1 เอกสารหมายเลข 2 แบบสรุปผลการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา เพื่อรับเครื่องหมายเชิดชู เกียรติ “คุรุสดุด”ี ประจาปี 2557 เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4 -----------------------------ชื่อ – สกุล นางชไมพร ใบเรื อง วัน/เดือน/ปี เกิด วุฒิการศึกษา กศ.บ. วิชาเอกภาษาไทย จาก มหาวิทยาลัยศรี นครริ นทรวิโรฒิ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ ชื่อสถานศึกษา / หน่วยงาน โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ที่ต้งั ม. 1 ต. ท่าขึ้น อ.ท่าศาลา จ.นครศรี ธรรมราช โทร. 085-7924269 สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ระยะเวลาการปฏิบตั ิงาน 26 ปี สรุปผลการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่เด่ นที่สุด จากการปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่เด่นที่สุด และได้รับการ ยกย่อง ข้ อ 4 อบรม สั่ งสอน ฝึ กฝน สร้ างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัยที่ถูกต้ องดีงามให้ แก่ ศิษย์ อย่ าง เต็มความสามารถด้ วยความบริสุทธิ์ใจ ข้าพเจ้าเป็ นผูท้ ี่มีความตั้งใจ มุ่งมัน่ ในอบรม สัง่ สอน ฝึ กฝน สร้างเสริ มความรู ้ ทักษะและ นิสยั ที่ถูกต้องดีงามให้แก่ศิษย์ด้ วยความจริ งจัง สอนศิษย์เต็มเวลา ยึดมัน่ จรรยาบรรณวิชาชีพครู ปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยความเต็มใจจนเป็ นผลความสาเร็จ และเป็ นผูม้ ีความเมตตากรุ ณา อบรม เอาใจใส่ดูแลศิษย์อย่างใกล้ชิด มุ่งมัน่ คิดค้นวิธีการจัดการเรี ยนการสอนที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการของนักเรี ยน และบริ บทของชุมชนตามแนวทางปฏิรูป นาความรู ้และ ประสบการณ์ที่ได้รับ จาการอบรม ศึกษาดูงาน มาปรับประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนที่มุ่ง ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพือ่ ให้ศิษย์มีพฒั นาอย่างรอบด้าน เก่ง ดี มีสุข และมีความเป็ นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ รวมทั้ง เปิ ดโอกาสให้ศิษย์แสดงออกตามความสนใจตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ศิษย์ คนใดมีปัญหาจะเป็ นที่ปรึ กษาคอยช่วยเหลือ โดยใช้รูปแบบการสอนที่หลากหลายเพือ่ แก้ปัญหา ให้ ศิษย์ได้พฒั นาความรู ้ ทักษะ คุณลักษณะที่ดีงามเต็มตามศักยภาพ ส่งผลให้กิจกรรมการเรี ยนการสอน เป็ นไปอย่างมีประสิทธิผล
2 เอกสารหมายเลข 3
ประวัติผ้ ปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาทีไ่ ด้ รับการคัดเลือก เพือ่ รับเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ “คุรุสดุด”ี ประจาปี 2557 สั งกัด เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 ************************************ ตอนที่ 1 ประวัติของผูท้ ี่ได้รับการคัดเลือก 1. ชื่อ นางชไมพร นามสกุล ใบเรื อง 2. เกิดวันที่ 3. ตาแหน่งหน้าที่ในปั จจุบนั ครู คศ. 3 สถานที่ทางาน โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ตั้งอยู่ หมู่ 1 ตาบล/แขวง ท่าขึ้น อาเภอ/เขต ท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช รหัสไปรษณี ย ์ 80160 โทร. 0 85 - 7924269 4. ที่อยูป่ ั จจุบนั เลขที่ อาเภอ/เขต ท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช รหัสไปรษณี ย ์ 80160 โทร. 0 85 – 7924269 5. ผูท้ ี่ได้รับการคัดเลือกมี ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู เลขที่ 52200603728805 หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชน เลขที่ 3800800518265 6. วุฒิการศึกษา วุฒิ ปี พ.ศ.ที่สาเร็จการศึกษา ชื่อสถาบัน 6.1 การศึกษาบัณฑิต 25 30 มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ 6.4 ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย 25 24 โรงเรี ยนจันทร์ประดิษฐารามวิทยาคม 6.4 ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนต้น 6.5 ประถมศึกษา (ป.7)
25
22 โรงเรี ยนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา 25 19 โรงเรี ยนวัดเทวดาราม
7. เริ่ มปฏิบตั ิหน้าที่ครู ตั้งแต่วนั ที่ 1 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 นับถึงวันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2557 รวม 26 ปี 2 เดือน
3 8. ประวัติหน้าที่การงาน ตั้งแต่เริ่ มต้นจนถึงปั จจุบนั (ระบุ/วัน/เดือน/ปี ) ที่เริ่ มต้นและสิ้นสุดของ การดารงตาแหน่ง และสถานที่ของแต่ละตาแหน่ง วันเดือนปี ทีร่ ับราชการประจา
1 ก.พ.31 1 ต.ค.31 1 ต.ค.32 1 ต.ค.33 1 ต.ค.34 1 ต.ค.35 1 ต.ค.36 1 ต.ค.36 1 ต.ค.36 1 มิ.ย.37 1 ต.ค.37 1 ต.ค.38 1 ธ.ค.38
ตาแหน่ ง
อาจารย์ 1 ร.ร.บ้านหนองตาเยา สปอ.ละหานทราย สปจ.บุรีรัมย์ อาจารย์ 1 ร.ร.บ้านหนองตาเยา สปอ.ละหานทราย สปจ.บุรีรัมย์ อาจารย์ 1 ร.ร.บ้านหนองตาเยา สปอ.ละหานทราย สปจ.บุรีรัมย์ อาจารย์ 1 ร.ร.บ้านหนองตาเยา สปอ.ละหานทราย สปจ.บุรีรัมย์ อาจารย์ 1 ร.ร.บ้านหนองตาเยา สปอ.ละหานทราย สปจ.บุรีรัมย์ อาจารย์ 1 ร.ร.บ้านหนองตาเยา สปอ.ละหานทราย สปจ.บุรีรัมย์ อาจารย์ 1 ร.ร.บ้านหนองตาเยา สปอ.ละหานทราย สปจ.บุรีรัมย์ อาจารย์ 1 ร.ร.บ้านหนองตาเยา สปอ.ละหานทราย สปจ.บุรีรัมย์ อาจารย์ 1 ร.ร.บ้านหนองตาเยา สปอ.ละหานทราย สปจ.บุรีรัมย์ อาจารย์ 1 ร.ร.บ้านควนสวรรค์ สปอ.ฉวาง สปจ.นครศรี ธรรมราช อาจารย์ 1 ร.ร.บ้านควนสวรรค์ สปอ.ฉวาง สปจ.นครศรี ธรรมราช อาจารย์ 1 ร.ร.บ้านควนสวรรค์ สปอ.ฉวาง สปจ.นครศรี ธรรมราช อาจารย์ 2 ร.ร.บ้านควนสวรรค์ สปอ.ฉวาง สปจ.นครศรี ธรรมราช
กรม/กระทรวง
สปจ.บุรีรัมย์ สปช./ศึกษาธิการ สปจ.บุรีรัมย์ สปช./ศึกษาธิการ สปจ.บุรีรัมย์ สปช./ศึกษาธิการ สปจ.บุรีรัมย์ สปช./ศึกษาธิการ สปจ.บุรีรัมย์ สปช./ศึกษาธิการ สปจ.บุรีรัมย์ สปช./ศึกษาธิการ สปจ.บุรีรัมย์ สปช./ศึกษาธิการ สปจ.บุรีรัมย์ สปช./ศึกษาธิการ สปจ.บุรีรัมย์ สปช./ศึกษาธิการ สปจ.นครศรี ธรรมราช สปช./ศึกษาธิการ สปจ.นครศรี ธรรมราช สปช./ศึกษาธิการ สปจ.นครศรี ธรรมราช สปช./ศึกษาธิการ สปจ.นครศรี ธรรมราช สปช./ศึกษาธิการ
หมายเหตุ
ที่ 189/2531 ลว.1 ก.พ.2531 ที่ 776/2531 ลว.1 ก.ย.2531 ที่ 853/2532 ลว.29 ก.ย.2532 ที่ 923/2533 ลว.27 ก.ย.2533 ที่ 750/2534 ลว.27 ก.ย.2534 ที่ 663/2535 ลว.28 ก.ย.2535 ที่ 626/2536 ลว.10 ก.ย.2536 ที่ 626/2536 ลว.10 ก.ย.2536 ที่ 626/2536 ลว.10 ก.ย.2536 ที่ 971/2537 ลว.26 พ.ค.2537 ที่ 466/2537 ลว.13 ก.ย.2537 ที่ 521/2538 ลว.26 ก.ย.2538 ที่ 204/2538 ลว.29 มี.ค.2539
4 วันเดือนปี ทีร่ ับราชการประจา
1 ต.ค.39 1 ต.ค.40 1 ต.ค.41 5 มี.ค.42 1 ต.ค.42 1 ต.ค.43 1 ต.ค.44 30 ก.ย.45 1 ต.ค.46 1 ต.ค.46 1 ต.ค.47 24 ธ.ค.47 1 ต.ค.48 1 ก.พ.49
ตาแหน่ ง
กรม/กระทรวง
หมายเหตุ
อาจารย์ 2 ร.ร.บ้านควนสวรรค์ สปอ.ฉวาง สปจ.นครศรี ธรรมราช อาจารย์ 2 ร.ร.บ้านควนสวรรค์ สปอ.ฉวาง สปจ.นครศรี ธรรมราช อาจารย์ 2 ร.ร.บ้านควนสวรรค์ สปอ.ฉวาง สปจ.นครศรี ธรรมราช อาจารย์ 2 ร.ร.บ้านพังปริ ง สปอ.ท่าศาลา สปจ.นครศรี ธรรมราช อาจารย์ 2 ร.ร.บ้านพังปริ ง สปอ.ท่าศาลา สปจ.นครศรี ธรรมราช อาจารย์ 2 ร.ร.บ้านพังปริ ง สปอ.ท่าศาลา สปจ.นครศรี ธรรมราช อาจารย์ 2 ร.ร.บ้านพังปริ ง สปอ.ท่าศาลา สปจ.นครศรี ธรรมราช อาจารย์ 2 ร.ร.บ้านพังปริ ง สปอ.ท่าศาลา สปจ.นครศรี ธรรมราช อาจารย์ 2 ร.ร.บ้านพังปริ ง อ.ท่าศาลา สพท.นศ.4 อาจารย์ 2 ร.ร.บ้านพังปริ ง อ.ท่าศาลา สพท.นศ.4 อาจารย์ 2 ร.ร.บ้านพังปริ ง อ.ท่าศาลา สพท.นศ.4 ครู ร.ร.บ้านพังปริ ง อ.ท่าศาลา สพท.นศ.4 ครู ร.ร.บ้านพังปริ ง อ.ท่าศาลา สพท.นศ.4 ครู ร.ร.บ้านพังปริ ง อ.ท่าศาลา สพท.นศ.4 วิทยฐานะชานาญการ
สปจ.นครศรี ธรรมราช สปช./ศึกษาธิการ สปจ.นครศรี ธรรมราช สปช./ศึกษาธิการ สปจ.นครศรี ธรรมราช สปช./ศึกษาธิการ สปจ.นครศรี ธรรมราช สปช./ศึกษาธิการ สปจ.นครศรี ธรรมราช สปช./ศึกษาธิการ สปจ.นครศรี ธรรมราช สปช./ศึกษาธิการ สปจ.นครศรี ธรรมราช สปช./ศึกษาธิการ สปจ.นครศรี ธรรมราช สปช./ศึกษาธิการ สปจ.นครศรี ธรรมราช สปช./ศึกษาธิการ สพท.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพท.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพท.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพท.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพท.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ
ที่600/2539 ลว.24 ก.ย.2539 ที่566/2539 ลว.29 ส.ค.2540 ที่556/2541 ลว.15 ก.ย.2541 ที่238/2542 ลว.30 เม.ย.2542 ที่609/2542 ลว.27 ก.ย.2542 ที่586/2543 ลว.11 ก.ย.2543 ที่556/2544 ลว.24 ต.ค.2544 ที่407/2545 ลว.23 ก.ย.2545 ที่466/37 ลว.18 ก.ย.37 ที่79/2546 ลว.5 ต.ค.2546 ที่508/2547 ลว.11 ต.ค.2547 ร.ร.บ้านพังปริ ง ที่ 11/2547 ลว.11ต.ค.47 ร.ร.บ้านพังปริ ง ที่ 39/2548 ลว.27ก.ย.48 ที่ 91/2549 ลว.12 เม.ย.49
5
วันเดือนปี ทีร่ ับราชการประจา
1 เม.ย.49 1 ต.ค.49 1 เม.ย.50 1 ต.ค.50 1 เม.ย.51 1 ต.ค.51 12 ม.ค.52 1 เม.ย.52 1 ต.ค.52 1 เม.ย.53 1 ต.ค.53 1 เม.ย.54 1 ต.ค.54 1 เม.ย.55
ตาแหน่ ง
ครู ร.ร.บ้านพังปริ ง อ.ท่าศาลา สพท.นศ.4 วิทยฐานะชานาญการ ครู ร.ร.บ้านพังปริ ง อ.ท่าศาลา สพท.นศ.4 วิทยฐานะชานาญการ ครู ร.ร.บ้านพังปริ ง อ.ท่าศาลา สพท.นศ.4 วิทยฐานะชานาญการ ครู ร.ร.บ้านพังปริ ง อ.ท่าศาลา สพท.นศ.4 วิทยฐานะชานาญการ ครู ร.ร.บ้านพังปริ ง อ.ท่าศาลา สพท.นศ.4 วิทยฐานะชานาญการ ครู ร.ร.บ้านพังปริ ง อ.ท่าศาลา สพท.นศ.4 วิทยฐานะชานาญการ ครู ร.ร.วัดทางขึ้น อ.ท่าศาลา สพท.นศ.4 วิทยฐานะชานาญการ ครู ร.ร.วัดทางขึ้น อ.ท่าศาลา สพท.นศ.4 วิทยฐานะชานาญการ ครู ร.ร.วัดทางขึ้น อ.ท่าศาลา สพท.นศ.4 วิทยฐานะชานาญการ ครู ร.ร.วัดทางขึ้น อ.ท่าศาลา สพป.นศ.4 วิทยฐานะชานาญการ ครู ร.ร.วัดทางขึ้น อ.ท่าศาลา สพป.นศ.4 วิทยฐานะชานาญการ ครู ร.ร.วัดทางขึ้น อ.ท่าศาลา สพป.นศ.4 วิทยฐานะชานาญการ ครู ร.ร.วัดทางขึ้น อ.ท่าศาลา สพป.นศ.4 วิทยฐานะชานาญการ ครู ร.ร.วัดทางขึ้น อ.ท่าศาลา สพป.นศ.4 วิทยฐานะชานาญการ
กรม/กระทรวง
สพท.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพท.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพท.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพท.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพท.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพท.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพท.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพท.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพท.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพป.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพป.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพป.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพป.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพป.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ
หมายเหตุ
ที่ 95/2549 ลว.12 เม.ย.49 ที่ 324/2549 ลว.13 ต.ค.49 ที่ 98/2550 ลว.12 เม.ย.49 ที่ 327/2550 ลว.28 ก.ย.50 ที่ 211/2551 ลว.17 เม.ย.51 ที่ 503/2551 ลว.8 ต.ค.51 ที่ 13/2552 ลว.13 ม.ค.52 ที่122/2552 ลว.21 เม.ย.52 ที่ 344/2552 ลว.14 ต.ค.52 ที่ 120/2553 ลว.20 เม.ย.53 ที่ 341/2553 ลว.14 ต.ค.53 ที่ 91/2549 ลว.12 เม.ย.54 ที่ 396/2549 ลว.11 ต.ค.54 ที่ 106/2555 ลว.12 เม.ย.
6 วันเดือนปี ทีร่ ับราชการประจา
1 ต.ค.55 1 เม.ย.56 1 ต.ค.56 1 เม.ย.57
ตาแหน่ ง
ครู ชานาญการพิเศษ ร.ร.วัดทางขึ้น อ.ท่าศาลา สพป.นครศรี ธรรมราช เขต 4 ครู ชานาญการพิเศษ ร.ร.วัดทางขึ้น อ.ท่าศาลา สพป.นครศรี ธรรมราช เขต 4 ครู ชานาญการพิเศษ ร.ร.วัดทางขึ้น อ.ท่าศาลา สพป.นครศรี ธรรมราช เขต 4 ครู ชานาญการพิเศษ ร.ร.วัดทางขึ้น อ.ท่าศาลา สพป.นครศรี ธรรมราช เขต 4
กรม/กระทรวง
สพป.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพป.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพป.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ สพป.นศ.4 สพฐ. /ศึกษาธิการ
หมายเหตุ
ที่ 215 /2555 ลว. 2 พ.ค.55 ที่ 215 /2555 ลว. 2 พ.ค.55 ที่ 526 /2556 ลว. 11 ต.ค.55
ตอนที่ 2 ผลการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพทั้ง 9 ข้ อ และข้ อใดข้ อหนึ่งใน 9 ข้ อ ที่เด่ นชัดที่สุด ที่ส่งผลให้ ปรากฏเป็ นที่ยอมรับของนักเรียน ผู้ร่วมงาน ผู้ปกครองและชุมชน และเป็ นผลของ การอุทิศตนเพื่อประโยชน์ แก่ วิชาชีพครู อย่ างสู ง ตลอดระยะเวลาของการปฏิบัติงานพร้ อมกับ แนบหลักฐานอ้ างอิงให้ เห็นร่ องรอยการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพดังกล่ าว ข้าพเจ้าปฏิบตั ิงานมาเป็ นเวลา 26 ปี ด้วยความสามารถอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตามจรรยาบรรณครู 9 ประการ ซึ่งการปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ เด่นที่สุดและได้รับการยกย่อง คือ จรรยาบรรณต่อผูร้ ับบริ การ ข้ อ 4 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้ องส่ งเสริมให้ เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้ องดีงามแก่ ศิษย์ และผู้รับบริการตามบทบาท หน้ าที่อย่ างเต็มความสามารถด้ วยความบริสุทธิ์ใจ มีพฤติกรรมและผลงานที่ประจักษ์ดงั ต่อไปนี้ ข้าพเจ้าส่งเสริ มให้เกิดการเรี ยนรู ้ ทักษะ และนิสยั ที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์ และผูร้ ับบริ การ ตาม บทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ด้วยความบริ สุทธิ์ใจ ตัวบ่งชี้ถึงพฤติกรรมนี้คือ 1. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แนวทางการปฏิบตั ิงานและวิธีการจัดการเรี ยนการสอน โดยสังเขป ดังนี้ ข้าพเจ้าการปฏิบตั ิการสอนเป็ นแบบอย่างของผูม้ ีวญ ิ ญาณแห่งความเป็ นครู มีความมุ่งมัน่ ใน การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนตามแนวทางการปฏิรูปการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ซึ่งจัดการ เรี ยนการสอนทั้งในและนอกห้องเรี ยนโดยเน้นทักษะกระบวนการที่เหมาะสมกับลักษณะผูเ้ รี ยน แก้ไขปั ญหาให้กบั ผูเ้ รี ยนที่แตกต่างได้เป็ นผลดี เห็นได้จากการออกแบบการสอน โดยการวิเคราะห์ หลักสูตร จัดทาโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรี ยนรู ้ จัดทาแผนจัดการเรี ยนรู ้ เตรี ยมสื่อการสอน การวัด และประเมินผลที่หลากหลาย ดาเนินการจัดการเรี ยนรู ้เน้น ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญโดยใช้วธิ ีการสอนหลาย รู ปแบบ เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ในสภาพแวดล้อมที่ตนเองสนใจ เช่น ห้องสมุด อุทยาน และ
7 แหล่งเรี ยนรู ้อื่นๆ เพือ่ เป็ นการผ่อนคลายให้กบั ผูเ้ รี ยน ไม่ตอ้ งเรี ยนและทากิจกรรมในอยูใ่ นห้องแคบ ๆ ทุกวัน โดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผเู ้ รี ยนด้วยการศึกษาเทคนิค วิธีการสอนต่าง ๆ ให้เข้าใจอย่างละเอียด จึงจะเลือกมาใช้ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพผูเ้ รี ยน ให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้ มากที่สุด มีความพยายามในการฝึ กทักษะทั้ง 4 ทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน ซึ่งในการจัดกระบวนการ เรี ยนการสอน ข้าพเจ้ามุ่งให้นกั เรี ยนได้รับความรู ้ พัฒนาความสามารถ ทักษะ รวมทั้งทัศนคติที่เป็ น เครื่ องหมายของคนดี อีกทั้งข้าพเจ้าได้ดาเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน ออกเยีย่ มบ้าน นักเรี ยนเพือ่ หาข้อมูลฐานะความเป็ นอยู่ ความสัมพันธ์ในครอบครัว นาข้อมูลมาวิเคราะห์ความ แตกต่างของผูเ้ รี ยน และนามาจัดการเรี ยนการสอนที่สอดคล้องกับบริ บท และความต้องการของผูม้ ี ส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ าย จากการมุ่งมัน่ ในการจัดการเรี ยนการสอนข้างต้น ส่งผลให้ขา้ พเจ้าได้รับรางวัล ครู ภาษาไทย ดีเด่ น รางวัลเข็มเชิดชู เกียรติจารึกพระนามาภิไธยย่ อ สธ เมื่อ 16 มกราคม 2556 และเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกาย 2556 หนังสื อเดลินิวส์ มาถ่ ายทาการดาเนินการสอนของครู ภาษาไทยดีเด่ น เพื่อยกย่ อง ในคอลัมภ์ “เปิ ดทาเนียบครู ดีครู เด่ น” ตีพิมพ์ ในวันที่
26 ธันวาคม 2556 นอกจากนี้ ยังได้ รับ
คัดเลือกจากสพฐ. ตามโครงการตามรอยเกียรติยศครู มีอดุ มการณ์ ให้ ได้ รับรางวัล ยอดครู ผู้มี อุดมการณ์ ระดับจังหวัด ในวันครู 16 มกราคม 2557 2. การผลิตสื่ อ-นวัตกรรมการเรียนการสอน ข้าพเจ้ามุ่งมัน่ คิดค้น ค้นคว้าองค์ความรู ้ต่าง ๆ ทั้งในหลักวิชา และความรู ้เพิม่ เติมอยู่ ตลอดเวลา เพือ่ จัดการเรี ยนการสอนสอดคล้องกับความต้องการของนักเรี ยน และบริ บทของท้องถิ่น ชุมชน โดยการศึกษาแนวทางการจัดการเรี ยนรู ้ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา และจากการเข้าร่ วม อบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดูงาน ตามที่หน่วยงานต้นสังกัดจัดขึ้น และของหน่วยงานอื่น ๆ เพือ่ ประโยชน์สาหรับการนาความรู ้และประสบการณ์ที่ได้รับ มาปรับ ประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั ิหน้าที่ การจัดการเรี ยนการสอนที่มุ่งประสิทธิภาพและประสิทธิผล การพัฒนาสื่อ
– นวัตกรรมที่ใช้ในการกิจกรรมการเรี ยนการสอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4-6
ที่พฒั นาอย่างต่อเนื่อง และสามารถเป็ นแบบอย่างแก่ผอู ้ ื่นได้ไม่นอ้ ยกว่า 28 รายการ มีดงั ต่อไปนี้ 1. ใบความรู ้สาระที่ 1 - 4 2. ใบความรู ้สาระที่ 4 เล่ม 1 – 2 3. ใบความรู ้ ประกอบการสอนสาระที่ 2 การเขียน ได้แก่
8 -ใบความรู ้ เรื่ อง การเขียนจดหมาย -ใบความรู ้ เรื่ อง การเขียนเรี ยงความ การเขียนเรื่ องเชิงสร้างสรรค์ -ใบความรู ้ เรื่ อง การเขียนคาขวัญ คาคม 4.เอกสารประกอบการสอน เรื่ อง การเขียนโครงงานภาษาไทย 5. เอกสารประกอบการสอน เรื่ อง สานวนคนนคร 6. เอกสารประกอบการสอน เรื่ อง เพลงร้องเรื อ 7. เอกสารประกอบการสอน เรื่ อง นิทานพื้นบ้านภาคใต้ 7. แบบฝึ กทักษะภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เล่ม 1 9. แบบฝึ กทักษะภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เล่ม 2 10. แบบฝึ กทักษะการเขียน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เล่ม 1 11. แบบฝึ กทักษะการเขียนเรื่ อง ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เล่ม 2 12.การเขียนเรื่ องจากภาพ สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 13. แบบฝึ กเสริ มความรู ้ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 14. แบบฝึ กทักษะภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 15. การเขียนเรื่ องจากภาพ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 16. แบบฝึ กเสริ มความรู ้ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 17. แบบฝึ กทักษะภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 เล่ม 1 18. แบบฝึ กทักษะภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 เล่ม 2 19. แบบฝึ กคัดลายมือ 20. แบบฝึ กจับใจความสาคัญ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 21. แบบฝึ กการเขียนตามคาบอก 22. แบบฝึ กทักษะการเขียนเรื่ อง ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 22. แบบฝึ กเสริ มความรู ้ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 23. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 24. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 25. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 26. บทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย จานวน 4 เล่ม ดังนี้ เล่ม 1 คาประสม เล่ม 2 คาซ้อน เล่ม 3 คาซ้ า
เล่ม 4 คาสมาส
9 27. หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น จานวน 6 เล่ม ดังนี้ เล่ม 1 ถ้อยคาเรี ยงเสียงเพลงบอก เล่ม 2 ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกโท่ เล่ม 3 ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกพลา
เล่ม 4 ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ดอกนมแมว
เล่ม 5 ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน มังเร เล่ม 6 ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกรกช้าง 28. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ e-book ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน จานวน 5 เล่ม เล่ม 1 ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกโท่ เล่ม 2 ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกพลา เล่ม
3 ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ดอกนมแมว เล่ม 4 ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน มังเร
เล่ม
5 ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกรกช้าง
ผลจากพัฒนาตนเอง ใฝ่ รูใ้ ฝ่ เรี ยน จากการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน การค้นคว้า ทาให้ ข้าพเจ้าผลิตสื่อ นวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ขา้ พเจ้าได้รับรางวัล ครู ผู้สอนยอดเยี่ยม รางวัล เหรียญทอง รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS ) ด้ านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียน การสอน ระดับภาคใต้ และ ระดับชาติ ครั้งที่ 63 ปี การศึกษา 2557 ณ เมืองทองธานี ในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2557 จาก สพฐ. 3. กิจกรรมเด่ น “ กิจกรรมซ่ อม เสริม เพิ่มผลสั มฤทธิ์ ” 3.1 กิจกรรมซ่ อม – เสริมภาษาไทยชั้น ป.3 - 5 - 6 กิจกรรมซ่อม – เสริ ม เพิม่ ผลสัมฤทธิ์ภาษาไทย
เป็ นกิจกรรมเด่นที่ขา้ พเจ้าจัดขึ้น
นอกเหนือจากการสอนปกติ เพือ่ แก้ไขข้อบกพร่ องแก่นกั เรี ยนที่เรี ยนช้า หรื อต้องการความช่วยเหลือ และเสริ มทักษะให้กบั นักเรี ยนได้พฒั นาเต็มความสามารถ โดยวิเคราะห์ปัญหาจากบันทึกผลการสอน แต่ละครั้ง ว่านักเรี ยนยังมีขอ้ บกพร่ อง หรื อไม่ผา่ นการประเมินตัวชี้วดั ใด แล้วนาข้อบกพร่ องของ นักเรี ยนมาวินิจฉัยหาสาเหตุ ว่ามีสาเหตุจากอะไร จึงจัดกิจกรรมซ่อม เสริ มให้ตรงกับข้อบกพร่ อง ของนักเรี ยนสาหรับนักเรี ยนที่ผา่ นผลการประเมินตัวชี้วดั ครู วเิ คราะห์เด็กเป็ นรายบุคคล ว่าควรเสริ ม ทักษะภาษาไทยให้กบั นักเรี ยน เพือ่ นักเรี ยนพัฒนาเต็มความสามารถ และส่งเสริ มให้มีความเป็ นเลิศ 3.2 กิจกรรมวิจัยชั้นเรียน ข้าพเจ้าพยายามศึกษา ค้นคว้า ใฝ่ หาความรู ้ ด้านภาษาไทยเพิม่ เติมอยูเ่ ป็ นนิตย์ มีผลงานการ ผลิตสื่อการสอนต่าง ๆ เพือ่ ใช้ประกอบการสอนวิชาภาษาไทยทุกสาระ ส่งผลให้การเรี ยนการสอน
10 ภาษาไทยเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็ นที่ประจักษ์ มีการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค และหา แนวทางในการแก้ปัญหา โดยการจัดทาวิจยั ชั้นเรี ยน ซึ่งผลงานดีเด่น ดังนี้ รายงานวิจัย คือ รายงานการใช้ หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนภาษาไทย สาหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนวัดทางขึน้ จากสภาพและปั ญหาจัดกิจกรรมการการเรี ยนการสอนภาษาไทย ของนักเรี ยนชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 6 พบว่า สาระที่ 5 เพลงพื้นบ้านนครศรี ธรรมราช
“เพลงบอก ” ขาดสื่อการเรี ยน
การสอนที่มีความสมบูรณ์ มีเพียงเอกสารความรู ้ในนิตยสาร หรื อในอินเทอร์เน็ตเท่านั้นที่นามาใช้ ประกอบการเรี ยนการสอน ทาให้นกั เรี ยนไม่ประสบผลสาเร็จในการเรี ยนเรื่ องนี้ ประกอบนักเรี ยนยัง ขาดทักษะการอ่านการเขียน ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนไม่เป็ นที่น่าพอใจ ครู ผสู ้ อนจึงวิเคราะห์ ปั ญหา และเลือกแนวทางที่ดีที่สุด คือสร้างหนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลง บอก ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น การศึกษาครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์ 1) เพือ่ สร้างและหาประสิทธิภาพของหนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยน วัดทางขึ้น ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80 / 80 2) เพือ่ เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ก่อนและหลังเรี ยนโดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติมชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก
กลุ่มสาระการ
เรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ทีโรงเรี ่ 6 ยนวัดทางขึ้น และ 3) เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรี ยนที่มี ต่อการเรี ยนโดยใช้หนังสือ อ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ทีโรงเรี ่ 6 ยนวัดทางขึ้น ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น อาเภอ ท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 255 4 จานวน 25 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ
1) หนังสืออ่าน
เพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยน วัดทางขึ้น จานวน 6 เล่ม 2) แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน แบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 50 ข้อ3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยน แบบมาตราส่วนประมาณค่า ชนิด 5 ระดับ จานวน 10 ข้อและ 4) แผนการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ใต้ ถิ่นบอกใบ้ดว้ ย เพลงบอกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัด ทางขึ้น หน่วยการเรี ยนรูที้ ่ 10
11 อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลง บอก จานวน20 แผน รวม 20 ชัว่ โมง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ (t – test แบบ Dependent) ผลการศึกษาพบว่า 1. หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80 / 80 ความสัมพันธ์ระหว่าง (E1/E2) เท่ากับ 83.67 / 81.28ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ต้งั ไว้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังการเรี ยนโดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอก ใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น สูงกว่า ก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ความพึงพอใจของนักเรี ยนต่อการเรี ยนโดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้ บอกใบ้ ด้วยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ในภาพรวม อยูใ่ นระดับมาก โดยมีคา่ เฉลี่ย ( X ) เท่ากับ 4.49 และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.57 ผลแห่ งความสาเร็จของครู ผู้สอน ข้าพเจ้า ได้รับรางวัลเกียรติยศและได้รับการยกย่องเป็ นแบบอย่างที่ดีในการพัฒนาวิชาชีพด้วย ความศรัทธา ดังต่อไปนี้ ปี 2556 ได้ รับรางวัลเกียรติยศ ดังนี้ 1. ครู ผู้สอนยอดเยี่ยม รางวัลเหรียญทอง รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS ) ด้ านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๓ ปี การศึกษา ๒๕๕๖ ณ เมืองทองธานี วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2557 (จาก สพฐ.) 2. รางวัลยอดครู ผู้มีอุดมการณ์ ระดับจังหวัด ครั้งที่ ๘ พ.ศ. ๒๕๕๗ ตามโครงการตาม รอยเกียรติยศครู ผมู ้ ีอุดมการณ์ ( จาก สพฐ. ) 3. ครู ผู้สอนยอดเยี่ยม รางวัลเหรียญทอง รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS ) ด้ านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ระดับภาคใต้ ครั้งที่ ๖๓ จังหวัดพัทลุง วันที่ 17 พฤศจิกายน 2556( จาก สพฐ.) 4. หนังสื อพิมพ์ เดลินิวส์ ยกย่ อง เปิ ดทาเนียบครู ดีครู เด่ น ตีพิมพ์ 26 ธันวาคม 2556 5. รางวัล ครู สอนดี (จาก อบจ.นครศรีธรรมราช) ปี 2555 ได้ รับรางวัลเกียรติยศ ดังนี้ 1. ครู ภาษาไทยดีเด่ น รางวัลเข็มเชิดชู เกียรติจารึกพระนามาภิไธยย่ อ สธ ( จาก คุรุสภา )
12 2. รางวัลครู ผู้สอนดีเด่ น กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยดีเด่ น ( จาก คุรุสภา) 3. รางวัลครู คุณภาพดีเด่ น (จาก สพป.นศ.4) 4. เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยาน 5. เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยาน 6. เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมการแข่งขันการอ่าน 7. เกียรติบตั รผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมแข่งขันเรี ยงความ 8. เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญทองแดง กิจกรรมแข่งขันเรี ยงความ 9. เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมการแข่งขัน “รวมศิลป์ สร้างสรรค์” (เครื อข่าย) ปี 2554 ได้ รับรางวัลเกียรติยศ ดังนี้ 1. รางวัล หนึ่งแสนครู ดี (คุรุสภา) 2. รางวัลดาวแห่งความดี (นิตยสารคนสร้างชาติ) 3. เกียรติบตั รได้เข้าร่ วมส่งผลงานกิจกรรมการเรี ยนรู ้เพือ่ ส่งเสริ มการคิด (สพป.นศ. 4) 4. เกียรติบตั ร ผูส้ อนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมสร้างสรรค์ภาพด้วย การปะติด ป.4-6 ระดับภาคใต้ (สพฐ.) 5.เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมสร้างสรรค์ภาพด้วย การปะติด ชั้น ป.4-6 (สพป.นศ.4) 6.เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรม การแข่งขันโครงงาน อาชีพ ชั้น ป.4-6 (สพป.นศ.4) 7. เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องบทอาขยาน ชั้น ป.1-3 8. เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมท่องบทอาขยานชั้น ป.4-6 (เครื อข่าย) ปี 2553 ได้ รับรางวัลเกียรติยศ ดังนี้ 1. เกียรติบัตรครู ผู้ฝึกสอน การแปรรู ปอาหาร ชั้น ป.4-6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ระดับชาติ ปี การศึกษา 2553 (จากสพฐ.)
13 2.รางวัลผลงานวิจยั ชั้นเรี ยน ระดับดี (สพป.นศ.4) 3. เกียรติบตั รผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องบทอาขยาน ชั้น ป.4-6 (สพป.นศ.4) 4.เกียรติบตั รผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับทอง กิจกรรมท่องบทอาขยานชั้นป.4-6 5.เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับทอง กิจกรรมหนังสือเล่มเล็กชั้น ป.4-6 6.เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมเขียนเรี ยงความชั้น ป.4-6 (เครื อข่าย) ปี 2552 ได้ รับรางวัลเกียรติยศ ดังนี้ 1.เกียรติบตั รผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ชั้นป.1 - 3 (สพป.นศ.4) 2.เกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเงิน กิจกรรมท่องอาขยาน ชั้น ป.4-6 (เครื อข่าย) ปี 2551 ได้รับรางวัล ครู ดีศรี จรรยาบรรณ (สพท.นศ.4) ปี 2549 ได้รับรางวัล ครู ผสู ้ อนภาษาไทย ระดับดีเยีย่ ม (สพท.นศ.4) ปี 2545 ได้รับรางวัล บุคคลดีเด่น (สปอ.ท่าศาลา) ปี 2540 ได้รับรางวัล ครู วทิ ยาศาสตร์ดีเด่น (สปอ.ฉวาง) ปี 2539 ได้รับรางวัล ครู สอนกลุ่ม สปช.ดีเด่น (สปอ.ฉวาง) ผลแห่ งความสาเร็จของศิษย์ จากการปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความมุ่งมัน่ ตลอดมา ส่งผลสาเร็จทาให้ศิษย์มีความรู ้ความเข้าใจใน วิชาภาษาไทยและมีทกั ษะ สามารถนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ในการดารงชีวติ อยูใ่ นสังคม ดังนี้ 1.ศิษย์ที่สอนได้รับความรู ้ และมีความสามารถใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องทั้งการพูด การอ่าน และการเขียน จะเห็นได้จากเมื่อส่งนักเรี ยนเข้าร่ วมการแข่งขันแข่งขันวิชาการ นักเรี ยนจะมีโอกาส ได้รับรางวัลต่าง ๆ ในระดับกลุ่มเครื อข่าย และระดับเขตพื้นที่การศึกษา ดังเช่น ปี การศึกษา 2552 นักเรียนได้ รับรางวัล ดังนี้ 1. ชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมอ่านทานองเสนาะ ช่วงชั้นที่ 2 (สพป.นศ.4) 2. ชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ช่วงชั้นที่ 1 (สพป.นศ.4)
14 3. รองชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมคัดลายมือ ช่วงชั้นที่ 1 (เครื อข่าย) 4. รองชนะเลิศรางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมร้องเพลงกล่อม เด็ก ช่วงชั้นที่2 (เครื อข่าย) 5. รองชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญเงิน ท่องอาขยาน ช่วงชั้นที่ 2 (เครื อข่าย) ปี การศึกษา 2553 นักเรียนได้ รับรางวัล ดังนี้ 1. รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. 1 - 3 (เครื อข่าย) 2. รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. 4- 6 (สพป.นศ.4) 3. รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมคัดลายมือ (เครื อข่าย) 4. รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมเขียนเรี ยงความ (เครื อข่าย) ปี การศึกษา 2554 นักเรียนได้ รับรางวัล ดังนี้ 1. รางวัลชมเชย การเขียนเรื่ องจากภาพ ตามโครงการพระผูท้ รงเป็ นครู แห่งแผ่นดิน 2. รางวัลรองชนะเลิศ การแต่งบทร้อยกรอง กาพย์ยานี 11 ตามโครงการพระผูท้ รงเป็ น ครู แห่งแผ่นดิน (สพป.นศ.4) 3. รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. 1 – 3 (เครื อข่าย) 4. รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. 4 – 6 (เครื อข่าย) 5. รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมคัดลายมือ (เครื อข่าย) 6. รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมเขียนเรี ยงความ(เครื อข่าย) ปี การศึกษา 2555 นักเรียนได้ รับรางวัลจากเครือข่ ายท่ าศาลา 2 ดังนี้ 1. รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.1-3 2. รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.4-6 3. รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมการแข่งขันการอ่าน ระดับชั้น ป.4-6 4. รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมแข่งขันเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้น ป.1-3 5. รางวัลระดับเหรี ยญทองแดงกิจกรรมแข่งขันเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้นป.4-6 6. รางวัลระดับเหรี ยญทองกิจกรรมการแข่งขัน“รวมศิลป์ สร้างสรรค์” ระดับชั้น ป.4-6 7. รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมการแข่งขันศิลป์ สร้างสรรค์ระดับชั้น ป.4-6
15
ปี การศึกษา 2556 นักเรียนได้ รับรางวัลจากเครือข่ ายท่ าศาลา 2 ดังนี้ 1. เด็กชายพชร ยวนแหล้ ได้ รับรางวัลชนะเลิศ มีคะแนนสูงสุด กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ในการสอบชิงทุน ค่ายการติวเข้ม O-NET กลุ่มเครื อข่ายท่าขึ้น 2. รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมแข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.4 3. รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมการแข่งขันการอ่าน ระดับชั้น ป.4-6 4. รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมแข่งขันเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้น ป.4-6 5. รางวัลระดับเหรี ยญทองแดงกิจกรรมแข่งขันเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้นป.4-6 6. รางวัลระดับเหรี ยญเงินกิจกรรมแต่งหนังสือเล่มเล็ก ระดับชั้น ป.4-6 2. ศิษย์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเป็ นที่น่าพอใจ ในแต่ละปี ครู ผสู ้ อนตั้งเป้ าหมายที่จะ พัฒนา โดยตั้งเป้ าหมายสูงขึ้น จากนั้นให้นกั เรี ยนกาหนดเป้ าหมายเป็ นรายบุคคล และเมื่อสิ้นปี การศึกษา นาผลการประเมินมาเปรี ยบเทียบ เพือ่ ทราบความก้าวหน้าทางการเรี ยน หาผลบวกผลต่าง และหาแนวทางในการพัฒนาในปี ต่อไป ซึ่งในปี การศึกษา 2553 – 2556 นักเรี ยนทุกชั้นที่รับผิดชอบมี สัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงกว่าเป้ าหมายที่ต้งั ไว้ ส่วนผลการประเมินระดับชาติ(
O-NET) ปี การศึกษา
2553-2555 มีผลการประเมินเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยร้อยละของระดับจังหวัด ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับประเทศ และปี การศึกษา 2556 มีคะแนนเท่ากับสังกัด ซึ่งเป็ นที่น่าพอใจ แม้โรงเรี ยนจะอยู่ ในสภาพที่มีปัญหาเรื่ องการอ่านการเขียนก็ตาม สะท้อนให้ความมานะพยายามในการจัดกิจกรรมการ เรี ยนการสอนตลอดเรื่ อยมา 3. ศิษย์สามารถวิเคราะห์วจิ ารณ์สภาพปั ญหาภาษาไทยที่พบเห็นในชีวติ ประจาวันได้อย่าง ถูกต้องและช่วยเสริ มสร้างแบบอย่างภาษาไทยที่ดีงามโดยการฝึ กฝนให้นกั เรี ยนรู ้จกั วิเคราะห์วจิ ารณ์ ปั ญหาภาษาไทยจากข่าวในหนังสือพิมพ์ รายการโทรทัศน์ อยูเ่ สมอ และร่ วมกันแสดงความคิดเห็นถึง ปั ญหานั้น ๆ ชี้ให้เห็นถึงที่มาของปั ญหาภาษาไทย พร้อมทั้งเสนอแนะ ให้ความรู ้ ในสิ่งที่ถูกต้อง และ สอนให้ผเู ้ รี ยนรู ้เท่าทันสื่อและเหตุการณ์ 4. ผลการสอนเป็ นแบบอย่างที่ดีที่เพือ่ นร่ วมงานในสาขาอื่น ๆ สามารถนาไปดัดแปลงให้เป็ น ประโยชน์ต่อการเรี ยนการสอนของตนเองได้
16 จรรยาบรรณต่ อตนเอง 1. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้ องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้ านวิชาชีพ บุคลิกภาพและ วิสัยทัศน์ ให้ ทันต่ อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สั งคม และการเมืองอยู่เสมอ ข้าพเจ้าได้มุ่งมัน่ พัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ ค้นคว้า แสวงหาความรู ้ ค้นหาเทคนิควิธีการ ปฏิบตั ิงานในทุกด้าน ทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพ และด้านวิสยั ทัศน์ดว้ ยวิธีการต่าง ๆ ที่ หลากหลาย เช่น การอ่าน ศึกษาด้วยตนเอง การเข้ารับฟังการเสวนา การเข้าร่ วมการประชุมสัมมนา ทางวิชาการ การเข้ารับการอบรมต่าง ๆ ตามที่หน่วยงานต้นสังกัดจัดให้มีข้ นึ จนมีความรอบรู ้ ทันสมัย ทันเหตุการณ์ สามารถนามาวิเคราะห์ กาหนดเป้ าหมายและหาแนวทางในการพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และวิชาชีพ นาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ประกอบการเรี ยนการสอน อีกทั้งการพัฒนา ตนเองให้ทนั ต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในยุคปั จจุบนั โดย นาความรู ้ประสบการณ์อนั หลากหลายเหล่านั้นมาใช้ในการปฏิบตั ิงานในหน้าที่ความรับผิดชอบที่ ได้รับมอบหมายสาเร็จตามเป้ าหมายที่กาหนดอย่างมีคุณภาพ เกิดประสิทธิผลของงานเชิงประจักษ์ เป็ นที่ยอมรับของผูป้ กครองนักเรี ยน คณะครู ในโรงเรี ยน ผูบ้ ริ หาร ตลอดจนเพือ่ นครู ต่างโรงเรี ยน อย่างกว้างขวาง เช่น การนาเสนอผลงานการจัดการเรี ยนการสอนที่ใช้นวัตกรรม “ หนังสื ออ่ าน เพิ่มเติม ชุด อนุรักษ์ ถิ่นใต้ บอกใบ้ ด้วยเพลงบอก ” ในระดับเครื อข่าย เขตพื้นที่ ระดับภาค และ ระดับชาติ กระทัง่ ได้รับรางวัล คือ “ครู ผู้สอนยอดเยี่ยม ” รางวัลเหรี ยญทอง รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับชาติ ครั้งที่ 63 พ.ศ. 2557 จาก สพฐ. จรรยาบรรณต่ อวิชาชีพ 2. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้ องรัก ศรัทธา ซื่อสั ตย์ สุจริต รับผิดชอบต่ อวิชาชีพและเป็ น สมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ ข้าพเจ้าตระหนักว่าอาชีพ ครู เป็ นอาชีพที่มีเกียรติ มีความสาคัญและจาเป็ นต่อสังคม ครู พงึ ปฏิบตั ิงานด้วยความเต็มใจและภูมิใจ รวมทั้งปกป้ องเกียรติภูมิของอาชีพครู เข้าร่ วมกิจกรรมและ สนับสนุนองค์กรวิชาชีพครู ข้าพเจ้าจึงมีความมุ่งมัน่ ต่อการเป็ นครู ที่ดี พัฒนาศิษย์ให้เจริ ญก้าวหน้าได้ อย่างเต็มศักยภาพ และถือเป็ นความรับผิดชอบของตนเอง ในการทาหน้าที่อย่างสมบูรณ์ต่อเมื่อศิษย์ ได้แสดงออกซึ่งผลแห่งการพัฒนานั้นแล้ว ข้าพเจ้าจึงต้องเรี ยนรู ้เกี่ยวกับศักยภาพของศิษย์แต่ละคน และทุกคน เลือกกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่เหมาะสม และสอดคล้องกับการพัฒนาตามศักยภาพนั้น ดาเนินการให้ศิษย์ได้ลงมือปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยน จนเกิดผลอย่างชัดแจ้ง
17 จรรยาบรรณต่ อผู้รับบริการ 3. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้ องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่ วยเหลือ ส่ งเสริม ให้ กาลังใจแก่ ศิษย์ และ ผู้รับบริการตามบทบาทหน้ าที่ โดยเสมอหน้ า ข้าพเจ้าตั้งใจ เสียสละ และอุทิศตนในการปฏิบตั ิงานในหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเต็มกาลัง สร้างความเป็ นมิตรเป็ นที่พ่งึ พาและไว้วางใจของนักเรี ยนทุกคน ให้ความเป็ นกันเองกับนักเรี ยนโดย ใช้คาพูดสุภาพเชิงบวกให้กาลังใจ พูดคุยซักถามความเป็ นอยูแ่ ละการเรี ยนของนักเรี ยน รับฟังปั ญหา ให้คาปรึ กษา ช่วยเหลือ ช่วยแก้ปัญหาส่วนตัวและปั ญหาทางบ้านแก่นกั เรี ยนและผูป้ กครองนักเรี ยน สร้างความรัก ความรู ้สึกเป็ นมิตร ความอบอุ่นแก่นกั เรี ยนเพือ่ ความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างครู และ นักเรี ยน ร่ วมกิจกรรมกับศิษย์อย่างเหมาะสม มุ่งหวังให้ศิษย์และหรื อผูร้ ับบริ การได้รับการพัฒนาให้ เป็ นคนดี มีความสามารถตามศักยภาพ โดย จัดกิจกรรมที่หลากหลายตามสภาพความแตกต่างของศิษย์ และจัดกิจกรรมร่ วมกันระหว่างครู ภายในโรงเรี ยน ผูป้ กครองและชุมชน เพือ่ สัมพันธภาพในการสร้าง ความรู ้สึกที่ดีต่อกัน เพือ่ ให้ศิษย์แต่ละประสบความสาเร็จ เป็ นระยะ ๆ อยูเ่ สมอ ตลอดจนชื่นชม เชิด ชูเกียรติ ให้โอกาสแก่ศิษย์ และผูร้ ับบริ การที่มีผลงานดีเด่น ได้เสนอผลงานต่อสาธารณชน โดยเสมอ หน้าเป็ นที่ประจักษ์ 5. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้ องประพฤติ ปฏิบัติตนเป็ นแบบอย่ างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และ จิตใจประพฤติ ปฏิบัติตนเป็ นแบบอย่ างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ข้าพเจ้าประพฤติ ปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ตัวอย่างแสดงถึง พฤติกรรมที่เป็ นรู ปธรรม ดังนี้ ข้าพเจ้าเป็ นผูม้ ุ่งมัน่ ที่จะเปลี่ยนแปลงหรื อพัฒนาตนเอง เตรี ยมพร้อมพัฒนาตนเองให้ทนั ต่อ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคมปั จจุบนั ในทุก ๆ ด้าน และปฏิบตั ิหน้าที่การจัดการเรี ยนรู ้เป็ นไป อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามแนวปฏิรูปการศึกษา เพราะได้พฒั นาตนเองอย่างสม่าเสมอ หลากหลายรู ปแบบ เช่น การศึกษาเอกสาร ศึกษาค้นคว้าเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง การฝึ กอบรม การศึกษาดู งาน การเข้าร่ วมกิจกรรมทางวิชาการ และแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั คณะครู ในโรงเรี ยนและต่างโรงเรี ยน ทาให้มีความรู ้ความเข้าใจและ นาองค์ความรู ้มาใช้จน เกิดประโยชน์สูงสุดกับผูเ้ รี ยน เปิ ดโอกาสให้ ผูป้ กครองและชุมชน จึงเป็ นผูม้ ีบทบาทสาคัญที่จะส่งเสริ มการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้ าหมาย ทุกปี การศึกษาโรงเรี ยนจะจัดให้มีโครงการต่างๆ ที่จะเสริ มประสบการณ์การเรี ยนรู ้แก่นกั เรี ยน ให้นกั เรี ยน ได้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์จริ ง
สร้างความเข้าใจ แสวงหาความร่ วมมือ ระหว่าง
ผูป้ กครอง นักเรี ยน และครู ทาให้เกิดการปรับเปลี่ยนทัศนคติที่ดีต่อกัน ส่งผลให้เกิดความรักความ
18 ผูกพัน ความรับผิดชอบร่ วมกันเพือ่ ให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ เป็ นคนดี มีคุณธรรม สามารถใช้ชีวติ ร่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข 6 . ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้ องไม่ กระทาตนเป็ นปฏิปักษ์ ต่ อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสั งคมของศิษย์ และผู้รับบริการ ข้าพเจ้าไม่กระทาตนเป็ นปฏิปักษ์ ต่อความเจริ ญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคม ของศิษย์ และผูร้ ับบริ การ ข้าพเจ้ามีความมุ่งมัน่ เป็ นครู ที่ดี และใช้วธิ ีสอนกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ มีประสิทธิภาพ สามารถรับรองได้วา่ นักเรี ยนจะเกิดการเรี ยนรู ้ และมีพฒั นาการที่ดีข้ นึ ในทุกด้าน ข้าพเจ้า ให้เวลาแก่นกั เรี ยนแต่ละคนได้เรี ยนรู ้ โดยพิจารณาความแตกต่างของบุคคล และใช้วธิ ีการ จัดการเรี ยนการสอนที่เหมาะสม เพือ่ จะช่วยให้เกิดการเรี ยนรู ้ทุกคนตามความถนัด และความสามารถ ของนักเรี ยนในการเรี ยนรู ้ อีกทั้งข้าพเจ้าได้สร้างโอกาสแก่นกั เรี ยน อย่างเสมอภาค โดยให้เวลา นักเรี ยนในการเรี ยนรู ้สิ่งที่ครู สอน ตามความพร้อม เพือ่ สามารถให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ตามความ ถนัดและความสามารถของทุกคน ช่วยให้นกั เรี ยนมีสมั ฤทธิ์ผลในการเรี ยน และสามารถนาความรู ้ที่ เรี ยนไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวันได้ 7. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้ องให้ บริการด้ วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่ เรียกรับหรือ ยอมรับผลประโยชน์ จากการใช้ ตาแหน่ งหน้ าที่โดยมิชอบ ข้าพเจ้ายึดมัน่ ในจรรยาบรรณต่อผูร้ ับบริ การ ให้บริ การด้วยความจริ งใจและเสมอภาค โดยไม่ เรี ยกรับ หรื อยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ ข้าพเจ้ามีความรักและเชื่อมัน่ ในอาชีพของตน ทางานอย่างมีความสุขและมุ่งมัน่ ข้าพเจ้าเชื่อมัน่ ว่า ความรักและเชื่อมัน่ ในอาชีพ ของตน และทางานอย่างมีความสุขและมุ่งมัน่ จะส่งผลให้อาชีพนั้นเจริ ญรุ่ งเรื องและมัน่ คง ดังนั้น เมื่อข้าพเจ้าประกอบวิชาชีพครู จึงย่อมรักและศรัทธาในอาชีพครู และเป็ นสมาชิกที่ดีขององค์กร วิชาชีพครู ดว้ ยความเต็มใจ จรรยาบรรณต่ อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ 8. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่ วยเหลือเกือ้ กูลซึ่งกันและกันอย่ างสร้ างสรรค์ โดยยึดมั่นใน ระบบคุณธรรม สร้ างความสามัคคีในหมู่คณะ ข้าพเจ้าประพฤติปฏิบตั ิตน จรรยาบรรณต่อผูร้ ่ วมประกอบวิชาชีพผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการ ศึกษา โดยการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ ยึดมัน่ ในระบบคุณธรรม สร้างความ สามัคคีในหมู่คณะ ร่ วมมือกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การพัฒนาระหว่างชุมชน การที่สมาชิก
19 ของสังคม ข้าพเจ้าในฐานะผูป้ ระกอบอาชีพครู ได้ให้ร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในทุกด้านด้วย ความเต็มใจ ให้ความร่ วมมือ แนะนา ปรึ กษาแก่เพือ่ นครู ตามโอกาส และความเหมาะสมอีกทั้งเข้า ร่ วมกิจกรรมและแนะนาแนวทางในการพัฒนางาน พัฒนาวิชาชีพ เมื่อเพือ่ นผูป้ ระกอบอาชีพประสบ ความสาเร็จในวิชาชีพ และร่ วมงานกับบุคลากรในองค์กรปฏิบตั ิหน้าที่ เพือ่ สร้างชื่อเสียงและความ เจริ ญก้าวหน้าขององค์กรด้วยความสามัคคี และขยันขันแข็ง ทาให้ องค์กรมีชื่อเสียงเป็ นที่ยอมรับ อัน ส่งผลให้เกิดพลังและศักยภาพในการพัฒนาวิชาชีพครู และการพัฒนาสังคมควบคู่กนั ไปด้วย จรรยาบรรณต่ อสั งคม 9.ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตน เป็ นผู้นาในการอนุรักษ์ และพัฒนา เศรษฐกิจ สั งคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่ งแวดล้ อม รักษาผลประโยชน์ ของส่ วนรวม และ ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย ในฐานะที่ครู เป็ นบุคลากรที่สาคัญทางการศึกษา ครู จึงควรเป็ นผูน้ าในการอนุรักษ์และพัฒนา ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย การเป็ นผูน้ าในการอนุรักษ์ คือ การริ เริ่ มดาเนินกิจกรรม สนับสนุน ส่งเสริ มภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยโดยรวบรวมข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ เลือกสรร ปฏิบตั ิตน และ เผยแพร่ ศิลปะ ประเพณี ในชุมชนเพือ่ ใช้ในการเรี ยนการสอน การดารงชีวติ ตนและสังคม ได้แก่ การรวบรวมข้อมูลและเลือกสรรภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมที่เหมาะสม มาใช้จดั กิจกรรมการ เรี ยนการสอน เช่น การนาไปศึกษาในแหล่งวิทยาการในชุมชน เป็ นต้น การเป็ นผูน้ าในอนุรักษ์และ พัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรม เช่น ฝึ ก การร้องเพลงบอก การสนับสนุนส่งเสริ มเผยแพร่ และร่ วมกิจกรรมทางประเพณี วฒั นธรรมของชุมชน อย่างสม่าเสมอ เช่น นาเพลงบอก มาสร้างเป็ น นวัตกรรม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก อีกทั้งนักเรี ยนในความรับผิดชอบของข้าพเจ้า นอกจากจะมีความรู ้ความสามารถและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามเป้ าหมายที่กาหนดในหลักสูตร แล้ว ข้าพเจ้าส่งเสริ มนักเรี ยนให้เข้าร่ วมกิจกรรมทางประเพณี วัฒนธรรมของท้องถิ่นอย่างสม่าเสมอ ด้วยเข้าร่ วมงานบุญเดือนสิบ งานลอยกระทง แห่เทียนพรรษา นอกจากนี้ ข้าพเจ้า ปฏิบตั ิตนเป็ น พลเมืองดี ใช้สิทธิ์ใช้เสียงในการเลือกตั้งทุกระดับทุกองค์กร ไม่เคยขาดการใช้สิทธิ์และช่วยเหลือทาง ราชการด้วยการเป็ นผูอ้ านวยการเลือกตั้งประจาหน่วยเลือกตั้ง เพือ่ ส่งเสริ มประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย ์ ทรงเป็ นประมุข และจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ก่อให้เกิด การป้ องกันและการแก้ไข ปั ญหาเศรษฐกิจ เช่น สนับสนุนให้นกั เรี ยนออมเงิน รู ้จกั จ่าย และจัดกิจกรรมส่งเสริ มให้นกั เรี ยนเกิด การเรี ยนรู ้และดาเนินการชีวติ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
20
ข้ าพเจ้ าขอรับรองว่ า ไม่มีกรณี ถูกดาเนินการทางวินยั มาก่อนหรื ออยูใ่ นระหว่างแต่งตั้งกรรมการ สอบสวนทางวินยั ข้ าพเจ้ าขอรับรองว่ า ข้อความดังกล่าวข้างต้นนี้ เป็ นความสัตย์จริ งทุกประการจึงลงลายมือชื่อ ไว้เป็ นหลักฐาน ลงชื่อ...................
..........................เจ้าของประวัติ (นางชไมพร ใบเรื อง) ตาแหน่งครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น
21
ข้าพเจ้า นายวิสุทธิศกั ดิ์ หวานพร้อม ตาแหน่งผูอ้ านวยการโรงเรี ยนวัดทางขึ้น เกี่ยวข้องเป็ น ผูบ้ งั คับบัญชา ขอรับรองว่า นางชไมพร ใบเรื อง มีประวัติการทางานดังกล่าวข้างต้นจริ ง ลงชื่อ........................................ผูเ้ สนอ (นางชไมพร ใบเรื อง) ตาแหน่ง ครู โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ลงชื่อ........................................ผูร้ ับรอง (นายวิสุทธิศกั ดิ์ หวานพร้อม) ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนวัดทางขึ้น