาชีพ เป็ นกรรมการให้ กับชุมชนและองค์กรท้ องถิ่น ดังนี้ ๑ . คณะกรรมการตัดสินผลงานนักเรี ยน โครงการนันทนาการสร้างสรรค์ คุณภาพชีวติ อาเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช ปี ๒๕๕๓-๒๕๕๔ ๒. คณะกรรมการตัดสินผลงานนักเรี ยน ในงานเทศกาลเดือนสิบ สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต ๑ พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๖ ๓. คณะกรรมการตัดสินผลงานนักเรี ยน ในงานของดีท่าขึ้น อาเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช ปี ๒๕๕๔-๒๕๕๖ เป็ นวิทยากรให้ กับหน่ วยงาน/คณะครู จากโรงเรียนต่ าง ๆ ๑. วิทยากรพีเ่ ลี้ยงข้าราชการครู กลุ่มการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ในการทาผลงาน วิชาการขอมีหรื อเลื่อนวิทยฐานะเป็ นชานาญการพิเศษ ของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรี ธรรมราช เขต ๔ อาเภอท่าศาลา กรกฎาคม – สิงหาคม ๒๕๕๖ ๒. วิทยากรกิจกรรมพัฒนานักเรี ยน ในงานประเพณี เทศกาลเดือนสิบปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ ๓ . วิทยากรค่ายนักเรี ยน โรงเรี ยนวัดเขาขุนพนม วันที่ ๒๑ มกราคม๒๕๕๖ ๔. เป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญให้คาปรึ กษา ตรวจสอบเครื่ องมือแก่เพือ่ นครู ในการทา ผลงานวิชาการขอมีหรื อเลื่อนวิทยฐานะเป็ นชานาญการพิเศษ เช่น นางสุภตั ร ธรฤทธิ์ ครู โรงเรี ยนวัด ทางขึ้น นางขวัญตา นวลแป้ น ครู โรงเรี ยนวัดโทเอก นางสุจิรา หนูพรม ครู โรงเรี ยนวัดกลาง นายจิรโรจน์ นวลแป้ น ครู โรงเรี ยนวัดเขาขุนพนม เป็ นต้น ๕. วิทยากรพีเ่ ลี้ยงข้าราชการครู อบรม เรื่ อง การวิจยั ชั้นเรี ยน ในการทา ผลงานวิชาการขอมีหรื อเลื่อนวิทยฐานะเป็ นชานาญการพิเศษ ของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต ๔ อาเภอท่าศาลา ตั้งแต่เดือนมิถุนายน ๒๕๕๗ - เดือนมีนาคม ๒๕๕๘
๗
๔) ร่ วมมือกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเลือกสรรภูมิปัญญาท้องถิ่น และวิทยากรต่าง ๆ เพือ่ พัฒนาให้สอดคล้องกับสภาพปั ญหา และความ ต้องการของผูเ้ รี ยน เช่นเชิญวิทยากรปราชญ์ชาวบ้านมาให้ความรู ้แก่นกั เรี ยน รวมทั้งหาวิธีการสนับสนุน ให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างชุมชน และในฐานะข้าพเจ้าผูป้ ระกอบอาชีพครู ได้ให้ร่วมมือ และช่วยเหลือเกื้อกูลกันในทุกด้านด้วยความเต็มใจ ให้ความร่ วมมือ แนะนา ปรึ กษาแก่เพือ่ นครู ตาม โอกาส และความเหมาะสม เข้าร่ วมกิจกรรมและแนะนาแนวทางในการพัฒนางาน พัฒนาวิชาชีพ เมื่อ เพือ่ นผูป้ ระกอบอาชีพประสบความสาเร็จในวิชาชีพก็ช่วยยกย่องเชิดชู โดย ให้การยกย่องสู่บุคคลทัว่ ไป และแสดงความยินดีดว้ ยความจริ งใจ และร่ วมงานกับบุคลากรในองค์กรปฏิบตั ิหน้าที่เพือ่ สร้างชื่อเสียง และความเจริ ญก้าวหน้าขององค์กรด้วยความสามัคคี และขยันขันแข็ง อันส่งผลให้เกิดพลังและศักยภาพ ในการพัฒนาวิชาชีพครู และการพัฒนาสังคมควบคู่กนั ไปด้วย ๒.๑ .๕ ความเป็ นผู้นาในการอนุรักษ์ พัฒนาภูมิปัญญาท้ องถิ่นและวัฒนธรรมไทย การเป็ นผูน้ าในการอนุรักษ์ ของข้าพเจ้า คือ การริ เริ่ มดาเนินกิจกรรมที่ส่งเสริ มภูมิ ปั ญญาและวัฒนธรรมไทย โดยรวบรวมข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ เลือกสรร ปฏิบตั ิตน และเผยแพร่ ศิลปะประเพณี ในชุมชนเพือ่ ใช้ในการเรี ยนการสอน ได้แก่ การรวบรวมข้อมูลและเลือกสรรภูมิปัญญา ท้องถิ่น และวัฒนธรรมที่เหมาะสมมาใช้จดั กิจกรรมการเรี ยนการสอน ได้แก่ เชิญบุคคลในท้องถิ่นมา เป็ นวิทยากร เช่น เชิญวิทยากรเพลงบอก และการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน เช่น การร้องเพลงกล่อมเด็ก สานวนคนนคร ตลอดจนการนานักเรี ยนไปศึกษาวิถีชุมชน เป็ นต้น
๒.๒ พฤติกรรมและผลทีแ่ สดงถึงความสามารถในการจัดการเรียนการสอน ๒.๒.๑ ความมุ่งมั่นในการพัฒนาตนเพื่อปฏิบัติหน้ าที่ให้ มีคุณภาพ ถูกต้ อง ข้าพเจ้าประกอบอาชีพครู ดว้ ยความตั้งใจ มุ่งมัน่ ตรงต่อเวลาในการมาปฏิบตั ิหน้าที่ เข้า สอนตรงและเต็มเวลา อุทิศเวลาในการอบรมสัง่ สอนศิษย์เป็ นเวลานาน พัฒนาตนเองให้กา้ วหน้าอยูเ่ สมอ ด้วยการค้นคว้า แสวงหาความรู ้ ค้นหาเทคนิควิธีการปฏิบตั ิงานในทุกด้าน ทั้งในด้านวิชาชีพ ด้าน บุคลิกภาพ และด้านวิสยั ทัศน์ดว้ ยวิธีการต่าง ๆ ที่หลากหลาย เช่น การอ่าน ศึกษาด้วยตนเอง การเข้า รับฟังการเสวนา การเข้าร่ วมการประชุมสัมมนาทางวิชาการ การเข้ารับการอบรมต่าง ๆ ตามที่หน่วยงาน ต้นสังกัดจัดให้มีข้ นึ จนมีความรอบรู ้ ทันสมัย ทันเหตุการณ์ สามารถนามาวิเคราะห์ กาหนดเป้ าหมาย และหาแนวทางในการพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และวิชาชีพ นาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ประกอบการ เรี ยนการสอน อีกทั้งการพัฒนาตนเองให้ทนั ต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในยุคปั จจุบนั โดยนาความรู ้ประสบการณ์อนั หลากหลายเหล่านั้นมาใช้ในการปฏิบตั ิงานใน หน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายสาเร็จตามเป้ าหมายที่กาหนดอย่างมีคุณภาพ เกิดประสิทธิผล ของงานเชิงประจักษ์ เป็ นที่ยอมรับของผูป้ กครองนักเรี ยน คณะครู ในโรงเรี ยน ผูบ้ ริ หาร ตลอดจนเพือ่ น ครู ต่างโรงเรี ยนอย่างกว้างขวาง เช่น การนาเสนอผลงานการจัดการเรี ยนการสอนที่ใช้นวัตกรรม
๘
“หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม ชุด อนุรักษ์ ถิ่นใต้ บอกใบ้ ด้วยเพลงบอก ” ในระดับเครื อข่าย เขตพื้นที่ ระดับภาค และระดับชาติ กระทัง่ ได้รับรางวัล คือ “ ครู ผู้สอนยอดเยี่ยม ” รางวัลเหรี ยญทอง รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๓ พ.ศ. ๒๕๕๗ จาก สพฐ. ๒.๒ .๒ ความตั้งใจและเต็มใจในการให้ บริการแก่ ผู้รับบริการ ข้าพเจ้ามีความ ตั้งใจในการปฏิบตั ิงานตามหน้าที่และอุดมการณ์แห่งวิชาชีพครู เป็ นที่ ประจักษ์ โดยมีความตั้งใจ มุ่งมัน่ ที่จะปฏิบตั ิหน้าที่ตลอด ๒๖ ปี อย่างมีมานะอุตสาหะ ไม่ยอ่ ท้อ ระลึก เสมอว่า นักเรี ยนทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่านักเรี ยนมีความสาคัญที่สุด จึงจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มศิษย์ให้เกิดการเรี ยนรู ้ ทักษะ และนิสยั ที่ถูกต้องดีงามด้วยความบริ สุทธิ์ ใจอย่างต่อเนื่อง ให้ผเู ้ รี ยนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ทาให้นกั เรี ยนมีความรู ้คู่ คุณธรรม ประสบความสาเร็จ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงขึ้นตามเป้ าหมาย โดยศึกษาวิเคราะห์เด็กเป็ น รายบุคคล ทาให้ทราบความแตกต่างของศิษย์ และจัดกลุ่มเด็กเป็ นเก่ง ปานกลาง อ่อน เพือ่ กาหนดจัด กิจกรรมการเรี ยนการสอนให้เหมาะสมกับศิษย์ให้ศิษย์มีความรู ้และทักษะเต็มศักยภาพ รวมทั้งสอดแทรก คุณลักษณะอันพึงประสงค์ นิสยั ที่ถูกต้อง ในการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ กล่าวย้าซ้ าเน้นตลอดจน ยกย่อง ชมเชยและให้โอกาสแก่ศิษย์แสดงความรู ้ ความคิดอย่างสนใจและยอมรับตลอดจนส่งเสริ มศิษย์ตามความ แตกต่างระหว่างบุคคล ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรี ยนแก่ศิษย์ โดยได้จดั กิจกรรมที่ช่วยเหลือและบริ การ แก่นกั เรี ยนอย่างเต็มความรู ้ความสามารถ เช่น กิจกรรมซ่อมเสริ มเพิม่ ผลสัมฤทธิ์ กิจกรรมระบบ ช่วยเหลือดูแลนักเรี ยน กิจกรรมเยีย่ มบ้าน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมประชุมผูป้ กครอง เพือ่ ให้โอกาส ผูป้ กครองและชุมชนมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา และพัฒนาบุตรหลานไปพร้อมกับครู ผสู ้ อน และ ยอมรับฟังความคิดเห็น พร้อมที่จะปรับ เปลี่ยนให้การเรี ยนการสอนเป็ นไปอย่างมีคุณภาพ ๒.๒.๓ สร้ างองค์ความรู้ และนวัตกรรมในการพัฒนาองค์กรและวิชาชีพ ข้าพเจ้าพัฒนาสื่อการสอนให้มีประสิทธิภาพอยูเ่ สมอ ด้วยการมุ่งมัน่ คิดค้น ค้นคว้า องค์ความรู ้ต่าง ๆ ทั้งในหลักวิชา และความรู ้เพิม่ เติมอยูต่ ลอดเวลา เพือ่ สร้างองค์ความรู ้และ จัดการเรี ยน การสอนสอดคล้องกับความต้องการของนักเรี ยน และบริ บทของท้องถิ่น ชุมชน โดยการศึกษาแนว ทางการจัดการเรี ยนรู ้ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา เพือ่ ประโยชน์สาหรับการนาความรู ้และประสบการณ์ ที่ได้รับ มาปรับ ประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั ิหน้าที่การจัดการเรี ยนการสอนที่มุ่งประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ซึ่งก่อนการออกแบบการเรี ยนรู ้ ได้ทาการศึกษา วิเคราะห์หลักสูตร ในสาระการเรี ยนรู ้ที่ ได้รับมอบหมาย ศึกษาตัวชี้วดั ที่อาจมีปัญหาเป็ นอุปสรรคในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน เช่น เนื้อหายาก นักเรี ยนอาจไม่สามารถเกิดองค์ความรู ้ และมีพฤติกรรมตามหลักสูตรกาหนด ตลอดจนได้ศึกษาข้อมูล เด็กรายบุคคลในเรื่ องต่างๆ เช่น ข้อมูลทางด้านครอบครัว ข้อมูลด้านการเรี ยนข้อมูลด้านความต้องการ วิธีการเรี ยนที่เด็กชอบ และปั ญหาที่เด็กประสบอยู่ แล้วนาข้อมูลทุกด้านมาประมวลผล วางแผน ออกแบบ ดาเนินการให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับปั ญหาที่นกั เรี ยนประสบอยูโ่ ดยใช้สื่อ นวัตกรรมที่ผลิต
๙
ขึ้น มาใช้กิจกรรมการเรี ยนสอนให้สอดคล้องสาระการเรี ยนรู ้ ตัวชี้วดั และกิจกรรม การเรี ยนรู ้ และนามาใช้ ในการวิจยั ชั้นเรี ยนให้สอดคล้องกับสภาพปั ญหาของผูเ้ รี ยน นอกจากนี้ยงั ได้จดั เก็บอย่างเป็ นระบบ หมวดหมู่เพือ่ ใช้ได้ง่ายขึ้น และให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในการสร้างองค์ความรู ้ ๒.๒.๔ ความรู้ ความสามารถในการออกแบบและจัดทาหน่ วยการเรียนรู้ และแผนการ จัดการเรียนรู้ ข้าพเจ้าจัดทาแผนจัดการเรี ยนรู ้ โดยมีกระบวนการจัดทาแผนที่ถูกต้อง ทาให้แผนการ จัดการเรี ยนรู ้มีคุณภาพ มีความสมบูรณ์ครบถ้วน ที่สามารถไห้เพือ่ นร่ วมงานนาไปเป็ นแบบอย่างได้ เป็ น ปั จจุบนั และครบชัว่ โมงสอนตลอดปี การศึกษา ซึ่งการดาเนินการจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรูโดยได้ ้ ศึกษา วิเคราะห์หลักสูตร จัดทาโครงสร้างวิชา จัดทาหน่วยการเรี ยนรู ้ ออกแบบการสอน และจัดทา แผนการ จัดการเรี ยนรู ้ให้สอดคล้องกับต้องการของผูเ้ รี ยน และท้องถิ่น คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล วางแผนและเตรี ยมความพร้อมในการใช้สื่อ แหล่งเรี ยนรู ้ และการวัดผลประเมินผล เพือ่ ให้จดั กิจกรรม การเรี ยนรู ้เป็ นไปอย่างราบรื่ นและเกิดผลดีต่อนักเรี ยน ส่งเสริ มให้นกั เรี ยนสร้างชิ้นงาน และเก็บรวบรวม ผลงานเด่นในแฟ้ มสะสมผลงาน นามาผลงานมาใช้ในการวัดผลประเมินผล และเขียนบันทึกหลังสอน เพือ่ สรุ ปผลการสอน สรุ ปปั ญหา และแนวทางแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ตลอดจนมีการประเมินแผนการจัดการ เรี ยนรู ้ เพือ่ ปรับปรุ งคุณภาพแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่สามารถใช้ได้เกิดผลจริ งในโอกาสต่อไป ส่งผลให้ นักเรี ยนมีความรู ้และทักษะในการใช้ภาษาไทยด้วยการนาความรู ้ภาษาไทยไปประยุกต์ใช้ในการเรี ยนกลุ่ม สาระอื่น ๆ และใช้ในชีวติ จริ งของนักเรี ยน ๒.๒.๕ การจัดการเรียนรู้ ที่เน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ ข้าพเจ้าจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน โดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผเู ้ รี ยน ด้วยการศึกษา เทคนิค วิธีการสอนต่าง ๆ ให้เข้าใจอย่างละเอียด จึงจะเลือกมาใช้ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพผูเ้ รี ยน ให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้มากที่สุด มีความพยายามในการฝึ กทักษะทั้ง ๔ ทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน ให้ผเู ้ รี ยนมีความสามารถที่โดดเด่น สามารถในการใช้ภาษาในการสื่อสารได้ดี ดาเนินการ สอนให้นกั เรี ยนเป็ นผูก้ ระทาด้วยตนเองที่สอดคล้องกับความสามารถและความสนใจของผูเ้ รี ยน มุ่ง ผลสัมฤทธิ์ ผลผลิตที่มีคุณภาพ รวมทั้งพยายามใฝ่ เรี ยนรู ้ ศึกษาค้นคว้าข้อมูลข่าวสาร และข้อมูลทาง วิชาการ เพือ่ พัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ และปรับปรุ งการเรี ยนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล มีความกระตือรื อร้นในการศึกษาหาสาเหตุปัญหาของการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน หาแนวทาง แก้ปัญหาให้สาเร็จ เพือ่ ให้ผเู ้ รี ยนประสบความสาเร็จในการเรี ยน ทาให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ที่คงที่ และนา ความรู ้ไปประยุกต์ใช้ในชีวติ จริ ง รวมทั้งปลูกฝัง สอดแทรกคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ตามที่สงั คมคาดหวัง เพือ่ ให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความสามารถรอบด้าน เป็ นคนที่สมบูรณ์ มี ความสมดุลทั้งด้านร่ างกายจิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม สามารถพัฒนาตนเองและร่ วมมือกับผูอ้ ื่น ได้อย่างสร้างสรรค์ มีความคิดที่เป็ นเหตุเป็ นผลที่พฒั นาชีวติ ได้ ซึ่งใช้รูปแบบการสอนที่หลากหลาย เช่น
๑๐
- การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน เพือ่ ปลูกฝัง ให้นกั เรี ยนรักและภาคภูมิใจในถิ่นบ้านเกิด ร่ วมอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นนั้น เช่น เพลงบอก - การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนแบบบูรณาการทั้งภายในสาระการเรี ยนรู ้และต่างกลุ่ม สาระการเรี ยนรู ้ เพือ่ ลดเวลาสอนในเนื้อหาที่ซ้ าซ้อน - การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้การสอนแบบโครงงาน เพือ่ ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยน เรี ยนรู ้ตามตามความสนใจและตามความต้องการ ส่งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ - การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม เพลง เกม การแสดง บทบาทสมมุติ เพือ่ นช่วยเพือ่ น เก่งช่วยอ่อน เพือ่ มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนร่ วมกันคิดอภิปรายแสดงความคิดเห็น ร่ วมกันแก้ปัญหา มีความสนุกสนานในการเรี ยน และเรี ยนรู ้อยูร่ ่ วมกันอย่างมีความสุข - การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้แบบเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง โดยให้นกั เรี ยนแสวงหา ความรู ้ สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต ห้องสมุด ชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่น และ ปราชญ์ชาวบ้าน ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้สู่ความเป็ นสากล เป็ นพลโลก บนพื้นฐานของความเป็ นไทย - การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้การสอนแบบพหุปัญญา ส่งเสริ ม สนับสนุนให้ ผูเ้ รี ยนมีความเก่งหลายด้านได้แก่ ด้านจานวน ภาษา มิติสมั พันธ์ ดนตรี จงั หวะ การเคลื่อนไหว เข้าใจ ธรรมชาติ เข้าใจตนเอง และเข้าใจผูอ้ ื่นได้เป็ นอย่างดี มุ่งพัฒนาด้านสมองทั้งสองซีกของผูเ้ รี ยนให้ เจริ ญเติบโตไปพร้อม ๆ กันทั้งในด้านตรรกะและความคิดสร้างสรรค์ ๒.๒.๖ การใช้ สื่อและพัฒนานวัตกรรม จากการศึกษา ค้นคว้า และพัฒนาตนเองตลอดเวลา ทาให้ขา้ พเจ้า พัฒนาสื่อ – นวัตกรรม ที่ใช้ในการกิจกรรมการเรี ยนการสอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔-๖ย่างต่อเนื่อง และสามารถเป็ นแบบอย่างแก่ ผูอ้ ื่นได้ไม่นอ้ ยกว่า ๓๒ รายการ มีดงั ต่อไปนี้ ๑ . ใบความรู ้สาระที่ ๑ - ๔ ๒ . ใบความรู ้สาระที่ ๔ เล่ม ๑ – ๒ ๓ . ใบความรู ้ ประกอบการสอนสาระที่ ๒ การเขียน ได้แก่ -ใบความรู ้ เรื่ อง การเขียนจดหมาย -ใบความรู ้ เรื่ อง การเขียนเรี ยงความ การเขียนเรื่ องเชิงสร้างสรรค์ -ใบความรู ้ เรื่ อง การเขียนคาขวัญ คาคม ๔.เอกสารประกอบการสอน เรื่ อง การเขียนโครงงานภาษาไทย ๕ . เอกสารประกอบการสอน เรื่ อง สานวนคนนคร ๖ . เอกสารประกอบการสอน เรื่ อง เพลงร้องเรื อ ๗ . เอกสารประกอบการสอน เรื่ อง นิทานพืน้ บ้านภาคใต้ ๗ . แบบฝึ กทักษะภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ เล่ม ๑
๑๑
๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๔ ๑๕ ๑๗ ๑๘
. แบบฝึ กทักษะภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ เล่ม ๒ . แบบฝึ กทักษะการเขียน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ เล่ม ๑ . แบบฝึ กทักษะการเขียนเรื่ อง ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ เล่ม ๒ .การเขียนเรื่ องจากภาพ สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ๑๓. แบบฝึ กเสริ มความรู ้ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ . แบบฝึ กทักษะภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ . การเขียนเรื่ องจากภาพ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ ๑๖. แบบฝึ กเสริ มความรู ้ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ . แบบฝึ กทักษะภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ เล่ม ๑ . แบบฝึ กทักษะภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ เล่ม ๒ ๑๙. แบบฝึ กคัดลายมือ ๒๐. แบบฝึ กจับใจความสาคัญ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ ๒๑. แบบฝึ กการเขียนตามคาบอก ๒๒. แบบฝึ กทักษะการเขียนเรื่ อง ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ ๒๒. แบบฝึ กเสริ มความรู ้ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ ๒๓. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ๒๔. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ ๒๕. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ ๒๖. บทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย จานวน ๔ เล่ม ดังนี้ เล่ม ๑ คาประสม เล่ม ๒ คาซ้อน เล่ม ๓ คาซ้ า เล่ม ๔ คาสมาส ๒๗. หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น จานวน ๖ เล่ม ดังนี้ เล่ม ๑ ถ้อยคาเรี ยงเสียงเพลงบอก เล่ม ๒ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกโท่ เล่ม ๓ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกพลา เล่ม ๔ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ดอกนมแมว เล่ม ๕ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน มังเร เล่ม ๖ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกรกช้าง ๒๘. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ e-book ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน จานวน ๕ เล่ม
๑๒
เล่ม ๑ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกโท่ เล่ม ๒ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกพลา เล่ม ๓ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ดอกนมแมว เล่ม ๔ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน มังเร เล่ม ๕ ไม้พน้ื ถิ่นเมืองคอน ลูกรกช้าง ๒๙. หนังสือหนังสือส่งเสริ มการอ่าน ชุด เรื่ องเล่าจากบ้านริ มทุ่ง เล่ม ๑ บ้านพอเพียง เล่ม ๒ เจ้าตาล เล่ม ๓ คนดีของแม่ เล่ม ๔ ความฝันของผักบุง้ เล่ม ๕ ครอบครัวธรรมะ ๓๐. แบบฝึ กเสริ มทักษะภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ ๓๑. แบบฝึ กเสริ มทักษะภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ ๓๒. แบบฝึ กเสริ มทักษะภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ ผลจากจาการพัฒนาสื่อการสอน ทาให้นกั เรี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจ เพิม่ พูนทักษะ และ ประสบการณ์ให้แก่ผเู ้ รี ยน กระตุน้ ให้นกั เรี ยนเป็ นผูแ้ สวงหาความรู ้ดว้ นตนเอง เกิดการพัฒนาทาง ความคิด ทาให้นกั เรี ยนมีความคิดรวบยอดได้ง่าย และรวดเร็วขึ้น สามารถปฏิบตั ิกิจกรรมสร้างสรรค์มี ผลงานที่แปลกใหม่ ส่งผลให้ขา้ พเจ้าได้รับรางวัล ครู ผู้สอนยอดเยี่ยม รางวัลเหรียญทอง รางวัล ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS ) ด้ านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ระดับภาคใต้ และ ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๓ ปี การศึกษา ๒๕๕๖ ณ เมืองทองธานี ในวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ จาก สพฐ. ๒.๒.๗ การวัดแลประเมินลการเรียนรู้ ข้าพเจ้าได้ศกึ ษาวิธีวดั ผลการเรี ยนการสอนวิชาภาษาไทยที่ดีและถูกต้อง มีท้งั วัดผลก่อน เรี ยน หลังเรี ยน และระหว่างเรี ยน โดยการออกแบบการวัดผลประเมินผลตั้งแต่ตน้ ปี การศึกษา กาหนด ไว้ในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู ้วา่ ใช้วธิ ี ใช้เครื่ องมือ เกณฑ์อย่างไร ให้สอดคล้องกับตัวชี้วดั ในหน่วยนั้น ๆ เมื่อเสร็จสิ้นการสอนก็นาผลมาวิเคราะห์ เพือ่ นาผลการสอนไปใช้ปรับปรุ งสภาพการเรี ยนการสอน ภาษาไทยได้ โดยดาเนินการวัดผลประเมินผลอย่างหลากหลายสอดคล้องกับตัวชี้วดั เช่น การประเมินผล ตามสภาพจริ ง การประเมินผลด้วยแฟ้ มสะสม ผลงานในทุกชั้นที่รับผิดชอบ และให้ผเู ้ รี ยน ผูป้ กครองมี ส่วนร่ วมในการประเมินผล พร้อมทั้งได้มีการบันทึกผลหลังสอน เพือ่ ปรับปรุ งและพัฒนาการเรี ยนรู ้ นอกจากนี้ยงั ได้กาหนดภาระงานตามความแตกต่างระหว่างบุคคล เก่ง ปานกลาง อ่อน ซึ่งเด็กที่เก่งจะให้ ภาระงานที่มากกว่า ส่วนเด็กอ่อนจะมอบหมายงานน้อยลง โดยเฉพาะเด็กที่บกพร่ องการเรี ยนรู ้ ฝึ กฝน
๑๓
โดยการสร้างแบบฝึ กต่าง ๆ มาพัฒนาให้มีความสามารถพร้อมที่จะเรี ยนไปด้วยกัน นอกจากนี้ยงั เปิ ด โอกาส ให้เพือ่ น ผูป้ กครองมีส่วนร่ วมในการวัดผลประเมินผล ๒.๒.๘การจัดระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน ข้าพเจ้ามีกระบวนการวิธีการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนอย่างมีระบบ ดังนี้ ด้านการจัดการเรี ยนรู ้ ได้รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รี ยนได้อย่างมีระบบ เมื่อ เสร็จสิ้นการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน จะบันทึกผลการสอน เพือ่ รายงานผลการสอน และนาปั ญหา อุปสรรค มาวิเคราะห์หาสาเหตุ โดยการแนะนา ให้คาปรึ กษา และทาวิจยั ชั้นเรี ยน ซึ่งได้รับรางวัลการทา วิจยั ในชั้นเรี ยนแบบง่าย ระดับดี จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งรายงานผลการพัฒนาคุณภาพ ของผูเ้ รี ยนให้ผปู ้ กครองทราบ ภาคเรี ยนละ 1 ครั้ง เพือ่ ร่ วมกันช่วยเหลือนักเรี ยนให้ประสบผลสาเร็จ นอกจากนี้ ข้าพเจ้าพยายามศึกษา ค้นคว้าองค์ความรู ้ต่าง ๆ ทั้งในหลักวิชา และความรู ้เพิม่ เติมอยู่ ตลอดเวลา เพือ่ ใช้ในการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมที่หลากหลายรู ปแบบ ที่สามารถสนองความต้องการของ ผูเ้ รี ยนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยนาสื่อ นวัตกรรมที่ผลิตขึ้น มาใช้ช่วยเหลือนักเรี ยน แก้ปัญหาการเรี ยนสอน ให้สอดคล้องสาระการเรี ยนรู ้ ตัวชี้วดั และกิจกรรม การเรี ยนรู ้ โดยนานวัตกรรม ที่สร้างขึ้นมาใช้ในการวิจยั ในชั้นเรี ยนให้สอดคล้องกับสภาพปั ญหาของนักเรี ยน เช่น เด็กพิเศษเรี ยนร่ วม ก็พยายามใช้วชิ าภาษาไทยพัฒนาสมอง เพือ่ ให้นกั เรี ยนมีความสนุกสนานในการเรี ยน และเรี ยนรู ้ร่วมกัน อย่างมีความสุข อันจะส่งผลให้ผเู ้ รี ยน ทุกคนมีผลการเรี ยนรู ้เป็ นไปตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และเป้ าหมาย ของหลักสูตร รวมทั้งให้ความช่วยเหลือนักเรี ยนได้รับความรู ้ท้งั ในเวลาเรี ยนและนอกเวลาเรี ยน อุทิศเวลา ให้กบั ทางราชการ โดยการฝึ กฝนภาษาไทยในทุกตอนเย็น และสอนพิเศษเพิม่ เติมในวันเสาร์ เพือ่ ให้ นักเรี ยนมีความรู ้ความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงขึ้นโดยมิได้เรี ยกร้องเอาประโยชน์อามิส สินจ้างใด ๆ จากผูเ้ รี ยน ทาให้ส่งผลดีและสร้างชื่อเสียงแก่นกั เรี ยน ตนเอง คณะครู โรงเรี ยน ผูป้ กครอง ชุมชนและเขตพื้นที่การศึกษาโดยรวม จนได้นกั เรี ยนรับรางวัลเกียรติยศ จากกลุ่มโรงเรี ยนและรางวัลจาก เขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งมีกิจกรรม ดังนี้ ๑. กิจกรรมเด่ น “ กิจกรรมซ่ อม เสริม เพิ่มผลสั มฤทธิ์ ” กิจกรรมซ่อม – เสริ ม เพิม่ ผลสัมฤทธิ์ภาษาไทย เป็ นกิจกรรมเด่นที่ขา้ พเจ้าจัดขึ้น นอกเหนือจากการสอนปกติ เพือ่ แก้ไขข้อบกพร่ องแก่นกั เรี ยนที่เรี ยนช้า หรื อต้องการความช่วยเหลือ และ เสริ มทักษะให้กบั นักเรี ยนได้พฒั นาเต็มความสามารถ โดยวิเคราะห์ปัญหาจากบันทึกผลการสอนแต่ละ ครั้ง ว่านักเรี ยนยังมีขอ้ บกพร่ อง หรื อไม่ผา่ นการประเมินตัวชี้วดั ใด แล้วนาข้อบกพร่ องของนักเรี ยนมา วินิจฉัยหาสาเหตุ ว่ามีสาเหตุจากอะไร จึงจัดกิจกรรมซ่อม เสริ มให้ตรงกับข้อบกพร่ องของนักเรี ยน สาหรับนักเรี ยนที่ผา่ นผลการประเมินตัวชี้วดั ครู วเิ คราะห์เด็กเป็ นรายบุคคล ว่าควรเสริ มทักษะภาษาไทย ให้กบั นักเรี ยน เพือ่ นักเรี ยนพัฒนาเต็มความสามารถ และส่งเสริ มให้มีความเป็ นเลิศ
๑๔
ขอบข่ ายกิจกรรมซ่ อม – เสริม เพือ่ ให้นกั เรี ยนได้พฒั นาภาษาไทยเต็มศักยภาพ จึงกาหนดขอบข่ายกิจกรรม ดังนี้ ๑. กิจกรรมเรี ยนรู ้ดว้ ยแบบฝึ กโดยใช้แบบฝึ กต่าง ๆ ที่ผลิตขึ้น ๒. กิจกรรมเขียนตามคาบอก ๓. กิจกรรมเก่งช่วยอ่อน พีช่ ่วยน้อง เพือ่ นช่วยเพือ่ น คู่หู ๔. กิจกรรมอ่านหนังสือนอกเวลา ๕. กิจกรรมหนังสือเล่มเล็ก ขอบข่ ายเวลาในการดาเนินกิจกรรมซ่ อม – เสริม ๑.วันจันทร์-ศุกร์ เวลา ๐๘.๐๐ - ๐๙.๐๐ น. ๒.วันจันทร์-ศุกร์ เวลา ๑๔.๓๐ - ๑๕.๓๐ น. ๒. กิจกรรมเยี่ยมบ้ าน ข้าพเจ้าจะออกเยีย่ มบ้านนักเรี ยนทุกภาคเรี ยน เพือ่ ทราบปั ญหา ของนักเรี ยน เช่น ปั ญหายากจน ปั ญหาติดเกม ปั ญหาการเรี ยน ปั ญหาพฤติกรรมก้าวร้าว เมื่อทราบ ปั ญหาชัดเจนเป็ นรายบุคคลแล้ว ก็ให้ความช่วยเหลือแก้ปัญหาเป็ นราย ๆ ไป เช่น นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยน ดี แต่ยากจน จะทาการเสนอชื่อเพือ่ รับทุนการศึกษา ๓. กิจกรรมแนะแนว เป็ นการให้คาปรึ กษา และช่วยเหลือแก้ปัญหาเป็ นรายบุคคล ไม่ ว่าจะเป็ นปั ญหาด้านใด ซึ่งช่วยให้นกั เรี ยนมีความเข้มแข็ง รู ้สึกมัน่ ใจในตนเอง สามารถใช้ชีวติ ในสังคม ได้อย่างมีความสุข ๒.๒.๙ ครู จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ และความปลอดภัยของผู้เรียน ข้าพเจ้าบริ หารการจัดการชั้นเรี ยนโดยการ สร้างบรรยากาศการเรี ยนได้น่าสนใจ จูงใจให้ นักเรี ยนรักการเรี ยนภาษาไทย ไม่เบื่อหน่าตย ่อการเรี ยน พยายามศึกษารู ปแบบการจัดกิจกรรมที่ไม่ซ้ าไปซ้ ามา เร้าความสนใจผูเ้ รี ยนโดยคานึงถึงความแตกต่าระหว่ ง างบุคคล ให้นกั เรี ยนได้ปฏิบตั ิจริ งจากง่ายไปหายาก นาเกม เพลง บทบาทสมมติ ปริ ศนาคาทาย มาใช้ในกิจกรรมการเรี ยนรู ้ เป็ นการกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนอยาก เรี ยนรู ้ รวมทั้งจัดบรรยากาศรอบตัวนักเรี ยนที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ สวยงาม เปรี ยบเสมือนบ้านด้วยการจัด มุมประสบการณ์ มุมพักผ่อน มุมอ่านหนังสือ ให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้ได้ตลอดเวลา มีป้ายนิเทศต่าง ๆ แสดง ผลงาน เพือ่ สร้างความภาคภูมิใจ ส่งผลให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้ และอยูร่ ่ วมกันอย่างมีความสุข
๑๕
๒.๒.๑๐ การวิเคราะห์ สภาพปัญหาของนักเรียน นาไปสั งเคราะห์ หาแนวทางวิธีการเพื่อ พัฒนาผู้เรียน เมื่อเสร็จสิ้นการสอน ข้าพเจ้านาผลการเรี ยนรู ้หลังเรี ยนมาเปรี ยบเทียบกับประเมินผลก่อน เรี ยน ทาให้ทราบถึงศักยภาพในการการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน และประสิทธิภาพในการสอนของตนเอง ข้อมูลที่ได้นามาปรับปรุ งแก้ไขและพัฒนากระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ของตน จากนั้น รายงานผลการสอน และนาปั ญหาอุปสรรค มาวิเคราะห์หาสาเหตุ เช่น ปั ญหาการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ อ่านไม่คล่อง เขียนไม่คล่อง ขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ อ่านจับใจความไม่เป็ น จากนั้นจึง หาแนวทางแก้ปัญหา หลาย ๆ แนวทาง เพือ่ แก้ปัญหาให้เป็ น สาเร็จ โดยใช้กิจกรรมต่าง ๆ เช่น กิจกรรมซ่ อม-เสริม เพิ่มผลสั มฤทธิ์ กิจกรรมเขียนตามคาบอก กิจกรรมเรียนรู้ ด้วยแบบฝึ ก กิจกรรมเพื่อนช่ วยเพื่อน พี่ช่วยน้ อง เก่ งช่ วย อ่ อน และวิจัยชั้นเรียน เพือ่ ช่วย ให้ผเู ้ รี ยน ทุกคนประสบความสาเร็จในการเรี ยน เกิดการเรี ยนรู ้ ที่คงที่ และนาความรู ้ไปประยุกต์ใช้ในชีวติ จริ ง ซึ่งผลงานวิจยั ชั้นเรี ยนดีเด่น ดังนี้ รายงานวิจัย คือ รายงานการใช้ หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรียนวัดทางขึน้ จากสภาพและปั ญหาจัดกิจกรรมการการเรี ยนการสอนภาษาไทย ของนักเรี ยนชั้น ประถมศึกษาปี ที่ ๖ พบว่า สาระที่ ๕ เพลงพื้นบ้านนครศรี ธรรมราช “เพลงบอก ” ขาดสื่อการเรี ยน การสอนที่มีความสมบูรณ์ มีเพียงเอกสารความรู ้ในนิตยสาร หรื อในอินเทอร์เน็ตเท่านั้นที่นามาใช้ ประกอบการเรี ยนการสอน ทาให้นกั เรี ยนไม่ประสบผลสาเร็จในการเรี ยนเรื่ องนี้ ประกอบนักเรี ยนยังขาด ทักษะการอ่านการเขียน ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนไม่เป็ นที่น่าพอใจ ครู ผสู ้ อนจึงวิเคราะห์ปัญหา และเลือกแนวทางที่ดีที่สุด คือสร้างหนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก ชั้น ประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น การศึกษาครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์ ๑) เพือ่ สร้างและหาประสิทธิภาพของหนังสืออ่าน เพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ๘๐ / ๘๐ ๒) เพือ่ เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนและหลังเรี ยนโดยใช้หนังสืออ่านเพิชุม่ ดเติอนุ ม รักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ทีโรงเรี ่ ๖ ยนวัดทางขึ้น และ ๓) เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรี ยนที่มี ต่อการเรี ยนโดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น อาเภอ ท่า ศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต ๔ ภาค เรี ยนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๔ จานวน ๒๕ คน เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ ๑) หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยน
๑๖
วัดทางขึ้นจานวน ๖ เล่ม ๒) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน แบบปรนัย ชนิด ๔ ตัวเลือก จานวน ๕๐ ข้อ ๓) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยน แบบมาตราส่วนประมาณค่า ชนิด ๕ ระดับ จานวน ๑๐ ข้อ และ ๔) แผนการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถใต้ิ่นบอกใบ้ดว้ ยเพลงบอกกลุ่มสาระการ เรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัด ทางขึ้น หน่วยการเรี ยนรูที่ ้ ๑๐ อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ ด้วยเพลงบอก จานวน๒๐ แผน รวม ๒๐ ชัว่ โมง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูได้ ล แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ (t – test แบบ Dependent) ผลการศึกษาพบว่า ๑. หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ๘๐ / ๘๐ ความสัมพันธ์ระหว่าง (E๑/E๒) เท่ากับ ๘๓.๖๗ / ๘๑.๒๘ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ต้งั ไว้ ๒. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังการเรี ยนโดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอก ใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น สูงกว่าก่อน เรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๑ ๓. ความพึงพอใจของนักเรี ยนต่อการเรี ยนโดยใช้ หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอก ใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ในภาพรวม อยูใ่ นระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย ( X ) เท่ากับ ๔.๔๙ และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ ๐.๕๗
๒.๓
พฤติกรรมและผลทีแ่ สดงถึงการใช้ หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน
๒.๓.๑ หลักคุณธรรมในการปฏิบัติงาน ข้าพเจ้าจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่ส่งเสริ มให้นกั เรี ยน เป็ น เด็กดี มีความประพฤติดี ขยัน ซื่อสัตย์ มีวนิ ยั ได้แก่ ๑)ชมรมคนดีมีจิตอาสา เป็ นชมรมของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โดยนา นักเรี ยนทาความสะอาดในบริ เวณโรงเรี ยน วัด ชายทะเล และช่วยงานชุมชนตามโอกาส เช่น ช่วย บริ การน้ าในงานศพ ร่ วมเป็ นมัคคุเทศก์นอ้ ย เมื่อมีแขกมีเยีย่ มเยียน ๒)กิจกรรมกีฬา กิจกรรมค่ายลูกเสือ เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ที่จะหล่อหลอมให้นกั เรี ยนเป็ นคนดีของสังคม ๓)กิจกรรมบันทึกความดี โดยให้นกั เรี ยนบันทึกความดีของตนเองที่กระทาใน แต่ละวัน ๒.๓.๒ หลักความโปร่ งใสในการปฏิบัติงาน ข้าพเจ้ามีการประชาสัมพันธ์ขอ้ มูล ข่าวสาร ต่าง ๆ ให้ผปู ้ กครอง ชุมชน และผูเ้ กี่ยวข้องทราบความก้าวหน้าของนักเรี ยนอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ๑) รายงานผลการเรี ยนให้ผปู ้ กครองทราบ ภาคเรี ยนละ ๑ ครั้ง ๒)ประชุมผูป้ กครอง เพือ่ ให้ผปู ้ กครองมีส่วนร่ วมและรับทราบข้อมูลภาคเรี ยน ละ ๑ ครั้ง
๑๗
๓) เป็ นตัวแทนของโรงเรี ยนในการนาผลงานนักเรี ยนไปเผยแพร่ จัดนิทรรศการ ผลงานนักเรี ยน ในงานแข่งขันทักษะวิชาการ เขตสี่วชิ าการ เพือ่ ประชาสัมพันธ์ผลงานและความสามารถ ของนักเรี ยน ให้ครู นอกสถานศึกษา เป็ นแบบอย่างในการพัฒนานักเรี ยน ในงานเขตสี่วชิ าการ ตั้งแต่ปี ๒๕๕๔-๒๕๕๖ ๔) สร้างเว็บไซต์ chamaiporn.com ซึ่งมีวตั ถุประสงค์ที่จะเผยแพร่ ผลงาน ต่าง ๆ ของนักเรี ยน ครู ผสู ้ อนและโรงเรี ยน เพือ่ เปิ ดกว้างให้ผทู ้ ี่สนใจที่จะพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรี ยน การสอน และพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพยิง่ ขึ้น รวมทั้งเป็ นการยกย่อง เชิดชูเกียรติศิษย์ที่ มีต้งั ใจศึกษาเล่าเรี ยน มีผลงาน มีผลการเรี ยนรู ้บนโลกออนไลน์ ก่อให้มีความภาคภูมิใจในตนเอง และจะ ส่งผลให้มีความมัน่ ใจในการใช้ชีวติ จริ ง (ภาคผนวก หน้า ๔๙ ) ๒.๓.๓ หลักการมีส่วนร่ วมในการปฏิบัติงาน ข้าพเจ้าเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยน ผูป้ กครอง และชุมชนมีส่วนร่ วมในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ติดตามความก้าวหน้าของบุตรหลานในเรื่ อง การเรี ยน การมาโรงเรี ยน การมีระเบียบวินยั และเรื่ องอื่น ๆ ตลอดจนยินดีรับฟังปั ญหา หรื อข้อเสนอแนะ ในการปฏิบตั ิงาน เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การตั้งผูป้ กครองเป็ นกรรมการห้องเรี ยน เพือ่ เข้ามา ช่วยเหลือโรงเรี ยน ให้การจัดการศึกษาเป็ นไปด้วยดี นอกจากนี้เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยน เพือ่ นครู และ ผูป้ กครองแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานของตนอย่างอิสระ โดยใช้แบบประเมินความคิดเห็น นาข้อเสนอแนะมาปรับปรุ งตนเอง พร้อมกับยอมรับความคิดเห็นอย่างใจเป็ นธรรม ๒.๓.๔ หลักความคุ้มค่าในการปฏิบัติงาน ข้าพเจ้าได้ร่วมกับเพือ่ นครู และนักเรี ยน กาหนดการมาตรการการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดคุม้ ค่าเช่นในเรื่ องการประหยัดน้ า ประหยัดไฟและ รักษาสิ่งแวดล้อม โดยทาข้อตกลงร่ วมกันให้ร่วมกันถือปฏิบตั ิเป็ นแนวกัน เพือ่ ให้นกั เรี ยนตระหนัก และ สามารถนาไปใช้ที่บา้ นของนักเรี ยนเองได้ ๒.๓.๕ หลักปรัชญาพอเพียงในการปฏิบัติงาน ข้าพเจ้า ปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดีตาม แนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียงทั้งในหน้าที่ราชการและส่วนตน ซึ่งในด้านส่วนตัว ข้าพเจ้าเป็ นคน เรี ยบง่าย ใช้ชีวติ อย่างสมถะ และได้นอ้ มนาแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวติ ประจาวัน มี ความพึงพอใจในสิ่งที่มีอยู่ ใช้ชีวติ พอเพียง ไม่ฟุ้งเฟ้ อเกินฐานะ ใช้จ่ายอย่างประหยัด ปลูกพืชผักสวนครัว ไว้บริ เวณบ้าน เป็ นแปลงผักเล็ก ๆ และปลูกในกระถางเพือ่ ง่ายต่อการดูแลกับเวลาที่มีอยูใ่ นแต่ละวัน และ มีการเก็บออมโดยการฝากเงินออมทรัพย์กบั ธนาคารหมู่บา้ นและสหกรณ์ครู ตามความเหมาะสมกับรายได้ ในแต่ละเดือน อีกทั้งส่งเสริ มให้นกั เรี ยนรู ้จกั ประหยัด อดออม พอเพียง และ จัดกิจกรรมส่งเสริ มให้ นักเรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้และดาเนินการชีวติ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เผยแพร่ ไปสู่ผเู ้ รี ยนทั้งในรู ปแบบ การจัดการเรี ยนการสอน เช่น กิจกรรมการเขียนเรี ยงความ กิจกรรมเขียนเรื่ องจากภาพ กิจกรรมสืบค้น ความรู ้สู่เศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมออมทรัพย์กบั ธนาคารหมู่บา้ น และ ร่ วมเป็ นคณะทางานในโครงการ เพาะเห็ดนางฟ้ า เลี้ยงปลาดุกตามโครงการเศรษฐกิจเพือ่ อาหารกลางวันของโรงเรี ยนวัดทางขึ้น ตลอดจน
๑๘
ส่งเสริ มกิจกรรมวิชาชีพ เช่น ให้นกั เรี ยนปลูกผักกินเองในกระถาง ให้นกั เรี ยนนาผักที่ปลูกมาแลกเปลี่ยน กับเพือ่ น
๒.๔ รางวัลและผลงานประจักษ์ จากการปฏิบัติหน้ าที่ ข้าพเจ้าปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ผเู ้ รี ยนทั้งในโรงเรี ยนและนอกโรงเรี ยน ด้วยโดย ยึดมัน่ ในจรรยาบรรณของอาชีพครู ๙ ประการ สามารถเป็ นแบบอย่างและเป็ นที่ประจักษ์ดงั นี้ ๒.๔.๑ นักเรียนมีผลงานดีเด่ นเป็ นที่ประจักษ์ จากการปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความมุ่งมัน่ ตลอดมา ส่งผลสาเร็จทาให้ศิษย์มีความรู ้ความ เข้าใจในวิชาภาษาไทยและมีทกั ษะ สามารถนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ในการดารงชีวติ อยูใ่ นสังคม ดังนี้ ๑)นักเรี ยนมีผลงานดีเด่นเป็ นที่ประจักษ์ ดังนี้ ปี การศึกษา ๒๕๕๒ นักเรียนได้ รับรางวัล ดังนี้ ๑. ชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมอ่านทานองเสนาะ ช่วงชั้นที่ ๒ (สพป.นศ.๔) ๒ . ชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ช่วงชั้นที่ ๑ (สพป.นศ.๔) ๓ . รองชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมคัดลายมือ ช่วงชั้นที่ ๑ (เครื อข่าย) ๔. รองชนะเลิศรางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมร้องเพลงกล่อม เด็ก ช่วงชั้นที่๒ (เครื อข่าย) ๕. รองชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญเงิน ท่องอาขยาน ช่วงชั้นที่ ๒ (เครื อข่าย) ปี การศึกษา ๒๕๕๓ นักเรียนได้ รับรางวัล ดังนี้ ๑. รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. ๑ - ๓ (เครื อข่าย) ๒ . รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. ๔- ๖ (สพป.นศ.๔) ๓. รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมคัดลายมือ (เครื อข่าย) ๔. รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมเขียนเรี ยงความ (เครื อข่าย) ปี การศึกษา ๒๕๕๔ นักเรียนได้ รับรางวัล ดังนี้ ๑. รางวัลชมเชย การเขียนเรื่ องจากภาพ ตามโครงการพระผูท้ รงเป็ นครู แห่งแผ่นดิน ๒. รางวัลรองชนะเลิศ การแต่งบทร้อยกรอง กาพย์ยานี ๑๑ ตามโครงการพระผูท้ รงเป็ น ครู แห่งแผ่นดิน (สพป.นศ.๔) ๓ . รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. ๑ – ๓ (เครื อข่าย) ๔. รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. ๔ – ๖ (เครื อข่าย) ๕. รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมคัดลายมือ (เครื อข่าย) ๖ . รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมเขียนเรี ยงความ(เครื อข่าย) ปี การศึกษา ๒๕๕๕ นักเรียนได้ รับรางวัลจากเครือข่ ายท่ าศาลา ๒ ดังนี้ ๑. รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.๑-๓ ๒. รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.๔-๖
๑๙
๓. รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมการแข่งขันการอ่าน ระดับชั้น ป.๔-๖ ๔. รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมแข่งขันเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้น ป.๑-๓ ๕. รางวัลระดับเหรี ยญทองแดงกิจกรรมแข่งขันเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้นป.๔-๖ ๖. รางวัลระดับเหรี ยญทองกิจกรรมการแข่งขัน“รวมศิลป์ สร้างสรรค์” ระดับชั้น ป.๔-๖ ๗. รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมการแข่งขันศิลป์ สร้างสรรค์ระดับชั้น ป.๔-๖ ปี การศึกษา ๒๕๕๖ นักเรียนได้ รับรางวัลจากเครือข่ ายท่ าศาลา ๒ ดังนี้ ๑. รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.๔-๖ ๒. รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมการแข่งขันการอ่าน ระดับชั้น ป.๔-๖ ๓. รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมแข่งขันเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้น ป.๔-๖ ๔. รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมแต่งหนังสือเล่มเล็ก ระดับชั้น ป.๔-๖ ๕. รางวัลระดับเหรี ยญทองแดงกิจกรรมแข่งขันเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้นป.๔-๖ ปี การศึกษา ๒๕๕๖ นักเรียนได้ รับรางวัลจากเครือข่ ายท่ าศาลา ๒ ดังนี้ ๑ . เด็กชายพชร ยวนแหล้ ได้ รับรางวัลชนะเลิศ มีคะแนนสูงสุด กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ในการสอบชิงทุน ค่ายการติวเข้ม O-NET กลุ่มเครื อข่ายท่าขึ้น ๒. รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.๔ ๓. รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมการแข่งขันการอ่าน ระดับชั้น ป.๔-๖ ๔. รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมแข่งขันเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้น ป.๔-๖ ๕. รางวัลระดับเหรี ยญทองแดงกิจกรรมแข่งขันเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้นป.๔-๖ ๖. รางวัลระดับเหรี ยญเงินกิจกรรมแต่งหนังสือเล่มเล็ก ระดับชั้น ป.๔-๖ ปี การศึกษา ๒๕๕๖ นักเรียนได้ รับรางวัลจากเครือข่ ายท่ าศาลา ๒ ดังนี้ ๑. รางวัลระดับเหรี ยญทองชนะเลิศ กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.๔ ๒. รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมการแข่งขันการอ่าน ระดับชั้น ป.๔-๖ ๓. รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมแข่งขันเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้น ป.๔-๖ ๒.๔.๒ นักเรียนมีผลงานดีเผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนสู งขึน้ ๑)ศิษย์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงขึ้นโดยในแต่ละปี ครู ผสู ้ อนตั้งเป้ าหมายที่จะพัฒนา โดยตั้งเป้ าหมายสูงขึ้น จากนั้นให้นกั เรี ยนกาหนดเป้ าหมายเป็ นรายบุคคล และเมื่อสิ้นปี การศึกษา นาผล การประเมินมาเปรี ยบเทียบ เพือ่ ทราบความก้าวหน้าทางการเรี ยน หาผลบวกผลต่าง และหาแนวทางใน การพัฒนาในปี ต่อไป ซึ่งในปี การศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๖ นักเรี ยนทุกชั้นที่รับผิดชอบมีสมั ฤทธิ์ทางการ เรี ยนสูงกว่าเป้ าหมายที่ต้งั ไว้ ดังนี้
๒๐
ชั้น
จานวน นักเรียน
ป.๓
๓๑
ป.๔ ป.๕ ป.๖
๒๕ ๓๑ ๒๘
ชั้น
จานวน นักเรียน
ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖
๒๕ ๑๘ ๒๒ ๓๐
ชั้น
จานวน นักเรียน
ป.๔ ป.๕ ป.๖
๑๘ ๒๒ ๓๐
ตารางแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปี การศึกษา ๒๕๕๓ - ๒๕๕๔ ผลสัมฤทธิ์ ฯ ผลสัมฤทธิ์ ฯ กลุ่มสาระ เป้าหมาย ปี การศึกษา ปี การศึกษา ค่าพัฒนา การเรียนรู้ พัฒนา ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ภาษาไทย ๗๔.๗๕ ๗๕.๐๐ ๗๕.๗๕ + ๑ สูงกว่าเป้ าหมาย ภาษาอังกฤษ ๖๔.๒๗ ๗๐ ๗๖.๔๐ + ๑๒.๑๓ สูงกว่าเป้ าหมาย ภาษาอังกฤษ ๖๘.๖๔ ๗๐ ๗๑.๘๐ + ๓.๑๖ สูงกว่าเป้ าหมาย ภาษาไทย ๗๑.๑๑ ๗๓.๕๐ ๗๒.๒๓ + ๑.๑๒ ต่ากว่าเป้ าหมาย ภาษาไทย ๗๑.๐๐ ๗๓.๕๐ ๗๖.๑๘ + ๕.๑๘ สูงกว่าเป้ าหมาย ตารางแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปี การศึกษา ๒๕๕๔ - ๒๕๕๕ ผลสัมฤทธิ์ ฯ ผลสัมฤทธิ์ ฯ กลุ่มสาระ เป้าหมาย ปี การศึกษา ปี การศึกษา การเรียนรู้ พัฒนา ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ภาษาไทย ๗๕.๗๕ ๗๘.๐๐ ๗๘.๙๒ + ๒.๕๔ สุ ขศึกษา ๗๘.๕๒ ๘๐.๐๐ ๘๑.๔๔ + ๒.๙๒ ภาษาไทย ๗๒.๒๓ ๗๕.๐๐ ๗๖.๒๗ + ๔.๐๔ ภาษาไทย ๗๖.๑๘ ๗๘.๐๐ ๗๘.๙๗ + ๒.๗๙
ค่าพัฒนา สูงกว่าเป้ าหมาย สูงกว่าเป้ าหมาย สูงกว่าเป้ าหมาย สูงกว่าเป้ าหมาย
ตารางแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปี การศึกษา ๒๕๕๕ - ๒๕๕๖ ผลสัมฤทธิ์ ฯ ผลสัมฤทธิ์ ฯ กลุ่มสาระ เป้าหมาย ปี การศึกษา ปี การศึกษา ค่าพัฒนา การเรียนรู้ พัฒนา ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ภาษาไทย ๗๔.๑๒ ๗๖.๐๐ ๗๗.๗๖ + ๓.๖๔ สูงกว่าเป้ าหมาย ภาษาไทย ๗๖.๒๗ ๘๐.๐๐ ๗๘.๘๐ + ๒.๕๓ ต่ากว่าเป้ าหมาย ภาษาไทย ๗๘.๙๗ ๘๐.๐๐ ๗๙.๐๕ + ๐.๐๘ ต่ากว่าเป้ าหมาย
๒)ผลการประเมินระดับชาติ( O-NET) ปี การศึกษา ๒๕๕๓-๒๕๕๖ มีผลการประเมินเฉลี่ย สูงกว่าค่าเฉลี่ยร้อยละของระดับจังหวัด ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับประเทศ และปี การศึกษา ๒๕๕๖ มีคะแนนเท่ากับสังกัด ซึ่งเป็ นที่น่าพอใจ แม้โรงเรี ยนจะอยูใ่ นสภาพที่มีปัญหาเรื่ องการอ่านการ เขียนก็ตาม สะท้อนให้ความมานะพยายามในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนตลอดเรื่ อยมา
๒๑
๒๕๕๓ ระดับโรงเรี ยน ๓๖.๐๙ ๒๕๕๕ ระดับโรงเรี ยน ๔๗.๑๑
ตารางแสดงผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ปี การศึกษา ๒๕๕๓ - ๒๕๕๔ ๒๕๕๓ ค่าพัฒนา ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ระดับสังกัด ระดับโรงเรี ยน ระดับสังกัด ๓๐.๖๑ +๕.๓๕ ๔๙.๕๑ ๕๔.๐๐ ตารางแสดงผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ปี การศึกษา ๒๕๕๕ - ๒๕๕๖ ๒๕๕๕ ค่าพัฒนา ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ระดับสังกัด ระดับโรงเรี ยน ระดับสังกัด ๔๔.๐๑ +๓.๐๑ ๔๓.๑๔ ๔๓.๖๒
ค่าพัฒนา +๔.๔๙ ค่าพัฒนา -๐.๔๘
๓) ผลงานนักเรี ยนที่เป็ นรู ปธรรม จากการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนเป็ นผูก้ ระทา ลงมือทาจริ ง ส่งผลให้นกั เรี ยนมีผลงานที่หลากหลาย เช่น โครงงาน แผ่นพับ หนังสือเล่มเล็ก แผนภาพความคิด แบบทดสอบ เป็ นต้น ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความสามารถใน การจัดการเรี ยนรู ้ที่มีประสิทธิผลและเชิงประจักษ์ ๒.๔.๒ ครู มีผลงานดีเด่ นเป็ นที่ประจักษ์ ผลสาเร็จของการเป็ นแบบอย่างที่ดีในทุกด้าน ส่งผลให้ขา้ พเจ้า ได้รับรางวัลเกียรติยศใน การพัฒนาวิชาชีพด้วยความศรัทธา ดังต่อไปนี้ ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้ รับรางวัลเกียรติยศ ดังนี้ ๑.ได้รับคัดเลือกให้ได้รับ เครื่ องหมายเชิดชูเกียรติ “คุรุสดุดี” ประจาปี ๒๕๕๗ (ประกาศคุรุสภาเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราชเขต ๔) ๒. ครู ผสู ้ อนยอดเยีย่ ม รางวัลเหรี ยญทอง รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรี ยนการสอน ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๓ ปี การศึกษา ๒๕๕๖ ณ เมืองทองธานี วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ (จาก สพฐ.) ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้ รับรางวัลเกียรติยศ ดังนี้ ๑. รางวัลยอดครู ผมู ้ ีอุดมการณ์ ระดับจังหวัด ครั้งที่ ๘ พ.ศ. ๒๕๕๗ ตามโครงการตามรอย เกียรติยศครู ผมู ้ ีอุดมการณ์ ( จาก สพฐ. ) ๒. ครู ผสู ้ อนยอดเยีย่ ม รางวัลเหรี ยญทอง รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรี ยนการสอน ระดับภาคใต้ ครั้งที่ ๖๓ จังหวัดพัทลุง วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖( จาก สพฐ.) ๓. หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ ยกย่อง เปิ ดทาเนียบครู ดีครู เด่น ตีพมิ พ์ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๖ ๔. รางวัล ครู สอนดี (จาก อบจ.นครศรี ธรรมราช) ๕ . เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยาน ๖. เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมการแข่งขันการอ่าน
๒๒
๗
๔
๗ ๙
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘
๑
. เกียรติบตั รผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมแข่งขันเรี ยงความ ๘. เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญทองแดง กิจกรรมแข่งขันเรี ยงความ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้ รับรางวัลเกียรติยศ ดังนี้ ๑. ครู ภาษาไทยดีเด่น รางวัลเข็มเชิดชูเกียรติจารึ กพระนามาภิไธยย่อ สธ ( จาก คุรุสภา ) ๒. รางวัลครู ผสู ้ อนดีเด่น กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทยดีเด่น ( จาก คุรุสภา) ๓. รางวัลครู คุณภาพดีเด่น (จาก สพป.นศ.๔) . เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยาน ๕. เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยาน ๖. เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมการแข่งขันการอ่าน . เกียรติบตั รผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมแข่งขันเรี ยงความ ๘. เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญทองแดง กิจกรรมแข่งขันเรี ยงความ . เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมการแข่งขัน “รวมศิลป์ สร้างสรรค์” (เครื อข่าย) ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ รับรางวัลเกียรติยศ ดังนี้ . รางวัล หนึ่งแสนครู ดี (คุรุสภา) . รางวัลดาวแห่งความดี (นิตยสารคนสร้างชาติ) . เกียรติบตั รได้เข้าร่ วมส่งผลงานกิจกรรมการเรี ยนรู ้เพือ่ ส่งเสริ มการคิด (สพป.นศ.๔) . เกียรติบตั ร ผูส้ อนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมสร้างสรรค์ภาพด้วย การปะติด ป.๔-๖ ระดับภาคใต้ (สพฐ.) .เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมสร้างสรรค์ภาพด้วย การปะติด ชั้น ป.๔-๖ (สพป.นศ.๔) .เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรม การแข่งขันโครงงาน อาชีพ ชั้น ป.๔-๖ (สพป.นศ.๔) . เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องบทอาขยาน ชั้น ป.๑-๓ . เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมท่องบทอาขยานชั้น ป.๔-๖ (เครื อข่าย) ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้ รับรางวัลเกียรติยศ ดังนี้ . เกียรติบตั รครู ผฝู ้ ึ กสอน การแปรรู ปอาหาร ชั้น ป.๔-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ระดับชาติ ปี การศึกษา ๒๕๕๓ (จากสพฐ.) ๒.รางวัลผลงานวิจยั ชั้นเรี ยน ระดับดี (สพป.นศ.๔)
๒๓
๓ . เกียรติบตั รผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องบทอาขยาน ชั้น ป.๔-๖ (สพป.นศ.๔) ๔ .เกียรติบตั รผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับทอง กิจกรรมท่องบทอาขยานชั้นป.๔-๖ ๕.เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับทอง กิจกรรมหนังสือเล่มเล็กชั้น ป.๔-๖ ๖.เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมเขียนเรี ยงความชั้น ป.๔-๖ (เครื อข่าย) ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้ รับรางวัลเกียรติยศ ดังนี้ ๑ .เกียรติบตั รผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ชั้นป.๑ - ๓ (สพป.นศ.๔) ๒ .เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเงิน กิจกรรมท่องอาขยาน ชั้น ป.๔-๖ (เครื อข่าย) ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้รับรางวัล ครู ดีศรี จรรยาบรรณ (สพท.นศ.๔) ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้รับรางวัล ครู ผสู ้ อนภาษาไทย ระดับดีเยีย่ ม (สพท.นศ.๔) ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้รับรางวัล บุคคลดีเด่น (สปอ.ท่าศาลา ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ได้รับ รางวัล ครู วทิ ยาศาสตร์ดีเด่น (สปอ.ฉวาง) ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้รับรางวัล ครู สอนกลุ่ม สปช.ดีเด่น (สปอ.ฉวาง)
(ภาคผนวก ง หน้ า ๒๗๗-๓๑๓)
ที่ ๑ ๒ ๒ ๓ ๔
๒.๔.๔ โรงเรียนมีผลงานดีเด่ นเป็ นที่ประจักษ์ โรงเรี ยนมีผลงานดีเด่น ดังนี้ ชื่อรางวัล ระดับ หน่ วยงานที่มอบ การแข่งขันประเภทกลอนสด จังหวัด มหาวทิยาลัยราชภัฏ นครศรี ธรราราช หนึ่งโรงเรี ยนหนึ่งนวัตกรรม ประเทศ คุรุสภา โรงเรี ยนส่งเสริ มสุขภาพระดับทอง อาเภอ โรงพยาลท่าศาลา โรงเรี ยนส่งเสริ มนิสยั รักการอ่าน สพป. สพป.นศ.๔ รางวัลชมเชย โรงเรี ยนสถานศึกษาสีขาวดีเด่น สพป. สพป.นศ.๔
ปี ที่ได้ รับ ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑-๒๕๕๖ ๒๕๕๔ ๒๕๕๗
๒๔
ตอนที่ 3 ผลงานที่สาคัญโดยย่ อเพื่อนาไปจัดพิมพ์ ในหนังสื อ “ครู ดีในดวงใจ” ชื่อผลงาน การสอนภาษาไทยแบบบูรณาการผสานทักษะการคิดปลูกจิตรักษ์ ภูมปิ ัญญา ตามแนวการสอนของ ชไมพรโมเดล “ พี อี ดี ซี เอ ” (P E D C A) โรงเรียน วัดทางขึน้ ตาบลท่ าขึน้ อาเภอท่ าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช สั งกัด สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๔ โทรศัพท์ ๐๘๕-๗๙๒๔๒๖๙ อุดมคติในการทางาน พัฒนาตน ฝึ กฝนผู้เรียน เปลี่ยนแปลงการสอน ผลถาวรสู่ ศิษย์ ๑. บทนา อุดมการณ์ หลักการปฏิบัติตน / ครองคน / ครองงาน ๑.๑ อุดมการณ์ของข้าพเจ้า คือ พัฒนาตน ฝึ กฝนผู้เรียน เปลี่ยนแปลงการสอน ผลถาวรสู่ ศิษย์ ข้าพเจ้าปฏิบตั ิตนโดยยึดมัน่ ในจรรยาบรรณของอาชีพครู ๙ ประการ และมาตรฐานวิชาชีพ สามารถเป็ น แบบอย่างในการปฏิบตั ิงานได้เป็ นอย่างดีท้งั ด้านกาย วาจา ใจ สาหรับการปฏิบตั ิตนในชีวติ ประจาวัน ข้าพเจ้ายึด หลักตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ชีวติ การเป็ นอยูบ่ นพื้นฐานพอเพียง พอดี พอประมาณ รู ้จกั ใช้จ่าย ดารงตนตามอัตภาพ มีความขยันหมัน่ เพียร อุตสาหะ พัฒนาตนเอง ทันต่อเหตุการณ์ ตามสภาพเศรษฐกิจ และนา หลักปรัชญาที่ตนปฏิบตั ิมาใช้อบรมสัง่ สอนศิษย์ บุตรหลาน เพือ่ ให้สามารถใช้ชีวติ ในสังคมได้อย่างมีความสุข ๑.๒ ครองคน การปฏิบตั ิตนข้าพเจ้า ยึดถือเป็ นหลัก ๒ ประการ คือ “ มีส่วนร่ วม มีน้ าใจ ” มีส่วนร่ วม หมายถึง การมี ส่วนร่ วมในการปฏิบตั ิหน้าที่ในองค์กร และนอกองค์กร ข้าพเจ้าพยายามสร้างคุณลักษณะของการเป็ นสมาชิกที่ดี มีส่วนร่ วมในการทางานทุกงานให้สาเร็จเพือ่ ประโยชน์ขององค์กร วางตนเป็ นกลาง ยอมรับฟังความคิดเห็นของ ผูอ้ ื่น เห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็ นสาคัญ มีน้าใจ เอื้อเฟื้ อต่อศิษย์ เพือ่ นร่ วมงาน ผูป้ กครอง และชุมชน ช่วยเหลือ แนะนาตามกาลังความสามารถทุกสถานการณ์ ทั้งด้านการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน และด้านส่วนตัว ๑.๓ ครองงาน ๑) การปฏิบตั ิงานในหน้าที่ งานตามคาสัง่ หรื องานพิเศษ ข้าพเจ้าจะปฏิบตั ิตามเกณฑ์ดา้ นคุณภาพ การปฏิบตั ิงานคือ มุ่งผลสัมฤทธิ์ ผลผลิตที่มีคุณภาพ การบริ การที่ดี พยายามใฝ่ เรี ยนรู ้ ศึกษาค้นคว้าความรู ้ ข้อมูลข่าวสาร และข้อมูลทางวิชาการ เพือ่ พัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ และปรับปรุ ง การเรี ยนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล มีความกระตือรื อร้นในการศึกษาหาสาเหตุปัญหาของการจัดกิจกรรม การเรี ยนการสอน หา แนวทางแก้ปัญหาให้สาเร็จ เพือ่ ให้ผเู ้ รี ยนประสบความสาเร็จในการเรี ยน ๒) การพัฒนาผูเ้ รี ยน ส่งเสริ ม พัฒนาทักษะและกระบวนการทางานของผูเ้ รี ยน โดยจัดกิจกรรมการเรี ยน การสอนให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วม ลงมือทาจริ ง สร้างองค์ความรู ้ดว้ ยตนเอง ใช้สื่อ นวัตกรรม และแหล่งเรี ยนรู ้ รวมทั้ง ปลูกฝังคุณธรรมจริ ยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพือ่ พัฒนาผูเ้ รี ยน ให้มีความสามารถรอบด้าน เป็ นคนที่ สมบูรณ์ มีความสมดุลทั้งด้านร่ างกายจิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม สามารถพัฒนาตนเองและร่ วมมือกับ ผูอ้ ื่นได้อย่างสร้างสรรค์ มีความคิดที่เป็ นเหตุเป็ นผลที่พฒั นาชีวติ ได้
๒๕
การสอนภาษาไทยแบบบูรณาการผสานทักษะการคิดปลูกจิตรักษ์ ภูมิ ตามแนวการสอน ของ ชไมพรโมเดล “ พี อี ดี ซี เอ ” (P E D C A) ขั้นที่ ๑ เตรียมความพร้ อม (Prepare) ขั้นที่ ๒ ศึกษาภาษา (Educated language) ขั้นที่ ๓ พัฒนาการคิด (Development thinking) ขั้นที่ ๔ ปลูกจิตรักษ์ ภูมิปัญญา((Conserve wisdom)) ขั้นที่ ๕ การประเมิน (Assessment) ขั้นที่ ๑ เตรียมความพร้ อม (Prepare) เป็ นขั้นตอนแรกที่จะทาการสอน เป็ นขั้นเตรี ยมความพร้อมของนักเรี ยน โดยจัดบรรยากาศ และ สมาธิของผูเ้ รี ยนมีความพร้อมในการเรี ยน การจัดสถานที่ การแบ่งกลุ่ม แนะนาวิธีดาเนินการสอน ชี้แจงตัวชี้วดั กติกา หรื อกฎเกณฑ์การทางาน ตลอดจนทดสอบว่านักเรี ยนมีความพร้อมในเรื่ องที่จะเรี ยน อาจใช้วธิ ีหลากหลาย เช่น การสนทนา การตั้งคาถาม การสังเกต การสาธิต และการเ ล่นเกมต่าง ๆ ซึ่งเป็ นการให้ได้ทราบถึงพื้น ความรู ้ ถ้านักเรี ยนมีความพร้อมที่ใกล้เคียงแล้ว นักเรี ยนสามารถบรรลุตวั ชี้วดั ไปพร้อม ๆกัน ขั้นที่ ๒ ศึกษาภาษา (Educated language) เป็ นขั้นนาเสนอเนื้อหาสาระ ข้อความรู ้ หรื อมโนทัศน์ดา้ นภาษาทั้ง ๔ ทักษะ บูรณาการกับหลักสูตร แกนกลางมาเสนออย่างชัดเจนในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู ้ โดยนาเสนอผ่านสื่อการเรี ยนการสอน ที่เป็ นสื่อกลาง ช่วยสนับสนุนการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน เกิดความสนใจ เกิดความคงทนในการจา นาไปสู่การสร้างเป็ นมโนทัศน์ และสามารถใช้มโนทัศน์น้ นั ในการปฏิบตั ิตนได้อย่างเป็ นรู ปธรรม ซึ่งสื่อการเรี ยนการสอนที่ขา้ พเจ้าใช้ในการ จัดการเรี ยนรู ้ตอ้ งมีความหลากหลาย ได้แก่ สื่อภาพ เช่น แผนภาพ แผนที่ ของจริ ง ใบความรู ้ สื่อเสียง เช่น ซีดี เครื่ องเล่นซีดี บุคคล เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน ผูน้ าศาสนา สถานที่ เช่น ห้องปฏิบตั ิการ วัด โรงเรี ยน ชุมชน แหล่งเรี ยนรู ้ในหมู่บา้ น เครื่ องมือ วัสดุและอุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ วัสดุฝึก สอน สอบ กิจกรรม การจัดนิทรรศการ การศึกษานอกสถานที่ ด้านกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ เป็ นสิ่งมีความสาคัญเป็ นอย่างยิง่ เพราะกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ เป็ นเครื่ องมือพัฒนาผูเ้ รี ยนให้บรรลุเป้ าหมาย ดังนั้นกระบวนการเรี ยนต้องเอื้อต่อการพัฒนาผูเ้ รี ยน จึงจาเป็ นต้อง ใช้กระบวนการต่าง ๆ ที่หลากหลาย เช่น กระบวนการสร้างความรู ้ การบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการแก้ปัญหา เป็ นต้น ซึ่งสามารถให้นกั เรี ยนแสวงหาความรู ้ความเข้าใจรอบ ๆ ตัว เปิ ดโอกาสให้ ทางานแบบกลุ่ม แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ซ่ ึงการและกัน สามารถพัฒนาผูเ้ รี ยนได้เต็มศักยภาพ และส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยน เรี ยนรู ้ตลอดชีวติ ซึ่งช่วยให้นกั เรี ยนมีพฒั นาอย่างรอบด้านเป็ นไปตามจุดหมายของหลักสูตร
๒๖
ขั้นที่ ๓ พัฒนาการคิด (Development thinking) เป็ นขั้นที่ตอบข้อปั ญหาที่ครู ผสู ้ อนวิเคราะห์พบ เพราะจากสภาพปั ญหา นักเรี ยนขาดทักษะ ความคิดร้อยละ ๗๐ จึงเป็ นขั้นที่นกั เรี ยนได้ฝึกฝนโดยใช้ทกั ษะความคิด โดยผูส้ อนจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ต่าง ๆที่ ช่วยให้ผเู ้ รี ยนสามารถสร้างความคิดรวบยอดขึ้นด้วยตนเอง หรื อจัดกิจกรรมกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาความรู ้ ความคิดของตนให้กว้างขวาง และลึกซึ้งขึ้น หรื อเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งความรู ้เพิม่ เติม กิจกรรมที่พฒั นาทักษะความคิด มีดงั นี้ ๑. กิจกรรมคิดถูกปลูกปั ญญา เป็ นกิจกรรมที่ให้มอบหมายให้นกั เรี ยนตั้งคาถามเชิงวิเคราะห์ หลังจากนักเรี ยนเรี ยนรู ้สาระการอ่าน พร้อมทั้งตอบคาถามเชิงอธิบาย จากนั้นนาผลงานมาเสนอหน้าชั้นให้เพือ่ น ๆ ฟัง ๒. กิจกรรมเสนอความคิดปิ ดเรื่ อง เป็ นกิจกรรมที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทาหลังจากเรี ยนรู ้จบ หน่วยการเรี ยนรู ้ทุกหน่วย นาผลงานมานาเสนอและจัดนิทรรศการ ๓. กิจกรรมโครงงาน เป็ นการจัดประสบการณ์ในการปฏิบตั ิงานให้แก่นกั เรี ยน เหมือนกับการ ทางานในชีวติ จริ ง นักเรี ยนจะได้รับประสบการณ์ตรง ได้เรี ยนรู ้วธิ ีแก้ปัญหา รู ้จกั การวางแผนการทางาน ฝึ กคิด วิเคราะห์ ทาให้เกิดการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง โดยกาหนดให้นกั เรี ยนทาโครงงานอย่างน้อย ๒ โครงงานใน ๑ ภาค เรี ยน ๔. กิจกรรมคู่ทดสอบ เป็ นกิจกรรมที่มอบให้นกั เรี ยนสร้างแบบทดสอบด้วยตนเอง โดยไม่จากัด รู ปแบบ ขึ้นอยูก่ บั ความสามารถของผูเ้ รี ยนจะออกแบบทดสอบแบบปรนัย หรื ออัตนัย จากนั้นนาผลงานมา นาเสนอ และแลกเปลี่ยนกันเป็ นคู่ ๆ เพือ่ ที่จะทาแบบทดสอบดังกล่าว ขั้นที่ ๔ ปลูกจิตรักษ์ ภูมิปัญญา (Conserve wisdom) เป็ นขั้นที่ส่งเสริ ม สืบสาน และอนุรักษ์ภูมิปัญญา ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรของโรงเรี ยนโดยบูรณา การภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้ในแต่ละหน่วยทั้ง ๑๐ หน่วยการเรี ยนรู ้ หลังจากนักเรี ยนเรี ยนรู ้แล้ว นาภูมิปัญญาท้องถิ่นมา บูรณาการ ซึ่งให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนรู ้ เช่น มอบหมายให้นกั เรี ยนไปสืบค้นภูมิปัญญาท้องถิ่นจากปราชญ์ ชาวบ้าน ชุมชน หรื อแหล่งเรี ยนรู ้ในชุมชน แล้วมานาเสนอเป็ นชิ้นงานแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ และแสดงผลงาน เพือ่ ให้ นักเรี ยนภูมิใจ และรักบ้านเกิด เช่น การบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้น ประถมศึกษาปี ที่ ๖ เช่นหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ ๑ ดูละครย้อนคิด บูรณาการภูมิปัญญา เรื่ อง นิทานพืน้ บ้ านท่ าศาลา หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ ๒ พินิจนิทาน บูรณาการภูมิปัญญา เรื่ อง สานวนคนนคร หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ ๓ เล่าขานเรื่ อง กล้วย บูรณาการภูมิปัญญา เรื่ อง บทร้ องเล่ นของเด็ก หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ ๔ โลกสวยด้วยวรรณคดี บูรณาการภูมิ ปั ญญา เรื่ อง สารทบุญเดือนสิ บ หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ ๕ คนดีชื่อพลายน้อย บูรณาการภูมิปัญญา เรื่ อง การร้ องเพลง ร้ องเรือ เป็ นต้น
๒๗
ขั้นที่ ๕ การประเมิน(Assessment) เป็ นขั้นตรวจสอบการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนโดยอาศัยการวัดและประเมินผล ว่านักเรี ยนผ่านตัวชี้วดั มาก น้อยเพียงใด ซึ่งดาเนินการทุกขั้นตอนของการเรี ยนรู ้ ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน ระหว่างเรี ยน หรื อตัดสินผล เพือ่ ให้ ทราบถึงความก้าวหน้าทางการเรี ยนของนักเรี ยนอย่างแท้จริ ง และจาเป็ นต้องใช้วธิ ีการวัดและประเมินที่ หลากหลายตามความเหมาะสม เช่น การวัดผลประเมินผลตามสภาพจริ ง วัดและประเมินผลการปฏิบตั ิ และผู ้ ประเมินต้องหลากหลายเช่นกัน ได้แก่ ตนเอง เพือ่ น ครู และผูป้ กครอง รวมทั้งกระตุน้ ให้นกั เรี ยนสรุ ปปั ญหาที่ เกิดขึ้นและแนะนาปรับปรุ งการปฏิบตั ิให้เกิดการพัฒนาทุกคน ตลอดจนกระตุน้ ความคิด ความรู ้สึกของนักเรี ยน ให้รู้สึกประสบผลสาเร็จ พอใจและต้องการเรี ยนรู ้ลกั ษณะนั้นต่อไปเรื่ อย ๆ ซึ่งการแสดงออกของครู ทาได้ท้งั ทาง วาจาและทางกาย เช่น การชมเชย การให้รางวัล ให้กาลังใจ เพือ่ ให้นกั เรี ยนชื่นชมต่อการปฏิบตั ิตนของตนเอง และปฏิบตั ิต่อไปจนเป็ นนิสยั สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้จริ งในชีวติ ประจาวัน และอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมี ความสุข ประโยชน์ ที่ได้ จากผลงาน ๑.ศิษย์ที่สอนได้รับความรู ้ และมีความสามารถใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องทั้งการพูด การอ่าน และการเขียน ๒. ศิษย์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเป็ นที่น่าพอใจตั้งแต่ในปี การศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๖ นักเรี ยนทุกชั้นที่ รับผิดชอบมีสมั ฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงกว่าเป้ าหมายที่ต้งั ไว้ ๓. ศิษย์สามารถวิเคราะห์วจิ ารณ์สภาพปั ญหาภาษาไทยที่พบเห็นในชีวติ ประจาวันได้อย่างถูกต้องและช่วย เสริ มสร้างแบบอย่างภาษาไทยที่ดีงามโดยการฝึ กฝนให้นกั เรี ยนรู ้จกั วิเคราะห์วจิ ารณ์ปัญหาภาษาไทยจากข่าวใน หนังสือพิมพ์ รายการโทรทัศน์ อยูเ่ สมอ และร่ วมกันแสดงความคิดเห็นถึงปั ญหานั้น ๆ ชี้ให้เห็นถึงที่มาของ ปั ญหาภาษาไทย พร้อมทั้งเสนอแนะ ให้ความรู ้ ในสิ่งที่ถูกต้อง และสอนให้ผเู ้ รี ยนรู ้เท่าทันสื่อและเหตุการณ์ ๔. ผลการสอนเป็ นแบบอย่างที่ดีที่เพือ่ นร่ วมงานในสาขาอื่น ๆ สามารถนาไปดัดแปลงให้เป็ นประโยชน์ต่อการ เรี ยนการสอนของตนเองได้ เช่น ๔.๑ ด้านการผลิตสื่อ นวัตกรรม ข้าพเจ้าได้ศึกษา ค้นคว้าอยูเ่ สมอ และนาความรู ้มาผลิตอย่างต่อเนื่อง และมีการจัดเก็บเป็ นระบบ ที่สามารถเป็ นแบบอย่างและเผยแพร่ ได้ ๔.๒ ด้านการจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ โดยมีกระบวนการจัดทาแผนที่ถูกต้อง ทาให้แผนการจัดการ เรี ยนรู ้มีคุณภาพ มีความสมบูรณ์ครบถ้วน ที่สามารถให้เพือ่ นร่ วมงานนาไปเป็ นแบบอย่างได้ ๔.๓ ด้านผลการสอน ด้วยความตั้งใจจริ งในการปฏิบตั ิหน้าที่ตามอุดมการณ์แห่งความเป็ นครู ดว้ ยดี ตลอดมา ส่งผลให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ ความสามารถในการใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องและถูกหลักภาษา มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงขึ้น ๔.๔ ผลงานนักเรี ยนที่เป็ นรู ปธรรม จากการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ เปิ ดโอกาสให้ นักเรี ยนเป็ นผูก้ ระทา ลงมือทาจริ ง ส่งผลให้นกั เรี ยนมีผลงานที่หลากหลาย ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความสามารถใน การจัดการเรี ยนรู ้ที่มีประสิทธิผลและเชิงประจักษ์
๒๘
ขอรับรองว่าข้อความข้างต้นนี้เป็ นความจริ ง
(ลงชื่อ)........................................ ผูร้ ับรอง ( ................................................. ) ผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต ๔