แบบรายงานประวัติและผลงานของครู เสนอเพื่อรับการประเมินผลงานรางวัลครูภาษาไทยดีเด่น

Page 1

แบบรายงานประวัติและผลงานของครู เสนอเพือ่ รับการประเมินผลงานรางวัลครูภาษาไทยดีเด่ น ประจาปี พุทธศักราช ๒๕๕๕ ระดับการสอน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ – ๖ สังกัด โรงเรี ยนวัดทางขึ้น อาเภอ ท่าศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราช เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต ๔ ตอนที่ ๑ ประวัติของครู ภาษาไทยที่เสนอเพื่อรับการคัดเลือก ๑. ชื่อ นางชไมพร นามสกุล ใบเรื อง ๒. ข้ อมูลส่ วนตัวและการศึกษา ๒.๑ เกิดเมื่อวันที่ ๗ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ สถานที่เกิดจังหวัด นครศรี ธรรมราช ๒.๒ ปั จจุบนั อายุ ๕๐ ปี ศาสนา พุทธ ๒.๓ ที่อยูป่ ั จจุบนั เลขที่ ๑๘๙/๓ หมู่ที่ ๑๒ ตาบล ท่าขึ้น อาเภอท่าศาลา

จังหวัดนครศรี ธรรมราช รหัสไปรษณี ย ์ ๘๐๑๖๐

โทรศัพท์

- โทรศัพท์เคลื่อนที่ ๐๘๕-๗๙๒-๔๒๖๙

๒.๔ ตาแหน่งหน้าที่ในปั จจุบนั  ครู อันดับ คศ.๒

 อาจารย์

 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์

 รองศาสตราจารย์  อื่นๆ........................................

๒.๕ ประวัติการศึกษา ปี ที่สาเร็จ ระดับการศึกษา วุฒิการศึกษา วิชาเอก/โท การศึกษา ๒๕๑๙ ประถมศึกษา ประกาศนียบัตรประถมศึกษา ตอนปลาย (ป.๗) ๒๕๒๒ มัธยมศึกษา ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษา ตอนต้น ตอนต้น (ม.ศ.๓) ๒๕๒๔ มัธยมศึกษา ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษา ตอนปลาย ตอนปลาย (ม.ศ.๕) ๒๕๓๐ ปริ ญญาตรี การศึกษาบัณฑิต วิชาเอก ภาษาไทย วิชาโท การแนะแนว

สถาบันการศึกษา โรงเรี ยนวัดเทวดาราม โรงเรี ยนท่าศาลา ประสิทธิ์ศึกษา โรงเรี ยนจันทร์ประดิษฐา รามวิทยาคม มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทร วิโรฒ กรุ งเทพฯ


๒ ๒.๖ ความรู ้ความสามารถพิเศษ ๒.๖.๑ ความสามารถด้านการอ่านทานองเสนาะ ร้องเพลงร้องเรื อ และร้องเพลงบอก มีความ สามารถ พิเศษด้านการอ่านทานองเสนาะ ร้องเพลงร้องเรื อ และร้องเพลงบอก อันเป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้ผเู ้ รี ยนเกิดความรัก หวงแหนและภาคภูมิใจในภาษาไทย และภูมิปัญญา ปราชญ์ชาวบ้าน ซึ่งเป็ นเอกลักษณ์และมรดกทางวัฒนธรรมของชาติเป็ นอย่างดียงิ่ ที่สมารถเชื่อมโยงสู่ การอ่าน การฟัง การดู และการพูด การเขียน หลักเกณฑ์ทางภาษา การใช้ภาษาในการสื่อสาร เข้าใจ ซาบซึ้ง และเห็นคุณค่าของวรรณคดีไทย ผลแห่งความสาเร็จจากการ ได้ฝึกสอนนักเรี ยนอ่านทานองเสนาะ ท่องบทอาขยาน ร้องเพลงร้องเรื อ ให้มีนกั เรี ยนทักษะความชานาญ จนได้รับรางวัลระดับ เหรี ยญทอง ทั้งระดับเครื อข่าย และระดับเขตพืน้ ที่การศึกษา ๒.๖.๒ ความรู ้สามารถด้าน ในการใช้คอมพิวเตอร์ ในยุคแห่งการสื่อสารไร้พรมแดน ทาให้ตอ้ งศึกษาค้นคว้า อบรมพัฒนาตนเองให้เรี ยนรู ้ และเข้าใจระบบสื่อไอที คอมพิวเตอร์ เพือ่ จะได้กา้ วให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและความ เจริ ญทางวิทยาการที่ไม่หยุดนิ่ง จนมีความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์เป็ นอย่างดี ได้นาความรู ้มาผลิต สื่อ นวัตกรรม เพือ่ ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้นกั เรี ยนได้พฒั นาเต็มศักยภาพ และพัฒนา ตนเองเป็ นครู มืออาชีพ ผลที่ได้รับคือนักเรี ยน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงขึ้น ผ่านเกณฑ์ที่โรงเรี ยนเป้ าหมายไว้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ใน ปี การศึกษา ๒๕๕๓ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ มีผลการประเมินระดับชาติ (O-NET) ร้อยละ๓๖.๐๙ เป็ นลาดับ ๔ ของเครื อข่ายท่าศาลา ๒ จากจานวนโรงเรี ยนทั้งหมด ๒๕ โรงเรี ยน มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าระดับจังหวัด ระดับสังกัด และระดับประเทศ และ ปี การศึกษา ๒๕๕ ๔ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ นี้ มีผลการประเมินระดับชาติ ( O-NET) ร้อยละ๕๔ มีค่าเฉลี่ยสูงกว่า ระดับจังหวัด ระดับสังกัด และระดับประเทศ เช่นกัน ทาให้เกิดความภาคภูมิใจแก่นกั เรี ยน ตนเอง คณะ ครู ผูบ้ ริ หาร และโรงเรี ยน ตลอดจนผูป้ กครอง ชุมชน ส่งผลดีต่อการศึกษาในระดับชาติเป็ นประการ สาคัญ ๓. ประวัติการทางานตั้งแต่ ต้นจนถึงปัจจุบัน วัน – เดือน - ปี ตาแหน่ ง ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๑ อาจารย์ ๑ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๒ อาจารย์ ๑ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๓ อาจารย์ ๑

สอนชั้น/ระดับ ประถมศึกษาปี ที่ ๔ ประถมศึกษาปี ที่ ๔ ประถมศึกษาปี ที่ ๔

สถานที่ทางาน โรงเรี ยนบ้านหนองตาเยา โรงเรี ยนบ้านหนองตาเยา โรงเรี ยนบ้านหนองตาเยา


วัน – เดือน - ปี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๔ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๕ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๖ ๑ มิถุนายน ๒๕๓๗ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๓๘ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๙ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๐ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๑ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๓ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๔ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๕ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๖ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๗ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๔๗ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๘ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๐ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๑ ๑๓ มกราคม ๒๕๕๒ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๔

ตาแหน่ ง อาจารย์ ๑ อาจารย์ ๑ อาจารย์ ๑ อาจารย์ ๑ อาจารย์ ๒ อาจารย์ ๒ อาจารย์ ๒ อาจารย์ ๒ อาจารย์ ๒ อาจารย์ ๒ อาจารย์ ๒ อาจารย์ ๒ อาจารย์ ๒ อาจารย์ ๒ ครู ครู ครู ครู ครู ครู ครู ครู ครู ครู

สอนชั้น/ระดับ ประถมศึกษาปี ที่ ๔ ประถมศึกษาปี ที่ ๔ ประถมศึกษาปี ที่ ๔ ประถมศึกษาปี ที่ ๕-๖ ประถมศึกษาปี ที่ ๕-๖ ประถมศึกษาปี ที่ ๕-๖ ประถมศึกษาปี ที่ ๕-๖ ประถมศึกษาปี ที่ ๕-๖ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑-๓ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑-๓ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑-๓ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑-๓ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑-๓ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑-๓ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑-๓ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑-๓ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑-๓ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑-๓ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑-๓ ประถมศึกษาปี ที่ ๓-๖ ประถมศึกษาปี ที่ ๓-๖ ประถมศึกษาปี ที่ ๓-๖ ประถมศึกษาปี ที่ ๓-๖ ประถมศึกษาปี ที่ ๓-๖

สถานที่ทางาน โรงเรี ยนบ้านหนองตาเยา โรงเรี ยนบ้านหนองตาเยา โรงเรี ยนบ้านหนองตาเยา โรงเรี ยนบ้านควนสวรรค์ โรงเรี ยนบ้านควนสวรรค์ โรงเรี ยนบ้านควนสวรรค์ โรงเรี ยนบ้านควนสวรรค์ โรงเรี ยนบ้านควนสวรรค์ โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง โรงเรี ยนบ้านพังปริ ง โรงเรี ยนวัดทางขึ้น โรงเรี ยนวัดทางขึ้น โรงเรี ยนวัดทางขึ้น โรงเรี ยนวัดทางขึ้น โรงเรี ยนวัดทางขึ้น


๔ ๔. ประวัติการสอนภาษาไทย ๔.๑ เริ่ มสอนภาษาไทยครั้งแรก เมื่อวันที่ ๑ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๑ ในระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ สถานศึกษา โรงเรี ยนบ้านหนองตาเยา ตาบล หนองแวง อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ สังกัดสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ๔.๒ ปั จจุบนั สอนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ - ๖ สถานศึกษา โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ตาบล ท่าขึ้น อาเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช รหัสไปรษณี ย ์ ๘๐๑๖๐ โทรศัพท์ ๐๗๕- ๓๔๘๖๖๘ ๔.๓ สอนภาษาไทยต่อเนื่องกันเป็ นเวลา ๒๔ ปี ๕. ผลการค้นคว้ า วิจัย ตาราแบบเรียน การพัฒนาสื่ อการเรียนการสอนที่สามารถยึดถือเป็ นแบบอย่ างได้ ได้จดั กิจกรรมการเรี ยนการสอน อย่างเต็มความรู ้เต็มความสามารถ พัฒนาการเรี ยนการสอน อย่างมีระบบ มีการเตรี ยมการสอนอย่างสมบูรณ์ โดยเริ่ มจากการศึกษาวิเคราะห์หลักสูตร จัดทา โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรี ยนรู ้ จัดทาแผนจัดการเรี ยนรู ้ เตรี ยมสื่อการสอน การวัดและประเมินที่ หลากหลาย ดาเนินการจัดการเรี ยนรู ้เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญโดยใช้วธิ ีการสอนหลายรู ปแบบ เช่น การเรี ยนแบบร่ วมแรงร่ วมใจ เพือ่ ฝึ กฝนให้นกั เรี ยนทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น รู ้จกั แก้ปัญหาและยอมรับซึ่งกัน และกัน ใช้วธิ ีสอนแบบความคิดรวบยอด สอนแบบการเรี ยนรู ้จากห้องสมุด เป็ นการส่งเสริ มการอ่าน รู ้จกั การแสวงหาข่าวสาร ความรู ้ประสบการณ์ ความเพลิดเพลิน และปลูกฝังการใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยนแก่ผเู ้ รี ยน รวมทั้งส่งเสริ มให้นกั เรี ยนได้พฒั นาเต็มศักยภาพตามตามหลักสูตร ด้วยการใช้กระบวนการต่าง ๆ ช่วย ให้ผเู ้ รี ยนสร้างความคิดรวบยอดจากการสังเกต จาแนกประเภทและจัดหมวดหมู่ ด้านสื่อการเรี ยนการสอน ได้พยายามศึกษา ค้นคว้าองค์ความรู ้ต่าง ๆ ทั้งในหลักวิชา และ ความรู ้เพิม่ เติมอยูต่ ลอดเวลา เพือ่ ใช้ในการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมที่หลากหลายรู ปแบบ ที่สามารถสนอง ความต้องการของผูเ้ รี ยนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยนาสื่อ นวัตกรรมที่ผลิตขึ้น มาใช้กิจกรรม การเรี ยนสอน ให้สอดคล้องสาระการเรี ยนรู ้ ตัวชี้วดั และกิจกรรม การเรี ยนรู ้ และนานวัตกรรมที่สร้าง ขึ้นมาใช้ในการวิจยั ในชั้นเรี ยน ให้สอดคล้องกับสภาพปั ญหาของนักเรี ยน เพือ่ ให้นกั เรี ยนมีความ สนุกสนานในการเรี ยน และเรี ยนรู ้ร่วมกันอย่างมีความสุข อันจะส่งผลให้ผเู ้ รี ยนทุกคน มีผลการเรี ยนรู ้ เป็ นไปตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และเป้ าหมายของหลักสูตร การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมที่ใช้ในการกิจกรรมการเรี ยนการสอนอย่างต่อเนื่อง และสามารถเป็ น แบบอย่างได้ มีดงั ต่อไปนี้ - ใบความรู ้ สาระที่ ๑ - ๔ ใช้สอนนักเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓, ๕ - ๖ - ใบความรู ้ สาระที่ ๔ เล่ม ๑ - ๒ ใช้สอนนักเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓, ๕ - ๖ - เอกสารประกอบการสอนสาระที่ ๑ - ๔ ใช้สอนนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑- ๓


๕ - เอกสารประกอบการสอน เรื่ อง การเขียนโครงงานภาษาไทย ใช้สอนนักเรี ยน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ – ๖ - เอกสารประกอบการสอน เรื่ อง สานวนคนนคร สอนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ - ๖ - เอกสารประกอบการสอน เรื่ อง เพลงร้องเรื อ สอนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ - ๖ - เอกสารประกอบการสอน เรื่ อง นิทานพืน้ บ้านภาคใต้ ใช้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓, ๕ - ๖ - แบบฝึ กทักษะภาษาไทย สอนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓, ๕ - ๖ - แบบฝึ กทักษะการเขียน ใช้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ - การเขียนเรื่ องจากภาพ ใช้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓, ๕ - ๖ - แบบฝึ กเสริ มความรู ้ ใช้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓, ๕ - แบบฝึ กคัดลายมือ ใช้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓, ๕ - ๖ - แบบฝึ กการเขียนตามคาบอก ใช้สอนนักเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ - ๖ - บทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ใช้สอนนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ จานวน ๔ เล่ม ดังนี้ เล่ม ๑ คาประสม เล่ม ๒ คาซ้อน เล่ม ๓ คาซ้ า เล่ม ๔ คาสมาส - หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ใช้สอนนักเรี ยนระดับชั้น ประถมศึกษาปี ที่ ๖ จานวน ๖ เล่ม ดังนี้ เล่ม ๑ ถ้อยคาเรี ยงเสียงเพลงบอก เล่ม ๒ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกโท่ เล่ม ๒ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกโท่ เล่ม ๒ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกโท่ เล่ม ๒ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกโท่ เล่ม ๒ ไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน ลูกโท่ ผลแห่งความสาเร็จ จากการมุ่งมัน่ ศรัทธาในวิชาชีพ และตั้งใจจริ งต่อการพัฒนา สื่อ พัฒนาการเรี ยนการสอนภาษาไทย ทาให้ส่งผลดีและสร้างชื่อเสียงแก่ นักเรี ยน ตนเอง คณะครู โรงเรี ยน ผูป้ กครอง ชุมชนและเขตพื้นที่การศึกษาโดยรวม จน ได้นกั เรี ยนรับรางวัล เกียรติยศ จากกลุ่ม โรงเรี ยนและรางวัลจากเขตพื้นที่การศึกษามากมาย ได้แก่


๖ ปี การศึกษา ๒๕๕๒ นักเรี ยนได้รับรางวัลจากกลุ่มเครื อข่าย และ สานักงานเขต พื้นที่การศึกษานครศรี ธรรมราช เขต ๔ - ชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมอ่านทานองเสนาะ ช.ช.2 - ชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ช.ช.1 - รองชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมคัดลายมือ ช.ช.1 - รองชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมร้องเพลงกล่อมเด็ก ช.ช.2 - รองชนะเลิศ รางวัลเหรี ยญเงิน ท่องอาขยาน ช.ช.2 ปี การศึกษา ๒๕๕๓ นักเรี ยนได้รับรางวัลจากกลุ่มเครื อข่าย และ สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษานครศรี ธรรมราช เขต ๔ - รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. ๑-๓ - รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. ๔-๖ - รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมคัดลายมือ - รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมเขียนเรี ยงความ ปี การศึกษา ๒๕๕๔ นักเรี ยนได้รับรางวัลจากกลุ่มเครื อข่าย และ สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษานครศรี ธรรมราช เขต ๔ - รางวัลรองชนะเลิศ การแต่งบทร้อยกรอง กาพย์ยานี ๑๑ ตามโครงการพระผูท้ รง เป็ นครู แห่งแผ่นดิน - รางวัลรองชมเชย การเขียนเรื่ องจากภาพ ตามโครงการพระผูท้ รงเป็ นครู แห่ง แผ่นดิน - รางวัลเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. ๑-๓ - รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมท่องอาขยาน ระดับชั้น ป. ๔-๖ - รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมคัดลายมือ - รางวัลเหรี ยญเงิน กิจกรรมเขียนเรี ยงความ สาหรับครู ผสู ้ อน จากการปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยจิตวิญญาณแห่งความเป็ นครู ส่งผลให้ได้ รับ รางวัล เกียรติยศ จากกลุ่ม เครื อข่าย และรางวัลจาก สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรี ธรรมราช เขต ๔ ดังนี้ - ปี ๒๕๔๙ ได้รับรางวัล ครู ผสู ้ อนภาษาไทย ระดับดีเยีย่ ม - ปี ๒๕๕๑ ได้รับรางวัล ครู ดีศรี จรรยาบรรณ


๗ - ปี ๒๕๕๒ ได้รับเกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องบทอาขยาน ระดับชั้น ป.๑-๓ ได้รับเกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเงิน กิจกรรมท่องบทอาขยาน ระดับชั้น ป.๔-๖ ได้รับเกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเงิน กิจกรรมร้องเพลงกล่อมเด็ก ระดับชั้น ป.๔-๖ - ปี ๒๕๕๓ ได้รับเกียรติ ครู ผฝู ้ ึ กสอน การแปรรู ปอาหาร ระดับชั้น ป.๔-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ระดับชาติ ปี การศึกษา ๒๕๕๓ (สพฐ.) ได้รับรางวัลผลงานวิจยั ชั้นเรี ยน ระดับดี (สพป.) ได้รับเกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมท่อง บทอาขยาน ระดับชั้น ป.๔-๖ (สพป.) ได้รับเกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับทอง กิจกรรมท่องบทอาขยาน ระดับชั้น ป.๔-๖ (เครื อข่าย) ได้รับเกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับทอง กิจกรรมหนังสือเล่มเล็ก ระดับชั้น ป.๔-๖ (เครื อข่าย) - ปี ๒๕๕๔ ได้รับรางวัล หนึ่งแสนครู ดี (คุรุสภา) ได้รับรางวัลดาวแห่งความดี (นิตยสารคนสร้างชาติ) ได้รับเกียรติบตั ร ได้เสนอผลงานการสอนวิชาภาษาไทยเพือ่ ได้รับคัดสรรรางวัลครู ภาษาไทยดีเด่น ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๔(คุรุสภา) ได้รับเกียรติบตั รได้เข้าร่ วมส่งผลงานกิจกรรมการ เรี ยนรู ้เพือ่ ส่งเสริ มการคิด (สพป.) ได้รับเกียรติบตั ร เป็ นครู ผสู ้ อนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรม สร้างสรรค์ภาพด้วยการปะติด ป.๔-๖ ระดับภาคใต้ (สพฐ.) ได้รับเกียรติบตั ร เป็ นผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรม สร้างสรรค์ภาพด้วยการปะติด ระดับชั้น ป.๔-๖ (สพป.) ได้รับเกียรติบตั ร เป็ นผูฝ้ ึ กสอนนักเรี ยนได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมการ แข่งขันโครงงานอาชีพ ระดับชั้น ป.๔-๖ (สพป.) ได้รับเกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมท่องบท อาขยาน ระดับชั้น ป.๑-๓ (เครื อข่าย)


๘ ได้รับเกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมท่องบทอาขยาน ระดับชั้น ป.๔-๖ (เครื อข่าย) ได้รับเกียรติบตั ร ผูฝ้ ึ กสอนเด็กได้รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมเขียนเรี ยงความ ระดับชั้น ป.๔-๖ (เครื อข่าย) ตอนที่ ๒ คุณสมบัติของครู ภาษาไทยตามหลักเกณฑ์ ที่กาหนด คุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ ทั่วไป ๑. มีความประพฤติดีปฏิบัติตนตามมาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ)และ มาตรฐานการปฏิบัติงานของครู ดังนี้ ๑.๑ มาตรฐานการปฏิบัติตน(จรรยาบรรณวิชาชีพ) จรรยาบรรณต่ อตนเอง ๑.๑.๑ ประกอบอาชีพครู ดว้ ยความตั้งใจ มุ่งมัน่ ตรงต่อเวลา และอุทิศเวลาในการ อบรม สัง่ สอนศิษย์เป็ นเวลานาน พัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ ทั้งการค้นคว้าหาความรู ้เพิม่ เติมและอบรมสัมมนา นาความรู ้ที่ได้มาพัฒนานักเรี ยนและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั เพือ่ นร่ วมงาน สามารถเป็ นแบบอย่างที่ดีต่อ นักเรี ยนและเพือ่ นร่ วมงาน จนได้รับยกย่องเป็ น ครู ดีศรีจรรยาบรรณ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครศรี ธรรมราช เขต ๔ จรรยาบรรณต่ อวิชาชีพ ๑.๑.๒ มีความรัก ศรัทธา และมีเจตคติที่ดี ในวิชาชีพครู นาความรู ้ และหลักวิชาที่ มัน่ ใจถูกต้อง มาใช้ในการพัฒนาเทคนิคการสอน วิธีการใหม่ ๆ เพือ่ พัฒนาวิชาชีพ และพัฒนานักเรี ยนให้ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเป็ นคนดี อีกทั้งมีความซื่อสัตย์สุจริ ต รับผิดชอบงานในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย จนสาเร็จในเวลาที่กาหนดและร่ วมมือร่ วมกิจกรรมขององค์กรอย่างสม่าเสมอ จรรยาบรรณต่ อผู้รับบริการ ๑.๑.๓ รักและเมตตาศิษย์ โดยการเอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริ ม ให้กาลังใจในการศึกษา เล่าเรี ยนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า มุ่งหวังให้ศิษย์ได้รับการพัฒนาเป็ นคนดี มีความสามารถตามศักยภาพ ความถนัดและความสนใจของแต่ละบุคคล ๑.๑.๔ อบรม สัง่ สอน ฝึ กฝน สร้างความรู ้ ทักษะ และนิสยั ที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์ดว้ ย ความบริ สุทธิ์ใจอย่างต่อเนื่อง ยกย่องชมเชยและให้โอกาสแก่ศิษย์ ๑.๑.๕ เป็ นแบบอย่างที่ดีต่อนักเรี ยนและเพือ่ นร่ วมงานในการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม การพัฒนาการเรี ยนการสอน และศึกษาค้นคว้าความรู ้มาพัฒนานักเรี ยนจนเป็ นที่ยอมรับ


๙ ๑.๑.๖ ส่งเสริ มให้นกั เรี ยนได้รับความรู ้ตลอดเวลา เชิดชูเกียรติและให้โอกาสแก่ศิษย์มี ผลงานดีเด่นต่อสาธารณชน โดยการส่งเสริ มให้นกั เรี ยนเข้าร่ วมกิจกรรมแข่งขันวิชาการตามความสามารถ ของบุคคล ตั้งแต่ระดับโรงเรี ยน เครื อข่ายและเขตพื้นที่การศึกษา ๑.๑.๗ จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้นกั เรี ยนได้รับความรู ้ท้งั ในเวลาเรี ยนและนอก เวลาเรี ยน อุทิศเวลาให้กบั ทางราชการ โดยการสอนเสริ มในทุกตอนเย็น และสอนพิเศษเพิม่ เติมในวัน เสาร์ และวัน อาทิตย์ เพือ่ ให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน สูงขึ้น โดยมิได้ เรี ยกร้องเอาประโยชน์อามิสสินจ้างใด ๆ จากผูเ้ รี ยน จรรยาบรรณต่ อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ๑.๑.๘ มีความเสียสละ เอื้ออาทรต่อเพือ่ นร่ วมงานที่ได้รับความเดือดร้อน เมื่อเพือ่ น ร่ วมงานประสบความสาเร็จในวิชาชีพ ก็ยกย่องเชิดชูและแสดงความยินดีดว้ ยความจริ งใจ รวมทั้ง ร่ วมงานกับบุคลากรในองค์กรปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความสามัคคี ทาให้โรงเรี ยนมีชื่อเสียงเป็ นที่ยอมรับ และ มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ให้คาปรึ กษากับคณะครู ในโรงเรี ยนในเรื่ องการจัดกิจกรรมการเรี ยน การสอน งาน ในกลุ่มบริ หารวิชาการ งานในระดับกลุ่มเครื อข่าย และงานในระดับเขตพื้นที่การศึกษาอย่างเป็ น กัลยาณมิตร จรรยาบรรณต่ อสั งคม ๑.๑.๙ ปฏิบตั ิตนเป็ นพลเมืองดี ใช้สิทธิ์ในการเลือกตั้งทุกระดับทุกองค์กร ส่งเสริ ม สนับสนุนให้นกั เรี ยนเป็ นแบบอย่างในการปกครองระบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ น ประมุข จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ บูรณาการสอด แทรกการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ตลอดจนให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ๑.๒ มาตรฐานการปฏิบัติงานของครู ๑.๒.๑ ปฏิบตั ิกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครู อยูเ่ สมอ - เป็ นหัวหน้ากลุ่มบริ หารวิชาการ อันเป็ นหัวใจหลักของการจัดการศึกษาให้เกิดผลดี ต่อทุกคนในองค์กร ผลผลิต คือ นักเรี ยนมีคุณภาพและประสิทธิภาพ - เป็ นคณะทางานในโครงการ กิจกรรมของกลุ่มบริ หารวิชาการ ได้แก่ โครงการ พัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้นกั เรี ยน กิจกรรมพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน กิจกรรมวัดผลประเมินการ เรี ยนรู ้ กิจกรรมพัฒนาการอ่านการเขียน กิจกรรมนานักเรี ยนศึกษาแหล่งเรี ยนรู ้ - ได้เข้ารับการอบรม ประชุม และสัมมนา ดังนี้ อบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง เพลงบอก ศาสตร์-ศิลป์ ที่ควรรู ้และบทบาทของครู ผู ้ ส่งเสริ ม ครั้งที่ ๓ ในวันที่ ๒๐ - ๒๑ มกราคม ๒๕๕๕


๑๐ อบรมครู ภาษาไทย ระดับกลาง ตามโครงการพัฒนาครู ท้งั ระบบ วันที่ สิงหาคม ๒๕๕๔ ประชุมสัมมนา เรื่ อง การประเมินทักษะการใช้ชีวติ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ วันที่ สิงหาคม ๒๕๕๔ อบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง เพลงบอก ศาสตร์-ศิลป์ ที่ควรรู ้และบทบาทของครู ผสู ้ ่งเสริ ม ครั้งที่ ๒ในวันที่ ๒๐ - ๒๑ มกราคม ๒๕๕๔ ประชุมสัมมนา “ส่งเสริ มศีลธรรม คุณธรรม จริ ยธรรม และจรรยาบรรณของผู ้ ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา” ในวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓ อบรมการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๓ ในวันที่ ๑๖ - ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ พัฒนาทักษะ ความสามารถและประสบการณ์ในการอ่านบทร้อยกรอง “อ่านบทร้อย กรองทานองเสนาะ ” ในวันที่ ๔ - ๕ มีนาคม ๒๕๕๒ อบรมครู เรื่ อง การวัด - ประเมินผลการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน ในวันที่ ๘ - ๙ ธันวาคม ๒๕๕๒ อบรมหลักสูตร Microsoft word , Excel ในวันที่ ๒๑-๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๒ อบรมหลักสูตร e - training สาหรับข้าราชการเพือ่ ให้มีหรื อเลื่อนวิทยฐานะชานาญ พิเศษ วันที่ ๒๓ - ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ๑.๒.๒ ตัดสินใจปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆโดยคานึงถึงผลที่เกิดกับผูเ้ รี ยน โดยได้เข้าร่ วมอบรม สัมมนา แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้อยูเ่ สมอและนาความรู ้มาพัฒนาการสอน ฝึ กฝนทักษะให้กบั นักเรี ยนทุกด้าน และส่งนักเรี ยนเข้าร่ วมแข่งขันวิชาการ นักเรี ยนได้รับรางวัลเกียรติยศทั้งระดับ โรงเรี ยน กลุ่มเครื อข่าย และระดับเขตพื้นที่ ๑.๒.๓ มุ่งมัน่ พัฒนาผูเ้ รี ยนให้เต็มตามศักยภาพ จัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ โดยการศึกษาเด็กเป็ นรายบุคคล นาผลมาจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้สอดคล้องกับความสามารถ และความต้องการของผูเ้ รี ยน เน้นให้ปฏิบตั ิลงมือทาจริ ง สรุ ปความรู ้ดว้ ยตนเอง ทาให้เกิดการเรี ยนรู ้ที่ แท้จริ ง และมีความเป็ นเลิศ สามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้ดี ๑.๒.๔ พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบตั ิได้เกิดผลจริ ง ได้ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตร จัดทาโครงสร้างวิชา จัดทา หน่วยการเรี ยนรู ้ และออกแบบการสอน จัดทา แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ให้ สอดคล้องกับต้องการของผูเ้ รี ยน และท้องถิ่น คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ดาเนินการสอนโดย ใช้วธิ ีสอน ใหม่ ๆ เน้นให้นกั เรี ยนลงมือทาจริ ง สรุ ปองค์ความรู ้ดว้ ยตนเอง ส่งเสริ มให้นกั เรี ยนสร้าง ชิ้นงาน และเก็บรวบรวมผลงานเด่นในแฟ้ มสะสมผลงาน


๑๑ ๑.๒.๕ พัฒนาสื่อการสอนให้มีประสิทธิภาพอยูเ่ สมอ ได้ศึกษา ค้นคว้า พัฒนาตนเอง ใฝ่ เรี ยนรู ้ตลอดเวลา และนาความรู ้มาผลิตสื่อการสอนร่ วมกับผูเ้ รี ยนอย่างหลากหลาย นาไปใช้ให้สอดคล้อง กับสาระการเรี ยนรู ้ รวมทั้งมีการประเมินผลการใช้สื่อและแหล่งเรี ยนรู ้ เช่น - จัดทาใบความรู ้สาระต่าง ๆ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ - ๖ - จัดทาเอกสารประกอบการสอนสาระที่ ๑ - ๔ ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ - ๖ - จัดทาเอกสารประกอบการสอน เรื่ องการเขียนโครงงาน โครงงานภาษาไทย ใช้สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ - ๖ - จัดทาแบบฝึ กทักษะภาษาไทย สาหรับใช้สอนในชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ - ๖ - สร้างบทเรี ยนสาเร็จรู ป กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา - สร้างหนังสืออ่านเพิม่ เติม กลุ่มสาระการเรี ยนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ เรื่ อง อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก - สร้างแบบทดสอบก่อนเรี ยน-หลังเรี ยน ๑.๒.๖ จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน โดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผเู ้ รี ยน ใช้เทคนิค วิธีการ สอนต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพผูเ้ รี ยน ให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ฝึ กทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน ที่สอดคล้องกับความสามารถและความสนใจของผูเ้ รี ยน เพือ่ ให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ให้ มากที่สุดและนาความรู ้ไปประยุกต์ใช้ในชีวติ จริ งรวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมและ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สงั คมคาดหวัง ๑.๒.๗ รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รี ยนได้อย่างมีระบบ เมื่อเสร็จสิ้นการจัด กิจกรรมการเรี ยนการสอน จะบันทึกผลการสอนทุกครั้ง เพือ่ รายงานผลการสอน และนาปั ญหาอุปสรรค มาวิเคราะห์หาสาเหตุ โดยการแนะนา ให้คาปรึ กษา และทาวิจยั ชั้นเรี ยน ซึ่งได้รับรางวัลการทาวิจยั ในชั้น เรี ยนแบบง่าย ระดับดี จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้ง รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รี ยน ให้ผปู ้ กครองทราบ ภาคเรี ยนละ ๑ ครั้ง เพือ่ ร่ วมกันช่วยเหลือนักเรี ยนให้ประสบผลสาเร็จ ๑.๒.๘ ปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ผเู ้ รี ยนทั้งในโรงเรี ยนและนอกโรงเรี ยน ด้วยการ ปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณครู นาความดีที่เป็ นแบบอย่างไปอบรมสัง่ สอนศิษย์ตลอดเวลา เปิ ดโอกาสให้ เพือ่ นครู และผูป้ กครองแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานของตนอย่างอิสระ พร้อมกับยอมรับ ความคิดเห็นอย่างใจเป็ นธรรม ๑.๒.๙ ร่ วมมือกับผูอ้ ื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ เมื่อได้รับมอบหมายงานใด ๆ จะ ร่ วมมือกับผูอ้ ื่นในสถานศึกษา ประชุม ศึกษาเรื่ องนั้น ๆ ร่ วมกัน ยอมรับฟังความคิดเห็นของกันและกัน เพือ่ ให้งานสาเร็จลุล่วงตามจุดหมายที่วางไว้ มีการสรุ ปผล ประเมินผลการทางานร่ วมกัน เพือ่ นาเสนอ ปั ญหา อุปสรรค และช่วยคิดหาแนวทางพัฒนางานนั้นให้เป็ นผลสาเร็จ


๑๒ ๑.๒.๑๐ ร่ วมมือกับผูอ้ ื่นอย่างสร้างสรรค์ ในชุมชน โดยการร่ วมมือกับเพือ่ นครู เพือ่ ประสานงานดาเนินการแข่งขันกีฬากลุ่มเครื อข่าย ร่ วมมือกับชุมชนในการนานักเรี ยนเข้าร่ วมพิธีทาง ศาสนาและกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน เช่น วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันพ่อแห่งชาติ วันแม่ แห่งชาติ ร่ วมมือกับสาธารณสุขตาบล ดาเนินการกิจกรรมต่าง ๆ ด้านอนามัยของชุมชน เช่น กาจัดยุงลาย ส่งเสริ มสุขภาพนักเรี ยน ๑.๒.๑๑ แสวงหาและใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการพัฒนา โดยใช้อินเทอร์เน็ต ศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกับเรื่ องต่าง ๆ ที่เป็ นประโยชน์ และสามารถนามาเป็ นแนวทางพัฒนาตนเอง พัฒนานักเรี ยนและ พัฒนาโรงเรี ยนให้กา้ วไปสู่สิ่งที่ดีข้ นึ ๑.๒.๑๒ สร้างโอกาสให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ทุกสถานการณ์ ด้วยการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ หลากหลายให้ผเู ้ รี ยนได้เลือกเรี ยนรู ้ แสวงหาความรู ้ ตามความสนใจจากแหล่งเรี ยนรู ้ท้งั ในและนอก ห้องเรี ยน ชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาตามศักยภาพและเต็มศักยภาพ ๒. มีบุคลิกภาพ ประกอบด้วย ๒.๑ แต่งกาย สะอาด เรี ยบร้อยตามประเพณี นิยม ถูกระเบียบเหมาะสมกับกาลเทศะ ๒.๒ มีท่วงทีวาจาสุภาพเรี ยบร้อย มีกิริยามารยาทดี ยิม้ แย้มแจ่มใส สามารถเข้ากับคนอื่น ได้ดี พยายามควบคุมอารมณ์อยูเ่ สมอ มีความกระตือรื อร้นในการทางานและกิจกรรมต่าง ๆ ๒.๓ ประพฤติปฏิบตั ิเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ ปฏิบตั ิตนในชีวติ ประจาวันอย่างมีคุณธรรม จริ ยธรรมตามคาสอนพุทธศาสนา เป็ นแบบอย่างของนักเรี ยนในเรื่ องความขยันหมัน่ เพียร ประหยัด ซื่อสัตย์ รู ้หน้าที่ ตรงต่อเวลา เน้นย้าให้นกั เรี ยนได้ปฏิบตั ิโดยครู ทาตนเป็ นเป็ นแบบอย่าง ที่ดีแก่ นกั เรี ยน อย่างสม่าเสมอ ๒.๔ มีความเชื่อมัน่ ในตนเองในทุกเรื่ อง เนื่องจากเป็ นผูใ้ ฝ่ รู ้ แสวงหาความรู ้ที่ทนั สมัย ก้าวหน้าตลอดเวลา จึงมีความมัน่ ใจที่จะปฏิบตั ิงาน ขณะเดียวกันเป็ นผูท้ ี่มีเหตุผล รับฟังความคิดเห็นของ ผูอ้ ื่น ๓. มีมนุษยสัมพันธ์และสัมพันธภาพในครอบครัว ปฏิบตั ิตนตามหลักคาสอนของพุทธศาสนา มีมนุษย์สมั พันธ์ต่อสมาชิกในครอบครัว ให้ความรักความอบอุ่นแก่ครอบครัว ดูแล สามี บุตรและบุพการี อย่างเสมอภาค ให้ การอบรม สัง่ สอนเลี้ยงดูบุตรอย่างใกล้ชิด สอดส่องพฤติกรรม ชี้แนะแนวทางการ ดาเนินชีวติ ที่ถูกต้อง ให้ความร่ วมมือกับชุมชนเป็ นประจา เป็ นแบบอย่างที่ดีในการประพฤติตนในการ ครองเรื อน ครองตน ครองคน และครองงาน และได้รับรางวัลแม่ดีเด่น ในวันแม่แห่งชาติ ประจาปี ๒๕๕๒ ณ โรงเรี ยนวัดชลธาราม ๔. มีความร่ วมมือในการพัฒนาชุมชน ๔.๑ เป็ นผูม้ ีลกั ษณะเป็ นผูน้ า เสนอความคิดเห็นในการที่จะให้ความร่ วมมือกับโรงเรี ยน เพือ่ พัฒนาชุมชน โดยร่ วมคิดร่ วมเสนอโครงการที่เป็ นประโยชน์ เช่น โครงการรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชน โดยการนานักเรี ยนไปทาความสะอาดชายทะเลใกล้โรงเรี ยนวัดทางขึ้น บริ เวณบ้านบ่อนนนท์ บ้าน


๑๓ ตะเคียนดา มัสยิด ส่งเสริ มการอ่านและการแสวงหาความรู ้ของนักเรี ยนจากห้องสมุดโรงเรี ยน ห้องสมุด เคลื่อนที่ เป็ นต้น ๔.๒ ให้มีความร่ วมมือต่อชุมชนเพือ่ ยังประโยชน์ให้แก่ทอ้ งถิ่นอย่างดียงิ่ เช่น กิจกรรมที่ ท้องถิ่นจัดขึ้นในฐานะสมาชิกของชุมชน ไม่วา่ กิจกรรมใด ๆ ที่ชุมชนขอความร่ วมมือ เพือ่ ให้เกิดความ เจริ ญ ก้าวหน้า สามัคคีในชุมชน จะให้ความร่ วมมือทุกครั้ง เช่น การช่วยเหลืองานต่าง ๆ ของเพือ่ นบ้าน การแข่งขันกีฬาระหว่างชุมชน การร่ วมทาบุญของชุมชน และการพัฒนาชุมชน เช่น ร่ วมแห่หมฺ รับใน ประเพณี สารทเดือนสิบ เป็ นต้น ๔.๓ มีส่วนร่ วมในกิจกรรมที่ทอ้ งถิ่นจัดขึ้นโดยเข้าร่ วมงานประเพณี และวัฒนธรรม ท้องถิ่น เข้าร่ วมกิจกรรมศาสนาเป็ นประจา เช่น การแห่เทียนพรรษา การแห่ผา้ ขึ้นธาตุ ๔.๔ มีความสามารถปรับตัวให้เข้ากับขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของท้องถิ่น ได้อย่างดี สามารถที่จะปฏิบตั ิกิจกรรมตามแบบอย่างของท้องถิ่นได้ ทาให้เป็ นที่นบั ถือของบุคคลทัว่ ไป เช่น การเข้าร่ วมงานประเพณี แต่งงาน งานศพ งานอุปสมบท เป็ นต้น ๕. มีความร่ วมมือประสานงานกับหน่วยงานอื่น ให้ความร่ วมมือประสานกับบุคลากรทุกฝ่ าย ทุกระดับทั้งหน่วยงานเดียวกันและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กิจกรรมทุกกิจกรรมของโรงเรี ยนจะได้รับการ แต่งตั้งหรื อมอบหมายจากผูบ้ งั คับบัญชาและผูร้ ่ วมงาน จะมีปฏิสมั พันธ์ที่ดีกบั ผูร้ ่ วมงานทุกคน จึงทาให้ ผลงานสาเร็จอย่างดียงิ่ เช่น การแข่งขันกีฬาระดับกลุ่มเครื อข่าย ระดับอาเภอ ๖. มีความเป็ นผูท้ นั สมัยและทันต่อเหตุการณ์ มีความสามารถทาง ICT ได้นาเอาความสามารถ มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน และนามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยให้ผเู ้ รี ยนแสวงหา ความรู ้ สืบค้นความรู ้ และส่งเสนอผลงานผ่านอีเมล ๗. มีความสามารถในการปฏิบตั ิงานตามหน้าที่และอุดมการณ์แห่งวิชาชีพครู มีความตั้งใจที่จะ ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยอุดมการณ์แห่งวิชาชีพครู อย่างดี ตั้งใจสอนศิษย์เพือ่ ให้ประสบความสาเร็จ มีความมานะ อุตสาหะ มีความตั้งใจโดยไม่ยอ่ ท้อ คุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ เฉพาะ ๑. วิธีการสอนภาษาไทย ๑.๑ มีความรู ้ภาษาไทยอย่างดี สามารถถ่ายทอดความรู ้ให้ศิษย์เข้าใจ โดยการศึกษาหา ความรู ้เพือ่ พัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ นาความรู ้มาปรับปรุ งการเรี ยนการสอน ให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ ความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงขึ้น และเป็ นแบบอย่างที่ดีในการใช้ภาษาไทย เช่น เป็ น แบบอย่างในการออกเสียง การสื่อสาร การเขียน และการใช้เลขไทย จนได้รับรางวัลเกียรติยศ ครู ผสู ้ อนภาษาไทย ระดับดีเยีย่ ม ๑.๒ เตรี ยมการสอนอย่างดี ตั้งใจสอนและนาเทคนิคใหม่ ๆ มาใช้จดั ทาสื่อและอุปกรณ์ การสอนวิชาภาษาไทย เพือ่ ให้การสอนมีประสิทธิภาพยิง่ ขึ้น โดยศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตร จัดทา


๑๔ โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรี ยนรู ้ จัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ เตรี ยมสื่อการสอนที่หลากหลาย รู ปแบบให้สอดคล้องกับสาระการเรี ยนรู ้ และตัวชี้วดั เช่น ใบความรู ้ เอกสารประกอบการสอน แบบ ฝึ กทักษะบทเรี ยนสาเร็จรู ป และ หนังสืออ่านเพิม่ เติม ดาเนินการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ใช้ เทคนิคการสอนที่จูงใจนักเรี ยน รวมทั้งมีการวัดและประเมินผล บันทึกผลหลังสอน เพือ่ เป็ นข้อมูล สาหรับการปรับปรุ งการสอนในโอกาสต่อไป ๑.๓ คิดค้นวิธีการสอนภาษาไทยอย่างได้ผลคุม้ ค่า เหมาะแก่สภาพของท้องถิ่นและเป็ น ประโยชน์แก่ผเู ้ รี ยน ดังนี้ - ใช้วธิ ีสอนภาษาไทยแบบบูรณาการทั้งภายในสาระ การเรี ยนรู ้ และต่างกลุ่มสาระ การ เรี ยนรู ้ เพือ่ ลดเวลาสอนในเนื้อหาที่ซ้ าซ้อน ใช้เทคนิคการสอนแบบโครงงาน เพือ่ ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ตามตามความสนใจ และ ตามความต้องการ ส่งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ ใช้วธิ ีการสอนแบบกระบวนการกลุ่ม เพลง เกม การแสดงบทบาทสมมุติ เพือ่ นช่วย เพือ่ น และจิ๊กซอ เพือ่ มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนร่ วมกันคิดอภิปรายแสดงความคิดเห็น ร่ วมกัน แก้ปัญหา มีความ สนุกสนานในการเรี ยน และเรี ยนรู ้อยูร่ ่ วมกันอย่างมีความสุข ใช้วธิ ีสอนแบบเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง โดยให้นกั เรี ยนแสวงหาความรู ้ สืบค้นข้อมูลจากแหล่ง เรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต ห้องสมุด ชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่น และปราชญ์ชาวบ้าน ส่งเสริ มให้ ผูเ้ รี ยนมีความรู ้สู่ความเป็ นสากล เป็ นพลโลก บนพื้นฐานของความเป็ นไทย - ใช้เทคนิคการสอนแบบพหุปัญญา ส่งเสริ ม สนับสนุนให้ผเู ้ รี ยนมีความเก่งหลายด้าน ได้แก่ ด้านจานวน ภาษา มิติสมั พันธ์ ดนตรี จงั หวะ การเคลื่อนไหว เข้าใจธรรมชาติ เข้าใจตนเอง และ เข้าใจผูอ้ ื่นได้เป็ นอย่างดี มุ่งพัฒนาด้านสมองทั้งสองซีกของผูเ้ รี ยนให้เจริ ญเติบโตไปพร้อม ๆ กันทั้งใน ด้านตรรกะและความคิดสร้างสรรค์ ๑.๔ สร้างบรรยากาศการเรี ยนได้น่าสนใจ จูงใจให้นกั เรี ยนรักการเรี ยนภาษาไทย ไม่เบื่อ หน่าย จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่เร้าความสนใจ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้นกั เรี ยนได้ ปฏิบตั ิจริ งจากง่ายไปหายาก และ นาเกม เพลง บทบาทสมมติ ปริ ศนาคาทาย มาใช้ในกิจกรรมการ เรี ยนรู ้ เป็ นการกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนอยากเรี ยนรู ้ และเรี ยนรู ้อย่างมีความสุข ๑.๕ มีวธิ ีวดั ผลการเรี ยนการสอนวิชาภาษาไทยที่ดีและถูกต้อง สามารถนาผลการสอนไป ใช้ปรับปรุ งสภาพการเรี ยนการสอนภาษาไทยได้ โดยดาเนินการวัดผลประเมินผลอย่างหลากหลาย สอดคล้องกับตัวชี้วดั เช่น การประเมินผลตามสภาพจริ ง การประเมินผลด้วยแฟ้ มสะสมผลงานในทุกชั้น ที่รับผิดชอบ และให้ผเู ้ รี ยน ผูป้ กครองมีส่วนร่ วมในการประเมินผล พร้อมทั้งได้มีการบันทึกผลหลังสอน เพือ่ ปรับปรุ งและพัฒนาการเรี ยนรู ้


๑๕ ๒. ผลการสอนวิชาภาษาไทยที่ทาให้ ศิษย์ มีความรู้ ความเข้ าใจและมีทักษะสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ และดารงชีวิตอยู่ในสั งคมอย่ างยิ่ง ๒.๑ ศิษย์ที่สอนได้รับความรู ้ สามารถใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องทั้งการพูด การอ่าน และการ เขียนจะเห็นได้จากผลการเข้าร่ วมแข่งขันวิชาการ ซึ่งนักเรี ยนรับรางวัลมากมายในระดับกลุ่มเครื อข่าย และระดับเขตพื้นที่การศึกษา มีผลการประเมินระดับชาติ( O-NET) ปี การศึกษา ๒๕๕๓ ร้อยละ ๓๖.๐๙ ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยของเขตพื้นที่การศึกษา และประเทศ ๒.๒ ศิษย์นาความรู ้และทักษะในการใช้ภาษาไทยไปประยุกต์ใช้ในอาชีพและ ชีวติ ประจาวัน ทาให้ภาษาไทยพัฒนาไปอย่างกว้างขวางทุกอาชีพ เช่น เด็กหญิงวิกนั ตา กาเจ ได้รับ คัดเลือกเป็ นนักจัดรายการวิทยุ อาเภอสิชล จังหวัดนครศรี ธรรมราช ๒.๓ ศิษย์สามารถวิเคราะห์วจิ ารณ์สภาพปั ญหาภาษาไทยที่พบเห็นในชีวติ ประจาวันได้ อย่างถูกต้องและช่วยเสริ มสร้างแบบอย่างภาษาไทยที่ดีงามแก่สงั คม โดยการฝึ กฝนให้นกั เรี ยนรู ้จกั วิเคราะห์วจิ ารณ์ปัญหาภาษาไทยจากข่าวในหนังสือพิมพ์ รายการโทรทัศน์ และสอนให้ผเู ้ รี ยนรู ้เท่าทัน สื่อและเหตุการณ์ ๒.๔ ผลการสอนเป็ นแบบอย่างที่ดี ที่เพือ่ นร่ วมงานในสาขาอื่น ๆ สามารถนาไปดัดแปลง ให้เป็ นประโยชน์ต่อการเรี ยนการสอนของตนเองได้ เช่น เผยแพร่ สื่อการสอน แผนการจัดการเรี ยนรู ้ แนวการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้เพือ่ นร่ วมงาน นาไปเป็ นแบบอย่างของตน และส่งเสริ ม ฝึ กฝน ให้ผเู ้ รี ยนมีความสามารถในการใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง และถูกหลักภาษา นาความรู ้ความสามารถ ด้านภาษาไทยไปใช้เรี ยนรู ้ในสาระการเรี ยนรู ้ต่าง ๆได้อย่างเต็มตามศักยภาพ ๓.

ผลงานทางวิชาการภาษาไทย ศึกษา ค้นคว้า ใฝ่ หาความรู ้ ด้านภาษาไทยเพิม่ เติมอยูเ่ ป็ นนิตย์ มีผลงาน การผลิตสื่อการ สอนอื่น ๆ เป็ นคู่มือการเรี ยนการสอนวิชาภาษาไทยทุกสาระ ส่งผลให้การเรี ยนการสอนภาษาไทยเป็ นไป อย่างมีประสิทธิภาพ เป็ นที่ประจักษ์ มีการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค และหาแนวทางในการแก้ปัญหา โดยการจัดทาวิจยั ชั้นเรี ยน และผลงานดีเด่น ดังนี้ ๑. รายงานวิจัย คือ รายงานการใช้ บทเรียนสาเร็จรู ป เรื่อง การสร้ างคาตามหลักเกณฑ์ ทางภาษา กลุ่มสาระการเรียนภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ จากศึกษาวิเคราะห์สภาพและปั ญหาของผูเ้ รี ยนนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ปี การศึกษา ๒๕๕๐ ทาให้พบว่า นักเรี ยนไม่สามารถเข้าใจการสร้างคาทางหลักเกณฑ์ทางภาษา ซึ่งเป็ น เรื่ องที่ยากของสาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย ส่งผลให้นกั เรี ยนไม่ผา่ นผลการเรี ยนรู ้ที่คาดหวัง และมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนไม่เป็ นที่พอใจ จึงเลือกใช้บทเรี ยนสาเร็จรู ปในกรแก้ปัญหาในครั้งนี้ โดยสร้าง และพัฒนาบทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษากลุ่มสาระการเรี ยนภาษาไทย ชั้น


๑๖ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ จานวน ๔ เล่ม เล่ม ๑ คาประสม เล่ม ๒ คาซ้อน เล่ม ๓ คาซ้ า และเล่ม ๔ คาสมาส การศึกษาครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์ 1) เพือ่ พัฒนาบทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2) เพือ่ เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนก่อนและหลังใช้บทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตาม หลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 3 3) เพือ่ ศึกษาดัชนีประสิทธิผล ของบทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 3 4) เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อบทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตาม หลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มประชากร คือ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2550 โรงเรี ยนบ้าน พังปริ ง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรี ธรรมราช เขต 4 จานวน 25 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ 1) บทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 3 จานวน 4 เล่ม 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรี ยนเรื่ อง การสร้างคาตาม หลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 3 เป็ นแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 50 ข้อ 3) แบบสอบถามสารวจความ พึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อบทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 เป็ นแบบ มาตราประมาณค่า 5 ระดับ จานวน 1 ฉบับวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยการหาประสิทธิภาพใช้เกณฑ์มาตรฐาน 80/80 , คานวณหาค่า t–test , หาค่าดัชนีประสิทธิผล , ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) บทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 มีประสิทธิภาพ 86.04 / 82.73 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ต้งั ไว้ 2) นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน หลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้าง คาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา สูงกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .0 5 3) ดัชนีประสิทธิผล ของบทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 3 มีค่าดัชนีประสิทธิผล เท่ากับ 0.6212 หมายถึง ผูเ้ รี ยนมีความก้าวหน้าทางการเรี ยน หลังจากเรี ยนรู ้ดว้ ยบทเรี ยนสาเร็จรู ป ร้อยละ 62.12 4) นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 มีความพึงพอใจต่อ การเรี ยนรู ้ดว้ ยบทเรี ยนสาเร็จรู ป เรื่ อง การสร้างคาตามหลักเกณฑ์ทางภาษาอยูใ่ นระดับมาก โดยมีคะแนน เฉลี่ย ( X ) เท่ากับ 4.39 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน( S .D. ) เท่ากับ 0.62 ๑. รายงานวิจัย คือ รายงานการใช้ บทเรียนสาเร็จรู ป เรื่อง การสร้ างคาตามหลักเกณฑ์ ทางภาษา กลุ่มสาระการเรียนภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ได้ศึกษาวิเคราะห์สภาพและปั ญหาจากการเรี ยนภาษาไทย ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ พบว่า ปั ญหาสาคัญที่ทาให้นกั เรี ยนไม่บรรลุตวั ชี้วดั และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนต่า คือ สาระที่ ๒


๑๗ การเขียน ซึ่งนักเรี ยนไม่สามารถสื่อความได้ ขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ ขาดการเชื่อมโยงเนื้อหาให้มี เอกภาพ สัมพันธภาพ และสารัตถภาพ ทาให้ไม่สามารถถ่ายทอดเรื่ องราวจากภาพได้ จึงดาเนินแก้ปัญหา นี้ ด้วยแบบฝึ กทักษะการเขียน ซึ่งเป็ นแบบฝึ กทักษะที่ฝึกฝนนักเรี ยนจากง่ายไปหายาก เชื่อมโยงความคิด เป็ นลาดับขั้นตอนอย่างช้า ๆ นาไปสู่การเขียนเรื่ องจากภาพ การศึกษาครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์ 1) เพือ่ สร้างและหาประสิทธิภาพของหนังสืออ่าน เพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80 / 80 2) เพือ่ เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรี ยนก่อนและหลังเรี ยนโดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติมชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการ เรี ยนรู ้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปี ที6่ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น และ3) เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อ การเรี ยนโดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติมชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที6่ โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ประชากร ที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น อาเภอท่า ศาลา จังหวัด นครศรี ธรรมราชสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรี ธรรมราชเขต 4 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2553จานวน 25 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ 1) หนังสืออ่านเพิม่ เติมชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ ด้วยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6โรงเรี ยนวัดทางขึ้นจานวน 6 เล่ม 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จานวน ข้50อ 3) แบบสอบถา มความพึง พอใจของนักเรี ยน แบบมาตราส่วนประมาณค่า ชนิด 5 ระดับ จานวน10 ข้อ และ 4) แผนการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่น ใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น หน่วยการเรี ยนรูที่ ้ 10 อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลง บอก จานวน20 แผน รวม 2 0 ชัว่ โมง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ ทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ (t – test แบบ Dependent) ผลการศึกษาพบว่า 1. หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอกใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไท ย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน 80 / 80 ความสัมพันธ์ระหว่าง (E1/E2) เท่ากับ 83.57 / 81.28 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ต้งั ไว้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังการเรี ยนโดยใช้หนังสืออ่านเพิม่ เติม ชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอก ใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น สูงกว่าก่อน เรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ความพึงพอใจของนักเรี ยนต่อการเรี ยนโดยใช้ หนังสืออ่านเพิม่ เติมชุด อนุรักษ์ถิ่นใต้บอก ใบ้ดว้ ยเพลงบอก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดทางขึ้น ในภาพรวม อยูใ่ นระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย ( X ) เท่ากับ 4.49 และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.57


๑๘

๓. ตัวอย่ างผลงานนักเรียน ๓.๑ ๓.๒ ผลงานนักเรี ยนที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ น สาคัญ ทาให้นกั เรี ยนจัดทาผลงานอย่างสร้างสรรค์ และคัดเลือกผลงานดีเด่นที่ตนเองภาคภูมิใจ จัดทา เป็ นแฟ้ มสะสมผลงานไว้มากมาย ที่สะท้อนให้เห็นถึงความรู ้ความสามารถของนักเรี ยนอย่างหลากหลาย ครู ผสู ้ อนจึงนาแฟ้ มสะสมงานของนักเรี ยนมาใช้ในการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริ ง ทาให้ผเู ้ รี ยนมี ความกระตือรื อร้นในการสร้างผลงานมากยิง่ ขึ้น รวมทั้งส่งเสริ มให้มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้หลังเสร็จสิ้น กิจกรรมเรี ยนรู ้ และแสดงนิทรรศการผลงานของแต่ละบุคคลเมื่อสิ้นปี การศึกษา เป็ นการสร้างขวัญ กาลังใจในการทางานของนักเรี ยน และเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่เพือ่ นร่ วมโรงเรี ยน ๔. ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ โดยการ หาวิธีสอน ผลิตสื่อต่าง ๆ มา ปรับปรุ งการเรี ยน ภาษาไทยของศิษย์ ประสบผลสาเร็จอย่างยิง่ เช่น ๔.๑ จัด กิจกรรม การเรี ยน การสอนแบบ โครงงาน ซึ่งกิจกรรมการเรี ยนการสอน โครงงานส่งเสริ มให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ตามความสนใจและตามความต้องการและส่งเสริ มให้ได้รับ ประสบการณ์ตรง นักเรี ยนรู ้จกั การทางานเป็ นกลุ่ม รู ้จกั จัดสรรงานอย่างมีระบบ ฝึ กคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การเปรี ยบเทียบ การประเมินค่าและการนาความรู ้ไปใช้ในชีวติ ประวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง และได้กาหนดให้นกั เรี ยนจัดทาโครงงาน และเสนอผลงานโครงงานอย่างน้อย ภาคเรี ยนละ๒ เรื่ อง เมื่อสิ้นปี การศึกษามีการจัดนิทรรศการ ระดับโรงเรี ยน เพือ่ นาเสนอโครงงานของ นักเรี ยน แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้และสร้างความเข้าใจร่ วมกัน ผลจากการใช้ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน สร้างความ ภาคภูมิใจ แก่นกั เรี ยน ส่งผลให้ตนเองได้รับรางวัล ครู ผสู ้ อนภาษาไทย ระดับดีเยีย่ ม ระดับเขตพื้นที่ การศึกษานครศรี ธรรมราช เขต ๔ ๔.๒ จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาปราชญ์ชาวบ้าน ศึกษาค้นคว้าความรู ้ เรื่ อง เพลงบอก ที่กาลังสูญหาย และถูกลืมเลือน มาจัดกิจกรรม การเรี ยนการสอนเพือ่ มุ่งอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาปราชญ์ชาวบ้าน โดยได้ริเริ่ มแต่งกลอนเพลงบอก


๑๙ และสร้างเป็ นนวัตกรรมประเภทหนังสืออ่านเพิม่ เติมเกี่ยวกับไม้พ้นื ถิ่นเมืองคอน จานวน ๕ เรื่ อง แก่ เรื่ องลูกโท่ เรื่ องลูกมังเร เรื่ องลูกพลา เรื่ องนมแมว และเรื่ องลูกรกช้าง ผลทาให้นกั เรี ยนมีความสนุกสนานในการขับร้องและชื่นชอบในจังหวะ ลีลา ทานองของ บทเพลงชาวใต้ ส่งเสริ มการใช้ภาษาถิ่นให้แพร่ หลาย และเกิดความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นเมือง คอน (จังหวัดนครศรี ธรรมราช)

๕.

ความเสี ยสละ การปฏิบตั ิงานในวิชาชีพที่ตนเองรักและศรัทธาทาให้ตนเองเกิดพลังที่จะเสียสละ ความสามารถในทุก ๆ ด้านพร้อมอุทิศให้กบั นักเรี ยน โรงเรี ยน และองค์กร เพือ่ ที่จะให้กิจกรรมต่าง ๆ ขับเคลื่อนไปพร้อม ๆ กันอย่างมีประสิทธิภาพ - การอุทิศเวลา เป็ นผูอ้ ุทิศเวลาให้กบั งานสอนภาษาไทย ด้วยจิตใจมุ่งมัน่ การปฏิบตั ิ นอกเหนือจากเวลาราชการ สอนซ่อมและสอนเสริ ม นักเรี ยนในวันเสาร์ วันอาทิตย์ จนเกิดผลดีแก่ นักเรี ยน มีผลสัมฤทธิ์ และผลการสอบระดับชาติ (O-NET) สูงขึ้น เสียสละอุทิศ กาลังกาย กาลังใจ กาลังสติปัญญา และ กาลังทรัพย์ เพือ่ ประโยชน์ต่อ การพัฒนาวิชาภาษาไทย มีการจัดทาสื่อหลายหลายรู ป เช่น แบบฝึ กทักษะ เอกสารประกอบการสอน ใบ ความรู ้ บทเรี ยนสาเร็จรู ป หนังสืออ่านเพิม่ เติม ใบงาน แบบทดสอบ เพือ่ ให้นกั เรี ยนได้รับความรู ้อย่าง เต็มตามศักยภาพ และมีการพัฒนานักเรี ยนอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริ มให้นกั เรี ยนใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องโดย ให้นกั เรี ยนเข้าร่ วมโครงการนิสยั รักการอ่าน ส่งเข้าร่ วมประกวดความสารถด้านภาษาไทยอยูเ่ สมอ เช่น ส่งผลงานเข้าร่ วมแข่งขันในกิจกรรมวันสาคัญต่าง ๆ ผลจากการเป็ นผูม้ ีความเสียสละ ทาให้เกิดผลดีและเป็ นประโยชน์ต่อวิชาภาษาไทย นักเรี ยน ตนเอง คณะครู โรงเรี ยน ชุมชนและประเทศชาติสืบไป ข้าพเจ้าขอรับรองว่ามีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ในประกาศฯ และข้อความข้างต้นเป็ นความจริ งทุกประการ ลงชื่อ (นางชไมพร ใบเรื อง) ตาแหน่ง ครู

โรงเรี ยนวัดทางขึ้น อันดับ คศ.๒ วิทยฐานะชานาญการ


๒๐

ตอนที่ ๓ ความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชาชั้นต้ น ........................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...................................................................... (...................................................................................) ตาแหน่ง......................................................................................... (หัวหน้าหมวด/หัวหน้าภาค/ผูช้ ่วยผูอ้ านวยการฯ/คณบดี/กรรมการประเมินผลงานของสมาคม)

คารับรองและความเห็นเพิ่มเติม ........................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...................................................................... (........................................................................) ตาแหน่ง ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา .................................................................... (อธิการบดี/ผูอ้ านวยการสถานศึกษา/ผูอ้ านวยการวิทยาเขต/ประธานกรรมการประเมินผลงานของสมาคม)


๒๑

ตอนที่ ๔ ความเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับคุณสมบัติของครู ภาษาไทยที่ได้ รับการคัดเลือก ........................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...................................................................... (...................................................................................) ตาแหน่งผูบ้ ริ หารหน่วยงานต้นสังกัด..................................................................... (ผูอ้ านวยการ สพท./อธิบดี/ผูอ้ านวยการฯ ส่ งเสริ มการศึกษาเอกชน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา/การอาชีวศึกษา/นายกสมาคม)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.